Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรการจัดการศึกษาต่อเนื่อง ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 (ปรับปรุงครั้งที่ 2)

หลักสูตรการจัดการศึกษาต่อเนื่อง ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 (ปรับปรุงครั้งที่ 2)

Published by นายชัยธวัช สมนึก, 2021-10-12 13:20:47

Description: หลักสูตรการจัดการศึกษาต่อเนื่อง ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 (ปรับปรุงครั้งที่ 2) กศน.อำเภอแสวงหา สำนักงาน กศน.จังหวัดอ่างทอง

Keywords: หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง,งานการศึกษาต่อเนื่อง

Search

Read the Text Version

เร่อื งที่ หวั เรอื่ ง จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เนือ้ หา 6 ความรเู้ กย่ี วกบั การทา ๑. เพ่ือใหป้ ระชาชนไดร้ บั ความรู้ ๑. ใหค้ วามร้เู ร่อื งควา ขนมไทยขนมหมอ้ แกง ความรู้เกี่ยวกับการทาขนมไทย / ทาขนมไทย /ความรู้เ การเลือก/ซ้ือวัสดุอปุ กรณ์และ เลือก/ซือ้ วสั ดุอปุ กรณ สว่ นผสมของการทา ขนมไทย/สตู ร ของการทาขนมไทย/ ของการทาขนมไทย ขนมไทยการทาขนมท ๒. เพอื่ ให้ประชาชนมีความรู้และ ๒. การคิดราคาตน้ ทุน เขา้ ใจในการคดิ ตน้ ทุนการผลติ ขนม ไทยทองหยอด ไทย ๓. การออกแบบบรรจ ๓. การออกแบบบรรจุภณั ฑ์ 7 ความรู้เกี่ยวกบั การทา ๑.เพอื่ ให้ประชาชนไดร้ บั ความรู้ ๑.ใหค้ วามรู้เร่ืองความ ขนมไทยขนมตะโก้ ความรู้เกีย่ วกบั การทาขนมไทย / ทาขนมไทย /ความรเู้ เผอื ก การเลือก/ซอื้ วัสดุอุปกรณ์และ เลือก/ซ้ือวสั ดุอุปกรณ สว่ นผสมของการทา ขนมไทย/สตู ร ของการทาขนมไทย/ ของการทาขนมไทย ขนมไทยการทาขนมท ๒.เพอ่ื ใหป้ ระชาชนมคี วามรูแ้ ละ ๒. การคิดราคาต้นทุน เขา้ ใจในการคดิ ตน้ ทนุ การผลติ ขนม ไทยทองหยอด ไทย ๓.การออกแบบบรรจ ๓.การออกแบบบรรจภุ ัณฑ์

า การจดั กระบวนการเรียนรู้ เวลา (ชวั่ โมง) ามรเู้ กยี่ วกับการ ๑. วิทยากรบรรยายให้ความรเู้ ก่ยี วกับการ ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม เกยี่ วกับการ ทาขนมหม้อแกง/ความรูเ้ กย่ี วกับการเลือก/ ณ์และส่วนผสม ซ้ือวัสดอุ ปุ กรณ์และสว่ นผสมของการทา ๑๔ 5 /สูตรของการทา ขนมไทยขนมหมอ้ แกงและสูตรของการทา ทองหยอด ขนมไทยขนมหม้อแกง นการผลติ ขนม ๒. การคิดราคาตน้ ทุนการผลติ ขนมไทย ขนมหมอ้ แกง จุภณั ฑ์ ๓. การออกแบบบรรจภุ ณั ฑข์ นมหมอ้ แกง มรเู้ กยี่ วกับการ ๑.วิทยากรบรรยายใหค้ วามรู้เก่ียวกับการ ๑ ๔ 5 เกยี่ วกบั การ ทาขนมตะโกเ้ ผือก/ความรเู้ ก่ยี วกบั การ ณ์และสว่ นผสม เลือก/ซอ้ื วสั ดอุ ปุ กรณ์และสว่ นผสมของ /สูตรของการทา การทาขนมไทยขนมตะโก้เผือกและสตู ร ทองหยอด ของการทาขนมไทยขนมตะโกเ้ ผอื ก นการผลติ ขนม ๒. การคดิ ราคาต้นทนุ การผลติ ขนมไทย ขนมตะโกเ้ ผือก จภุ ณั ฑ์ ๓.การออกแบบบรรจภุ ัณฑข์ นมตะโก้เผือก รวม 7 28 35 33

34 สือ่ การเรียนรู้ แผน่ พับให้ความรู้เรอ่ื งการทาขนมไทยชนดิ ตา่ ง ๆ ดังนี้ - การทาขนมใส่ไส้ - การทาว้นุ ใบเตย - การทาขนมชัน้ - การทาลูกชบุ - การทาขนมต้ม - การทาขนมหม้อแกง - การทาขนมตะโกเ้ ผือก การวดั และประเมินผล 1. สังเกตการมีสว่ นร่วม 2. การซักถามและการตอบคาถาม 3. ชน้ิ งาน กรอบการประเมิน วิธกี ารประเมิน เกณฑ์การประเมนิ ๑. มคี วามรู้ ความเข้าใจและมีทกั ษะใน 1. สังเกตการมสี ว่ นร่วมในกิจกรรมของ ผูจ้ บหลักสตู รสามารถนาความร้แู ละ การทาขนมไทยได้ ผู้เขา้ รบั การอบรม ประสบการณท์ ี่ไดร้ บั จากการเขา้ รบั การ ๒. ผเู้ รียนเห็นช่องทางการประกอบ - การซักถามและการตอบคาถาม อบรมไปใชใ้ นการดาเนนิ ชีวิตประจาวนั อาชพี หรอื รายได้ให้กบั ตนเองและ ได้ ครอบครัว - การแสดงความคิดเห็น รวมคะแนน (๑๐๐ คะแนน) (30 คะแนน) (70 คะแนน) เงอื่ นไขการจบหลักสตู ร 1. ร้อยละ 80 ผู้เรียนเข้ารว่ มกจิ กรรมตามหลกั สูตรฯ 2. รอ้ ยละ 80 ผเู้ รยี นผา่ นกิจกรรมตามหลักสตู รฯ เอกสารหลกั ฐานการศึกษาที่จะได้รบั หลังจากจบหลกั สูตร วุฒิบัตรผ้ผู ่านการอบรมตามหลกั สูตร (แบบ กศ.ตน.11) การเทยี บโอน -

35 หลกั สตู รการตดั เยบ็ เสอ้ื เชต้ิ จานวน ๓5 ชว่ั โมง ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอแสวงหา สานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวดั อ่างทอง ความเปน็ มา ปัจจุบันเส้ือผ้าเป็นหนึ่งในปัจจัยท่ีมีความจาเป็น การเลือกเสื้อผ้าเป็นเรื่องละเอียดอ่อนที่ควรให้ความ สนใจ การสรา้ งแบบและตัดเยบ็ เสอ้ื เชติ้ เป็นการอบรมการใช้ผ้าและเทคนิคการตัดเย็บ เพื่อ ต้องการสนองกลุ่ม ผ้บู ริโภคหรอื ตามความตอ้ งการใช้งาน ในการผลติ เสื้อเชิ้ตสาเร็จรปู น้ันเปน็ การสง่ เสริม ด้านการตลาด การผลิต เส้อื ผ้าให้ไดม้ าตรฐานส่ภู าคอุตสาหกรรม ซึ่งนามาใช้ในกระบวนการผลิตทาให้งาน มีประสิทธิภาพและรวดเร็ว สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขตามความต้องการสินค้าท่ีมีความหลากหลายตามกระแส ของแฟช่ันตลอดเวลา ดังน้ันอาชีพช่างตัดเย็บเสื้อผ้าเป็นทางเลือกอีกหน่ึงอาชีพท่ีสามารถสร้างรายได้หลัก รายได้เสริม เพ่ือใช้เวลา ว่างใหเ้ กดิ ประโยชน์ กศน.ตาบลแสวงหา จงึ ไดจ้ ดั ทาหลักสูตรการตดั เยบ็ เส้ือเช้ิต และเรียนรู้ เรื่องการตัดเย็บ เสื้อผ้า ซึ่งเป็นการเรียนรู้เก่ียวกับตัดเย็บเส้ือผ้าให้เหมาะสมกับความต้องการสวมใส่ และการบริการลูกค้าใน รูปแบบต่าง ๆ ที่สามารถ นาความรู้ไปใชใ้ นการสร้างรายไดท้ ม่ี น่ั คงและยงั ยืนอย่างมปี ระสิทธภิ าพ หลักการของหลกั สตู ร 1. เป็นหลักสตู รท่ีเน้นการบูรณาการให้สอดคล้องกับศักยภาพด้านต่างๆ ห้าด้าน ได้แก่ ศักยภาพของ ทรัพยากรธรรมชาติศักยภาพของพื้นที่ตามลักษณะภูมิอากาศ ศักยภาพภูมิประเทศและทาเลที่ต้ัง ศักยภาพ ของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชวี ิตและศักยภาพของทรพั ยากรมนุษย์ ในแตล่ ะพื้นท่ี 2. มุ่งให้ได้รับการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและการมีงานทาอย่างมีคุณภาพท่ัวถึงและเท่าเทียมกัน สามารถสร้างรายได้ท่ีมั่นคง และเป็นบุคคลที่มีวินัย เปี่ยมไปด้วยคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสานึกความ รบั ผิดชอบตอ่ ตนเอง ผอู้ ่ืนและสังคม 3. ส่งเสริมใหม้ ีความร่วมมือในการดาเนนิ งานรว่ มกบั ภาคีเครือขา่ ย 4. เน้นการฝึกปฏิบัติจริงเพ่ือให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ และสามารถนาไปประกอบอาชีพให้ เกดิ รายได้ท่ีมั่นคง และย่งั ยืนในอาชีพ จุดม่งุ หมาย 1. เพอื่ ให้เห็นช่องการการประกอบอาชพี ชา่ งตดั เย็บเสื้อผ้า 2. เพ่ือใหต้ ดั สนิ ใจเลือกประกอบอาชีพชา่ งตัดเยบ็ เส้อื ผา้ 3. เพือ่ ให้มีความรคู้ วามเขา้ ใจ พ้นื ฐานความรใู้ นวชิ าอาชีพชา่ งตดั เย็บเส้อื ผ้า 4. เพ่ือใหม้ ีความสามารถในอาชีพชา่ งตดั เยบ็ เสือ้ ผา้ สตรี 5. เพ่อื ให้สามารถวางแผนอาชีพชา่ งตัดเย็บเสื้อผ้า 6. เพื่อใหป้ ูองกนั ตนเองใหม้ ีความปลอดภัยในการทางาน เป้าหมาย ๑. ประชาชนที่มอี าชพี หลักและตอ้ งการมีอาชีพเสรมิ ๒. ประชาชนที่วา่ งงาน

36 ระยะเวลา จานวน ๓5 ชว่ั โมง - ภาคทฤษฎี จานวน ๕ ชวั่ โมง - ภาคปฏบิ ัติ จานวน ๓๐ ชัว่ โมง

โครงสร้าง เรื่องที่ หวั เรอื่ ง จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เนอ้ื หา ๑ ชอ่ งทางการ ประกอบ ๑. เพือ่ ใหผ้ เู้ รยี นสามารถเลือกใช้ ๑. การเลอื กผา้ ใหเ้ หม อาชพี ธรุ กิจ การตัดเยบ็ ผ้าใหเ้ หมาะสมกับการตดั เย็บ ตดั เย็บเสอ้ื เช้ิต เสือ้ เชิ้ต เสอื้ เช้ติ ๒. การใชจ้ ักรเย็บผ้าแ ๒. เพ่ือใหผ้ ู้เรียนมคี วามรคู้ วาม เยบ็ เข้าใจในการใช้จกั รเย็บผ้าและ ๓. การสร้างแพทเทริ อุปกรณ์ตดั เย็บต่าง ๆ ๓. เพื่อให้ผู้เรยี นมคี วามรคู้ วาม เขา้ ใจในการสรา้ งแพทเทริ ์นเส้ือเช้ติ ๒ ทักษะการ ประกอบ ๑. เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนมคี วามรคู้ วาม ๑. การสรา้ งแพทเทริ อาชพี การตัดเยบ็ เขา้ ใจ และทกั ษะในการสร้าง ๒. วธิ กี ารวางแพทเท เสื้อเชิ้ต แพทเทิรน์ เสื้อเช้ิต เพ่อื ตัดเย็บเส้อื เชิต้ ๒. เพื่อให้ผู้เรียนมคี วามรู้ความ ๓. การเย็บแบบร่าง ( เข้าใจและทักษะในการสรา้ ง - การเย็บเนา และ แพทเทิร์นเสือ้ เช้ติ เยบ็ ผ้า ๓. เพือ่ ให้ผู้เรียนมคี วามรคู้ วาม เขา้ ใจและทักษะวิธีการวาง แพทเทริ ์นเพื่อตดั เยบ็ เสื้อเชต้ิ ๔. เพื่อใหผ้ เู้ รียนมีความรคู้ วาม เข้าใจและทักษะการเย็บแบบร่าง (การเนาผา้ )

งหลกั สตู ร า การจัดกระบวนการเรียนรู้ เวลา (ชว่ั โมง) ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ รวม มาะสมกับการ ๑. ความรูท้ ัว่ ไปเก่ียวกบั การตดั เยบ็ ๒- 2 และ อปุ กรณต์ ดั ๒. วิทยากรบรรยายการเลอื กใช้ผา้ ให้ ร์นเสอ้ื เชต้ิ เหมาะสมกับ การตดั เย็บเสอ้ื เชติ้ ๓.วทิ ยากรบรรยายและสาธติ การใช้จกั ร เยบ็ ผ้าและ อปุ กรณต์ ดั เยบ็ ๔. วิทยากรบรรยายและสาธติ การสร้าง แพทเทิรน์ เส้ือเชติ้ ๕. วิทยากรบรรยายและสาธติ การวัดตัว และการสรา้ งแพทเทริ น์ เสือ้ เช้ิต ร์นเส้อื เช้ติ ๑. การฝกึ ปฏิบตั กิ ารสร้างแพทเทริ น์ ๒ 30 32 ทิร์น เสอื้ เชติ้ ๒. วิทยากรบรรยาย และสาธิตการสรา้ ง (การเนาผา้ ) แพทเทิร์นเส้ือเชต้ิ ะเยบ็ ดว้ ยจกั ร ๓. ใหผ้ เู้ รยี นฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารสร้างแพทเทิร์น เสื้อเช้ติ ๔. วิทยากรบรรยาย และสาธติ วิธกี ารวาง แพทเทริ น์ บนผา้ เพือ่ ตดั เย็บเสอ้ื เชต้ิ ให้ ผูเ้ รยี นฝกึ ปฏิบัติ ๕. วิทยากรบรรยาย และสาธติ การตดั เยบ็ และประกอบชิ้นส่วนตา่ ง ๆ ของเส้ือเชต้ิ ให้ผเู้ รยี นฝึกปฏบิ ตั ิการเย็บเสอ้ื เชต้ิ 37

เร่อื งที่ หัวเรอ่ื ง จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ เนื้อหา ๓ การบริหารจดั การใน ๑. คานวณประมาณการค่าวสั ดุ ๑. การคานวณค่าวสั ด การประกอบอาชพี ๒. การประชาสมั พันธร์ า้ น เพอื่ หา ๒. การประชาสมั พนั ธ ลกู ค้าผา่ นชอ่ งทางออนไลน์ ตลาดผ่านชอ่ งทางออ ๓. สรปุ กระบวนการบริหารจดั การ ในการประกอบอาชพี การตดั เยบ็ เสอ้ื เชต้ิ ที่พึงประสงคข์ องลูกค้าได้

า การจัดกระบวนการเรยี นรู้ เวลา (ชวั่ โมง) ดุ ๑. ผ้เู รียนศกึ ษาใบความรู้เรอ่ื งการคานวณ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ รวม ธ์และการหา ค่าวสั ดุ และการคิดคา่ จา้ ง อนไลน์ ๒. ผู้เรยี นฝกึ การสรา้ งแพทเทิรน์ เสื้อเช้ิต ๑- 1 แบบสมัยนยิ ม ๓. ผู้เรียนและผู้สอนสรุปกระบวนการ บริหารจดั การในการประกอบอาชพี การตดั เย็บเส้ือเชติ้ รวม 5 30 35 38

39 ส่ือการเรียนรู้ ๑. สือ่ เอกสาร 2. ใบความรู้ การวดั ผลประเมนิ ผล แบบทดสอบความรู้ความเข้าใจของผเู้ รียน เกณฑก์ ารจบหลกั สูตร ๑. ผู้เรียนมีเวลาเรียนไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ ๘๐ ๒. ผ้เู รยี นผา่ นการประเมนิ ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๖๐ เอกสารหลักฐานการศึกษา ใบสาคัญผู้ผา่ นการเรียนหลกั สูตร (แบบ กศ.ตน.11) การเทียบโอน -

40 หลกั สูตรช่างทาสี จานวน 35 ช่ัวโมง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอแสวงหา สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวัดอา่ งทอง ความเปน็ มา นโยบายการดาเนินงานของสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจาปีงบประมาณ 2564 มุ่งเน้นจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาอย่างยั่งยืนโดยให้ความสาคัญกับ การจัดอาชีพเพื่อการมีงานทาและอาชีพท่ีสอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียนและศักยภาพของแต่ละพ้ืนที่ และการจัดการศึกษาที่ให้แก่ประชาชนท่ีไหนปัจจุบันมีความสาคัญมากเพราะว่าเป็นการพัฒนาประชากร ของประเทศให้มีความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพเป็นปัญหาการว่างงานและส่งเสริม ความเข้มแข็งให้เศรษฐกิจชุมชน ซ่ึงกระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดยุทธศาสตร์ภายใต้กรอบพัฒนาศักยภาพ ของพ้ืนท่ีใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่โดยยกระดับการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพและความสามารถให้ประชากร ได้มีอาชีพมีรายได้ท่ีมั่นคงและมีงานทาอย่างยังยืนซ่ึงจะเป็นการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในรูปแบบใหม่ท่ีสร้าง ความม่ันคงให้แกป่ ระชาชนและประเทศชาติ การฝึกทักษะอาชีพต่างๆให้กับประชาชนจึงถือเป็นภารกิจสาคัญ ของ กศน.ต่อประชาชนท่ยี ังไม่มงี านทาหรือผูท้ ี่ตอ้ งการเปลีย่ นอาชีพท่ีเป็นงานอิสระและมั่นคงได้ หลกั การของหลกั สูตร 1. เป็นหลักสูตรที่เนน้ การบูรณาการสภาพปัญหาความต้องการในชุมชนสู่การเรียนรู้อาชีพ เพ่ือการมี งานทา 2. เปน็ หลักสูตรท่ีเนน้ การมีส่วนรว่ มของชุมชนเครอื ขา่ ย 3. เป็นหลักสูตรที่เน้นการฝึกปฏิบัติจริงสู่การมีทักษะในการประกอบอาชีพ สามารถนาความรู้และ ประสบการณเ์ ทยี บโอนตามหลักสูตรการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน จดุ ม่งุ หมาย 1. เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี นมีความรทู้ กั ษะพน้ื ฐานและสามารถประกอบอาชีพ 2. เพื่อให้ผู้เรียนเกดิ ทักษะการเรียนรกู้ ารซอ่ มพดั ลมอย่างปลอดภัย 3. ผ้เู รียนเกิดทักษะความรคู้ วามเข้าใจความชานาญดา้ นการตรวจซ่อมและบารุงรักษาพัดลม สามารถ นาไปใชใ้ นการประกอบอาชพี และมีรายได้เพิ่มขึ้น 4. เพือ่ ลดอตั ราการวา่ งงานเปน็ ทางเลือกหนงึ่ สาหรบั การประกอบอาชพี ในชุมชน ระยะเวลา จานวน 35 ช่วั โมง - ภาคทฤษฎี จานวน 10 ช่ัวโมง - ภาคปฏบิ ตั ิ จานวน 25 ช่วั โมง

โครงสร้าง เร่ืองท่ี หัวเรอื่ ง จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ เน้อื หา ๑ ชอ่ งทางการประกอบ 1. ผเู้ รยี นบอกความสาคญั และ 1. ช่องทางการประก อาชพี ประโยชน์ของการทาสีท้งั ในและ 1.1 ความสาคัญแ นอกอาคารได้ 2. วิเคราะหต์ นเองในการประกอบ ของการทาสีทั้งในแล อาชพี ชา่ งทาสี สามารถบอก 1.2 วเิ คราะห์ตนเ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม สาหรบั อาชีพ ชา่ งทาสีได้ ประกอบอาชีพช่างทา 3. บอกวสั ดทุ าสแี ละประเภท จรยิ ธรรมสาหรบั อาช ของเครอ่ื งมอื ท่ใี ช้ในการทาสีได้ 2. ความรเู้ บื้องต้นเกี่ย 4. อธบิ ายวธิ กี ารรกั ษาความ ปลอดภัยในการปฏิบตั งิ านสไี ด้ 2.1 อปุ กรณท์ ่ใี ชใ้ - ลูกกลิ้งทาสี - แปรงทาสี 2.2 ความปลอดภ ปฏบิ ตั ิงาน 2 ทักษะการประกอบ 1. เตรียมพ้นื ที่ทาสี วสั ดุ อปุ กรณ์ 1. การเตรยี มพืน้ ท่ี อาชีพ และเคร่ืองมอื ในการทาสไี ด้ 2. การเตรยี มพน้ื ผิวแ 2. การเตรยี มพื้นผวิ และเทคนิค ทาสี การทาสไี ดถ้ ูกต้อง 3. การเตรยี มวสั ดอุ ุป 3. เกบ็ รายละเอียดของงานได้ 4. การทาสีรองพน้ื แล เรยี บร้อยสวยงาม 5. วธิ กี ารทาสีภายนอ 4. สรุปขน้ั ตอนและเทคนคิ การ 6. วิธกี ารทาสีภายใน ทางาน ได้ครบทกุ ขนั้ ตอน 7. วธิ กี ารทาสพี น้ื ผวิ ข 8. การทาสลี วดลาย 9. การตกแตง่ ผวิ สที ับ 10. การเลือกใช้สี

งหลักสตู ร า การจดั กระบวนการเรยี นรู้ เวลา (ช่วั โมง) กอบอาชพี 1. วิทยากรอธบิ าย ผเู้ รยี นศกึ ษาสอ่ื เอกสาร ทฤษฎี ปฏบิ ัติ รวม และประโยชน์ ใบ ความรู้ สอื่ อนิ เตอร์เน็ต เกยี่ วกับ ละนอกอาคาร ความสาคญั ประโยชน์ ความรเู้ บอ้ื งต้น 5- 5 เองในการ คุณธรรมจรยิ ธรรมเกย่ี วกับช่างทาสี าสแี ละคณุ ธรรม 2. ผูเ้ รียนสอบถาม สมั ภาษณ์ พดู คุย - 25 25 ชีพชา่ งทาสี เกย่ี วกบั การทาสี ยวกบั การทาสี 3. นาขอ้ มลู จากการศึกษาสื่อ ในการทาสี และจากการสมั ภาษณ์ มาวเิ คราะห์ตนเอง เพือ่ ตัดสนิ ใจประกอบอาชีพ ภัยในการ 4. นาผลการวิเคราะหม์ าแลกเปลย่ี น กับผู้รู้ เพื่อนในกลุม่ และวิทยากร และเทคนิค การ 5. สรุปช่องทางการประกอบอาชีพ และตดั สนิ ใจ ปกรณเ์ คร่ืองมอื 1. ผู้เรียนศึกษาใบความร้เู กยี่ วกับการ ละสที บั หนา้ เตรยี มพนื้ ที่ อก 2.การเตรยี มพน้ื ผวิ และเทคนคิ การทาสี น และการเตรียมวสั ดอุ ปุ กรณเ์ ครื่องมือ ขรุขระ 3. ผเู้ รยี นชมการสาธติ ของวทิ ยากร พร้อมสมั ภาษณ์ขั้นตอนและวธิ กี ารทาสี บหน้า 4. ผู้เรยี นฝกึ ทาสีและฝึกเก็บรายละเอยี ด ของงานตามใบงานจนชานาญ 5. ผูเ้ รียนและผู้สอนร่วมกันสรุปข้นั ตอน และเทคนิคการทางานไดค้ รบทุกขนั้ ตอน 41

เร่อื งที่ หวั เร่ือง จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ เน้อื หา - การใชส้ ีน้าพลาส - การใช้สนี า้ มัน 11.การทาสดี ว้ ยแปร 12.การทาสภี ายในแ อาคารด้วยแปรงทาส 13.วิธกี ารเก็บรายละ 3 การบริหาร จดั การใน 1. คานวณพ้นื ที่และราคาคา่ แรง 1.การคานวณพืน้ ท่แี ล การ ประกอบอาชีพ ค่าวสั ดกุ ารประมาณราคางานสไี ด้ การคานวณ ราคาในก 2. หาลกู คา้ และประชาสมั พนั ธง์ าน 2. การประชาสมั พันธ ทาสีได้ ลูกคา้ 3. การเจรจาต่อรองร

า การจดั กระบวนการเรียนรู้ เวลา (ชวั่ โมง) ทฤษฎี ปฏบิ ัติ รวม สตกิ รงทาสี และภายนอก สีและลกู กล้งิ ทาสี ะเอยี ดของงาน ละ 1. ผู้เรียนศึกษาใบความรูเ้ รอ่ื งการคานวณ 5 - 5 การทาสี พ้นื ทีแ่ ละการคานวณราคาคา่ แรงและวัสดุ ธ์และการหา การหาลูกคา้ การประชาสัมพนั ธม์ าตรฐาน ของการบริการและการเจรจาตอ่ รองราคา ราคากับลกู คา้ รวม 10 25 35 42

43 สื่อการเรียนรู้ 1. สอื่ เอกสาร/เอกสารประกอบการเรยี นร้/ู ใบงาน/ใบความรู้ 2. สือ่ อเิ ลค็ ทรอนกิ ส/์ เวบ็ ไซต์ 3. แหล่งเรยี นรู้ 4. สถานประกอบการ การวดั และประเมินผล 1. การเข้าร่วมกจิ กรรม 2. การฝึกปฏิบตั ขิ องผูเ้ รียน 3. การประเมินจากผลสาเร็จ กรอบการประเมนิ วธิ ีการประเมิน เกณฑ์การประเมิน 1 . มี ค ว า ม รู้ ค วา ม เ ข้า ใจ ในกา ร 1.สังเกตการมีส่วนร่วมในกิจกรรมของ ผู้จบหลักสูตรสามารถนาความรู้และ ประกอบอาชีพช่างทาสี ผ้เู ขา้ รบั การอบรม ประสบการณ์ท่ีได้รับจากการเข้ารับ 2.มที ักษะในการทาสี - การซักถามและการตอบคาถาม การอบรมไปใชใ้ นการดาเนนิ ชีวติ ได้ - การแสดงความคดิ เหน็ รวมคะแนน (๑๐๐ คะแนน) (30 คะแนน) (70 คะแนน) เงื่อนไขการจบหลกั สูตร 1. รอ้ ยละ 80 ของหลกั สตู รมีความสอดคล้องกบั สภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน 2. ร้อยละ 80 ของผเู้ ข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจต่อการเขา้ รับการอบรมในระดบั ดีข้ึนไป 3. ร้อยละ 80 ของผู้จบหลกั สูตรสามารถนาความรแู้ ละประสบการณ์ที่ได้รับจากการเข้ารับการอบรม ไปใช้ในการดาเนนิ ชวี ิตประจาวนั ได้ เอกสารหลกั ฐานการศึกษา ใบสาคัญผู้ผา่ นการเรียนหลักสูตร (แบบ กศ.ตน.11) การเทียบโอน -

44 หลกั สูตรการแปรรปู กลว้ ย จานวน 35 ชั่วโมง ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอแสวงหา สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจังหวัดอา่ งทอง ความเปน็ มา การจัดการศึกษาอาชีพในปัจจุบันมีความสาคัญมาก เพราะจะเป็นการพัฒนาประชากรของประเทศ ให้ มีความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการว่างงาน และส่งเสริมความ เขม้ แข็งให้แก่เศรษฐกิจชุมชน ซ่งึ กระทรวงศึกษาธกิ ารได้กาหนดยุทธศาสตร์ภายในกรอบเวลา 2 ปี ที่พัฒนา 5 ศักยภาพของพื้นที่ใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ให้สามารถแข่งขันได้ใน 5 ภูมิภาคหลักของโลก “รู้เขา รู้เรา เท่าทัน” เพ่ือแข่งขันได้ในเวทีโลก “ตลอดจนกาหนดภารกิจที่จะยกระดับการจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพและขีด ความสามารถให้ประชาชนได้มีอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ที่ม่ันคง โดยเน้นการบูรณาการให้สอดคล้องกับ ศักยภาพด้านต่าง ๆ มุ่งพัฒนาคนไทยให้ได้รับการศึกษา เพ่ือพัฒนาอาชีพและการมีงานทาอย่างมีคุณภาพ ทว่ั ถงึ และเท่าเทียมกัน ประชาชนมีรายได้มั่นคง มั่งค่ัง และมีงานทาอย่างยั่งยืนมีความสามารถเชิงการแข่งขัน ท้ังในระดับภูมิภาคอาเซียนและระดับสากล ซึ่งจะเป็นการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในรูปแบบใหม่ท่ีสร้างความ มั่นคงให้แก่ประชาชนและประเทศชาติ การแปรรูปกล้วยถือเป็นภูมิปัญญาคู่คนไทยมาช้านานและยังเป็นการ เพ่ิมมลู คา่ ให้กับพืชผลทาง การเกษตร โดยเฉพาะเกษตรกรท่ีมีการปลูกกล้วยเป็นจานวนมาก เพื่อเป็นการเพิ่ม มูลค่าให้กับกล้วยในยามที่ ผลผลิตออกมามาก อีกท้ังเป็นการสร้างอาชีพใหม่หรือต่อยอดอาชีพเติมท่ีมีอยู่แล้ว ใหม้ คี วามม่ันคงต่อไป หลักการของหลักสูตร 1. เปน็ หลักสตู รทมี่ ีความยืดหย่นุ ดา้ นหลักสูตร การจดั กระบวนการเรยี นรู้ การวัดและประเมินผล ดา้ นการจัดการและบริการ โดยเน้นการบรู ณาการให้สอดคลอ้ งกับศกั ยภาพดา้ นต่าง ๆ 5 ดา้ น ไดแ้ ก่ ศักยภาพ ของทรพั ยากรธรรมชาติในพ้ืนท่ี ศักยภาพของพน้ื ทีต่ ามลกั ษณะภูมิอากาศ ศกั ยภาพของภูมปิ ระเทศ และทาเล ทต่ี งั้ ศักยภาพของศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ชี วี ติ ของประชาชน และศักยภาพของ ทรพั ยากรมนุษย์ ในแตล่ ะพื้นท่ี 2. ม่งุ พฒั นาคนไทยให้ได้รบั การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาอาชพี และการมงี านทาอยา่ งมีคุณภาพท่ัวถึงและเทา่ เทียมกัน สามารถสร้างรายได้ทมี่ ัน่ คง และเป็นบคุ คลท่มี วี นิ ัยเปี่ยมไปดว้ ยคุณธรรม จรยิ ธรรม มีจิตสานกึ ความ รับผิดชอบตอ่ ตนเอง ผอู้ น่ื และสังคม 3. สง่ เสริมให้มคี วามร่วมมอื ในการดาเนนิ งานร่วมกับภาคเี ครือขา่ ย 4. สง่ เสรมิ ใหม้ ีการเทยี บโอนความรแู้ ละประสบการณเ์ ข้าสหู่ ลักสูตรการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน 5. เน้นการปฏบิ ัตจิ ริงเพือ่ ให้ผเู้ รยี นเกิดความรู้ ความเขา้ ใจ และสามารถนาไปประกอบอาชีพใหเ้ กิด รายไดท้ ม่ี ่ันคง ม่งั คง่ั และย่ังยืน จดุ มุ่งหมาย 1. เพอื่ ให้ผูเ้ รียนมีความรู้ เข้าใจทักษะการแปรรูปกลว้ ย ๒. เพ่อื ให้ผู้เรยี นเหน็ ชอ่ งทางการประกอบอาชพี และสามารถนาไปประกอบอาชพี ให้เกิด รายไดท้ ี่ มน่ั คง มัง่ คัง่ และยั่งยนื

45 เปา้ หมาย ประชาชนทวั่ ไป ระยะเวลา จานวน ๓๕ ชว่ั โมง - ภาคทฤษฎี จานวน ๕ ชว่ั โมง - ภาคปฏิบัติ จานวน ๓๐ ชัว่ โมง

โครงสรา้ ง เร่ืองท่ี หวั เร่อื ง จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ เน้ือหา ๑ ชอ่ งทางการประกอบ ๑. ผู้เรียนทราบชอ่ งทางการ ๑. ความสาคญั และป อาชีพ ประกอบอาชพี การแปรรูปกลว้ ย กล้วย ๒. ผู้เรยี นสามารถวิเคราะหค์ วาม ๒. การประกอบอาชีพ เปน็ ไปไดใ้ นการประกอบอาชพี การ กล้วย คุณธรรมจรยิ ธ แปรรูปกลว้ ย ๓. ความปลอดภยั ในก และอปุ กรณ์ 2 ทักษะการประกอบ ๑. เรยี นสามารถจดั เตรยี มวสั ดุ ๑. ความรู้เบอ้ื งตน้ เกี่ย อาชพี การแปรรูปกล้วย อุปกรณใ์ นการแปรรูปกลว้ ย ๒. ลกั ษณะประเภทข ๒. ผูเ้ รยี นสามารถคดั เลอื กวสั ดดุ ิบ สว่ นผสมการแปรรูปก และอปุ กรณใ์ หม้ คี วามเหมาะสม ชนิด ๓. การแปรรปู กล้วย การตลาด ๔. ประเภทเครอ่ื งมอื กล้วยวิธีใชแ้ ละการเก ปลอดภัยในการใช้เคร 5. การเตรยี มวัสดุดิบ แปรรูปกล้วย 6. การแปรรปู กลว้ ยใ - กล้วยเบรกแตก - กล้วยกวน - กล้วยฉาบ - กล้วยสามรส

งหลกั สตู ร า การจดั กระบวนการเรียนรู้ เวลา (ช่วั โมง) ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ รวม ประโยชนข์ อง 1. ขนั้ นาเขา้ สู่บทเรียน 3- 3 - วทิ ยากรชแี้ จงวตั ถุประสงค์ในการสอน พการแปรรูป - ๓๐ 30 ธรรมสาหรบั ครัง้ นวี้ า่ จะได้ความรูเ้ ร่ืองอะไรบา้ ง การใชเ้ ครอ่ื งมอื ๒. ขน้ั จัดการเรยี นรู้ ยวกับกล้วย - การบรรยาย ของกลว้ ยและ ๓. ขน้ั สรุป กลว้ ย แตล่ ะ - วทิ ยากรและผเู้ รยี นร่วมกนั สรปุ ผลการ การจดั การและ จัดการเรียนรูใ้ นเรื่องทเ่ี รียน อการแปรรปู 1. ขนั้ นาเข้าสู่บทเรียน กบ็ รกั ษาความ - วทิ ยากรชแ้ี จงวตั ถุประสงค์ในการสอน รือ่ งมืออปุ กรณ์ บอปุ กรณก์ าร ครั้งนีว้ า่ จะได้ความรูเ้ รอื่ งอะไรบ้าง ๒. ขั้นจดั การเรยี นรู้ - การบรรยาย - การฝึกปฏิบัตติ ามจุดการเรียนรู้ ๓. ข้นั สรุป - วทิ ยากรและผ้เู รียนรว่ มกนั สรปุ ผลการ จดั การเรยี นร้ใู นเร่อื งทเี่ รียน ในรูปแบบตา่ งๆ 46

เร่อื งท่ี หวั เรือ่ ง จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เน้อื หา 3 การบริหารจดั การใน ๑. การจดั การตลาดและการ - กล้วยเลบ็ มอื นาง - กลว้ ยหน้างา การประกอบอาชพี การ จาหน่ายผลติ ภัณฑ์ และการมี - กลว้ ยคาราเมล แปรรปู กล้วย คุณธรรมในการประกอบอาชพี ๑. การการจัดการตล จาหนา่ ยคณุ ธรรมในก ๒. การบรรจภุ ณั ฑส์ นิ ค้า อาชีพ ๒. การบรรจภุ ัณฑส์ ิน ๓. การขายออนไลน์ ๓. การขายออนไลน์

า การจัดกระบวนการเรยี นรู้ เวลา (ชั่วโมง) ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ รวม งตาก ลาดและการ 1. ข้นั นาเข้าส่บู ทเรยี น 2 - 2 การประกอบ - วทิ ยากรช้ีแจงวัตถปุ ระสงค์ในการสอน นคา้ ครงั้ น้วี า่ จะได้ความรูเ้ รือ่ งอะไรบ้าง ๒. ขนั้ จดั การเรียนรู้ -การบรรยาย ๓. ข้ันสรุป - วทิ ยากรและผ้เู รยี นรว่ มกันสรปุ ผลการ จดั การเรยี นรใู้ นเรอื่ งท่เี รยี น รวม 5 30 35 47

48 สอ่ื การเรียนรู้ ๑. ส่ือสิ่งพิมพ์ ไดแ้ ก่ เอกสาร ใบความรู้ ๒. ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ๓. สอ่ื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ต่าง ๆ เช่น อนิ เตอรเ์ น็ต การวดั ผลประเมินผล 1. การประเมนิ ความรภู้ าคทฤษฎรี ะหวา่ งเรียนและจบหลกั สตู ร 2. การประเมนิ ผลจากการปฏิบัตไิ ดผ้ ลงาน กรอบการประเมิน วธิ ีการประเมนิ เกณฑ์การประเมิน ๑.เพือ่ ให้ผูเ้ รยี นมคี วามรคู้ วามเข้าใจเกิด 1.สงั เกตการมสี ่วนร่วมในกิจกรรมของผู้ ผู้จบหลักสูตรสามารถนาความรู้และ ทักษะ ทักษะการประกอบอาชีพการ เขา้ รับการอบรม ประสบการณท์ ีไ่ ดร้ ับจากการเข้ารับการ แปรรปู กลว้ ยได้ - การซกั ถามและการตอบคาถาม อบรมนาไปประกอบอาชีพได้ - การแสดงความคดิ เห็น รวมคะแนน (๑๐๐ คะแนน) (30 คะแนน) (70 คะแนน) เกณฑก์ ารจบหลกั สตู ร 1. ผเู้ รยี นมีเวลาเขา้ เรียนไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทงั้ หมด 2. ผ่านการประเมนิ ความรู้ภาคทฤษฎแี ละภาคปฏิบตั ไิ มน่ อ้ ยกว่าร้อยละ ๖๐ เอกสารหลักฐานการศกึ ษา ใบสาคญั ผ้ผู ่านการเรียนหลักสูตร (แบบ กศ.ตน.11) การเทียบโอน -

49 หลักสูตรการแปรรูปกลว้ ย จานวน ๕๐ ชัว่ โมง ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอแสวงหา สานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดอ่างทอง ความเป็นมา การจัดการศึกษาอาชีพในปัจจุบันมีความสาคัญมาก เพราะจะเป็นการพัฒนาประชากรของประเทศ ให้ มีความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการว่างงาน และส่งเสริมความ เข้มแข็งให้แก่เศรษฐกิจชุมชน ซ่ึงกระทรวงศึกษาธิการได้ก าหนดยุทธศาสตร์ภายในกรอบเวลา 2 ปี ท่ีพัฒนา 5 ศักยภาพของพ้ืนที่ใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ให้สามารถแข่งขันได้ใน 5 ภูมิภาคหลักของโลก “รู้เขา รู้เรา เท่า ทัน” เพื่อแข่งขันได้ในเวทีโลก “ตลอดจนกาหนดภารกิจท่ีจะยกระดับการจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพและ ขีด ความสามารถให้ประชาชนได้มีอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ที่มั่นคง โดยเน้นการ บูรณาการให้สอดคล้อง กบั ศักยภาพด้านต่าง ๆ มุ่งพฒั นาคนไทยให้ได้รับการศึกษา เพื่อพัฒนาอาชีพและการมีงานทาอย่างมีคุณภาพ ทั่วถึงและเท่าเทียมกัน ประชาชนมีรายได้ม่ันคง ม่ังค่ัง และมีงานทาอย่างยั่งยืนมีความสามารถเชิงการแข่งขัน ท้ังในระดับภูมิภาคอาเซียนและระดับสากล ซ่ึงจะเป็นการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในรูปแบบใหม่ที่สร้างความ ม่ันคงให้แก่ประชาชนและประเทศชาติ การแปรรูปกล้วยถือเป็นภูมิปัญญาคู่คนไทยมาช้านานและยังเป็นการ เพ่ิมมูลค่าให้กบั พชื ผลทาง การเกษตร โดยเฉพาะเกษตรกรที่มีการปลูกกล้วยเป็นจานวนมาก เพื่อเป็นการเพ่ิม มูลค่าให้กับกล้วยในยามที่ ผลผลิตออกมามาก อีกทั้งเป็นการสร้างอาชีพใหม่หรือต่อยอดอาชีพเติมท่ีมีอยู่แล้ว ให้มคี วามม่นั คงต่อไป หลกั การของหลักสูตร 1. เป็นหลักสูตรท่ีมีความยืดหยุ่น ด้านหลักสูตร การจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล ด้านการจัดการและบรกิ าร โดยเน้นการบรู ณาการให้สอดคลอ้ งกบั ศักยภาพด้านต่าง ๆ 5 ด้าน ได้แก่ ศักยภาพ ของทรัพยากรธรรมชาตใิ นพนื้ ท่ี ศกั ยภาพของพืน้ ท่ีตามลกั ษณะภูมิอากาศ ศักยภาพของภูมิประเทศ และทาเล ที่ตั้ง ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของประชาชน และศักยภาพของ ทรัพยากรมนุษย์ ในแตล่ ะพ้นื ที่ 2. มุ่งพฒั นาคนไทยใหไ้ ด้รับการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและการมีงานทาอย่างมีคุณภาพท่ัวถึงและเท่า เทยี มกนั สามารถสรา้ งรายได้ทม่ี ัน่ คง และเป็นบคุ คลท่มี ีวินยั เปีย่ มไปด้วยคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสานึก ความ รบั ผิดชอบตอ่ ตนเอง ผอู้ น่ื และสงั คม 3. สง่ เสรมิ ใหม้ คี วามร่วมมือในการดาเนนิ งานรว่ มกับภาคเี ครอื ขา่ ย 4. ส่งเสรมิ ให้มีการเทยี บโอนความร้แู ละประสบการณเ์ ข้าส่หู ลักสูตรการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน 5. เน้นการปฏิบัติจริงเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ และสามารถนาไปประกอบอาชีพให้เกิด รายไดท้ ีม่ น่ั คง ม่ังคั่ง และย่ังยืน จุดมุ่งหมาย 1. เพอื่ ให้ผู้เรียนมีความรู้ เข้าใจทกั ษะการแปรรปู กลว้ ย ๒. เพื่อให้ผู้เรียนเห็นช่องทางการประกอบอาชีพและสามารถนาไปประกอบอาชีพให้เกิด รายได้ท่ี มน่ั คง มงั่ คัง่ และยั่งยนื

50 เป้าหมาย ประชาชนทว่ั ไปในพนื้ ท่ี ระยะเวลา จานวน ๕๐ ชวั่ โมง - ภาคทฤษฎี จานวน ๑๐ ชวั่ โมง - ภาคปฏบิ ตั ิ จานวน 40 ชัว่ โมง

โครงสร้าง เรื่องท่ี หัวเรอ่ื ง จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ เนอ้ื หา ๑ ช่องทางการประกอบ ๑. ผ้เู รียนทราบชอ่ งทางการ ๑. ความสาคญั และป อาชพี ประกอบอาชพี การแปรรูปกล้วย กล้วย ๒. ผู้เรยี นสามารถวิเคราะหค์ วาม ๒. การประกอบอาชพี เป็นไปได้ในการประกอบอาชพี การ กลว้ ย คณุ ธรรมจรยิ ธ แปรรูปกลว้ ย ๓. ความปลอดภยั ในก และอปุ กรณ์ 2 ทกั ษะการประกอบ ๑. ผเู้ รียนสามารถจัดเตรียมวสั ดุ ๑. ความรเู้ บ้อื งต้นเกี่ย อาชีพการแปรรูปกล้วย อุปกรณ์ในการแปรรปู กลว้ ย ๒. ลักษณะประเภทข ๒. ผเู้ รยี นสามารถคัดเลือกวสั ดุดบิ สว่ นผสมการแปรรูปก และอปุ กรณ์ให้มีความเหมาะสม ชนิด ๓. การแปรรปู กลว้ ย การตลาด ๔. ประเภทเคร่ืองมอื กล้วยวิธีใชแ้ ละการเก ปลอดภัยในการใชเ้ คร 5. การเตรียมวัสดุดิบ แปรรูปกล้วย 6. การแปรรูปกล้วยใ - กล้วยเบรกแตก - กล้วยกวน - กล้วยฉาบ - กล้วยนา้ ว้าแตกแ

งหลกั สตู ร า การจดั กระบวนการเรยี นรู้ เวลา (ช่วั โมง) ทฤษฎี ปฏบิ ัติ รวม ประโยชน์ของ 1. ขั้นนาเข้าสบู่ ทเรยี น ๒- 2 - วทิ ยากรชแี้ จงวตั ถปุ ระสงค์ในการสอน พการแปรรูป - ๔๐ 40 ธรรมสาหรบั คร้งั นี้ว่าจะไดค้ วามรูเ้ ร่อื งอะไรบ้าง การใชเ้ ครอ่ื งมือ ๒. ข้ันจัดการเรยี นรู้ ยวกบั กล้วย - การบรรยาย ของกล้วยและ ๓. ขั้นสรปุ กล้วย แตล่ ะ - วิทยากรและผเู้ รยี นรว่ มกนั สรปุ ผลการ การจดั การและ จดั การเรยี นรู้ในเร่ืองทเ่ี รยี น อการแปรรปู 1. ขน้ั นาเขา้ สบู่ ทเรียน ก็บรักษาความ - วทิ ยากรชแ้ี จงวตั ถปุ ระสงคใ์ นการสอน ร่ืองมืออปุ กรณ์ บอปุ กรณก์ าร ครง้ั นว้ี า่ จะไดค้ วามรู้เรอื่ งอะไรบ้าง ๒. ข้ันจดั การเรียนรู้ - การบรรยาย - การฝึกปฏบิ ตั ติ ามจดุ การเรียนรู้ ๓. ขน้ั สรปุ - วทิ ยากรและผเู้ รยี นรว่ มกันสรปุ ผลการ จัดการเรยี นรู้ในเรื่องที่เรียน ในรปู แบบตา่ งๆ แห้ง 51

เร่อื งท่ี หัวเร่ือง จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เน้อื หา 3 การบริหารจัดการใน ๑. การจัดการตลาดและการ - กลว้ ยสามรส - กลว้ ยเล็บมือนาง การประกอบอาชพี การ จาหนา่ ยผลิตภณั ฑ์ และการมี - กลว้ ยหนา้ งา - กล้วยฉาบเคลอื บ แปรรปู กล้วย คณุ ธรรมในการประกอบอาชีพ ๑. การการจดั การตล จาหน่ายคณุ ธรรมในก ๒. การบรรจภุ ัณฑส์ นิ ค้า อาชีพ ๒. การบรรจภุ ณั ฑส์ ิน ๓. การขายออนไลน์ ๓. การขายออนไลน์

า การจัดกระบวนการเรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง) ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ รวม งแตกแห้ง บคาราเมล 1. ขน้ั นาเขา้ สบู่ ทเรยี น ๘ - 8 ลาดและการ - วิทยากรชีแ้ จงวัตถปุ ระสงค์ในการสอน การประกอบ ครั้งนว้ี ่าจะไดค้ วามรูเ้ รือ่ งอะไรบา้ ง นค้า ๒. ข้นั จัดการเรยี นรู้ - การบรรยาย ๓. ขนั้ สรุป - วิทยากรและผู้เรยี นร่วมกนั สรปุ ผลการ จดั การเรียนรใู้ นเรื่องที่เรียน รวม 10 40 50 52

53 ส่ือการเรียนรู้ ๑ .ส่ือสงิ่ พิมพ์ ได้แก่ เอกสาร ใบความรู้ ๒. ภมู ิปญั ญาทอ้ งถนิ่ ๓. สอ่ื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ตา่ ง ๆ เช่น อินเตอร์เน็ต การวัดผลประเมนิ ผล 1. การประเมินความรู้ภาคทฤษฎีระหว่างเรียนและจบหลกั สตู ร 2. การประเมนิ ผลจากการปฏบิ ัตไิ ด้ผลงาน กรอบการประเมนิ วิธกี ารประเมิน เกณฑ์การประเมิน ๑. เพ่อื ใหผ้ ู้เรียนมีความรคู้ วามเข้าใจ 1.สงั เกตการมสี ่วนร่วมในกจิ กรรมของผู้ ผู้จบหลกั สตู รสามารถนาความร้แู ละ เกดิ ทักษะ ทกั ษะการประกอบอาชีพ เขา้ รับการอบรม ประสบการณ์ทไี่ ดร้ บั จากการเข้ารบั การ การแปรรปู กล้วยได้ อบรมนาไปประกอบอาชพี ได้ - การซกั ถามและการตอบคาถาม - การแสดงความคดิ เห็น รวมคะแนน (๑๐๐ คะแนน) (30 คะแนน) (70 คะแนน) เกณฑก์ ารจบหลกั สตู ร 1. ผู้เรียนมีเวลาเข้าเรยี นไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นทงั้ หมด 2. ผ่านการประเมนิ ความรภู้ าคทฤษฎแี ละภาคปฏิบตั ไิ ม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๖๐ เอกสารหลกั ฐานการศึกษา ใบสาคัญผู้ผา่ นการเรยี นหลักสูตร (แบบ กศ.ตน.11) การเทียบโอน -

54 หลกั สูตรฝกึ อบรมประชาชน

55 หลักสูตรการดูแลสุขภาพให้หา่ งไกลจากโรค (COVID-๑๙) จานวน 6 ชวั่ โมง ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอแสวงหา สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวดั อ่างทอง ความเปน็ มา เนื่องจากสถานการณ์โลกปัจจุบันมีการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-๑๙) เป็นจานวน มากส่งผลให้คนในประเทศไทยติดเชื้อไวรัสโคโรนาเป็นวงกว้าง ท่ัวทั้งประเทศไทย ดังนั้น จึงต้องมีมาตรการ ทางสังคมตามมาเพื่อช่วยในการชะลอการแพร่ระบาดของเช้ือโรค ซึ่งมาตรการส่วนใหญ่ทาเพ่ือลดโอกาสการ สัมผัสเชื้อโรคของประชาชน จึงได้มีมาตรการการปิดสถานศึกษา การยกเลิกพิธีกรรมทางศาสนา และการ หลีกเลีย่ งกิจกรรมทีม่ กี ารรวมตวั ของประชาชนจานวนมาก กศน.อาเภอแสวงหา จึงได้จัดทาหลักสูตรการดูแลสุขภาพให้ห่างไกลจากโรค (COVID-๑๙) จานวน 6 ชั่วโมง เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ คาแนะนา วิธีการปูองกันของเช้ือไวรัสโคโรนาได้อย่างถูกต้อง และ สามารถนาความรทู้ ีไ่ ด้รับไปเผยแพรใ่ หค้ นในครอบครวั และชุมชนต่อไป หลกั การของหลักสูตร 1. มุ่งเนน้ การปฏิบัตจิ รงิ โดยให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และประสบการณ์ในเร่ืองการดูแล สุขภาพใหห้ ่างไกลจากโรค (COVID-๑๙) 2. ม่งุ เน้นการนาความรู้ ทักษะการทาเจลล้างมือและทาสายคล้องแมส จดุ มงุ่ หมาย 1. เพ่อื ใหป้ ระขาขนไดร้ บั ความรู้ วธิ กี ารปูองกนั ที่ถกู ตอ้ งของเชื้อไวรัสโคโรนา 2. เพ่ือใหป้ ระชาขนฝกึ ปฏบิ ตั ิทักษะการทาเจลลา้ งมือและทาสายคล้องแมสเพ่ือไวใ้ ช้เอง กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนทวั่ ไปในพนื้ ที่ ระยะเวลา จานวน 6 ชั่วโมง - ภาคทฤษฎี จานวน 1 ชั่วโมง - ภาคปฏิบัติ จานวน 5 ชว่ั โมง

โครงสรา้ ง เรือ่ งที่ หวั เรือ่ ง จุดประสงค์การเรยี นรู้ เนอื้ หา ๑ ให้ความรู้เร่อื งโรค เพ่ือใหป้ ระชาชนไดร้ ับความรู้ ใหค้ วามรูเ้ ร่อื งโรค (C (COVID-๑๙) คาแนะนา วิธกี ารปูองกนั ตนเองที่ วธิ ีการดูแลตนเอง แล ถกู ตอ้ ง การปฏบิ ตั ติ นเองและ ครอบครวั 2 การทาเจลลา้ งมอื และ เพอ่ื ใหป้ ระชาชนได้เรียนรู้และฝึก ให้ความรูเ้ รื่องการทา สายคล้องแมส ปฏิบัติการทาเจลล้างมือและสาย สายคล้องแมส คล้องแมสเพ่อื ไวใ้ ชเ้ อง

งหลกั สตู ร า การจดั กระบวนการเรียนรู้ เวลา (ช่ัวโมง) บรรยายใหค้ วามรู้ COVID-๑๙) ทฤษฎี ปฏิบตั ิ รวม ละแนวทางใน ะบคุ คลใน 1- 1 าเจลล้างมือและ การฝึกปฏบิ ตั ิ -55 รวม 1 5 6 56

57 สื่อการเรียนรู้ 1. แผ่นพบั ใหค้ วามรเู้ รอื่ งโรค (COVID-๑๙) 2. วัสด/ุ อปุ กรณ์การทาเจลล้างมือและสายคลอ้ งแมส การวดั และประเมนิ ผล 1. แบบทดสอบ 2. การซักถามและการตอบคาถาม 3. ชิ้นงาน เงือ่ นไขการจบหลักสูตร 1. รอ้ ยละ 80 ผเู้ รยี นเขา้ รว่ มกิจกรรมตามหลกั สูตรฯ 2. ร้อยละ 80 ผ้เู รียนผา่ นกิจกรรมตามหลกั สตู รฯ เอกสารหลักฐานการศึกษา ใบสาคัญผู้ผา่ นการเรยี นหลักสูตร (แบบ กศ.ตน.11) การเทยี บโอน -

แบบทดสอบกอ่ นเรียน/หลังเรยี น หลักสูตรการดูแลสุขภาพให้หา่ งไกลจากโรค (COVID-๑๙) จานวน 6 ชั่วโมง คาช้แี จง ให้ผูเ้ รยี นเลอื กคาตอบที่ถูกต้องมาเพยี ง ๑ ข้อ 1. ต้นตอของไวรสั โคโรนา่ มาจากการไวรสั จากสัตว์ตัวกลางระบาดมาสู่คน ผปู้ วุ ยรายแรกพบที่เมืองอฮู่ ั่น ประเทศอะไร ก. จีน ข. ไทย ค. พม่า ง. เวียดนาม 2. ข้อใดกลา่ วถูกตอ้ งเกย่ี วกับอาการของผู้ติดโรคโควิด-19 ก. ไมไ่ ดร้ ับกลนิ่ ตัวรอ้ น ข. ตวั ร้อน ไอ รรู้ บั กลนิ่ ค. ไมไ่ ดร้ ับกล่ิน ไมร่ ับรส ตาแดง ผื่น ง. ถกู ทกุ ข้อ 3. ระยะเวลานบั จากการติดเชือ้ และการแสดงอาการ (ระยะฟักตวั ) ของผู้ปวุ ยเรม่ิ มีอาการก่วี ัน ก. 1-3 วัน ข. 4-5 วนั ค. 5-6 วนั ง. ภายใน 14 วัน 4. การเวน้ ระยะ คือ การอยหู่ ่างกนั และกัน เวน้ ระยะอย่างน้อยเท่าไร ก. 1 เมตร ข. 1.5 เมตร ค. 0.5 เมตร ง. 2 เมตร 5.ขอ้ ใดกลา่ วถูกต้องเก่ียวกับวธิ ีปูองกนั การแพร่ระบาดของโควิด-19 ก. ลา้ งมอื บ่อยๆ โดยใช้สบแู่ ละน้า หรือเจลลา้ งมือท่ีมีส่วนผสมหลกั เป็นแอลกอฮอล์ ข. ปดิ จมกู และปากด้วยข้อพับดา้ นในข้อศอกหรือกระดาษชาระเม่ือไอหรือจาม ค.หากมไี ข้ ไอ และหายใจลาบากโปรดไปพบแพทย์ ง. ถูกทกุ ขอ้

58 หลกั สูตรการดแู ลสุขภาพให้หา่ งไกลจากโรค (COVID-๑๙) และไขเ้ ลือดออก จานวน 3 ช่วั โมง ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอแสวงหา สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จังหวดั อ่างทอง ความเปน็ มา เนื่องจากสถานการณ์โลกปัจจุบันมีการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา (COVID-๑๙) เป็นจานวน มากส่งผลให้คนในประเทศไทยติดเช้ือไวรัสโคโรนาเป็นวงกว้าง ทั่วทั้งประเทศไทย ดังน้ัน จึงต้องมีมาตรการ ทางสังคมตามมาเพื่อช่วยในการชะลอการแพร่ระบาดของเช้ือโรค ซึ่งมาตรการส่วนใหญ่ทาเพื่อลดโอกาสการ สัมผัสเชื้อโรคของประชาชน จึงได้มีมาตรการการปิดสถานศึกษา การยกเลิกพิธีกรรมทางศาสนา และการ หลีกเลยี่ งกิจกรรมที่มกี ารรวมตัวของประชาชนจานวนมาก กศน.อาเภอแสวงหา จึงได้จัดทาหลักสูตรการดูแลสุขภาพให้ห่างไกลจากโรค (COVID-๑๙) จานวน 6 ช่ัวโมง เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ คาแนะนา วิธีการปูองกันของเชื้อไวรัสโคโรนาได้อย่างถูกต้อง และ สามารถนาความรู้ทีไ่ ด้รบั ไปเผยแพรใ่ หค้ นในครอบครัวและชมุ ชนตอ่ ไป หลักการของหลกั สตู ร 1. ม่งุ เนน้ การปฏิบัตจิ รงิ โดยให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และประสบการณ์ในเรื่องการดูแล สขุ ภาพใหห้ ่างไกลจากโรค (COVID-๑๙) และโรคไข้เลือดออก 2. มุ่งเนน้ การนาความรู้ ทกั ษะการทาเจลลา้ งมอื และทาสายคล้องแมส จดุ มุ่งหมาย 1. เพอื่ ใหป้ ระขาขนได้รบั ความรู้ วิธีการปอู งกนั ทถ่ี ูกตอ้ งของเชือ้ ไวรัสโคโรนาและเชอื้ ไวรัสแดงก้ี 2. เพื่อให้ประชาขนฝึกปฏบิ ตั ิทักษะการทาเจลล้างมอื และทาสายคลอ้ งแมสเพื่อไวใ้ ช้เอง กลมุ่ เป้าหมาย ประชาชนท่วั ไปในพนื้ ท่ี ระยะเวลา จานวน 3 ช่ัวโมง - ภาคทฤษฎี จานวน 30 นาที - ภาคปฏบิ ตั ิ จานวน 2 ชวั่ โมง 30 นาที

โครงสร้าง เร่ืองท่ี หัวเรอื่ ง จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ เนอ้ื หา ๑ ให้ความร้เู ร่ืองโรค เพือ่ ใหป้ ระชาชนไดร้ ับความรู้ ให้ความรเู้ ร่ืองโรค (C ไขเ้ ลือดออก วิธกี ารด (COVID-๑๙) และโรค คาแนะนา วิธีการปูองกันตนเองที่ แนวทางในการปฏิบัต บุคคลในครอบครัว ไข้เลือดออก ถกู ตอ้ ง 2 การทาเจลลา้ งมอื และ เพื่อให้ประชาชนได้เรียนรู้และฝกึ ให้ความรเู้ รื่องการทา สายคลอ้ งแมส ปฏิบัติการทาเจลล้างมือและสาย สายคล้องแมส คลอ้ งแมสเพอ่ื ไว้ใชเ้ อง

งหลักสูตร เวลา (ชว่ั โมง) า การจดั กระบวนการเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม COVID-๑๙) และ บรรยายให้ความรู้ 30 - 30 นาที ดแู ลตนเองและ นาที ตติ นเองและ าเจลล้างมอื และ การฝึกปฏบิ ตั ิ - 2 ชม. 2 ชม. 30 30 นาที นาที รวม 30 2 ชม. 3 นาที 30 นาที 59

60 สื่อการเรียนรู้ 1. แผ่นพบั ใหค้ วามรเู้ รอื่ งโรค (COVID-๑๙) 2. วัสด/ุ อปุ กรณ์การทาเจลล้างมือและสายคลอ้ งแมส การวดั และประเมนิ ผล 1. แบบทดสอบ 2. การซักถามและการตอบคาถาม 3. ชิ้นงาน เงือ่ นไขการจบหลักสูตร 1. รอ้ ยละ 80 ผเู้ รยี นเขา้ รว่ มกิจกรรมตามหลกั สูตรฯ 2. ร้อยละ 80 ผ้เู รียนผา่ นกิจกรรมตามหลกั สตู รฯ เอกสารหลักฐานการศึกษา ใบสาคัญผู้ผา่ นการเรียนหลักสูตร (แบบ กศ.ตน.11) การเทยี บโอน -

61 หลักสูตรการแปรรูปสมุนไพรเพอ่ื ปอ้ งกันโรคโควิด-19 จานวน 6 ชัว่ โมง ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอแสวงหา สานักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจังหวัดอา่ งทอง ความเป็นมา เน่ืองจากสถานการณ์โลกปัจจุบันมีการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา (COVID-๑๙) เป็นจานวน มากส่งผลให้คนในประเทศไทยติดเช้ือไวรัสโคโรนาเป็นวงกว้าง ท่ัวทั้งประเทศไทย ดังนั้น จึงต้องมีมาตรการ เพื่อช่วยในการปูองกันดูแลให้กับกลุ่มเส่ียงโดยท่ัวไป ซึ่งมาตรการที่สถานศึกษาได้ทาการส่งเสริม คือ การใช้ สมุนไพรเพ่ือปูองกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 การโดยจะดาเนินการให้ความรู้กับประชาชนและนา ความรไู้ ปใช้ในการปูองกันปัญหาดงั กล่าว กศน.อาเภอแสวงหา จึงได้จัดทาหลักสูตรการแปรรูปสมุนไพรเพ่ือปูองกันโรคโควิด-19 จานวน 6 ชั่วโมง เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ คาแนะนา ในการแปรรูปสมุนไพรเพ่ือใช้ปูองกันโรคโควิด-19 ได้อยา่ งถูกต้อง และสามารถนาความร้ทู ่ไี ดร้ บั ไปเผยแพร่ ให้คนในครอบครวั และชมุ ชนตอ่ ไป หลกั การของหลกั สูตร ๑. ประชาชนมคี วามรู้ความเขา้ ใจเรอ่ื งการปูองกันโรคโควิด-19 โดยการใชส้ มุนไพร ๒. มุ่งเนน้ การนาความรู้ ไปปฏบิ ตั ิจริง ดว้ ยการแปรรปู สมนุ ไพรใชป้ อู งกันโรคโควดิ -19 จดุ มุ่งหมาย 3. เพอื่ ให้ประขาชนมีความรคู้ วามเขา้ ใจเรอื่ งการปูองกัน โรคโควดิ -19 โดยการใชส้ มุนไพร 4. เพอื่ ให้ประชาชนนาความรู้ ไปปฏบิ ตั จิ ริง ด้วยการแปรรปู สมนุ ไพร กลมุ่ เป้าหมาย ประชาชนทวั่ ไปในพน้ื ท่ี ระยะเวลา จานวน 6 ช่ัวโมง - ภาคทฤษฎี 2 ชั่วโมง - ภาคปฏบิ ตั ิ 4 ช่วั โมง

เร่อื งที่ หัวเรื่อง จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ โครงสร้าง 1 การปอู งกนั โรคโควดิ เพอ่ื ให้ประขาชนมีความรู้ความ เน้อื หา 19 โดยการใชส้ มุนไพร เข้าใจเรอ่ื งการปอู งกนั โรคโควดิ การปูองกัน โรคโควดิ 19 โดยการใช้สมุนไพร สมุนไพร 2 การแปรรปู สมนุ ไพร เพื่อให้ประชาชนนาความรู้ ไป 1. การแปรรูปสมุนไพ ปฏบิ ตั จิ รงิ ดว้ ยการแปรรูปสมนุ ไพร 2. การบรรจุแคป็ ซลู บริโภคสด

งหลักสตู ร เวลา (ช่วั โมง) า การจัดกระบวนการเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม ด 19 โดยการใช้ บรรยายให้ความรู้ 2- 2 พรในรปู แบบผง การฝึกปฏิบัติ -44 และการ รวม 2 4 6 62

63 สื่อการเรยี นรู้ - แผ่นพับใหค้ วามรู้เรื่องการปอู งกัน โรคโควดิ -19 โดยการใชส้ มนุ ไพร - วัสดุ/อุปกรณ์การแปรรปู สมนุ ไพรในรูปแบบผง การบรรจแุ ค็ปซูล และการบรโิ ภคสด การวดั และประเมนิ ผล 1. แบบทดสอบ 2. การซักถามและการตอบคาถาม 3. ชิ้นงาน เงอื่ นไขการจบหลกั สตู ร 1. ร้อยละ 80 ผเู้ รยี นเขา้ ร่วมกิจกรรมตามหลักสูตรฯ 2. รอ้ ยละ 80 ผู้เรียนผ่านกจิ กรรมตามหลักสูตรฯ เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาทจ่ี ะไดร้ ับหลงั จากจบหลกั สตู ร วุฒบิ ตั รผู้ผ่านการอบรมตามหลักสตู ร (แบบ กศ.ตน.11)

64 หลักสูตรการปลูกพชื แบบเกษตรธรรมชาติ และการทาสมุนไพรปอ้ งกนั โรคโควดิ -19 จานวน 6 ช่วั โมง ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอแสวงหา สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวดั อา่ งทอง ความเปน็ มา เน่ืองจากสถานการณ์โลกปัจจุบันมีการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-๑๙) เป็นจานวน มากส่งผลให้คนในประเทศไทยติดเช้ือไวรัสโคโรนาเป็นวงกว้าง ท่ัวทั้งประเทศไทย ดังน้ัน จึงต้องมีมาตรการ เพอ่ื ชว่ ยในการปูองกันดูแลให้กับกลุ่มเส่ียงโดยทั่วไป ซ่ึงมาตรการท่ีสถานศึกษา ได้ทาการส่งเสริมคือการปลูก พชื สมุนไพรและการแปรรูปสมุนไพรเบื้องต้นเพ่อื ปอู งกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 โดยการดาเนินการ ใหค้ วามรู้ กบั ประชาชนและนาความรไู้ ปใชใ้ นการปอู งกนั ปญั หาดังกลา่ วในเบื้องต้น กศน.อาเภอแสวงหา จึงได้จัดทาหลักสูตรการปลูกพืชแบบเกษตรธรรมชาติและการทาสมุนไพร ปูองกันโรคโควิด-19 จานวน 6 ชั่วโมง เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ คาแนะนา ในการปลูกพืชสมุนไพรใน ระบบเกษตรธรรมชาติ และการแปรรูปสมุนไพรเบ้ืองต้นเพ่ือใช้ปูองกันโรคโควิด-19 ได้อย่างถูกต้อง และ สามารถนาความรู้ที่ไดร้ บั ไปเผยแพร่ ให้คนในครอบครัวและชมุ ชนตอ่ ไป หลักการของหลกั สตู ร ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการปูองกันโรคโควิด-19 โดยการปลูกพืชสมุนไพรด้วยระบบ เกษตรธรรมชาติ และการแปรรปู สมนุ ไพร มุ่งเน้นการนาความรู้ ไปปฏิบัติจริงใน ด้วยการปลูกพืชสมุนไพรด้วยระบบเกษตรธรรมชาติและการแปรรูป สมุนไพรในเบ้อื งตน้ จดุ ม่งุ หมาย 1. เพื่อให้ประขาขนมีความรู้ความเข้าใจเร่ืองการปูองกันโรคโควิด 19 โดยการปลูกพืชสมุนไพรด้วย ระบบเกษตรธรรมชาติ และการแปรรูปสมนุ ไพร 2. เพ่ือให้ประชาขนนาความรู้ ไปปฏิบัติจริงใน ด้วยการปลูกพืชสมุนไพรด้วยระบบเกษตรธรรมชาติ และการแปรรปู สมนุ ไพรเบ้ืองต้น กลมุ่ เป้าหมาย ประชาชนท่วั ไปในพน้ื ท่ี ระยะเวลา จานวน 6 ชวั่ โมง - ภาคทฤษฎี จานวน 3 ช่วั โมง - ภาคปฏบิ ตั ิ จานวน 3 ชั่วโมง

โครงสร้าง เรื่องที่ หัวเรือ่ ง จุดประสงค์การเรียนรู้ เนอ้ื หา 1 การปูองกันโรคโควดิ - เพื่อใหผ้ เู้ รียนมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ 1. การปอู งกันโรคโค 19 โดยการปลูกพชื เรือ่ งการปูองกันโรคโควดิ 19 โดย สมุนไพร สมุนไพรด้วยระบบ การปลกู พืชสมุนไพรดว้ ยระบบ 2. การปลกู พชื สมุนไพ เกษตรธรรมชาติ และ เกษตรธรรมชาติ และการแปรูป เกษตรธรรมชาติ การแปรปู สมุนไพร สมนุ ไพร 3. การแปรรูปสมนุ ไพ 2 การปลกู พชื สมนุ ไพร เพ่ือให้ผู้เรยี นฝึกปฏบิ ัตจิ รงิ โดยการ 1. การปลูกสมนุ ไพรด ด้วยระบบเกษตร ปลูกพืชสมุนไพรดว้ ยระบบเกษตร เกษตรธรรมชาติ ธรรมชาติ และการแปร ธรรมชาติและการแปรรูปสมนุ ไพร 2. การแปรรปู สมนุ ไพ รปู สมุนไพร เบือ้ งต้น และบรรจแุ ค็ปซลู

งหลกั สตู ร า การจัดกระบวนการเรียนรู้ เวลา (ช่วั โมง) ควดิ 19 ดว้ ย บรรยายให้ความรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ รวม 3- 3 พรด้วยระบบ พรเบอ้ื งตน้ การฝกึ ปฏิบตั ิติ -33 ด้วยระบบ พรในรูปแบบผง รวม 3 3 6 65

66 สื่อการเรยี นรู้ - แผ่นพับให้ความรู้เร่ืองการปูองกันโรคโควิด 19 ,การปลูกสมุนไพรด้วยระบบเกษตรธรรมชาติ , การแปรรูปสมุนไพรเบอื้ งตน้ - วัสดุ/อุปกรณ์การปลูกสมนุ ไพรดว้ ยระบบเกษตรธรรมชาติ และการแปรรูปสมนุ ไพร การวดั และประเมนิ ผล 1. แบบทดสอบ 2. การซักถามและการตอบคาถาม 3. ชน้ิ งาน เงอ่ื นไขการจบหลกั สตู ร 1. รอ้ ยละ 80 ผู้เรยี นเข้าร่วมกจิ กรรมตามหลักสตู รฯ 2. ร้อยละ 80 ผู้เรียนผ่านกิจกรรมตามหลกั สตู รฯ เอกสารหลักฐานการศึกษาทจ่ี ะได้รบั หลงั จากจบหลักสูตร วฒุ บิ ัตรผ้ผู ่านการอบรมตามหลักสูตร (แบบ กศ.ตน.11)

ที่ปรกึ ษา คณะผูจ้ ัดทา พ.จ.อ.พฒั น์ ผดงุ ญาติ นายอาไพ ข่าขนั มะลี ผู้อานวยการสานักงาน กศน.จังหวัดอา่ งทอง นางสาวอัญชลี พงษ์พานชิ รองผอู้ านวยการสานกั งาน กศน.จงั หวัดอ่างทอง ศึกษานิเทศก์ สานักงาน กศน.จงั หวดั อ่างทอง คณะทางาน นางจริ ชั ยา เฟือ่ งฟูรตั น์ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอสามโก้ รกั ษาการในตาแหน่ง นางสาวณตั ฐิ ญิ า พรหมทอง ผู้อานวยการ กศน.อาเภอแสวงหา นายชัยธวชั สมนกึ ครผู ู้ช่วย นายสมบตั ิ เกตถุ าวร ครูผู้ชว่ ย นางกฤษณา จ่นั ศรี ครูอาสาสมัคร กศน. นางสาวรตั นาภรณ์ สมบุญ ครู กศน.ตาบลแสวงหา นางนพวรรณ ศรเี คลือบ ครู กศน.ตาบลวังนา้ เยน็ นางธิดาสวรรค์ แมลงภู่ ครู กศน.ตาบลสบี ัวทอง นายณัฐพงษ์ วารนุช ครู กศน.ตาบลบา้ นพราน นายพิชชานนั ท์ ชยั สุวรรณ์ ครู กศน.ตาบลศรีพราน นายศภุ โชค บตุ รตะวงศ์ ครู กศน.ตาบลห้วยไผ่ ครู กศน.ตาบลจาลอง บรรณาธิการ นายชยั ธวัช สมนกึ ครูผชู้ ่วย นางสาวรตั นาภรณ์ สมบญุ ครู กศน.ตาบลวังน้าเย็น จดั พมิ พ์ตน้ ฉบับและจัดทารูปเล่ม ครูผู้ช่วย นายชยั ธวชั สมนกึ