Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานนำเสนอหน่วยที่9(ธนภัทร229)

งานนำเสนอหน่วยที่9(ธนภัทร229)

Published by Mon Soidee, 2021-09-10 08:02:01

Description: งานนำเสนอหน่วยที่9(ธนภัทร229)

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี 9 ภาวะผูน้ า

หวั ขอ้ เร่อื ง 1. ความหมายของภาวะผูท้ า 2. คุณสมบตั ขิ องผูน้ า 3. ลกั ษณะและบทบาทของผูน้ า 4. ลกั ษณะและบทบาทของผูน้ าทเ่ี หมาะสมกบั องคก์ รการใน ทศวรรษหนา้ 5. คุณลกั ษณะของผูน้ าตามหลกั พระพทุ ธศาสนา 6. การพฒั นาภาวะผูน้ า 7. บทบาทผูน้ าในการขบั เคลอ่ื นองคก์ ารธุรกจิ ในยุคโลกาภวิ ตั น์

ความหมายของภาวะผูน้ า ภาวะผูน้ า(Leadership) คอื กระบวนการท่ี บคุ คลใดบลุ คลหน่งึ หรอื มากกวา่ พยายามใชอ้ ทิ ธพิ ลของตน กา ระตนุ้ ช้นี า ผลกั ดนั ใหบ้ ลุ คลหรอื กลมุ่ มคี วามเตม็ ใจและ กระตอื รอื รน้ ในการทาสง่ิ ต่างๆตามตอ้ งการโดยมคี วามสาเรจ็ ของกลมุ่ หรอื องคก์ ารเป็นเป้าหมาย

คณุ สมบตั ิผูน้ า ผูน้ าอาจเป็นบคุ คลทม่ี ต่ี าแหน่งอย่างเป็นทางการหรอื ไมเ่ ป็น ทางการกไ็ ดโ้ ดยเฉพาะผูน้ าทไ่ี มเ่ ป็นทางการมกั จะรบั รูไ้ ดเ้ สมอเพราะใน กลมุ่ จะเป็นผูท้ ม่ี ลี กั ษณะเด่นเป็นทย่ี อมรบั ของสมาชิกในกระบวนการ ตดิ ต่อสมั พนั ธจ์ ะใชภ้ าวะผูน้ าปฏบิ ตั แิ ละอานวยการ เพ่อื มงุ่ บรรลุ เป้าหมายของกลมุ่ ทาใหใ้ นกลมุ่ แสดงพฤตกิ รรมทเ่ี ป็นเอกภาพ ดงั นน้ั คณุ สมบตั ผิ ูน้ าควรประกอบดว้ ย 1. ครองตน 1.1 มคี วามประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นดี 1.2 มคี วามรู้ ความสามารถ เขา้ ใจเหตกุ ารณ์ 1.3 มคี วามซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ 1.4 มคี วามอดทนอดกลนั้ 1.5 มเี หตผุ ล 1.6 มกี ารควบคมุ อารมณท์ ด่ี ี

2. ครองตน 2.1 มมี นุษยส์ มั พนั ธด์ ี 2.2 มคี วามเสยี สละ 2.3 มคี สามจรงิ ใจ 2.4 มคี วามสามารถในการจงู ใจ 2.5 มคี วามปรารถนาส่งเสรมิ ใหล้ ูกนอ้ งกา้ วหนา้ 3.ครองงาน 3.1 มคี วามคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ 3.2 มคี วามรบั ผดิ ชอบ 3.3 มกี ารตรงต่อเวลา 3.4 มคี วามมงุ่ มนั่ ในการสรา้ งผลงาน 3.5 มผี ลงานทเ่ี ป็นประจกั ษ์ 3.6 มคี วามกลา้ หาญ

ลกั ษณะและบทบาทของผูน้ า ผูน้ าเป็นบคุ คลทท่ี าใหอ้ งคก์ ารเจรญิ กา้ วหนา้ และบรรลผุ ลสาเรจ็ โดยเป็นผูท้ ม่ี บี ทบาทแสดงความสาพนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คลท่เี ป็น ผูใ้ ตบ้ งั คบั บญั ชาและเป็นบคุ คลทก่ี ่อใหเ้กดิ ความมนั่ คงและช่วยเหลอื ผูอ้ น่ื เพอ่ื ใหบ้ รรลเุ ป้าหมายของกลมุ่ ดงั นน้ั ผูน้ าจงึ ตอ้ งมลี กั ษณะดงั น้ี 1.ตอ้ งมคี วามฉลาด ผูน้ าตอ้ งมรี ะดบั ความรูแ้ ละสตปิ ญั ญาโดยเฉลย่ี ค่อนขา้ งสูง เพราะผูน้ าจะตอ้ งมคี วามสามารถในการวเิ คราะหป์ ญั หาต่างๆ บคุ คลท่ี ฉลาดเท่านน้ั ทจ่ี ะสามารถจดั การปญั หาต่างๆ หรอื เร่อื งราวต่างๆ ได้ 2.ตอ้ งมีวฒุ ภิ าวะทางสงั คมและใจกวา้ ง มคี วามสนใจสง่ิ ต่างๆ รอบตวั มวี ฒุ ภิ าวะทางอารมณ์ ตอ้ ง ยอมรบั สภาพต่างๆ ไมว่ า่ แพห้ รอื ชนะ ผดิ หวงั หรอื สาเรจ็ ผูน้ าจะตอ้ งมี ความอดทนต่อความคบั ขอ้ งใจต่างๆ พยายามขจดั ความรูส้ กึ ต่อตา้ น สงั คมและผูอ้ น่ื เป็นผูม้ เี หตผุ ลนบั ถอื ตนเอง และเชอ่ื มนั่ ในตนเอง

3.ตอ้ งมีแรงจูงใจภายใน ผูน้ าตอ้ งมพี ลงั แรงขบั ทจ่ี ะทาอะไรใหเ้ด่นใหส้ าเรจ็ อยู่เสมอ เมอ่ื ทาสง่ิ หน่งึ สาเรจ็ ยง่ิ เกดิ แรงจูงใจทา้ ทายท่จี ะทาสง่ิ อน่ื ต่อไปผูน้ า จะตอ้ งมคี วามรบั ผดิ ชอบสูง 4.ตอ้ งมีเจตคติท่ดี เี กย่ี วกบั มนุษยส์ มั พนั ธ์ ผูน้ าจะตอ้ งพฒั นาความเขา้ ใจและทกั ษะทางสงั คมทจ่ี ะ ทางานร่วมกบั ผูอ้ น่ื ผูน้ าจะตอ้ งใหค้ วามนบั ถอื ผูอ้ น่ื และระลกึ อยู่ เสมอวา่ ความสาเรจ็ ในการเป็นผูน้ านน้ั ข้นึ อยู่กบั ความร่วมมอื และ ตดิ จ่อกบั บคุ คลอน่ื ในฐานะบคุ คล

ลกั ษณะและบทบาทของผูน้ าท่เี หมาะสม กบั องคก์ ารในทศวรรษหนา้ มกุ ดา สนุ ทรรตั น์ ประธานเจา้ หนา้ ทฝ่ี ่ายทรพั ยากรบุคคลของ บรษิ ทั เอซเี อสจ(ี ประเทศไทย)จากดั ไดส้ รุปแนวทางการบรหิ าร เพอ่ื ความสาเรจ็ 7ขนั้ ตอนของผูน้ า ดงั น้ี 1.การกาหนดวสิ ยั ทศั น์ การกาหนดวสิ ยั ทศั น(์ Vision) ผูน้ าตอ้ งมคี วามฝนั และจดุ มงุ่ หมายทช่ี ดั เจนเพอ่ื สามารถนาทมี ไปสูจ่ ุดหมายนนั้ ๆ ได้ 2.การใหค้ วามน่าเช่ือถอื แกท่ มี การใหค้ วามน่าเชอ่ื ถอื แก่ทมี (Trust)ในการทางาน ร่วมกนั จะประสบผลสาเรจ็ ไดต้ อ้ งมคี วามไวว้ างใจกนั และกนั เช่อื มนั่ ในความสามารถของทมี โดยยดึ ผลงานเป็นหลกั และ กระบวนการทางานยดึ พนกั งานเป็นศูนยก์ ลาง โดยมกี ารให้ ความรูแ้ ก่พนกั งาน

3.การสอ่ื สารแบบเปิดด การสอ่ื สารแบบเปิด(Open Communication) คานึงถงึ ความสาเรจ็ ของการสอ่ื สาร สรา้ งระบบการทางานทส่ี อ่ื สารขอ้ มลู ใหพ้ นกั งานทราบถงึ วสิ ยั ทศั น์ กล ยุทธ์ และมสี ว่ นร่วมในการกาหนดแผนงานและเป้าหมายในการทางาน 4.การสรา้ งงานใหม้ ีคณุ คา่ การสรา้ งงานใหม้ คี ณุ ค่า(Meaningful Work) ทงั้ กบั ผูน้ าและทมี งาน สนุกกบั งานเพราะไดป้ ฏบิ ตั งิ านทท่ี า้ ทาย มอบหมาย งานทเ่ี หมาะสมกบั ความรู้ ความสามารถของพนกั งาน มกี ารจดั คนให้ เหมาะกบั งาน ประกอบกบั ผูน้ าเป็นผูส้ อนทด่ี ี 5.การมอบอานาจ การมอบอานาจ(Empowerment) การให้ พนกั งานไดร้ บั ผดิ ชอบงานแบบเบด็ เสรจ็ โดยสรา้ งมาตรฐานระเบยี บ ปฏบิ ตั ทิ ช่ี ดั เจน ใหพ้ นกั งานมสี ่วนร่วมกบั การบรหิ ารงาน แสดงการ ยอมรบั และเช่อื มนั่ ผูน้ าตอ้ งเปลย่ี นรูปแบบในการปฎบิ ตั งิ าน โดนตอ้ ง กระจายอานาจการตดั สนิ ใจใหพ้ นกั งาน

6.การทางานเป็ นทมี การทางานเป็นทมี (Teamwork) เป็นการผลกั ดนั ให้ ผูน้ าตระหนกั ถงึ ความสาคญั ของทมี งานและพฒั นาทมี งานโดยการ กาหนดแนวทางและขอบเขตการปฏบิ ตั งิ านอยา่ งชดั เจน เช่อื มนั่ ใน ความสามารถของทมี งาน ใหค้ วามสาคญั กบั การทางานขา้ มสายงาน 7.การเปลย่ี นแปลงใหเ้ หมาะสม การรูจ้ กั การเปลย่ี นแปลงใหเ้หมาะสม (Transformation)ผูน้ าตอ้ งวเิ คราะหช์ ่างวา่ งระหว่าง วสิ ยั ทศั นแ์ บะสภาพการณป์ จั จบุ นั ขององคก์ าร เพอ่ื วางกลยทุ ธแ์ ละ แผนปฏบิ ตั ิ นาไปสูก่ ารเปลย่ี นแปลงใหไ้ ดต้ ามเป้าหมาย

คณุ ลกั ษณะของผูน้ าตามหลกั พระพทุ ธศาสนา คาสอนในพระพทุ ธศาสนาทส่ี าคญั พระพทุ ธองคไ์ ดแ้ สดงใหเ้ห็นถงึ ลกั ษณะหรอื วถิ ที างผูน้ าทด่ี ซี ง่ึ สามารถนามาประยุกตใ์ ชก้ บั การบรหิ ารและ จดั การสมยั ใหมไ่ ด้ และเป็นแนวทางทจ่ี ะนาไปปฏบิ ตั ิ ซง่ึ เอ้อื กบั วฒั นธรรมไทย ไดแ้ ก่ ทศพริ าชธรรม 10 ประการ อธษิ ฐานธรรม 4 พรหมวหิ าร 4 อคติ 4 คหิ สิ ุข 4 สงั คหวตั ถุ 4 ขนั ตโิ สรจั จะ หริ โิ อตปั ปะ อทิ ธบิ าท 4 เวสารชั ชกรณธรรม 5 ยุตธิ รรม 5 อปรหิ านิยธรรม 7 นาถ กรณธรรม 10 กลั ยาณมติ รธรรม 7 และ บารมี 10 ประการ แต่ในทน่ี ้จี ะ ยกตวั อย่าง2หลกั ธรรมคาสอน ดงั น้ี 1.อคต4ิ อคต(ิ Prejudice) คอื ความเอนเอยี งแหง่ อารมณ์ เกิด จากความไมเ่ ท่าเทยี มและช่องวา่ งในสงั คม อคติ แปลวา่ ไมใ่ ช่ทางไป ไมใ่ ช่ทางเดนิ ไมค่ วรไป ไมค่ วรเดนิ ในภาษาไทยหมายถงึ ความลาเอยี ง ความไมย่ ุตธิ รรม ความไมเ่ ป็นธรรม ซง่ึ ผูน้ าตอ้ งตระหนกั ละเวน้ 4 ประการดงั น้ี

1.ฉนั ทาคต(ิ Prejudice Caused by Love or Desire) ลาเอยี งโดยสนบั สนุนพรรคพวกทช่ี อบ หรอื ผูจ้ ่ายสนิ จา้ งแก่ตน 2.โทสาคต(ิ Prejudice Caused by Hatred or Enmity) ลาเอยี งเขา้ ขา้ งหรอื ลงโทษฝ่ายทต่ี น เกลยี ดชงั ใหห้ นกั กวา่ ฝ่ายทต่ี นชอบพอ 3.โมหาคต(ิ Prejudice Caused by Delusion or Stupidity) ลาเอยี งเสยี ความยุตธิ รรม เพราะโฉดเขลา ไมร่ ูท้ นั เหตกุ ารณท์ แ่ี ทจ้ รงิ 4.ภยาคต(ิ Prejudice Caused by Fear) ลาเอยี งยอมร่วมดว้ ยเพราะเกรงอานาจอทิ ธพิ ลหรอื กลวั จะ ขาดผลประโยชน์

2.สงั คหวตั ถุ 4 สงั คหวตั ถุ 4 (Base of Sympathy) คอื ธรรม เคร่อื งยดึ เหน่ยี วใจบคุ คลและประสานหมชู่ นไวใ้ นสามคั คี ธรรมเพอ่ื ให้ เป็นทร่ี กั ของคนทวั่ ไป ผูน้ าควรใชเ้ป็นหลกั ปฏบิ ตั ติ นไดแ้ ก่ 1.ทาน(Giving Offering) คอื การให้ เสยี สละ แบง่ ปนั ผูอ้ น่ื เช่น การใหร้ างวลั สวสั ดกิ ารทด่ี ี เป็นตน้ 2.ปิยวาจา(Kindly Speech) คอื พดู จาดว้ ย ถอ้ ยคาสุภาพ นุ่มนวล เหมาะแก่บคุ คล เวลาสถานท่ี พดู ในสง่ิ ทเ่ี ป็น ประโยชน์ พดู ในทางสรา้ งสรรค์ และเกดิ กาลงั ใจ เช่น การควบคมุ การ จูงใจ เป็นตน้ 3.อตั ถจรยิ า(Useful Conduct) คอื ทาตนให้ เป็นประโยชน์ ตามกาลงั สตปิ ญั ญา ความรู้ ความสามารถ กาลงั ทรพั ย์ และเวลา เช่น การพฒั นาคน การบรหิ ารงานตามวตั ถปุ ระสงค์ เป็นตน้ 4.สมานตั ตตา(Even and Equal Treatment) คอื ทาตนใหเ้สมอตน้ เสมอปลาย วางตน เหมาะสมกบั ฐานะ ตาแหน่งหนา้ ทก่ี ารงาน ไมเ่ อาเปรยี บผูอ้ น่ื ร่วมทกุ ข์ ร่วมสุข เช่น การสอ่ื สาร การมอบอานาจ เป็นตน้

การพฒั นาภาวะผูน้ า ผูน้ าเป็นบคุ คลผูม้ คี วามสาคญั ตอ้ งเรยี นรูส้ ่งิ ต่าง ๆ มากกวา่ ผูอ้ น่ื แกป้ ญั หาต่าง ๆ ได้ สามารถทาให้ ผูใ้ ตบ้ งั คบั บญั ชาร่วมกนั แกป้ ญั หาต่าง ๆ ไดอ้ ย่างสอดคลอ้ งตามสถานการณ์ แต่สถานการณต์ ่าง ๆ เปลย่ี นแปลงไปอย่างรวดเรว็ เช่น องคก์ ารมขี นาดใหญแ่ ละมคี วาม สลบั ซบั ซอ้ นในการบรหิ ารงาน มากข้นึ ตามสถานการณ์ ผูน้ าตอ้ งมี ความสามารถหลายอย่าง ลกั ษณะการบรหิ ารไมไ่ ดอ้ ยู่ท่ผี ูน้ าคนเดียว แต่ อยูท่ ่ผี ูป้ ฏบิ ตั งิ านทกุ คน ดงั นน้ั ผูน้ าตอ้ งเป็นนกั พฒั นาและตอ้ งพฒั นา ภาวะผูน้ าของตนเองดงั น้ี 1.เรยี นรูต้ นเอง ตอ้ งฝึกฝนความอดทน อดกลน้ั สรา้ งนิสยั อ่อนนอ้ มถ่อมตน พฒั นามนุษยสมั พนั ธข์ องตนเอง ใหด้ ี สามารถขา้ ไดก้ บั บคุ คลทกุ ระดบั ชน้ั ปรบั ปรงุ ลกั ษณะนิสยั ของตนเองอยู่เสมอใหเ้ขา้ กบั ผูอ้ น่ื ได้ สง่ิ เหลา่ น้ี เกดิ ข้นึ จากการสงั เกตพฤตกิ รรมของตนเองและความมงุ่ มนั่ ท่ีจะ เปลย่ี นแปลงตนเองใหด้ ขี ้นึ

2.เรยี นรู้ คนรอบขา้ งทกุ คน เขา้ ใจธรรมชาตขิ องมนุษย์ คนรอบขา้ งเป็นฐานความรูเ้พอ่ื ทาใหเ้ขา้ ใจผูอ้ น่ื ไดม้ ากข้นึ การ เขา้ ใจความคดิ และ ผูอ้ น่ื จะสามารถมองเหน็ ความเป็นจรงิ ของผอู้ น่ื วา่ เขาเป็นเช่นใด 3.จรงิ ใจและหวงั ดกี บั ทกุ คน ความจรงิ ใจเป็นสง่ิ ท่สี อ่ื สารทางจติ ใจ จากความรูส้ กึ ทผ่ี า่ นจากการแสดงออก การสรา้ งให้ องมคี วาม จรงิ ใจ แสดงความจรงิ ใจ ไมเ่ สแสรง้ ผูน้ าหากมคี วามจรงิ ใจเป็นทต่ี ง้ั ผูอ้ น่ื จะมองเหน็ และ เช่อื ใจในการตดั สนิ ใจของผูน้ า 4.สอ่ื สารไดอ้ ยา่ งดี ทกั ษะการสอ่ื สารเป็นหวั ใจของผูน้ า เพราะผูต้ ามจะทาตามได้ อย่างถกู ตอ้ งตามความ ตอ้ งการหรอื ไมน่ น้ั ข้นึ กบั การสอ่ื สารของผูน้ า เป็นสาคญั ไม่วา่ เร่อื งยากแค่ไหนกต็ อ้ งสามารถสอ่ื สารใหท้ งั้ คน สาด และ ไมฉ่ ลาดเขา้ ใจไดค้ รบถว้ น ตอ้ งฝึกทกั ษะการพดู การเขยี น รวมถงึ การ ตคี วามหมายของคาทผ่ี ูอ้ น่ื ลอื สารมาใหต้ รงประเดน็ พฤตกิ รรม 5.สรา้ งจุดยนื ของตนเอง นาจะมจี ดุ ยนื ของตนเอง แต่จดุ ยนื เปลย่ี นแปลงไดห้ ากจดุ ทก่ี าลงั ยนื อยู่ นาตอ้ งเก่งในเร่อื งความคดิ และความมงุ่ มนั่ ในตนเอง

6.พฒั นาความคดิ ใหเ้ ป็นระบบ ระเบยี บ เพอ่ื ใชแ้ กป้ ญั หาต่าง ๆ ในทนั ที การฝึกใหค้ ดิ เป็นระบบ ระเบยี บนนั้ ะทาใหม้ องเหน็ ความเป็นจรงิ ไดเ้รว็ ข้นึ เขา้ ใจ เรว็ ข้นึ เมอ่ื เขา้ ใจ และทราบวา่ สง่ิ ต่าง เป็นไปเช่นไร จะ ทาใหส้ ามารถแกป้ ญั หาต่าง ๆ ไดร้ ว 7.เสนอความคดิ เหน็ กบั กลมุ่ หรอื ท่ปี ระชมุ การฝึกออกความคิดเหน็ เป็นตวั กระตนุ้ ใหส้ มองเกดิ การวเิ คราะห์ และแจกแจงสง่ิ ต่าง ๆ ได้ รวดเรว็ มากข้นึ ผูน้ าส่วนใหญ่จึงสอน แนะนา แสดงความคดิ เหน็ ของตนกบั ผูอ้ น่ื เสมอทง้ั ในทป่ี ระชมุ การสนทนา หรอื แมแ้ ต่การพกั ผ่อน และประยุกตส์ ง่ิ ต่าง ๆ ใหส้ ามารถเป็นจริงได้

8.สรา้ งแนวความคดิ ท่แี ตกต่าง แต่เป็นความจรงิ สามารถใชไ้ ดจ้ รงิ และ สอ่ื สารใหผ้ ูอ้ น่ื ไดร้ บั รู้ ผูน้ ามกั มแี นวความคดิ ทแ่ี ตกต่างจากผูอ้ น่ื ๆ แนวความคดิ เหลา่ น้มี กั เกดิ จากประสบการณ์ และความชานาญในการแยกแยะหรือ วเิ คราะหเ์ หตกุ ารณต์ ่าง \" ซง่ึ จาเป็นตอ้ งสอ่ื สารความคดิ เหลา่ นน้ั ใหก้ บั คนรอบขา้ งไดร้ บั รูเ้พอ่ื ใหเ้กดิ การปฏบิ ตั ขิ ้นึ ตามแนวความคดิ นน้ั 9.ศึกษาหาความรูใ้ หม่ ๆ รวมทง้ั ท่เี กย่ี วขอ้ งกบั งานใหม้ ากท่สี ดุ ผูน้ ามกั มวี สิ ยั ทศั นแ์ ละมมุ มองใหม่ ๆ มาประยุกตใ์ หเ้ขา้ กบั การ ทางานอยู่เสมอ นิสยั ทช่ี อบ เรยี นรูแ้ ละทดลอง สามารถนาส่งิ ทร่ี ูม้ า ประยุกตใ์ ชก้ บั งานได้ การเขา้ ใจและจดจาสง่ิ ต่าง ๆ จงึ มผี ลกบั ความคดิ โดยเฉพาะความรู ้

10.ฝึกนาทมี งานตง้ั แตข่ นาดเลก็ ถงึ ใหญ่ข้ึนเรอ่ื ย ๆ การเร่มิ เป็นผูน้ าตอ้ งเร่มิ จากความมนั่ ใจเลก็ ๆ ไปหาสง่ิ ทย่ี ง่ิ ใหญ่ กวา่ เพอ่ื ทดลองใช้ ความสามารถนาพาไปถงึ จดุ มงุ่ หมาย การเรม่ิ เป็น ผูน้ าตอ้ งฝึกนาสมาชกิ ตงั้ แต่กลมุ่ ขนาดเลก็ ใหป้ ระสบ ความสาเรจ็ เพอ่ื สรา้ งความมนั่ ใจขน้ั พ้นื ฐาน ก่อนจะนากลมุ่ ทข่ี นาดใหญข่ ้นึ ไป สง่ิ ของ หรอื ทฤษฎใี หม่ ๆ จะเป็นผลดชี ่วยสง่ เสรมิ ความเป็นผูน้ า 11.สะสมประสบการณแ์ ละหาขอ้ ดีและขอ้ เสยี ของการนาทมี แลว้ นามา ปรบั ปรุงตนเองใหด้ ขี ้ึน ผูท้ ท่ี างานย่อมมผี ดิ พลาด การเป็นผูน้ าก็เช่นกนั เมอ่ื ผดิ พลาด ตอ้ งสรุปและหาขอ้ ดขี อ้ เสยี ของการทางานในแต่ละขน้ั อย่างเป็นกลาง มากทส่ี ดุ แลว้ ปรบั ปรงุ ตนเองใหม้ นี สิ ยั เหลา่ น้ี จะทาใหภ้ าวะผูน้ า ในตน เกดิ ความเขม้ แขง็ มากยง่ิ ข้นึ

บทบาทผูน้ าในการขบั เคล่อื นองคก์ ารธุรกจิ ในยคุ โลกา ภวิ ตั น์ การสรา้ งความมนั่ ใจในองคก์ ารใหอ้ งคก์ ารอยู่รอดไดท้ ่ามกลาง กระแสโลกาภวิ ตั นแ์ ละเตบิ โตไดอ้ ย่าง ยงั่ ยนื โดยเป็นผลมาจากการมี สว่ นร่วมของพนกั งานทกุ คน และสง่ิ สาคญั ทจ่ี ะนาพาองคก์ ารไปสู่ทศิ ทาง ท่ี ตอ้ งการ คอื การสรา้ งวสิ ยั ทศั นร์ ่วม โดยทาใหพ้ นกั งานมองเหน็ ภาพ ขององคก์ ารในอนาคตไดอ้ ย่างชดั เจนเพอ่ื ใหเ้กดิ ความเชอ่ื มนั่ และเตม็ ใจ เขา้ มามสี ว่ นร่วมในการพฒั นาองคก์ ารโดยใชห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งตอ้ งเรม่ิ ตน้ ทผ่ี ูน้ าธุรกจิ มคี วามรูแ้ ละความเขา้ ใจทถ่ี กู ตอ้ งในหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ดงั นน้ั ผูน้ าธุรกจิ จงึ ตอ้ งพจิ ารณาถงึ ความ เหมาะสมกบั เงอ่ื นไขและสภาวะทอ่ี งคก์ ารกาลงั เผชญิ อยู่ โดยประยุกตใ์ ช้ หลกั ปชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเขา้ กบั การบรหิ ารธุรกจิ ดา้ นต่างๆ ดงั ต่อไปน้ี

1. ดา้ นการผลติ ผูน้ าธุรกจิ กาหนดขนาดการผลติ ทเ่ี หมาะสมตามกาลงั ความสามารถในการผลติ ขององคก์ าร โดยไม่รบั คาสงั่ ซ้อื สนิ คา้ หาก ความสามารถในการผลติ ไมเ่ พยี งพอ วางแผนการใชท้ รพั ยากร โดยยดึ หลกั ความคุม้ ค่าและมปี ระสทิ ธภิ าพสูงสุด ใชท้ คนโลยที เ่ี หมาะสมและ ถกู ตอ้ งตามหลกั วซิ าการ โดยเฉพาะ สนบั สนุนการใชว้ ตั ถดุ บิ ท่มี อี ยู่ใน ประเทศและเทคโนโลยใี นการผลติ จากภมู ปิ ญั ญาไทย มงุ่ เนน้ คุณภาพ 2. ดา้ นการตลาด ผูน้ าธุรกจิ ตอ้ งมคี วามรอบรูใ้ นธุรกจิ ทด่ี าเนินการอยู่ และนา ความรูใ้ นขอ้ เทจ็ จรงิ มาใชใ้ นการ กาหนดนโยบายการตลาด วางแผนและ บรหิ ารจดั การอย่างมเี หตผุ ลและเป็นธรรม เพอ่ื ประโยชนแ์ ก่องคก์ าร ธุรกจิ อย่างแทจ้ รงิ ยดึ หลกั การรกั ษาความสมดุลในการแบง่ ปนั ผลประโยชนข์ องธุรกจิ ระหวา่ งผูม้ สี ่วนไดส้ ่วน เสยี อย่างสมเหตสุ มผล ตงั้ แต่ผูบ้ รโิ ภค พนกั งาน บรษิ ทั คู่คา้ สงั คม และสง่ิ แวดลอ้ ม ไดแ้ ก่ การ ตง้ั ราคาสนิ คา้ ในราคายุตธิ รรม หลกี เลย่ี งการโฆษณาชวนเช่ือเกนิ จรงิ เพอ่ื มงุ่ หวงั ยอดขายในระยะสนั้ ใชก้ ลยุทธด์ า้ นการ วจิ ยั เพอ่ื สรา้ ง นวตั กรรมในสนิ คา้ ทงั้ ดา้ นการออกแบบและพฒั นาสนิ คา้ ใหม่ รวมถงึ การแกไ้ ขและปรบั ปรุง เดมิ ใหม้ คี ุณสมบตั ิ คุณประโยชน์ และคณุ ภาพ เพม่ิ ข้นึ รกั ษาความลบั ของผูบ้ รโิ ภค ซง่ึ จ ความสมั พนั ธท์ างธุรกจิ มงุ่ ดาเนินธุรกจิ โดยไมเ่ อาเปรยี บผูอ้ น่ื ซอ่ื สตั ย์ และมคี ุณธรรมต่อคู่คา้ เพอ่ื สรา้ ง คณุ ค่าใหแ้ ก่องคก์ ารธุรกจิ ในระยะยาว

3. ดา้ นการเงนิ ผูน้ าธุรกจิ วางแผนการลงทนุ ในธุรกจิ ทส่ี ุจรติ ไม่ก่อใหเ้กดิ ผลเสยี ต่อสงั คม วเิ คราะหถ์ งึ ความคมุ้ คาาในการลงทนุ อย่างรอบคอบดว้ ย เหตผุ ล และลงทนุ ในธุรกจิ ทห่ี ลากหลาย เพอ่ื ลดความเสย่ี งดา้ น รกั ษา อตั ราสว่ น การเงนิ หลกี เลย่ี งการลงทนุ บนพ้นื ฐานของเงนิ กูท้ เ่ี กนิ ขดี ความสามารถในการชาระหน้ี หน้สี นิ ต่อทนุ ใหเ้หมาะสม และกาหนด นโยบายการลงทนุ โดยไมห่ วงั ผลทาไรในระยะสนั้ ควรเนน้ ความมนั่ คง ใน ระยะยาว ทากาไรแต่พอประมาณ โดยไมม่ ากเกนิ ไปจนธุรกจิ ตอ้ งประสบ ภาวะเสย่ี งหรอื ขาดภมู คิ มุ้ กนั ใน ธุรกจิ และทากาไรไมน่ อ้ ยเกนิ ไปจน ธุรกจิ สามารถอยู่รอดโดยใชห้ ลกั ปชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งใหก้ วา้ งขวาง และครอบคลมุ ทกุ ส่วนงาน 4. ดา้ นทรพั ยากรบคุ คล ผูน้ าธุรกจิ เหน็ คุณค่าและใหค้ วามสาคญั กบั การพฒั นาพนกั งาน อย่างต่อเน่อื ง โดยนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใชใ้ นการ บรหิ ารทรพั ยากรบคุ คลดา้ นต่าง 1 ไดแ้ ก่ การคดั เลอื กพนกั งาน ดว้ ย หลกั ยุตธิ รรม โดยนน้ คนดที ซ่ี อ่ื สตั ยแ์ ละคนเก่งทม่ี คี ุณภาพ เนน้ การ ทางานเป็นทมี ฝึกอบรมการใชห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งใหแ้ ก่ พนกั งานทกุ ระดบั ในองคก์ าร ส่งเสรมิ การศึกษาและวจิ ยั เพ่อื พฒั นา องคค์ วามรูแ้ ละนวตั กรรมในดา้ นต่าง ๆ ใหเ้กดิ ประโยชนส์ ูงสุดแก่ ผูบ้ รโิ ภคและองคก์ าร วางแผนการเตรยี ม ความพรอ้ มของพนกั งานใน อนาคต กาหนดตวั ช้วี ดั การประเมนิ ผลงานดว้ ยความโปร่งใสและเป็น ธรรม เปลย่ี นแปลงระบบการเลอ่ื นตาแหน่งจากหลกั ความอาวโุ สหรือ หลกั อปุ ถมั ภเ์ ป็นหลกั ความสามารถของ คลกาหนดระดบั ค่าจา้ ง พอประมาณแกฐานะขององคก์ ารและสอดคลอ้ งกบั ตลาด

5.ดา้ นสงั คมและสง่ิ แวดลอ้ ม ผูน้ าธุรกจิ ผลกั ดนั การยดึ มนั่ ในระบบคณุ ธรรมกบั ทกุ ฝ่ายท่ี เก่ยี วขอ้ ง ไมเ่ บยี ดบงั ผลประโยชน์ ส่วนรวม ไมท่ าลายสง่ิ แวดลอ้ มหรอื สง่ ผลกระทบเชงิ ลบต่อสงั คมโดยรวม นอกจากน้ผี ูน้ าธุรกจิ ตอ้ งกระตนุ้ ให้ พนกั งานเหน็ คุณค่าในการแบง่ ปนั สูส่ งั คม ไดแ้ ก่ การแบง่ ปนั องค์ ความ โดยสรา้ งเครอื ขา่ ยแหง่ การเรยี น เก่ยี วกบั เศรษฐกจิ พอเพยี งและ เผยแพร่ไปยงั สงั คมใหก้ วา้ งขวางยง่ิ ข้นึ ดว้ ยการนาเสนอตวั อย่างผ่าน ช่องทางต่างๆ

จดั ทาโดย นาย ธนภทั ร สรอ้ ยดี รหสั นักศึกษา 64301040229 ประกาศนียบตั รวชิ าชีพชน้ั สูงชน้ั ปี ท่ี 1 แผนกวชิ าช่างไฟฟ้ าควบคมุ (1สฟ13) เสนอ อาจารย์ ชตุ กิ าญน์ ทาเอ้อื


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook