Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Education 4.0 IN Active Learning

Education 4.0 IN Active Learning

Published by tae19878, 2016-10-07 03:34:23

Description: Education 4.0 IN Active Learning

Search

Read the Text Version

Education 4.0 In Active Learning จดั ทำโดย 1. นายกิตติชยั สมศรีโย 58200083 2. นางสาวณฐั วดี ทุมขนั ธ์ 58200465 3. นางสาวพกิ ลุ แกว้ กาษร 58200982 4.นางสาวภทั รสุดา บุตรวงค์ 58201118 5.นางสาวอกั ษราภคั รอบคอบ 58201804 เสนอ ดร.วลิ าวลั ย์ สมยาโรนวิชำ นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ำรสนเทศทำงกำรศึกษำ 161213 แขนงวชิ ำภำษำไทย วทิ ยำลยั กำรศึกษำ มหำวทิ ยำลัยพะเยำ

คำำนำ รายงานน้ีเป็นส่วนหน่ึงของวชิ า นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศึกษา 161213 มีเน้ือหาเกย่ี วกบั Education 4.0 In Active Learning เพ่ือใชป้ ระกอบในการเรียนการสอนเกีย่ วกบั นวตั กรรมใหม่ และสื่อหรือช่องทางการติดต่อส่ือสารต่างๆ ท่ีเกดิ ในปัจจบั นั เพ่อื นามาใชใ้ นการเรียนการสอน และการประยกุ ตใ์ ชอ้ ยา่ งเหมาะสม คณะผจู้ ดั ทา

Education 4.0 In Active Learning Internet of thing ความหมายกค็ ือยคุ ที่คนเราอยกู่ บั Internet ตลอดเวลา เราใชช้ ีวติ ส่วนใหญไ่ ปกบัSocial Media เด็กเรียนหนงั สือกบั Youtube ชีวติ เราปัจจุบนั ปฏสิ มั พนั ธก์ บั เทคโนโลยเี หลา่ น้ีมากข้ึนจริงๆและเรากไ็ ม่สามารถท่ีจะตา้ นทานกระแสของเทคโนโลยเี หลา่ น้ีได้ มีแต่ตอ้ งพฒั นาการเรียนการสอนให้สอดคลอ้ งกบั ยุคน้ี เพอื่ ใหไ้ ดป้ ระโยชนส์ ูงท่ีสุดและนนั่ คอื ท่ีมาของคาวา่ “Education4.0”จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั คณะวศิ วกรรมศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร.บณั ฑิต เอ้ืออาภรณ์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เร่ิมพฒั นาระบบการศึกษาเขา้ สู่ยคุ 4.0 เช่น การสร้างหอ้ งเรียน i-SCALE คือ หอ้ งเรียนทนั สมยั ท่ีมุ่งเนน้ การปฏิสมั พนั ธข์ องผเู้ รียน มีการเรียนการสอนท่ีมุ่งการคดิ เชิงออกแบบ ซ่ึงคอื แนวทางออกแบบท่ีมุ่งความตอ้ งการของผใู้ ช้เป็ นสาคญั และการผลิตนวตั กรรมท่ีตอบสนองความตอ้ งการของสงั คมส่วนใหญ่ หลงั จากท่ีผมอา่ นบทความของท่านจบ ผมกไ็ ดพ้ บกบั ความหมายของคาว่า Education4.0 ในแบบฉบบั ของผมซ่ึงผมคดิ เขา้ ขา้ งตวั เองว่าน่าจะเป็นผบู้ ญั ญตั ิมนั ข้ึนมาเอง

Education 4.0 คือการเรียนการสอนที่สอนใหน้ กั ศึกษา สามารถนาองคค์ วามรู้ที่มีอยทู่ ุกหนทุกแห่งบนโลกน้ีมาบูรณาการเชิงสร้างสรรค์ เพอ่ื พฒั นานวตั กรรมต่างๆ มาตอบสนองความตอ้ งการของสงั คมการเรียนการสอนในยคุ 4.0 ตอ้ งปล่อยให้เดก็ ไดใ้ ชเ้ ทคโนโยี ในการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ปลอ่ ยให้เดก็ กลา้ คดิและกลา้ ที่จะผดิ แต่ท้งั หมดกย็ งั คงตอ้ งอยใู่ นกรอบที่สงั คมตอ้ งการหรือยอมรับได้ ไม่ใช่ว่าเก่งจริง คิดอะไรใหม่ๆ ไดเ้ สมอมีความคิดสร้างสรรค์ แต่ไม่เป็นที่ยอมรบั ของสงั คม ซ่ึงเรื่องของ Education 4.0 มนั ฟังดูเหมือนงา่ ยมากเพราะมนั มีปัจจยั หลกั ๆ แค่ 3 ปัจจยั คอื 1.Internet เครื่องมือสาคญั สาหรับการคน้ หาความรู้ ผมเองจะเขียนบทความน้ีกอ็ าศยั Internet น่ีละ่ ครบั เป็นแหล่งขอ้ มูลท่ีสาคญั ดงั น้นั ทางสถาบนั การศกึ ษาคงตอ้ งสนบั สนุนให้นกั เรียนนกั ศกึ ษาเขา้ ถึง Internet ไดง้ า่ ยมากกวา่ มอง Internet เป็นผรู้ ้ายแลว้ กลวั วา่ นกั เรียนนกั ศึกษาจะใช้ Internet ไปในทางที่ไม่ดีเลยไม่สนบั สนุนโครงสร้างพ้นื ฐานเหล่าน้ีในสถาบนั 2.ควำมคดิ สร้ำงสรรค์ หลายๆ ท่านชอบพูดนะครับวา่ เรื่องของความคิดสร้างสรรค์ มนั เป็นพรสวรรคไ์ ม่ใช่พรแสวงเรียนรู้กนั ไม่ได้ เพราะคิดกนั แบบน้ีเราถึงไม่สามารถสร้างอะไรใหม่ข้ึนมาได้ หลกั สูตรการเรียนการสอนควรจะเปิ ดโอกาส ใหน้ กั เรียนนกั ศกึ ษากลา้ ที่จะคดิ นอกกรอบหรือต่อยอดจากตารา 3.กำรปฏิสัมพันธ์กบั สังคม เพอื่ ที่จะสามารถตอบสนองความตอ้ งการของสงั คมและทางานร่วมกนั ในสงั คมได้ จุดน้ีไม่ใช่เพอ่ืความตอ้ งการของตลาดแลว้ นะครบั (สงสยั คราวหนา้ ตอ้ งมาเขียนเรื่อง Marketing 4.0) ทางสถาบนั การศกึ ษาเองควรมีกจิ กรรมใหน้ กั เรียนนกั ศึกษาไดเ้ ขา้ ร่วมเป็นประจา มีการสนบั สนุนการทางานแบบเป็นกลมุ่มากกว่างานเดี่ยว

ถา้ ปัจจยั ท้งั 3 ขอ้ ทาไดด้ ี Education 4.0 กจ็ ะสามารถสร้างและพฒั นาคน ให้สามารถคน้ หาความรู้ต่างๆ มาปะติดปะต่อและประยกุ ตเ์ ขา้ กบั งานที่ทา สามารถต่อยอดและพฒั นาสิ่งใหม่ๆ ได้ มีเพ่ือนฝงู มีคอนเนคชนั่ ซ่ึงท้งั หมดกค็ อื คุณสมบตั ิหลกั ๆ ของบุคลากรท่ีตลาดแรงงานในยคุ Industry 4.0 ตอ้ งการ ผมกต็ อ้ งขอฝากไปถึงผมู้ ีส่วนเก่ียวขอ้ งกบั การศึกษาในบา้ นเราท่ีตอนน้ีมุ่งแต่จะตอบสนอง AEC ซ่ึงผมกค็ ิดวา่ มนั ก็สาคญั แต่เรากต็ อ้ งเตรียมพร้อมในเรื่องของ Industry 4.0 ดว้ ย ช่วยกนั เปล่ียนการเรียนการสอนในบา้ นเราจากระบบการท่องจาและการเคารพอาจารย์ โดยการท่ีไม่แสดงความคดิ เห็นท่ีแตกต่าง มาเป็นระบบท่ีสอนให้นอ้ งๆไดห้ ดั คิด หดั ทา สามารถที่จะโตต้ อบดว้ ยเหตุผลกบั อาจารยไ์ ด้ แต่กย็ งั คงตอ้ งมีกรอบใหเ้ ขา้ ใจถึงการอยรู่ ่วมในสงั คมดว้ ย นอ้ งๆ จะไดม้ ีโอกาสสร้างนวตั กรรมแขง่ ขนั กบั ชาติอื่นๆ ไดม้ ากกวา่ น้ี ซ่ึงทางแอพพลิแคดเองกม็ ีความยนิ ดีท่ีจะสนบั สนุนกิจกรรมต่างๆ ที่จะช่วยใหน้ อ้ งๆ ไดม้ ีโอกาสแสดงความสามารถความคดิ สร้างสรรค์ อยา่ งเช่น กจิ กรรมประกวดการออกแบบดว้ ย SolidWorks โดยติดตามรบั ขา่ วสารไดท้ ี่ในยคุ ปฏริ ูปการเรียนการสอน เพอื่ ให้สอดคลอ้ งกบั นโยบายการปฏิรูปการศึกษาเช่ือวา่ ในวงการครูอาจารย์ในทุกระดบั คงจะคนุ้ เคยหรือไดย้ นิ คาว่า Active Learning กนั มาก และค่อนขา้ งจะเป็นคาท่ีอยใู่ นยคุ ซ่ึงฮิตติดตลาด (ครู) ผเู้ ขียนเคยคน้ หาและสอบถามว่ามีคาศพั ทใ์ ดๆ ในภาษาไทยท่ีจะใชเ้ รียกแทนคาน้ีไดบ้ า้ งหรือไม่ ซ่ึงราชบณั ฑิตท่านหน่ึงกบ็ อกแก่ผเู้ ขียนว่า ถา้ จะใหใ้ ชต้ รงตวั เลยกต็ อ้ งใชว้ า่ \"การเรียนรู้แบบกมั มนั ต\" เพราะคาว่า Active แปลเป็นไทยคือ กมั มนั ต ผเู้ ขียนคิดวา่ น่าจะทาใหค้ รูอาจารยท์ ้งั หลายตอ้ งฉงนกนั ต่ออีกกระมงั ว่า แลว้ เจา้ กมั มนั ตน้ีแปลวา่ อยา่ งไรอกี ฉะน้นั จึงขอทบั ศพั ทว์ า่ Active Learning หรือใชค้ ายอ่ วา่ AL ในการเขียน AL \"เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รียนรู้อยา่ งมีความหมาย โดยการร่วมมือระหว่างผเู้ รียนดว้ ยกนั ในการน้ี ครูตอ้ งลดบทบาทในการสอนและการให้ขอ้ ความรู้แก่ผเู้ รียนโดยตรงลง แต่ไปเพ่มิกระบวนการและกิจกรรมท่ีจะทาใหผ้ เู้ รียนเกิดความกระตือรือร้นในการจะทากจิ กรรมต่างๆ มากข้ึน และอยา่ งหลากหลาย ไม่วา่ จะเป็นการแลกเปล่ียนประสบการณ์ โดยการพดู การเขียน การอภิปรายกบั เพือ่ นๆ\"

Active Learning คอื กระบวนการจดั การเรียนรู้ท่ีผเู้ รียนไดล้ งมือกระทาและไดใ้ ชก้ ระบวนการคิดเก่ียวกบั สิ่งท่ีเขาได้กระทาลงไป (Bonwell, 1991) เป็นการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ภายใตส้ มมติฐานพ้นื ฐาน 2 ประการคอื 1) การเรียนรู้เป็นความพยายามโดยธรรมชาติของมนุษย,์ และ 2) แตล่ ะบุคคลมีแนวทางในการเรียนรู้ท่ีแตกต่างกนั(Meyers and Jones, 1993) โดยผเู้ รียนจะถูกเปลี่ยนบทบาทจากผรู้ ับความรู้(receive) ไปสู่การมีส่วนร่วมในการสร้างความรู้(co-creators) Active Learning เป็นกระบวนการเรียนการสอนอยา่ งหน่ึง แปลตามตวั กค็ ือเป็นการเรียนรู้ผา่ นการปฏบิ ตั ิ หรือ การลงมือทาซ่ึง ” ความรู้ “ที่เกดิ ข้ึนกเ็ ป็นความรู้ท่ีไดจ้ ากประสบการณ์ กระบวนการในการจดักจิ กรรมการเรียนรู้ท่ีผเู้ รียนตอ้ งไดม้ ีโอกาสลงมือกระทามากกวา่ การฟังเพียงอยา่ งเดียว ตอ้ งจดั กจิ กรรมให้ผเู้ รียนไดก้ ารเรียนรู้โดยการอ่าน, การเขียน, การโตต้ อบ, และการวเิ คราะหป์ ัญหา อกี ท้งั ใหผ้ เู้ รียนไดใ้ ช้กระบวนการคดิ ข้นั สูง ไดแ้ ก่ การวเิ คราะห์, การสงั เคราะห์, และการประเมินคา่ ดงั กล่าวนนั่ เองหรือพดู ให้งา่ ยข้นึ มาหน่อยก็คือ หากเปรียบความรู้เป็น ” กบั ขา้ ว ” อยา่ งหน่ึงแลว้ Active learning กค็ ือ ” วธิ ีการปรุง ”กบั ขา้ วชนิดน้นั ดงั น้นั เพอ่ื ให้ไดก้ บั ขา้ วดงั กล่าว เรากต็ อ้ งใชว้ ธิ ีการปรุงอนั น้ีแหละแต่วา่ รสชาติจะออกมาอยา่ งไรกข็ ้ึนกบั ประสบการณ์ความชานาญ ของผปู้ รุงนน่ั เอง ( ส่วนหน่ึงจากผสู้ อนใหป้ รุงดว้ ย )“เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รียนรู้อยา่ งมีความหมาย โดยการร่วมมือระหว่างผเู้ รียนดว้ ยกนั ในการน้ี ครูตอ้ งลดบทบาทในการสอนและการใหข้ อ้ ความรู้แก่ผเู้ รียนโดยตรงลง แต่ไปเพมิ่ กระบวนการและกจิ กรรมท่ีจะทาใหผ้ เู้ รียนเกิดความกระตือรือร้นในการจะทากจิ กรรมต่างๆ มากข้นึ และอย่างหลากหลาย ไม่วา่ จะเป็นการแลกเปลย่ี นประสบการณ์ โดยการพูด การเขียน การอภิปรายกบั เพอ่ื นๆ”กระบวนการเรียนรู้ Active Learning ทาใหผ้ เู้ รียนสามารถรกั ษาผลการเรียนรู้ใหอ้ ยคู่ งทนไดม้ ากและนานกว่ากระบวนการเรียนรู้ Passive Learning เพราะกระบวนการเรียนรู้ Active Learning สอดคลอ้ งกบั การทางานของสมองท่ีเก่ียวขอ้ งกบั ความจา โดยสามารถเกบ็ และจาสิ่งที่ผเู้ รียนเรียนรู้อยา่ งมีส่วนร่วม มีปฏิสมั พนั ธ์ กบั เพ่อื น ผสู้ อน ส่ิงแวดลอ้ ม การเรียนรู้ไดผ้ า่ นการปฏบิ ตั ิจริง จะสามารถเกบ็ จาในระบบความจาระยะยาว (Long Term Memory) ทาใหผ้ ลการเรียนรู้ ยงั คงอยไู่ ดใ้ นปริมาณท่ีมากกว่า ระยะยาวกวา่ซ่ึงอธิบายไว้ ดงั รูป

จากรูปจะเห็นไดว้ ่า กรวยแห่งการเรียนรู้น้ีไดแ้ บ่งเป็น 2 กระบวนการ คือกระบวนกำรเรียนรู้ Passive Learning  กระบวนการเรียนรู้โดยการอา่ นท่องจาผเู้ รียนจะจาไดใ้ นสิ่งท่ีเรียนไดเ้ พยี ง 10%  การเรียนรู้โดยการฟังบรรยายเพียงอยา่ งเดียวโดยที่ผเู้ รียนไม่มโี อกาสไดม้ ีส่วนร่วมในการเรียนรู้ดว้ ย กจิ กรรมอื่นในขณะท่ีอาจารยส์ อนเมื่อเวลาผา่ นไปผเู้ รียนจะจาไดเ้ พยี ง 20%  หากในการเรียนการสอนผเู้ รียนมีโอกาสไดเ้ ห็นภาพประกอบดว้ ยกจ็ ะทาใหผ้ ลการเรียนรู้คงอยไู่ ด้ เพิม่ ข้นึ เป็น 30%  กระบวนการเรียนรู้ท่ีผสู้ อนจดั ประสบการณ์ให้กบั ผเู้ รียนเพิม่ ข้ึน เช่น การให้ดูภาพยนตร์ การสาธิต จดั นิทรรศการให้ผเู้ รียนไดด้ ู รวมท้งั การนาผเู้ รียนไปทศั นศกึ ษา หรือดูงาน กท็ าให้ผลการเรียนรู้ เพ่มิ ข้ึน เป็น 50%กำรบวนกำรเรียนรู้ Active Learning  การใหผ้ เู้ รียนมีบทบาทในการแสวงหาความรู้และเรียนรู้อยา่ งมีปฏิสมั พนั ธจ์ นเกดิ ความรู้ ความ เขา้ ใจนาไปประยกุ ตใ์ ชส้ ามารถวิเคราะห์ สงั เคราะห์ ประเมินคา่ หรือ สร้างสรรคส์ ่ิงต่างๆ และ พฒั นาตนเองเต็มความสามารถ รวมถงึ การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ให้เขาไดม้ ีโอกาสร่วม อภิปรายใหม้ ีโอกาสฝึกทกั ษะการส่ือสาร ทาใหผ้ ลการเรียนรู้เพิ่มข้ึน 70%

 การนาเสนองานทางวิชาการ เรียนรู้ในสถานการณ์จาลอง ท้งั มีการฝึกปฏบิ ตั ิ ในสภาพจริง มีการ เชื่อมโยงกบั สถานการณ์ ต่างๆ ซ่ึงจะทาให้ผลการเรียนรู้เกิดข้นึ ถงึ 90%กำรเตรียมตัวด้ำนผู้เรียน นอกจากจะตอ้ งพาตวั เองหรือบงั คบั ตวั เองใหไ้ ปเขา้ ช้นั เรียนแลว้ ส่ิงที่จะกอ่ ใหเ้ กดิ บรรยากาศของAL ได้ ผเู้ รียนกจ็ ะตอ้ งเตรียมตวั ในเรื่องต่อไปน้ี คอือา่ นบทเรียนและหรือทาการบา้ นที่ไดร้ บั มอบหมายมาลว่ งหนา้ทบทวนสิ่งท่ีไดเ้ รียนไปแลว้ เตรียมใจท่ีจะเรียนอยา่ งสนใจเตรียมกายให้พร้อมทีจ่ ะเขา้ ร่วมกจิ กรรมต่างๆบทบำทของครู การเตรียมตวั ใหพ้ ร้อมที่จะสอน หรือ ศึกษาขอบเขตและกรอบในการทางานศึกษาฝ่ายผเู้ รียน วิเคราะหจ์ ุดออ่ นจุดแขง็จดั ระบบการเรียนการสอน ซ่ึงจะเนน้ ให้ผเู้ รียนมีส่วนร่วมมากที่สุดรวบรวมทรพั ยากรและผลติ ข้นึ เพิ่มเติม โดยเฉพาะสื่อต่างๆดาเนินการพฒั นาผเู้ รียนและพฒั นางาน ประเมินผล-สรุปผลและนามาปรบั ปรุง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook