Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ง30201_ใบความรู้ที่ 01

ง30201_ใบความรู้ที่ 01

Published by Kru Aom, 2019-11-18 03:51:13

Description: ง30201_ใบความรู้ที่ 01

Search

Read the Text Version

1ใ บ ค ว า ม รู้ เรอ่ื ง เรม่ิ ตน้ กับเรอื่ งของวิดีโอ และการตัดตอ่ รหัสวิชา ง 30201 รายวชิ า คอมพวิ เตอรส์ ร้างสรรค์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 ครูผสู้ อน : นางสาวพิมพ์ลภสั คาโตนด กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี (คอมพวิ เตอร)์ โรงเรยี นหนองแค “สรกจิ พทิ ยา”

เรมิ่ ต้นกบั เรื่องของวดิ โี อและการตดั ต่อ 1 รู้จกั กบั การตดั ต่อวดิ โี อ โดยทวั่ ไปเราตดั ตอ่ วิดโี อกเ็ พื่อให้เกิดผลตา่ ง ๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี - ตัดภาพส่วนท่ีผดิ พลาดหรอื ไม่ต้องการทิ้งไป - เลือกภาพท่อนที่ดีท่ีสุดเพ่ือนามาใช้ (ในกรณีที่ถ่ายเนื้อหาแต่ละตอนไว้หลายคร้ังหรือ หลายแบบ) - จดั ลาดบั ภาพใหม่เพือ่ ให้นาเสนอเรือ่ งราวได้ตรงตามต้องการ - สรา้ งจงั หวะและอารมณข์ องภาพเพื่อใหส้ อดคล้องกบั เร่ืองราว - เพิ่มดนตรีประกอบ เสยี งบรรยาย ภาพน่ิง ภาพเคลื่อนไหว แบบกราฟกิ ไตเตลิ และเอฟเฟ็คต์ตา่ ง ๆ ดจิ ติ ลั วิดีโอและอนาลอ็ กวดิ โี อ ดิจิตอลวิดีโอ (digital video) เป็นระบบวิดีโอท่ีบันทึกและแสดงภาพโดยใช้ข้อมูลแบบ ดจิ ิตอลเหมอื นในเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึง่ ข้อมูลพ้ืนฐานจะประกอบดว้ ยคา่ 0 และ 1 เท่านน้ั คณุ อาจจะ คุ้นเคยกับตัวย่อ DV (หรือ MiniDV) ซึ่งติดอยู่ท่ีตัวกล้องและเทปบันทึกภาพ แต่ความจริงแล้ว DV เป็นเพียงประเภทย่อยแบบหนึ่งของดิจิตอลวิดีโอเพราะยังมีดิจิตอลวิดีโอรูปแบบอื่น ๆ อีก เช่นท่ี พบบ่อยคือ MPEG-2, MPEG-4 และ DivX เป็นต้น สาหรับอนาล็อกวิดีโอ (analog video) ซึ่งเป็นระบบวิดีโอแบบเดิมท่ีเคยใช้กันมานั้น การ บันทึกและแสดงภาพจะใช้สญั ญาณอนาลอ็ ก เช่นที่ค้นุ เคยกนั ดกี ็คือวิดีโอเทปแบบ VHS นอกจากนีก้ ็มี วิดโี อเทปแบบ Hi8 เป็นตน้ ขอ้ ดขี องดิจติ อลวิดโี อ คอื สามารถถา่ ยโอนข้อมูลเขา้ สู่คอมพิวเตอรเ์ พอื่ การตดั ตอ่ ได้งา่ ยโดย ไม่มีการสูญเสียคุณภาพ และให้ผลลัพธ์ที่เหมือนกับต้นฉบับเสมอไม่ว่าจะทาสาเนาต่ออีกก่ีทอด ส่วน อนาล็อกวิดีโอน้ัน ถ้าจะนามาตัดต่อ ก็จะต้องผ่านขัน้ ตอนการแปลงให้เป็นดิจิตอลกอ่ นโดยใชอ้ ุปกรณ์ อย่างเช่นการ์ดจับภาพ (video capture card) ซ่ึงคุณภาพของวิดีโอที่ได้จะขึ้นกับคุณสมบัติชอง อุปกรณ์ แต่ถ้าไม่นาภาพเข้าสู่คอมพิวเตอร์ก็จะต้องใช้วิธีตัดต่อแบบ linear หรือ tape-to-tape ซ่ึงมี ข้อจากัดมากกวา่ และการทาสาเนาตอ่ ไปแตล่ ะทอดจะทาให้คุณภาพของวิดีโอลดลงเรื่อยๆ ระบบอนาล็อก (Analog) เป็นระบบที่ทางานให้กับข้อมูลหรือสัญญาณซึ่งมีลักษณะเป็นคลื่น ต่อเนื่อง โดยมีการเปล่ียนแปลงได้ท้ังในด้านความถี่ (frequency) และระดับสัญญาณ (amplitude) ตัวอย่างเช่น เสียงที่คนเราได้ยิน เปน็ ต้น ข้อเสยี ของระบบอนาล็อกคือเกิดสัญญาณรบกวน (noise) ได้ง่าย การแยกสัญญาณรบกวนออกจากข้อมูลจริงเป็นเรื่องยาก นอกจากนี้การทาสาเนาหรือส่งผ่าน สญั ญาณแตล่ ะทอดจะเกดิ ความสญู เสยี ทาใหค้ ุณภาพดอ้ ยจากต้นฉบับไปเรอื่ ย ๆ ระบบดิจิตอล (digital) เป็นระบบที่ทางานกับข้อมูลหรือสัญญาณซึ่งมีเฉพาะค่าที่แน่นอน จานวนหนึ่ง เช่น ข้อมูลที่เก็บในคอมพิวเตอร์ซึ่งมีเฉพาะค่า 0 และ 1 เท่านั้น ข้อดีของระบบดิจิตอล คือ การกาจัดความผิดพลาดหรือสัญญาณรบกวนทาได้ง่าย สามารถทาสาเนาได้ไม่จากัด หรือส่ง สญั ญาณผา่ นระยะไกล ๆ ได้โดยคุณภาพยังคงเหมือนต้นฉบบั ทุกประการ

การบีบวิดีโอและอดั เสียง วดิ ีโอเป็นข้อมลู ที่มีขนาดใหญ่มาก โดยเฉพาะถา้ เป็นวดิ ีโอความละเอียดสูง ขนาดของข้อมูลก็ จะยิ่งเพิ่มขึ้นสูงมาก ข้อมูลขนาดใหญ่จะทาให้ไม่สะดวกในการเก็บบันทึกเพราะต้องใช้ส่ือท่ีจุได้มากๆ ในขณะเดียวกันก็ไม่เหมาะจะใช้เผยแพร่ เพราะโดยท่ัวไปช่องทางการส่งข้อมูลมักมีความเร็วจากัด (เช่น ในการส่งสัญญาณโทรทัศน์,การส่งวิดีโอจากเครื่องเล่น DVD ไปยังจอภาพ หรือการเผยแพร่ วดิ ีโอทางเว็บไซท์ เป็นตน้ ) ซง่ึ ถ้าข้อมลู มขี นาดใหญ่ก็จะทาให้ส่งไมท่ ัน ดังน้ันวดิ ีโอท่ีเราพบสว่ นใหญ่จึง เป็นข้อมูลที่ถูกบีบอัด (compress) ไว้ในรูปแบบใดรูปแบบหน่ึง และเมื่อต้องการแสดงผล วิดีโอก็จะ ถูกคลายการบีบอัดออกมา (decompress) ซ่ึงในกระบวนการบีบอัดและคลายนี้จะถูกทาโดย ซอฟต์แวร์หรือฮาร์ดแวร์ท่ีเรียกว่า codec (ย่อมาจาก compress-decompression) สาหรับเสียงก็ เปน็ ขอ้ มลู ขนาดใหญ่เชน่ กนั แตย่ ังเล็กกวา่ วดิ ีโอ และมีใชท้ ั้งรปู แบบท่ีไม่บีบอัดและที่บบี อดั แล้ว ในการเล่นหรือเปิดไฟล์วิดีโอเพื่อนามาตัดต่อ เครื่องของคุณจะต้องติดตั้ง codec ที่ใช้กับ ภาพหรือเสียงในวิดีโอดังกล่าวด้วย มิฉะน้ันจะไม่สามารถเล่นหรือเปิดไฟล์ได้ หรือเล่นได้ไม่สมบูรณ์ เช่นมีแต่เสียงโดยไมม่ ีภาพ ส่วนใหญ่แล้ว codec จะถูกเพิม่ เข้ามาโดยโปรแกรมต่างๆ ทีเ่ ราตดิ ตั้งลงใน เคร่ืองน่ันเอง ตัวอย่างของ codec ท่ีได้ยินกันคุ้นหูก็ เช่น MPEG-1,MPEG-2,MPEG-4,DivX,MP3 เป็นต้น เทคนิคการบีบอัดและคลายข้อมูลมี 2 แบบ คือ lossless และ lossy แต่สาหรับดิจิตอล วดิ ีโอส่วนใหญ่แล้วจะเปน็ แบบ lossy มากกวา่ lossless เป็นเทคนิคการบีบอัดซึ่งเม่ือคลายออกมาแล้วจะได้ข้อมูลท่ีตรงตามต้นฉบับ ทกุ อยา่ งโดยไม่ผดิ เพย้ี น แตข่ อ้ เสียของวธิ ีนคี้ ือจะลดขนาดขอ้ มลู ได้ไม่มากนัก lossy เปน็ เทคนคิ การบีบอดั ซ่ึงเมื่อคลายออกมาแล้วจะไดข้ ้อมูลท่ไี ม่เหมือนกันตน้ ฉบับ หรือมีรายละเอียดบางส่วนหายไป มักใช้กับข้อมูลประเภทภาพและเสียงถึงแม้จะมีความผิด เพ้ียนบ้างผู้ชมก็จะไม่สังเกตเห็น แต่ถ้ายิ่งบีบอัดให้ข้อมูลมีขนาดเล็กมาก เมื่อคลายออกมาก็จะ ไดผ้ ลลัพธท์ แ่ี ย่ลงกวา่ ตน้ ฉบับมากดว้ ย วิธกี ารบีบอัดวิดีโอแบบตา่ ง ๆ Codec ที่ใช้บีบอัดวิดีโอ (video codec) มีหลายแบบซึ่งแต่ละแบบกม็ ีคุณสมบัตแิ ตกตา่ งกัน ออกไป เช่น บางแบบเหมาะสาหรับวิดีโอที่ถ่ายจากธรรมชาติ แต่บางแบบเหมาะสาหรับวิดีโอที่แสดง ภาพเคลื่อนไหวแบบกราฟิก นอกจากน้ีอัตราการบีบอัดของข้อมูลแตกต่างกัน ซึ่งการเลือก codec เพ่ือใช้งานจงึ ข้ึนกับวตั ถุประสงค์ในการนาวดิ ีโอไปใช้ หรือรปู แบบของวดิ ีโอผลลัพธ์ท่ีต้องการ สาหรับ codec ทเ่ี ราจะพบได้บอ่ ยก็ประกอบดว้ ย Microsoft Video 1 และ Micro RLE เป็น codec พ้ืนฐานสาหรับภาพวิดีโอบนระบบปฏิบัติการ Windows โดย Video 1 เป็น codec แบบ lossy ส่วน RLE เป็นแบบ lossless แต่มีจานวนสีท่ีใช้ได้จากัดจึงเหมาะสาหรับงาน

แอนิเมชั่นมากกว่า codec ท้ังสองตัวน้มี ีอตั ราการบบี อดั ข้อมูลไม่มากนักทาใหข้ นาดไฟล์ค่อนขา้ งใหญ่ แต่มขี อ้ ดคี ือสามารถเล่นบนพีซไี ดท้ ุกเครื่อง Cinepak เป็น codec พ้ืนฐานแบบหนึ่งของภาพวิดีโอประเภท QuickTime บนเคร่ือง Apple Macintosh ต่อมาจึงถูกนามาใช้บนระบบ Windows ด้วย แต่เดิม codec แบบน้ีถูกออกแบบให้เล่น วิดีโอที่มีความละเอียดและอัตราข้อมูลที่สูงขึ้น ข้อดีคือไฟล์มีขนาดไม่ใหญ่มากและเล่นได้บนเครื่อง หลายแบบ Intel Indeo เป็น codec ท่ีพฒนาข้ึนมาโดยบริษัท Intel มี คณุ สมบัติส่วนใหญ่คล้าย Cinipak แต่ทางานได้เร็วและ ใหค้ ุณภาพวดิ โี อทด่ี ีกว่าเลก็ น้อย DV เปน็ codec ท่ใี ช้ในกล้องประเภท DV รวมทัง้ ในไฟล์วิดีโอที่ถ่ายโอนมาจากกล้องแบบนี้ ข้อดี คือเป็นรูปแบบท่ีสามารถเก็บรักษาคุณภาพของวิดีโอต้นฉบับไว้ได้อย่างสมบูรณ์ที่สุด แต่ข้อเสียคือ บีบอัดข้อมูลได้น้อย วิดีโอที่ได้จะมีความละเอียดคงที่ 720576 พิกเซล (ระบบ PAL) หรือ 720480 พกิ เซล (ระบบ NTSC) และมตี ัราการบีบอัดขอ้ มูล 5:1 สาหรบั ระบบเสียมกั เป็นแบบ PCM ขนาด 16 บิท 32 kHz 4 ชอ่ งสญั ญาณ MPEG-1 เป็นกลุ่มของ codec ที่ใช้สาหรับบีบอัดข้อมูลวิดีโอและเสียง ซึ่งในส่วนของวิดีโอน้ัน codec ถูกนาไปใช้กับแผ่น VCD โดยจากัดความละเอียดของภาพไว้ท่ี 352288 (PAL) หรือ 352240 (NTSC) และมีอัตรข้อมูลวิดีโอคงท่ี 1,150 Kbps ทาให้คุณภาพทาได้แค่ใกล้เคียงกับเทปแบบ VHS เท่าน้ัน แต่ในการสร้างไฟล์ MPEG-1 เพื่อเล่นบนคอมพิวเตอร์ เราสามารถกาหนดความละเอียดและ อัตราข้อมูลที่สูงกว่าน้ีได้ สาหรับการบีบอัดข้อมูลเสียง MPEG-1 audio layer 3 ถูกนามาใช้กับไฟล์ เพลงซ่งึ ไดร้ ับความนิยมแพรห่ ลายมาก ซึ่งก็คือไฟล์ MP3 นั่นเอง MPEG-2 เปน็ กลุ่มของ codec สาหรับบีบอัดข้อมูลวิดโี อและเสียงซ่งึ พฒั นาต่อมาจาก MPEG-1 โดยให้ คุณภาพท่ีดีกว่ามากจึงมีการนาไปใช้หลายรูปแบบ เช่นในแผ่น DVD,SVCD และการส่งสัญญาณ โทรทัศน์ ระบบดิจิตอล เป็นต้น สาหรับในแผ่น DVD จะใช้ความละเอยี ดของภาพที่ 720576 (PAL) หรือ 720480 (NTSC) โดยมีอัตราข้อมูลวดิ ีโอสูงสุด 9,800 Kbps แต่ในโทรทัศน์ระบบดิจิตอลแบบ HDTV อาจใชล้ ะเอียดสูงถงึ 19201080 พกิ เซลก็ได้ MPEG-4 เป็นกลุ่มของ codec สาหรับบีบอัดข้อมูลวิดีโอและเสียงซ่ึงพัฒนาต่อมาจาก MPEG-1 และ MPEG-2 โดยให้คุณภาพท่ีดีแต่มีอัตราข้อมูลต่า จึงได้รับความนิยมนาไปใช้ในงานด้านต่างๆ อย่าง กว้างขวางในปัจจุบัน เช่น การเผยแพร่วิดีโอผ่านอินเทอร์เน็ต และวีดีอสาหรับเล่นบนอุปกรณ์พกพา อย่าง iPod,PSP และโทรศัพท์มือถือ ทางด้านการบีบอัดข้อมูลเสียง MPEG-4 ACC ถูกนามาใช้กับ ไฟล์เพลงของเครือ่ งเล่น iPod ซง่ึ ใหค้ ณุ ภาพเสียงดกี วา่ ไฟล์ MP3

WMV (Windows Media Viveo) เป็น codec สาหรับบีบอัดวิดีโอท่ีพัฒนาโดยบริษัท Microsoft มีการนาไปใช้งานหลาย รูปแบบคือแบบที่มีคุณภาพและอัตราข้อมูลต่าจะใช้สาหรับเผยแพร่วิดีโอผ่านเว็บไซท์และเล่นบน อุปกรณ์พกพาส่วนแบบท่ีมีคุณภาพและอัตราข้อมูลสูงจะใช้เผยแพร่วิดีโอแบบ high-definition สาหรับรูปแบบการบบี อัดเสียงทใี่ ชร้ ว่ มกนั มกั เปน็ WMA (Windows Media Audio) DivX เป็น codec สาหรับวิดีโอท่ีพัฒนาข้ึนตามส่วนหน่ึงของมาตรฐาน MPEG-4 โดยมีจุดเด่นคือ ให้คุณภาพสูงแต่มีอัตราข้อมูลต่า เช่นภาพยนตร์จากแผ่น DVD สามารถบีบอัดเป็นแบบ DivX โดยมี คุณภาพแตกต่างจากต้นฉบับไม่มากนักแต่สามารถบรรจุลงแผ่น CD ธรรมดาได้ ดังน้ันจึงนิยมใช้เพื่อ เผยแพร่ภาพยนตร์แบบดาวโหลดทางอินเตอร์เน็ต นอกจากน้ีปัจจุบันยังมีเคร่ืองเล่นที่สามารถเล่น แผ่นวิดีโอ DivX ได้เชน่ เดยี วกับ VCD และ DVD H.261, H.262, H.263, H.264 เปน็ codec สาหรับวิดีโอที่ได้รับการรับรองมาตรฐานโดย ITU (สหภาพโทรคมนาคมระหว่าง ประเทศ) โอยH.261 และ H.263 มักใช้กับการส่งภาพและเสียงในการประชุมทางไกล (video conference) ซ่ึงต้องการคุณภาพไม่สูงนักและมีอัตราข้อมูลต่า H.262 คือมาตรฐานเดียวกับ MPEG- 2 ในส่วนท่ีเป็นการบีบอัดวิดีโอ ส่วน H.264 คือมาตรฐานเดียวกับ MPEG-4 part 10 หรือ AVC (Advanced Video Coding) ซ่ึงมักใช้กับการเผยแพร่วิดีโอคุณภาพสูงที่มีอัตราข้อมูลไม่มากนัก เช่น ภาพยนตรต์ ัวอย่าง (trailer) ของคา่ ยหนังตา่ งๆทอ่ี ยูใ่ นรูปแบบ QuickTime Codec เป็นคนละส่วนกับรูปแบบของไฟล์ (file type) แม้ว่า บางครั้งจะเรียกปะปนกัน โดยรูปแบบไฟล์วิดีโอท่ีเราคุ้นเคยกัน เช่น .avi หรือ .mov (QuickTime) เป็นเพียงโครงสร้างซ่ึงเป็นกรอบสาหรับ ใช้เก็บข้อมูลเท่านั้นส่วนวิดีโอและเสียงภายในอาจจะถูกบีบอัดด้วย codec แบบใดก็ได้ เช่น DV, Video 1 และอ่ืน ๆ ขึ้นกับว่ารูปแบบไฟล์ นั้นสนับสนุน codec ใดบ้าง ประเภทของแผ่นวดิ ีโอแบบตา่ ง ๆ การเผยแพร่ดิจิตอลวิดีโอสามารถทาได้หลายวิธี เช่น เปิดให้ดาวน์โหลดไฟล์วิดีโอทาง อินเทอร์เน็ตหรือเปิดให้ดูแบบ streaming (ดึงข้อมูลเฉพาะจุดที่จะดูต่อเน่ืองไป ไม่โหลดมาทีเดียว ท้ังไฟล์) ผ่านเว็บเพจ การส่งผ่านเครือข่ายโทรศัพท์มือถือ แต่วิธีหน่ึงที่สะดวกและผู้รับเปิดดูได้โดย ไม่ต้องมีคอมพิวเตอร์ ก็คือการบันทึกลงแผ่นวิดีโอที่เล่นกับเคร่ืองเล่นได้โดยตรง ซ่ึงปัจจุบันมีแผ่นที่ นยิ มใช้กันอยู่ 3 แบบคือ VCD, SVCD และ DVD VCD (Video CD) เป็นรูปแบบการบันทึกวิดีโอลงบนแผ่น CD ธรรมดา และสามารถเล่นได้กับเครื่องเล่น VCD/SVCD/DVD หรือ ไดรว์ CD ทั่วไป มีความละเอียดของภาพในระดับเดียวกับวิดีโอเทประบบ VHS โดยใช้วิธีบีบอัดภาพและเสียงแบบ MPEG-1 แผ่น VCD 1 แผ่น จะจุวิดีโอได้ยาวประมาณ

60 – 80 นาที ซึ่งส้ันกว่าความยาวของภาพยนตร์โดนท่ัวไป ดังนั้นตามปกติ VCD ภาพยนตร์จึง แบง่ เปน็ 2 – 3 แผ่น โดยจุวิดโี อความยาวแผ่นละประมาณ 60 นาที SVCD (Super Video CD) เป็นรูปแบบการบันทึกวิดีโอลงบนแผ่น CD ธรรมดาเช่นกัน และสามารถเล่นได้กับเครื่องเล่น SVCD/DVD หรือ ไดรว์ CD ทว่ั ไป มีความละเอียดของภาพสูงกวา่ VCD แต่ต่ากว่า DVD โดยใช้วธิ ีบีบ อัดภาพแบบ MPEG-2 เหมอื น DVD รูปแบบนไ้ี มไ่ ดร้ บั ความนิยมมากนัก DVD-Video เป็นรูปแบบการบันทึกวิดีโอลงแผ่นประเภท DVD (Digital Versatile Disc หรือ Digital Video Disc) โดยจะเล่นไดก้ ับเครื่องเล่นหรือไดรว์ DVD ข้นึ ไปเท่านั้น ภาพที่ได้มีความละเอียดสูงเท่า กล้องวิดีโอแบบ DV โดยใช้วิธีบีบอัดภาพแบบ MPEG-2 ส่วนเสียงมีหลายรูปแบบ เช่น LPCM (Linear PCM) ซึ่งไม่มีการบีบอัด แต่ถ้าเป็นภาพยนตร์มักมีระบบเสียงเซอร์ราวด์ Doiby Digital 5.1 หรือ DTS พร้อมท้ังเพ่ิมระบบป้องกันการก๊อปป้ีแบบต่างๆ เช่นระบบแบ่งโซน (region) และระบบ ป้องกนั การถอดรหัสไฟล์ข้อมลู หรือ CSS (Content Scrambling System) แผ่น DVD สามารถบรรจุข้อมูลได้ท้ัง 2 ด้านโดยแต่ละด้านมีได้ 2 ชั้น แต่แผ่นที่พบส่วนใหญ่ จะเป็นแบบ 1 ดา้ น 1 ชน้ั จึงบรรจุข้อมูลได้ 4.7 GB (DVD5) และแบบ 1 ดา้ น 2 ชน้ั ซึ่งบรรจขุ อ้ มลู ได้ 8.5 GB (DVD9) มาตรฐานของระบบโทรทศั น์ วิดีโอท่ีผ่านการตัดต่อแล้วส่วนใหญ่มักจะไปแสดงบนโทรทัศน์ ดังนั้นปัจจัยสาคัญอย่างหน่ึงท่ี ต้องคานึงในการกาหนดคุณสมบัติชองวิดีโอผลลัพธ์ก็คือระบบโทรทัศน์ที่จะใช้เล่น ซึ่งหมายความถึง ท้ังตัวเคร่ืองเล่น VCD/DVD และเครื่องรับโทรทัศน์ที่ใช้ดูด้วย เพราะถ้าวิดีโอมีรูปแบบท่ีแตกต่างไป จากมาตรฐานของเครื่อง ก็จะทาให้เล่นไม่ได้ (แม้ว่าโทรทัศน์และเครื่องเล่นรุ่นใหม่ ๆ ที่ขายกันอยู่ใน บ้านเรามักจะเล่นได้ทุกระบบ แต่ก็จะต้องต้ังค่าการทางานของเครื่องให้เหมาะสม) ดังนั้นความเข้าใจ พืน้ ฐานว่าระบบโทรทัศน์แต่ละแบบนั้นมีความแตกตา่ งกันอย่างไร จึงเปน็ ส่ิงจาเป็น มาตรฐานของระบบอนาล็อก มาตรฐานของระบบโทรทัศน์ระบบอนาล็อกที่ใช้กันอยู่ท่ัวโลกปัจจุบัน มี 3 แบบหลักๆ คือ NTSC,PAL และ SECAM - NTSC (National Television System Committee) เป็ น ม าต รฐ าน ข อ งระ บ บ โทรทัศน์สีระบบแรกสุด โดยพัฒนาขึ้นในสหรัฐอเมริกา ระบบนี้มีจานวนเส้นสแกน 525 เส้น ความถี่ ในการสแกน 60 Hz และมีอัตราการแสดงภาพ 29.97 เฟรม/วินาที ประเทศที่ใช้ระบบน้ีได้แก่ สหรัฐอเมริกา, แคนาดา,ญี่ป่นุ และเกาหลี เปน็ ตน้ - PAL (Phase-Alternating Line) เป็นมาตรฐานของระบบโทรทัศน์สีท่ีพัฒนาข้ึน ทีหลังสุด มีจานวนเส้นสแกน 625 เส้น ความถ่ีในการสแกน 50 Hz และมีอัตราการแสดงภาพ 25 เฟรม/วนิ าที ระบบนี้ให้ความละเอยี ดภาพและความเที่ยงตรงของสีดีกวา่ NTSC (แต่ NTSC จะให้ ภาพทน่ี ิ่งกวา่ ) และใชก้ ันในประเทศสว่ นใหญ่ของโลก เช่น ยุโรป, ออสเตรเลีย, จีน และไทย เป็นตน้ - SECAM (Sequential Couleur Avec Memoire) เป็ น มาตรฐาน ที่ พั ฒ น าขึ้น ใน ประเทศ ฝรั่งเศส คุณสมบัติหลายอย่างจะคล้ายกับระบบ PAL แต่มีวิธีการส่งสัญญาณสีแตกต่าง ออกไป ระบบนี้ไม่ได้รับความความนิยมนัก โดยเฉพาะในฝร่ังเศสและประเทศที่เคยเป็นอาณานิคม และในประเทศรสั เซยี

มาตรฐานของระบบดิจิตอล ในอดีตโทรทัศน์มีเฉพาะระบบอนาล็อก แต่ปัจจุบันโทรทัศน์ระบบดิจิตอล (Digital TV หรือ DTV) กาลังได้รับความนิยมมากขึ้นเรื่อย ๆ ตัวอย่างเช่นเครื่องรุ่นใหม่ ๆ ท่ีเป็นจอแบบ LCD และ Plasma แต่เนอ่ื งจากในบา้ นเราระบบออกอากาศยังคงเป็นอนาลอ็ ก ดงั นนั้ ภาครับของโทรทัศน์พวกน้ี จึงยังเปน็ อนาลอ็ กอยู่ ในขณะทภ่ี าคแสดงภาพเปน็ ดิจติ อล โทรทัศน์ระบบดิจิตอลมีคุณสมบัติพื้นฐานท่ีต่างออกไปจากระบบอนาล็อกมาก แต่ส่ิงท่ีผู้ชม จะเห็นได้ชัดก็เร่ืองของความละเอียด (จานวนจุดภาพ) ซ่ึงสูงกว่า ทาให้ภาพท่ีได้มีความคมชัด เหนือกว่า ตลอดจนระบบเสียงก็ดีกว่ามากด้วย ตารางต่อไปน้ีแสดงมาตรฐานส่วนหน่ึงของโทรทัศน์ ระบบดิจติ อล ซ่ึงแบง่ ออกเป็น 2 กลมุ่ หลักคือ SDTV และ HDTV - SDTV (Standard-Definition TV) คือ ระบบโทรทัศน์ท่ีมีความละเอียดและคุณสมบัติ อ่นื ใกล้เคยี งดับโทรทัศนอ์ นาลอ็ กในปัจจบุ ัน - HDTV (High-Definition TV) คือระบบโทรทัศน์ท่ีมีความละเอียดสูงและคุณภาพดีกว่า โทรทศั นใ์ นปจั จบุ นั มาก ความละเอียดของโทรทัศน์ปัจจุบันในระบบ PAL อยู่ท่ี 625 เส้น แต่แสดงได้จริงเพียง 576 เส้น และวิธีแสดงภาพเป็นแบบ interlaced ดังน้ันบางครั้งโทรทัศน์ระบบ PAL จึงเรียกตามชื่อ รปู แบบของโทรทศั น์ระบบดิจิตอลว่า 576i #########################################


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook