Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Course06_U01_merged

Course06_U01_merged

Published by POTETO BENCHAWAN, 2022-04-24 15:53:52

Description: Course06_U01_merged

Search

Read the Text Version

7 - ขัน้ ตอนที่ 2 สำรวจปัญหา ผใู้ ห้คำปรึกษาช่วยให้ผู้รับคำปรึกษาได้สำรวจปัญหา และปจั จัยตา่ ง ๆ ท่ีทำให้ เกดิ ปญั หาด้วยตวั ของเขาเอง - ขั้นตอนที่ 3 เข้าใจปัญหา สาเหตุ ความต้องการ ผู้ให้คำปรึกษาช่วยให้ผู้รับ คำปรึกษาเข้าใจปัญหา สาเหตุ และความตอ้ งการของตนเอง - ขั้นตอนที่ 4 วางแผน แก้ปัญหา ผู้ให้คำปรึกษาช่วยให้ผู้รับคำปรึกษาพิจารณาวิธี แก้ปัญหาและ ตัดสินใจเลอื กสิง่ ที่จะปฏบิ ัตดิ ้วยตนเอง - ขั้นตอนที่ 5 ยุติการให้คำปรึกษา ผู้ให้คำปรึกษาย้ำความเข้าใจที่เกิดขึ้นระหว่าง ที่ให้คำปรึกษาและ ชว่ ยให้ผรู้ บั คำปรกึ ษา มีแรงจูงใจและกำลงั ใจ ท่ีจะแกป้ ัญหาและพฒั นาตนเอง ข้ันตอนการใหค้ ำปรึกษา ขนั้ ตอนการใหค้ ำปรึกษาหรือกระบวนการให้คำปรกึ ษาเป็นแนวทางในการปฏิบตั สิ ำหรับผใู้ ห้คำปรกึ ษา ขั้นตอนการให้คำปรึกษาเปรียบเสมอื นเป็นทศิ ทางท่ผี ้ใู ห้คำปรกึ ษาจะนำใหค้ วามช่วยเหลือแก่ผรู้ บั คำปรกึ ษา สามารถไปให้ถงึ เปา้ หมายไดอ้ ยา่ งประสทิ ธิภาพ โดยมขี ัน้ ตอนการใหค้ ำปรกึ ษาดงั นี้ 1. การสร้างสัมพันธภาพ : เริ่มต้นดี มีชัยไปกว่าครึ่ง จุดประสงค์สำคัญของขั้นตอนนี้คือ เพื่อสร้าง ความคุ้นเคย ความอุ่นใจ สบายใจ และสร้างความไว้วางใจระหว่างผู้รับการปรึกษากับผู้ให้การปรึกษา ผู้ให้ การปรึกษาจะต้องสร้างสัมพันธภาพท่ีดีกับผู้รับการปรึกษา โดยใช้เทคนิคและทักษะต่างๆ เพื่อให้มีความเข้าใจ ทตี่ รงกัน เช่น การทักทายสนั้ ๆ การพูดเร่ืองทวั่ ไป การสร้างสมั พนั ธภาพ (Rapport) เป็นขั้นตอนที่สำคัญเนื่องจากสัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้ให้การปรึกษา และผู้รับการปรึกษาจะ เอื้ออำนวยให้การช่วยเหลือนั้นมีประสิทธิภาพ กล่าวคือ สัมพันธภาพระหว่างผู้ให้และผู้รับการปรึกษาดี มีผล ทำให้ลดความตึงเครียด หรือผ่อนคลาย เกิดความไว้วางใจ ซึ่งช่วยให้ผู้รับการปรึกษา แสดงความรู้สึกของ ตัวเองได้ ตั้งใจที่จะให้ความร่วมมือ รู้สึกอบอุ่นใจมากขึ้น รวมทั้งเข้าใจกระบวนการให้การปรึกษา เนื่องจากการให้ การปรึกษา เป็นการช่วยเหลือที่ต้องการการมีส่วนร่วม (participation) ของผู้รับบริการ สัมพันธภาพที่ดีจึง เป็นสิง่ จำเป็น ในขนั้ ตอนน้ที ักษะตา่ ง ๆ ทจ่ี ำเปน็ ท่ผี ใู้ หก้ ารปรกึ ษาปฏบิ ตั ิ เพ่อื เอื้ออำนวยใหเ้ กดิ สัมพันธภาพท่ีดี อันนำไปสู่การดำเนนิ การข้ันตอ่ ไปของกระบวนการให้การปรกึ ษา การสร้างสมั พันธภาพ ผ้ใู ห้บริการปรึกษามีสง่ิ ทคี่ วรปฏิบัติดงั ต่อไปน้ี 1. การแสดงความพรอ้ ม และความยนิ ดีในการได้การช่วยเหลือ (Readiness) 2. การตอ้ นรบั อย่างจรงิ ใจ และอบอุ่น (Genuine and warm welcome) 3. การแสดงทา่ ทเี ป็นมิตร (Being friendly) 4. สือ่ ความตั้งใจและใสใ่ จที่จะใหค้ วามชว่ ยเหลอื (Attentiveness) เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

8 5. แสดงความสนใจอย่างจรงิ ใจ (Genuine interest) 6. แสดงความไวตอ่ การรับร้คู วามร้สู กึ (Being sensitive to feeling and emotion) 7. สังเกตสง่ิ ท่ผี ูร้ บั การปรึกษา แสดงออกทง้ั คำพดู และกริยาทา่ ทาง 8. สงั เกตส่งิ ท่ผี ูร้ บั การปรกึ ษาไมพ่ รอ้ มท่ีจะเลา่ 9. การแสดงการตอบสนองตอ่ ผูร้ ับการปรกึ ษา (Responsiveness) 10. การยอมรบั อยา่ งไม่มีเงอื่ นไข (Unconditioning positive regard) 11. การใช้คำถามทใี่ หผ้ รู้ ับการปรึกษาสามารถเลา่ เรอ่ื งของตนเอง 2. การสำรวจปญั หา ผู้ให้คำปรึกษาจะต้องใช้ทักษะต่าง ๆ เพื่อกระตุ้นให้ผู้รับคำปรึกษาได้บอกเล่าถึงปัญหาหรือสำรวจ ปญั หาและความตอ้ งการของตนเอง ซึง่ ขัน้ ตอนนจี้ ะใชเ้ วลามากนอ้ ยขึ้นอยู่กบั พนื้ ฐาน สตปิ ัญญา ความสามารถ ลักษณะนสิ ัยของผู้รบั คำปรึกษา และความชำนาญในการใช้ทกั ษะของผู้ใหค้ ำปรึกษา 3. เขา้ ใจปญั หา สาเหตุของปญั หาและความต้องการ ขั้นตอนนี้เป็นหัวใจของกระบวนการให้คำปรึกษา ซึ่งผู้ให้คำปรึกษาใช้ทักษะต่างๆ เพื่อให้ผู้รับ คำปรึกษาเกิดความเข้าใจอย่างกระจ่างในปัญหาของตนเองอย่างแท้จริง ตั้งแต่สาเหตุของปัญหาและความ ต้องการของตนเอง โดยผู้ให้คำปรึกษาจะต้องช่วยและกระตุ้นให้ผู้รับการปรึกษาได้คิด สำรวจความรู้สึกและ ความตอ้ งการของตนเอง ให้มองเห็นแนวทางทจ่ี ะแก้ไขปญั หานน้ั 4. การวางแผนการแก้ปญั หา ผใู้ หก้ ารปรึกษาจะต้องชว่ ยกระต้นุ ให้ผู้รบั การปรกึ ษาได้ใชศ้ ักยภาพที่มีอยู่ค้นหาวิธใี นการแก้ปญั หา โดยใช้วิธีการที่หลากหลาย วางแผนแก้ไขปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน และตัดสินใจเลือกทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการของผู้รับการปรึกษามากที่สุด ทั้งนี้ผู้ให้คำปรึกษาไม่ควรเร่งรีบและด่วนตัดสินใจ จัดการปัญหาของผู้รับคำปรึกษา แต่จะคอยให้กำลังใจในการวางแผนปฏิบัติ เพื่อแก้ไขปัญหาด้วยตนเองก่อน (สามารถใหก้ ำลังใจดว้ ยข้อพระคัมภีร์ท่ีสอดคล้องกับสถานการณ์นัน้ ได้) หากผรู้ ับคำปรกึ ษาหมดหนทางและคิด ไม่ออก ผู้ให้คำปรึกษาจึงจะเสนอแนะแนวทาง เพื่อให้ได้พิจารณาความเหมาะสมและเลือกทางแก้ไขปัญหาที่ดี ที่สุดด้วยตนเอง ซึ่งผู้รับคำปรึกษาเห็นว่าสามารถทำได้จริง มีโอกาสประสบความสำเร็จ และมีความตั้งใจที่จะ ปฏบิ ตั ิดว้ ยตนเอง ไม่ใช่เปน็ การบังคับให้ปฏิบัติ 5. ยตุ ิกระบวนการ ผู้ใหค้ ำปรึกษาควรใหส้ ญั ญาณแก่ผู้รับคำปรึกษาไดร้ ู้ตัวก่อนส้ินสุดการให้คำปรึกษา และเปดิ โอกาส ให้ผู้รับคำปรึกษาได้สรุปในสิ่งต่าง ๆ ที่ได้จากการสนทนา จากนั้นผู้ให้คำปรึกษาจึงเพิ่มเติมในประเด็นที่ขาด เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

9 หายไป ในบางครั้งผู้ให้การปรึกษาอาจมอบหมายการบ้านให้ผู้รับการปรึกษากลับไปปฏิบัติ (การให้คัดข้อพระ คัมภีร์ เพื่อให้กำลังใจและสร้างความคิดในเชิงบวก) เปิดโอกาสให้ผู้รับคำปรึกษาสามารถพบได้ในครั้งต่อไปถ้า เขาต้องการ และนดั หมายเวลาทเี่ หมาะสม พรอ้ มท้ังให้กำลงั ใจแก่ผรู้ บั คำปรึกษาในการปฏิบัตติ ามท่ไี ด้ตัดสินใจ ในระหวา่ งการใหค้ ำปรกึ ษา กอ่ นสน้ิ สุดการใหค้ ำปรกึ ษา ควรสนทนาเลก็ นอ้ ยด้วยเรอ่ื งทั่วๆ ไป แล้วจงึ กลา่ วอำลา จากขั้นตอนที่ได้กล่าวมาจะเห็นว่าในทุกขั้นตอนของการให้คำปรึกษามีจุดประสงค์ที่ชัดเจนและความสำคัญ ซึ่งผู้ให้คำปรึกษาจะต้องมีความรู้และทักษะต่างๆ เพื่อช่วยให้ผู้รับคำปรึกษาได้รู้แลเข้าใจในปัญหาที่แท้ ตลอดจนสามารถตดั สนิ ใจเลอื กวธิ ีการแกไขป้ ัญหาท่ีเหมาะสมได้ เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

10 เอกสารอา้ งอิง 1. จนี แบร่.ี (2538). คู่มอื การฝึกทักษะให้การปรึกษา.กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พจ์ ุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. 2. มัลลวรี ์ อดุลวฒั นศริ .ิ (2554). เทคนคิ การใหค้ ำปรึกษา : การนำไปใช้. ขอนแก่น : โรงพมิ พค์ ลงั นานา. 3. วรรณภา พพิ ัฒนธนวงศ. กระบวนการใหคาํ ปรึกษา. [อินเทอรเน็ต]. 2560. [เขาถงึ เมอื่ 2 เมษายน 2564]; จาก: http://www.maceduca.com/knowledge.php?id=9 เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

11 เอกสารประกอบการเรยี น เรอ่ื ง ทักษะการให้คำปรกึ ษาเบื้องต้น ทักษะการใหค้ ำปรึกษา คือ ความสามารถหรือความชำนาญในการสือ่ สาร ทั้งการใช้ภาษาท่าทางและภาษาพดู ซึ่งเป็นเครื่องมือสำคัญของผู้ให้คำปรึกษาในการช่วยเหลือบุคคลที่มีความทุกข์หรือผู้รับคำปรึกษาให้เกิด สง่ิ ต่อไปน้ี 1. มคี วามไว้วางใจและมที ัศนคติท่ีดีตอ่ ผู้ให้คำปรกึ ษาและการปรกึ ษา 2. เขา้ ใจปัญหา สาเหตขุ องปัญหาและความต้องการของตวั เอง 3. แสวงหาและแนวทางการปรับเปลีย่ นการคดิ การรูส้ ึกและการปฏิบัตติ นเพื่อใหม้ ีชวี ติ ท่ีดขี นึ้ นักจิตวิทยาด้านการปรึกษานำเสนอทักษะการให้คำปรึกษาที่แตกต่างกันออกไป แต่โดยรวมแล้วทักษะการให้ คำปรกึ ษาที่เปน็ ทกั ษะพน้ื ฐานเบ้อื งตน้ ในการสอื่ สารจะประกอบดว้ ยทักษะ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ทกั ษะการใสใ่ จ (Attending Skill) - ความหมาย การใส่ใจเป็นพฤติกรรมของผู้ให้คำปรึกษาที่แสดงออกด้วยภาษาพูดหรือภาษาท่าทาง ซึ่งบอก ถึงความกระตือรือร้นที่จะช่วยเหลือผู้รับคำปรึกษา โดยการแสดงความสนใจ การเห็นความสำคัญ และการให้ เกยี รติ เพ่ือช่วยใหผ้ รู้ ับคำปรึกษาเกิดความอบอุ่นใจและไมร่ ้สู ึกห่างเหนิ - วัตถุประสงค์ 1. แสดงความสนใจ เห็นความสำคัญ และให้เกียรติผู้รับคำปรึกษา 2. เปน็ การแสดงความกระตือรือรน้ ทจ่ี ะใหค้ วามชว่ ยเหลอื 3. เพอ่ื ช่วยเพ่มิ พนู ความอบอนุ่ ใจใหผ้ รู้ บั คำปรึกษา - การใสใ่ จแบง่ ออกเปน็ 1. การใส่ใจโดยการแสดงออกด้วยภาษาพูด เป็นการพูดต่อเนื่องในเรื่องเดียวกันกับที่ผู้รับ คำปรึกษาไดพ้ ดู ใหฟ้ งั ในขณะนัน้ แสดงการรบั ร้แู ละเขา้ ใจในทศั นะและแนวคิดของผ้รู บั คำปรึกษา 2. การใส่ใจโดยการแสดงออกด้วยภาษาท่าทาง เป็นการแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ ที่ไม่ใช่คำพูด แต่มีความหมายซึ่งสื่อถึงความเข้าใจและการยอมรับความคิดและความรู้สึกของผู้รับคำปรึกษา ภาษาท่าทางมี ความหมายและน้ำหนักมากกว่าภาษาพูด ภาษาท่าทางที่ผู้ให้คำปรึกษาควรแสดงออกขณะให้คำปรึกษา ประกอบดว้ ย 2.1 การประสานสายตากับผู้รับคำปรึกษา เป็นการแสดงความสนใจในสิ่งที่ผู้มาขอรับ คำปรกึ ษากำลงั พูดอยู่ แต่ไม่ควรจอ้ งมองมากเกินไปเพราะจะทำใหผ้ ้รู ับคำปรึกษารู้สกึ อึดอดั ได้ 2.2 การแสดงออกทางสีหน้า ทา่ ทาง การเคล่ือนไหวและระยะห่าง เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

12 • การแสดงออกทางสีหนา้ ท่ีอบอุ่น เป็นมติ รและสอดรบั กับเรอื่ งราวของผูร้ ับคำปรึกษา • การวางตัวท่ีโน้มตวั เข้าหาผู้รับคำปรกึ ษา เปน็ การแสดงความตง้ั ใจและใส่ใจ • การแสดงออกทางสหี นา้ และท่าทางควรมคี วามสอดคลอ้ ง • การนั่งหรือยืนให้มีระยะห่างระหว่างผู้ให้และผู้รับคำปรึกษาที่พอเหมาะ คือ ประมาณ 3-5 ฟตุ 2.3 น้ำเสียงการพูด จังหวะการพูด ความดังหรือเบาของเสียง ระดับเสียง ความมีชีวิตชีวา ของน้ำเสยี ง การเน้นคำต้องมีความสมั พนั ธต์ ่อส่ิงที่ผู้รบั คำปรึกษาได้พดู ออกมาแลว้ นอกจากทงั้ 3 ขอ้ ทไี่ ด้กลา่ วมาแลว้ ให้คำปรกึ ษาควรแตง่ กายสุภาพเหมาะสมกับโอกาส - แนวทางปฏบิ ตั ิ 1. ในขณะที่ผู้ให้คำปรึกษากำลังฟังผู้รับคำปรึกษา อยู่นั้น ควรประสานสายตากับผู้รับ คำปรึกษาในลกั ษณะทเี่ ปน็ ธรรมชาติ หรอื พยกั หนา้ เล็กน้อยในขณะท่รี บั ฟัง 2. ผู้ให้คำปรึกษาพูดตอบรับภายหลังจากที่ผู้รับคำปรึกษาพูดจบ เช่น “ครับ ค่ะ อืม” หรือพูด ซำ้ ประโยคทผี่ ู้รบั คำปรกึ ษากลา่ วไว้ 3. ใช้คำพูดที่สัมพันธ์กับคำพูดของผู้รับคำปรึกษา โดยไม่มีการขัดจังหวะ จะช่วยให้ผู้รับ คำปรึกษาได้สำรวจเรื่องราวของตนเองต่อไป และเป็นสิ่งท่ียืนยันว่าผู้ให้คำปรึกษากำลังฟังเขาอยู่ด้วย เชน่ เดียวกัน 4. ลกั ษณะทา่ ทางของผูใ้ หค้ ำปรกึ ษาจะต้องมีทา่ ทผี อ่ นคลาย ไมเ่ กรง็ หรอื เคร่งเครยี ด เพราะจะ ทำให้ผู้รับคำปรึกษา ตึงเครียดไปด้วย ควรนั่งโน้มตัวไปข้างหน้าพอสมควร เว้นระยะห่างประมาณ 3 ฟุต ลักษณะทา่ ทแี ละการนง่ั ก็เปน็ สิง่ ท่สี ำคญั ประการหน่งึ ที่จะแสดงถงึ ความสนใจ เอาใจใสต่ ่อผรู้ บั คำปรึกษา - ประโยชน์ ช่วยให้ผู้รับคำปรึกษาลดความประหม่า ความวิตกกังวล มีความรู้สึกปลอดภัย อบอุ่นใจ มั่นใจ ในการเร่ิมเล่าประเดน็ ปญั หาของตนเอง 2. ทักษะการนำ (Leading Skill) - ความหมาย เป็นการที่ผู้ให้คำปรึกษาพูดนำผู้รับคำปรึกษาไปในทิศทางที่ผู้ให้คำปรึกษาคิดว่าจะทำให้ผู้รับ คำปรึกษาไดป้ ระโยชน์สงู สุดในการมาขอรับคำปรึกษา - วตั ถุประสงค์ 1. กระต้นุ ให้ผูร้ ับคำปรึกษากลา้ ท่จี ะพูดคุยกมากขนึ้ 2. เปิดประเด็นปัญหาของผูร้ ับคำปรึกษา เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

13 3. ให้ผู้รับคำปรกึ ษาเลอื กประเดน็ ปญั หาทตี่ ้องการปรกึ ษา 4. กระตุน้ ให้ผูร้ ับคำปรึกษาสำรวจปญั หาและนำเสนอความร้สู ึกของตวั เองมากขึ้น - แนวทางปฏิบตั ิ 1. กำหนดวัตถุประสงค์ของการนำให้ชัดเจน ว่าต้องการนำโดยให้อิสระแก่ผู้รับคำปรึกษาใน การพูดถึงเรอื่ งใดเรือ่ งหน่งึ ตามทเ่ี ขาต้องการ หรือตอ้ งการนำในประเด็นใดประเด็นหน่ึงเฉพาะเจาะจง 2. ใชป้ ระโยคบอกเลา่ เพอื่ เปน็ การนำใหผ้ รู้ ับคำปรึกษาพูด 3. ใชก้ ารถามเพอ่ื ใหผ้ ู้รบั คำปรกึ ษาแสดงความรู้สึกหรือความคิดเหน็ หรือรายละเอยี ดเพมิ่ เตมิ 3. ทกั ษะการถาม (Question Skill) - ความหมาย การถาม เป็นการให้ผู้รับคำปรึกษาได้เล่าเรื่องราวที่ต้องการปรึกษา รวมทั้งความรู้สึกนึกคิด ตลอดจนความเชือ่ ของผรู้ ับคำปรกึ ษา - วัตถปุ ระสงค์ 1. เพื่อให้โอกาสผู้รบั คำปรกึ ษาได้บอกถงึ ความรู้สึกและเรือ่ งราวต่างๆ ที่ตอ้ งการจะปรึกษา 2. เพอ่ื ใหผ้ รู้ ับคำปรกึ ษาไดส้ ำรวจและคดิ คำนึงเรื่องราวของตวั เองเพ่ือเข้าใจตวั เองมากขน้ึ 3. เพอ่ื ให้ไดข้ อ้ มูล แนวทางแกไ้ ขปญั หาและแผนการปฏิบตั ิตามแนวทางดังกล่าว - แนวทางปฏิบตั ิ 1. กำหนดวัตถุประสงค์ของการถามว่าต้องการข้อมูลแบบใดจากผู้รับคำปรึกษาแล้วการตั้ง คำถาม ซึ่งมีอยู่ 2 แบบ คอื การถามเปิดและการถามปิด • การถามเปิด เมื่อต้องการให้ผู้รับคำปรึกษาได้พูดเล่าความรู้สึกหรือเรื่องราวของเขาอย่าง อิสระ มักจะลงท้ายประโยคด้วย “อะไร อยา่ งไร” • การถามปิด เมื่อต้องการคำตอบสั้นและเฉพาะเจาะจงมักจะลงท้ายประโยคด้วย “ไหม เหรอ หรือไม่ หรือยงั รเึ ปลา่ ” โดยท่วั ไปแล้วผูใ้ ห้คำปรึกษาควรใช้คำถามแบบเปดิ เพ่อื เปิดโอกาสใหผ้ ู้รบั คำปรึกษาไดต้ อบตามทีต่ ้องการอย่าง เต็มที่ และจะช่วยให้ผู้รับคำปรึกษาไม่รู้สึกว่าถูกซักถามมากเกินไป จากการถามแบบปิด เพราะได้ข้อมูลน้อย ผ้ใู ห้คำปรึกษาต้องถามบ่อยเพือ่ ใหไ้ ด้ขอ้ มลู ที่ตอ้ งการ 2. สงั เกตและฟงั อยา่ งต้งั ใจ หลงั จากนน้ั สรุป/ทวนซ้ำประเด็นที่ตอ้ งการขอ้ มลู และรายละเอียด ก่อนแลว้ จงึ ตง้ั คำถาม เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

14 3. เมื่อถามแล้วให้ฟังคำตอบของผู้รับคำปรึกษาอย่างใส่ใจ เพื่อรวบรวมข้อมูลของผู้รับคำปรึกษา ไว้ 4. ไม่ควรถามบ่อยเกนิ ไป เพราะอาจทำใหผ้ ูร้ บั คำปรึกษารำคาญ และต่อตา้ นการใหค้ ำปรึกษาได้ 5. หลีกเลี่ยงการถามด้วยคำถาม “ทำไม” เพราะคำถามที่เริ่มด้วย “ทำไม” มักจะทำให้ผู้รับ คำปรึกษารู้สึกว่าตนเองผิด และคิดหาคำตอบที่เหมือนเป็นการแก้ตัว และคำถาม “ทำไม” ไม่ได้ช่วยให้ผู้รับ คำปรึกษาได้เล่าระบายความรู้สึกทุกข์/ไม่สบายใจ ซึ่งวัตถุประสงค์หลักของการให้คำปรึกษาคือ การให้โอกาส ในการเลา่ ระบาย “คณุ 4. ทกั ษะการเงยี บ (Silence Skill) - ความหมาย การเงียบเป็นช่วงระยะเวลาระหว่างการปรึกษาที่ไม่มีการสื่อสารด้วยวาจาระหว่างผู้ให้คำกับ ผู้รับคำปรกึ ษา แตย่ งั คงมกี ารส่อื สารทางอารมณ์และความรู้สึก - วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อใหผ้ ู้รับคำปรึกษาไดค้ ดิ ทบทวนเร่อื งราวของตวั เอง และทำความเข้าใจในสิง่ ท่ีเขาพดู หรือรู้สึก 2. เพอ่ื ใหผ้ ้รู ับคำปรกึ ษาไดห้ ยุดพกั หลังจากแสดงอารมณโ์ กรธ เสียใจ เชน่ บ่น รอ้ งไห้ 3. เพื่อแสดงความใส่ใจและร่วมรับรู้และเข้าใจในอารมณ์และความรู้สึกของผู้รับคำปรึกษาท่ี เกิดขนึ้ ในขณะนัน้ - แนวทางปฏบิ ัติ 1. เมื่อผู้รับคำปรึกษานิ่งเงียบ ผู้ให้คำปรึกษาควรประเมินว่าที่ผู้รับคำปรึกษาเงียบนั้น เงียบ เพราะสาเหตใุ ด เชน่ • รู้สกึ เศร้า สะเทือนใจ จนพดู ต่อไปไม่ได้ • เหน่ือยล้าจากการรอ้ งไห้ หรือเลา่ ระบายความรสู้ กึ ทร่ี นุ แรง • คิดทบทวนเร่ืองราวของตวั เอง • จบประเดน็ หรอื เรื่องราวนัน้ ๆแลว้ หรอื กำลงั คิดถึงเรื่องทจ่ี ะพดู ต่อไป ซง่ึ เหตผุ ลดังกล่าวเป็นการเงยี บท่ีจะเปน็ ประโยชน์ต่อการให้คำปรกึ ษา ดงั น้ันผใู้ ห้คำปรึกษาไมค่ วรรบกวนความ เงียบนั้น ควรรอจนกระทั่งผู้รับคำปรึกษาพร้อมที่จะพูดต่อไป ซึ่งอาจใช้เวลาในการรอคอย 5-10 วินาที หากผูร้ บั คำปรึกษาเงยี บนานพอสมควรแล้วและไม่พดู ตอ่ ผูใ้ ห้คำปรึกษาอาจดำเนินการดังน้ี 1. พูดใหก้ ำลงั ใจ หรอื แสดงความเข้าใจ เห็นใจ 2. สะท้อนเนื้อหาและความรู้สึกของผู้รับคำปรึกษาเกี่ยวกับสิ่งที่กำลังพูดถึงก่อนที่จะมีการเงียบ เกิดขึน้ เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

15 3. ถามถงึ ความหมายของการเงียบโดยสรุปเนือ้ หาทีพ่ ูดถงึ ก่อนที่ผรู้ ับคำปรึกษาจะเงียบไป 4. ถามถึงความรู้สึกของผู้รับคำปรึกษาในขณะที่เงียบ โดยสรุปเนื้อหาที่พูดถึงก่อนที่ผู้รับคำปรึกษาจะเงียบ ไป 5. หากผู้ให้คำปรึกษาพจิ ารณาแลว้ เห็นวา่ การที่ผู้รับคำปรกึ ษาเงยี บไปนานน้นั อาจมสี าเหตุมาจาก - ต่อต้านการมาพบผู้ให้คำปรึกษา เพราะถูกบังคับให้มา ผู้ให้คำปรึกษาควรแสดงความเข้าใจ เห็นใจ และพูดถึงความตั้งใจ ความใส่ใจและเต็มใจที่จะช่วยเหลือผู้รับคำปรึกษา รวมทั้งหลักการ วิธีการและ ประโยชนข์ องการให้คำปรกึ ษา เพือ่ ชว่ ยใหผ้ ู้รับคำปรกึ ษาเกิดทัศนคตทิ ีด่ ีตอ่ การถกู เชิญพบ และประโยชน์ที่เขา จะได้รบั จากการรบั - ประหม่า หรือหวาดกลัวต่อการถูกเรียกพบ ผู้ให้คำปรึกษาควรชวนพูดคุยเรื่องทั่วไป และแสดง ทา่ ทางท่ีอบอนุ่ เป็นมติ ร เพ่อื สร้างความเป็นกนั เองใหผ้ ู้รบั คำปรึกษารูส้ กึ ผอ่ นคลาย ” 2. ไม่ควรพูดเพื่อลดความรู้สึกอึดอัดของผู้ให้คำปรึกษาที่ทนให้มีการเงียบเกิดขึ้นในระหว่าง การสนทนาไม่ได้ ให้อดทนต่อความเงียบและใช้การเงียบให้เป็นประโยชน์ในการให้คำปรึกษา เพราะการฟั ง ผู้รับคำปรึกษาอย่างสงบ หรือนั่งอยู่กับเขาเงียบ ๆ เมื่อผู้รับคำปรึกษามีสภาพอารมณ์ที่รุนแรง เช่น โกรธมาก เสียใจ มาก ร้องไห้ เป็นการเปิดโอกาสให้เขาได้แสดงอารมณ์อย่างเต็มที่โดยไม่มีการรบกวนและยังเป็นการแสดงว่า ผู้ให้คำปรึกษาเข้าใจความรู้สึกของเขา จะเป็นผลดีกับการให้คำปรึกษามากกว่าการปลอบโยน หรือซักถาม ความรู้สกึ ในขณะนัน้ 5. ทักษะการสะทอ้ นความรู้สกึ (Reflection Skill) - ความหมาย การสะทอ้ นความรสู้ กึ เป็นการบอกความเขา้ ใจของผ้ใู ห้คำปรึกษาท่ีมีต่อส่งิ ทผ่ี ู้รับคำปรึกษารูส้ กึ รับรู้หรือสนใจที่เป็นปัจจุบันขณะให้คำปรึกษา การสะท้อนความรู้สึกจะรวมความรู้สึกของผู้รับคำปรึกษาและ เนื้อหาที่ผู้รับคำปรึกษาพูดถึง หรือสิ่งที่ผู้ให้คำปรึกษาสังเกตเห็นจากกริยาท่าทางของผู้รับคำปรึกษา และ เน้ือหาท่ีผ้รู ับคำปรึกษาใหค้ วามสำคัญ โดยใชค้ ำพูดของผู้ให้คำปรึกษาและที่ชดั เจนเขา้ ใจได้ง่ายข้นึ - วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อกระตุ้นให้ผู้รับคำปรึกษาแสดงความรู้สึกและเปิดเผยเรื่องราวของตนเองให้มากขึ้นหรือ ชัดเจนข้ึน 2. เพ่ือใหผ้ ้รู ับคำปรกึ ษาเขา้ ใจปัญหา รวมทงั้ สาเหตุและผลกระทบทเี่ กิดข้นึ ตลอดจนเกดิ ความ เขา้ ใจ ความรสู้ ึกของตัวเองมากขน้ึ 3. เพ่ือแสดงความสนใจและเขา้ ใจความรสู้ ึกและเร่ืองราวของผู้รบั คำปรกึ ษา - แนวทางปฏิบัติ 1. พยายามสังเกตพฤติกรรมของผู้รบั คำปรึกษาขณะใหค้ ำปรกึ ษา เช่น ลกั ษณะคำพูด นำ้ เสียง สหี น้า เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

16 2. หาคำทตี่ รงกับความรสู้ ึกของผรู้ บั คำปรกึ ษามากท่ีสดุ โดยใช้ภาษาทีเ่ ข้าใจไดง้ ่าย 3. จบั ประเดน็ สำคัญของสิ่งทผ่ี ู้รบั คำปรึกษาพูด 4. รวมความรสู้ กึ และเน้ือหาทผ่ี รู้ ับคำปรึกษาแสดงหรือพดู ถึงเข้าด้วยกัน แล้วใช้คำพูดที่ชัดเจน เข้าใจได้ง่าย โดยพูดออกไปทันทีเพื่อสะท้อนสิ่งที่ผู้รับคำปรึกษากำลังรู้สึกหรือรับรู้ โดยอาจพูดความรู้สึกก่อน แล้วตามด้วยเน้อื หาหรือเรมิ่ ดว้ ยเน้อื หากอ่ นแล้วตามด้วยความร้สู ึก ในการสะท้อนความรูส้ ึกควรหลีกเล่ียงที่จะ ใชค้ ำวา่ “รู้สึก”บอ่ ย ตัวอยา่ ง ผู้รับคำปรกึ ษา (นักศกึ ษาอายุ 19 ป)ี : “คะแนนของผมตำ่ ลงมาก ผมไม่ทราบวา่ เปน็ เพราะเหตใุ ด ผมกำลงั รสู้ กึ ตกตำ่ ในทุกด้าน” ผ้ใู หค้ ำปรึกษาสะท้อนความร้สู กึ : “คุณกำลังรู้สกึ หมดกำลงั ใจ กบั คะแนนทีไ่ ดร้ บั และกบั เร่ืองอน่ื ๆ ด้วย” 6. การซำ้ ความ/การทวนความ (Paraphrasing Skill) - ความหมาย การซ้ำความ/การทวนความ เป็นการที่ผู้ให้คำปรึกษาพูดซ้ำในเรื่องที่ผู้รับคำปรึกษาบอกอีก ครัง้ หนงึ่ โดยคงสาระสำคญั ของเนอ้ื หา หรอื ความรูส้ กึ ไว้ตามเดิม แตใ่ ชค้ ำพูดน้อยลง - การทวนความ การทวนความ หมายถึง การที่ผู้ให้คำปรึกษาทวนซ้ำในสาระสำคัญที่ผู้รับคำปรึกษาได้พูดไป แลว้ แต่ไม่ไดห้ มายถึงการทวนซำ้ ตลอดเวลาเหมือนนกแก้วนกขนุ ทอง - จุดมงุ่ หมายของการทวนความ คือ 1. สอ่ื ใหผ้ รู้ ับคำปรึกษารู้วา่ ผ้ใู ห้คำปรึกษาเข้าใจในเนื้อหาท่เี ขาพูดได้ถกู ต้อง 2. การเน้นขอ้ ความท่คี วรเน้น - วัตถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื แสดงถงึ ความใสใ่ จ ความเขา้ ใจของผใู้ หค้ ำปรกึ ษาท่มี ตี อ่ ผู้รับคำปรกึ ษา 2. เพ่อื ใหผ้ รู้ ับคำปรึกษาเปิดเผยตวั เองมากขนึ้ 3. เพอ่ื ยำ้ ใหผ้ ู้รับคำปรึกษาเขา้ ใจในสิ่งที่ตัวเองพดู ได้ชดั เจนยงิ่ ขึ้นจากการฟังสง่ิ ท่ตี ัวเองพูดอีก ครั้ง 4. ช่วยให้ผู้รับคำปรกึ ษาชัดเจนและตรงประเด็นในส่ิงท่เี ขาต้องการพูด 5. เพ่ือตรวจสอบความเขา้ ใหต้ รงกนั ของผใู้ หแ้ ละผูร้ ับคำปรกึ ษาในสิง่ ที่ผรู้ ับคำปรึกษากำลังพูด ถึง เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

17 - แนวทางปฏิบัติ ตั้งใจฟังในสิ่งที่ผู้รับคำปรึกษาพูด แล้วพิจารณาว่าคำพูดใดของผู้รับคำปรึกษาที่น่าจะเป็น ประเด็นสำคัญ ที่ควรเน้น/ย้ำเป็นพิเศษ เพื่อกระตุ้นให้ผู้รับคำปรึกษาได้เล่าอย่างต่อเนื่องหรือให้รายละเอียด เพิ่มเติม ให้พูดขอ้ ความ/ประโยค/คำพูดนน้ั ซ้ำ โดยอาจจะพดู ซ้ำความ/ทวนความตามแนวทางปฏิบัติดงั นี้ 1. ซำ้ /ทวนความนน้ั ทง้ั หมดโดยเปล่ยี นเฉพาะสรรพนาม 2. ซ้ำ/ทวนความเฉพาะประเด็นสำคญั 3. หลีกเลี่ยงการซ้ำความ/ทวนความบ่อยๆ เพราะจะทำให้ผู้รับคำปรึกษารู้สึกอึดอัด หรือ เหมอื นถูกล้อเลยี นและไมแ่ นใ่ จในความสามารถของผูใ้ ห้คำปรึกษา 4. ซำ้ ความ/ทวนความโดยไม่เพิ่มเติมความคิดเหน็ ของผ้ใู ห้คำปรึกษาลงไป 5. เมื่อซ้ำความ/ทวนความแล้ว ให้สังเกตการตอบสนองของผู้รับคำปรึกษา ถ้าผู้ให้คำปรึกษา ซ้ำความ/ทวนความได้ถูกต้อง ผู้รับคำปรึกษาจะพยักหน้า ตอบรับและพูดหรือขยายความต่อ ในกรณีที่ผู้รับ คำปรึกษาไมม่ ีปฏิกริ ยิ าตอบสนอง ผใู้ ห้คำปรึกษาอาจใชท้ กั ษะการถามเปิดรว่ มดว้ ย 7. ทักษะการให้กำลังใจ - ความหมาย การให้กำลังใจ เป็นการแสดงความสนใจ เข้าใจในสง่ิ ท่ีผรู้ บั คำปรกึ ษาพูดและสนับสนุนให้เขาพดู ต่อไป โดยใช้คำพดู หรือทา่ ทาง - วตั ถปุ ระสงค์ 1. กระตนุ้ ให้ผู้รบั คำปรกึ ษากระตอื รือรน้ และม่ันใจในตนเอง รวมทงั้ ตระหนักใน ความสามารถและคณุ ค่าในตัวเอง 2. กระตุ้นใหผ้ ู้รบั คำปรึกษากล้าท่จี ะคดิ และทำในส่ิงที่ไมเ่ คยคิด หรือทำมาก่อน - แนวทางปฏบิ ัติ เมื่อผู้รับคำปรึกษาเสนอความคิด หรือแนวทางแก้ไขปัญหาที่ถูกต้องเหมาะสม หรือผู้รับ คำปรึกษามีความพร้อมที่จะปรับปรุงพัฒนาตนเองแต่ยังลังเลใจ ผู้ให้คำปรึกษาก็อาจใช้การให้กำลังใจ โดยใช้ แนวทางต่อไปนี้ 1. มองหนา้ สบตา ยมิ้ ผงกศีรษะ ตอบรับส้ัน 2. ทวนซำ้ คำสำคญั ๆ ที่ผู้รับคำปรึกษาพดู ถงึ รวมท้งั ย้มิ มองหนา้ สบตาผ้รู บั คำปรกึ ษา 3. ใชค้ ำพูดกระตุ้นใหผ้ รู้ บั คำปรกึ ษาเกดิ ความมัน่ ใจ มคี วามหวงั และกำลังใจท่จี ะคิดหรอื ทำใน สิง่ ท่ถี กู ต้องเหมาะสมและเปน็ จริงได้ 4. หลีกเล่ียงการสรา้ งความหวงั และการปลอบใจที่ไมอ่ าจเปน็ จรงิ ได้ หรอื ใชก้ ารใหก้ ำลังใจ เพอื่ กลบเกลอ่ื นความร้สู กึ ทอ้ แทข้ องผรู้ บั คำปรึกษา เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

18 8. ทกั ษะการสรปุ ความ (Summarizing Skill) - ความหมาย การสรปุ ความ เปน็ การรวบรวมใจความสำคัญทั้งหมดของความคิด อารมณ์ ความรู้สกึ ของผ้รู ับ คำปรกึ ษาที่เกิดขึ้นในระหวา่ งให้คำปรกึ ษาหรือในแตล่ ะครงั้ โดยใช้คำพูดสนั้ ๆใหไ้ ดใ้ จความสำคัญท้งั หมด - วตั ถุประสงค์ 1. เพ่ือย้ำประเดน็ สำคญั ใหม้ คี วามชดั เจนในกรณีทม่ี ีการพูดคุยกนั หลายประเดน็ 2. เพอ่ื ใหผ้ รู้ บั คำปรึกษาเขา้ ใจเรื่องราวและความรู้สึกของตวั เอง 3. เพอ่ื ใหก้ ารให้คำปรึกษาแตล่ ะคร้ังมคี วามตอ่ เนอ่ื งกนั 4. เพื่อช่วยให้ผู้รับคำปรึกษาและผู้ให้คำปรึกษาเข้าใจเรื่องราวที่กำลังสนทนาได้อย่างถูกต้อง ตรงกนั และได้ใจความทชี่ ัดเจน - แนวทางปฏิบัติ ผู้ให้คำปรึกษาพยายามจับประเด็นสำคัญทั้งเนื้อหาที่ผู้รับคำปรึกษาพูดและความรู้สึกที่ผู้รับ คำปรกึ ษาแสดงแล้วใชค้ ำพูดสัน้ ๆ ให้ได้ใจความครบ โดยอาจใช้แนวทางต่อไปนี้ 1. ผู้รับคำปรึกษาพูดถึงประเด็นปัญหาต่าง ๆ หลายประเด็น ผู้ให้คำปรึกษาอาจสรุปแต่ละ ประเดน็ กอ่ นทผ่ี ู้รบั คำปรึกษาจะเร่ิมประเดน็ ตอ่ ไป 2. กอ่ นจบและเริ่มการใหค้ ำปรกึ ษาในแต่ละครง้ั ในกรณที ม่ี กี ารปรึกษาหลายครัง้ 3. ครงั้ สดุ ท้ายกอ่ นยตุ ิการให้คำปรึกษา 4. ขอให้ผู้รับคำปรึกษาเป็นผู้สรุป โดยมีผู้ให้คำปรึกษาช่วยเสริมในส่วนสำคัญที่ผู้รับคำปรึกษา มไิ ดก้ ล่าวถงึ หรือขาดหายไป 9. ทกั ษะการใหข้ อ้ มลู และคำแนะนำ (Giving Information and Advising Skill) - ความหมาย การให้ข้อมูล เป็นการสื่อสารทางวาจาเกี่ยวกับข้อมูลหรือรายละเอยี ดต่าง ๆ ที่จำเป็นแกผ่ ้รู ับ คำปรึกษา การใหค้ ำแนะนำ เปน็ การชแี้ นะแนวทางปฏิบัตใิ นการแกไ้ ขปญั หาใหแ้ กผ่ รู้ บั คำปรกึ ษา - วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือใหค้ วามรู้ ขอ้ มูลและรายละเอยี ดต่าง ๆ ทจ่ี ำเปน็ แกผ่ รู้ ับคำปรกึ ษา 2. เพ่ือใหผ้ ูร้ ับคำปรกึ ษาเข้าใจปญั หาของตนเองและใช้ 3. เพื่อให้ผู้รับคำปรกึ ษามขี อ้ มลู ประกอบการตัดสนิ ใจ 4. เพื่อใหผ้ ูร้ บั คำปรกึ ษามีทางเลอื กและแนวทางปฏบิ ัตทิ ีเ่ ขาอาจจะนึกไมถ่ ึง เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

19 - แนวทางปฏบิ ตั ิ (การใหข้ ้อมลู ) 1. ขอ้ มลู ที่ให้ควรชัดเจน ถกู ต้อง ครบถว้ น ใชภ้ าษาง่าย ๆ 2. ผู้ให้คำปรึกษาควรตรวจสอบความรู้และความต้องการเกี่ยวกับเรื่องที่จะให้ข้อมูลจากผู้รับ คำปรกึ ษากอ่ นให้ข้อมูล เพอ่ื ประหยดั เวลาและเปน็ การให้ขอ้ มลู ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ 3. หลังจากให้ข้อมูลแล้วผู้ให้คำปรึกษาควรตรวจสอบว่าข้อมูลที่ให้นั้น ผู้รับคำปรึกษา เข้าใจ ถกู ต้องหรือไม่ โดยใชว้ ธิ ใี ห้ผู้รบั คำปรกึ ษาทวนซ้ำ (การใหค้ ำแนะนำ) 1. ให้คำแนะนำเมื่อพิจารณาอย่างรอบคอบแล้วว่าเป็นสิ่งที่สำคัญและจำเป็นสำหรับผู้รับ คำปรึกษา ควรจะให้โอกาสผู้รับคำปรึกษาพิจารณาว่าวิธีปฏิบัตินั้นเป็นที่พอใจ เหมาะสมและสามารถนำไป ปฏิบัตจิ รงิ ได้หรือไม 2. หลังจากให้คำแนะนำแล้วผู้ให้คำปรึกษาควรจะให้โอกาสผู้รับคำปรึกษา พิจารณาว่า คำแนะนำเป็นที่พอใจ เหมาะสมและสามารถนำไปปฏิบัติจริงได้หรือไม่ หรืออาจถามความคิดเห็นหรือ ความร้สู ึกทมี่ ีต่อคำแนะนำนนั้ วา่ มีความคิดเห็นหรอื ความร้สู ึกอยา่ งไร (ขอ้ ควรระวงั ) การให้คำแนะนำมีข้อเสียอยู่หลายประการ เช่น หากผู้รับคำปรึกษาไม่ชอบก็จะปฏิเสธและมี ทัศนคติทางลบต่อการให้คำปรึกษาและผู้ให้คำปรึกษา หรือถ้าผู้รับคำปรึกษาได้รับคำแนะนำแล้วนำไปปฏิบัติ และไม่ได้รับผลก็จะโทษผู้ให้คำปรึกษา หากได้รับผลดีผู้รับคำปรึกษาก็จะมาใหม่อีก เป็นการสร้างควา มรู้สึก ผูกพันและพึง่ พิง นอกจากนก้ี ารให้คำแนะนำมีโอกาสท่จี ะเกิดความเข้าใจไมต่ รงกนั ได้ แม้ผใู้ หค้ ำปรกึ ษาจะเป็นผมู้ บี ทบาทมากในการแนะนำ ผใู้ หค้ ำปรกึ ษาต้องตระหนักไวเ้ สมอว่าใน ท่สี ดุ แลว้ ผ้รู บั คำปรกึ ษาจะต้องเป็นผตู้ ดั สินใจเลอื กเอง 10. ทกั ษะการชผ้ี ลทีต่ ามมา (Pointing Outcome Skill) - ความหมาย การชี้ผลที่ตามมา เป็นการชี้ให้ผู้รับคำปรึกษาได้เห็นผลที่อาจตามมาจากการคิด การตัดสินใจ การวางแผนและการปฏิบัติของเขาเองทั้งในทางลบและทางบวก ผลที่ตามมานี้อาจเป็นได้ทั้งเหตุการณ์ที่ เกดิ ข้ึนในใจเขาหรอื เหตกุ ารณ์ภายนอก ซง่ึ ทำใหพ้ ฤตกิ รรมท่เี ปน็ ปญั หาคงอยรู่ ุนแรงขึ้นหรอื ลดลง เชน่ 1. ด้านอารมณ์ความรูส้ ึก เช่น รสู้ กึ ดี ไม่ดี กลุ้มใจ สับสน ไมม่ น่ั ใจ ฯลฯ 2. ดา้ นรา่ งกาย เชน่ ใจเตน้ ปวดศรี ษะ ท้องผกู เจบ็ ป่วย ฯลฯ 3. ด้านพฤติกรรม การปฏิบัตติ ัว กจิ กรรมทที่ ำ เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

20 4. ดา้ นความคดิ ทศั นคติ ความเชื่อ 5. ด้านส่ิงแวดล้อม เช่น เวลา เหตกุ ารณ์ สถานท่ี เงิน ทรัพยส์ นิ ฯลฯ 6. ดา้ นความสมั พันธก์ บั ผูอ้ ่นื เชน่ ทำใหม้ ปี ัญหากับเพือ่ น ญาติ เพือ่ นร่วมงาน - การช้ีผลท่ีตามมาอาจทำได้ 2 ทาง คือ 1. การชี้ผลที่ตามมาในทางบวก เป็นการชี้ให้ผู้รับคำปรึกษา เห็นข้อดีและประโยชน์ท่ีจะได้รับ เป็นการสนับสนุนให้ผู้รบั คำปรึกษากล้าตดั สินใจหรอื ปฏิบัตติ ามแผนทีไ่ ดว้ างไว้ 2. การชผี้ ลทตี่ ามมาในทางลบ เป็นการบอกถงึ ผลท่ีไม่ดีหรือโทษที่อาจจะตามมาจาการตดั สนิ ใจ หรอื การปฏบิ ัติ - วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้รับคำปรึกษารับรู้ถึงผลดีและผลเสียของการคิด การตัดสินใจ การวางแผนและ การปฏิบัตขิ องเขาเองทัง้ ในทางลบและทางบวก 2. เพื่อให้ผรู้ บั คำปรกึ ษาตดั สนิ ใจได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพมากขน้ึ - แนวทางปฏบิ ัติ 1. ทวนซ้ำหรอื สะทอ้ นความร้สู กึ เพ่ือให้แน่ใจวา่ ผู้รับคำปรกึ ษาได้เข้าใจเหตกุ ารณ์ไดถ้ กู ตอ้ ง 2. ให้ผ้รู ับคำปรึกษานึกถึงผลดหี รือผลเสยี ทีจ่ ะตามมาจากการตัดสินใจหรือการปฏิบตั ขิ องตนเอง 3. ผ้ใู หค้ ำปรกึ ษาชผี้ ลทต่ี ามมาจากการรับรขู้ องตนเอง 4. สรุปผลดแี ละผลเสยี ของการตดั สินใจหรือการปฏิบตั ิ เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

21 แผนภมู ิการใหค้ ำปรึกษา แผนภูมกิ ารใหค้ ำปรึกษาครั้งท่ี 1 การต้อนรบั ที่อบอนุ่ และเป็นมิตร - Co กับ Cl ไม่รู้จัก/คุ้นเคยกัน - Co กบั Cl รจู้ กั / คุ้นเคยกนั แล้ว - Co แนะนำตวั เอง - ให้ Cl แนะนำตัวเอง - ชวนคยุ เรอ่ื งท่ัวไป 1-2 นาที - นำเขา้ สู่ประเด็นการปรกึ ษาทำ - ความเข้าใจเรอื่ งการให้คำปรึกษา Cl ลงั เลท่ีจะขอรบั คำปรกึ ษา Cl ปฏิเสธการรบั คำปรึกษา - ยำ้ เรือ่ งการรกั ษาความลบั - แสดงความหวงั ดี และเต็มใจช่วย - ช้แี จงประโยชนข์ องการรบั - ชีแ้ จงประโยชนข์ องการรับคำปรึกษา คำปรกึ ษา - ยุติการใหค้ ำปรกึ ษา/สง่ ตอ่ - - สำรวจและทำความเข้าใจปญั หา - หาผลกระทบทเี่ กดิ จากปญั หา - คน้ หาความตอ้ งการของ Cl - กำหนดเป้าหมายทีเ่ ปน็ จริงได้ - ฯลฯ สรปุ และยุติการให้คำปรึกษาครัง้ ท่ี 1 หมายเหตุ Co = ผู้ให้คำปรกึ ษา Cl = ผ้รู ับคำปรกึ ษา เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

22 แผนภูมิการให้คำปรึกษาคร้งั ที่ 2 - กอ่ นสุดท้าย การตอ้ นรับท่ีอบอนุ่ และเป็นมติ ร ชวนคยุ เรอื่ งท่ัวไป 1-2 นาที สรปุ เรอื่ งทพ่ี ูดคุยในครง้ั ทผ่ี ่านมา ตดิ ตามงานท่มี อบหมายให้ (ถา้ มี) พิจารณาเป้าหมายการให้คำปรกึ ษารว่ มกนั อกี ครงั้ กระตุ้นให้ Cl คิดแนวทาง/วิธีการแกไ้ ขปญั หาเพือ่ ไปส่เู ป้าหมาย สรุปแนวทาง/วธิ กี ารแก้ไขปญั หาแตล่ ะแนวทาง/วธิ ีการให้ ชดั เจน กระตุน้ ให้ Cl คิดข้อดแี ละข้อดอ้ ยของแตล่ ะแนวทาง / วธิ กี าร ให้ Cl ตดั สินใจเลอื กแนวทางเอง รว่ มกนั วางแผนเพอื่ นำไปส่กู ารปฏิบัติ ประกอบดว้ ย - ข้ันตอนและวธิ ีการปฏิบัติ - ระยะเวลาทจี่ ะใชใ้ นการปฏบิ ตั ิ - วิธีประเมินผลการปฏบิ ตั ิ - แนวทางปอ้ งกนั /แกไ้ ขปัญหาทอ่ี าจเกดิ จากการปฏิบัติตาม แผน สนับสนุนให้ทำข้อตกลงรว่ มกับ Co วา่ จะปฏบิ ัตติ าม แผน ใหก้ ำลงั ใจและความม่นั ใจแก่ Cl ว่าจะสามารถปฏบิ ตั ไิ ดต้ าม แผน ติดตามผล เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

23 แผนภูมกิ ารใหค้ ำปรกึ ษาคร้ังสุดทา้ ย การต้อนรับทอ่ี บอุ่นและเป็นมิตร ก่อนยุติการให้คำปรกึ ษาแต่ละครง้ั สรุปและให้กำลังใจว่า Cl จะบรรลตุ ามเปา้ หมายได้ ชวนคุยเร่ืองทั่วไป 1-2 นาที สรุปการใหค้ ำปรึกษาทั้งหมดและการติดตามผล ให้ Cl สรุปสิ่งท่ีเกดิ ขึ้นกบั เขาจากการรบั คำปรึกษา - วถิ ีชีวติ /พฤตกิ รรม - ความร้สู กึ /การรับรู้ Cl มีพฤตกิ รรม/การรับรู้ดีขึน้ แล้ว Cl ไมม่ พี ัฒนาการทีด่ ีข้นึ ใหก้ ำลงั ใจและความมัน่ ใจว่า Cl สามารถ แสดงความเตม็ ใจท่จี ะช่วยเหลือใน จัดการกับปญั หาตา่ ง ๆ ไดด้ ว้ ยตัวเองแลว้ ประเดน็ ปัญหาอืน่ ๆ ถ้า Cl ต้องการ ยุตกิ ารใหค้ ำปรกึ ษา ยตุ กิ ารให้คำปรกึ ษา / ส่ง ต่อ หมายเหตุ Co = ผู้ให้คำปรกึ ษา Cl = ผูร้ บั คำปรึกษา เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

24 สถานการณ์ อาจารย์ที่ปรึกษาสังเกตพบว่านักเรียนในห้องคนหนึ่งมีพฤติกรรมเปลี่ยนไป คือขาดเรียนบ่อย ไมส่ ่งงานและผลการเรยี นลดลง จึงเรยี กนกั เรยี นเขา้ พบ ขน้ั สร้างสมั พนั ธภาพ นกั เรยี น : สวสั ดคี ่ะอาจารย์ อาจารย์ : จะ้ น่งั ก่อนซิ (ย้ิม ชท้ี เ่ี กา้ อี้ : ทักษะการใสใ่ จ) นกั เรยี น : อาจารย์ ให้เพอ่ื นไปตามหนมู ามอี ะไรหรอื คะ อาจารย์ : ครูอยากคยุ ด้วยนะ่ เป็นยังไงบา้ งชว่ งนี้ สบายดหี รือเปลา่ (ทกั ษะการใสใ่ จและการถาม) นกั เรยี น : กส็ บายดคี ่ะอาจารย์ อาจารย์ : อือ ครูนกึ วา่ หนไู ม่สบายเหน็ ไมค่ ่อยมาโรงเรียน (ทกั ษะการใสใ่ จ) นกั เรยี น : เอ่อ.... ท่จี รงิ ก็..ไม่ค่อยสบายนัก... อาจารย์ : ไม่ค่อยสบาย เปน็ อะไรเหรอ (ทักษะซำ้ ความและการถาม) นกั เรยี น : คือ..กไ็ มไ่ ดป้ ่วยอะไร.. ตอนน.้ี .หนู… อาจารย์ : .............(ทกั ษะการเงยี บ)........ นกั เรยี น : คือ....หนู… อาจารย์ : เธออาจจะกำลังลังเลว่าควรเล่าหรือไม่ แล้วแต่เธอนะ แต่ถ้าเธอกลัวเรื่องการรักษาความลับ ครูรับรองว่าจะไม่นำเรื่องของเธอไปเปิดเผยให้ใครฟังอย่างแน่นอน และการได้เล่าเรื่องที่เรา ไม่สบายใจให้ใครสักคนที่เป็นห่วงและหวังดีต่อเรา มันจะทำให้เรารู้สึกดีขึ้น เพราะอย่างน้อย กม็ ีคนรบั ฟงั (ทักษะการจดั การ) นกั เรยี น : หน.ู .ก็..มีเร่อื งไมค่ อ่ ยสบายใจนดิ หนอ่ ยนะ่ คะ่ อาจารย์ : ท่วี ่ามีเรอื่ งไมค่ อ่ ยสบายใจ มีอะไรที่ครูชว่ ยไดค้ รูยินดนี ะ (ทักษะการซำ้ ความและทักษะการใสใ่ จ) ขน้ั สำรวจและทำความเข้าใจปญั หา ความต้องการของผูร้ ับคำปรกึ ษา และกำหนดเป้าหมายที่เปน็ จริงได้ นกั เรยี น : คอื ....วา่ ตอนน้ีหนู...ไม่คอ่ ยสบายใจเรือ่ งทางบา้ นค่ะ อาจารย์ : ไมส่ บายใจเรื่องทีบ่ ้าน มอี ะไรเหรอ (ทกั ษะการซำ้ ความและทกั ษะการถาม) นกั เรยี น : คือว่า..คุณพ่อของหนูต้องไปทำงานที่ต่างจังหวัดน่ะคะ หนูเลยต้องอยู่บ้านกับคุณแม่ 2 คน แต่ทีนี้ คุณแม่เป็นคนที่ชอบออกสังคม ไม่ค่อยได้อยู่บ้าน เวลาตอนเย็นหนูกลับบ้านก็ไม่ ค่อยไดเ้ จอคณุ แม่เลย ข้าวเย็นหนกู ต็ อ้ งหากนิ เองคนเดียว เชา้ มาคุณแมก่ ็ไปทำงาน อาจารย์ : แลว้ หนรู สู้ กึ อย่างไร (ทกั ษะการถาม) เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

25 นกั เรยี น : หนกู ็..เหงา เซง็ เบือ่ กเ็ ลยออกไปขา้ งนอกไปอยู่ที่หอเพอื่ น จะได้มเี พ่ือนคยุ มเี พอื่ นกนิ ข้าว อาจารย์ : ที่คุณแม่ไม่ค่อยอยู่บ้าน หนูต้องกินข้าวคนเดียวบ่อย ๆ มันทำให้หนูเหงา ก็เลยต้องออกไปหา นกั เรยี น : เพ่ือน (ทักษะการสะท้อน) อาจารย์ : ค่ะ นกั เรยี น : ไปอย่กู บั เพอื่ นแลว้ เปน็ อย่างไรบ้าง (ทักษะการถาม) ก็ดีค่ะ แต่บางทีหนูก็..เกรงใจเค้า แบบว่าบางทีแฟนเค้าก็มาหา หนูคิดว่าเค้าอาจจะอยากมี อาจารย์ : ความเป็นส่วนตัวบ้าง แล้วเค้าก็ชอบออกไปเที่ยวกลางคืนกับแฟนเค้าด้วย เวลาเค้าไปเค้าก็ นกั เรยี น : ชอบชวนหนูไปด้วย หนูก็ไม่อยากไปแต่ไม่รู้ว่าจะปฏิเสธเค้ายังไง จะอยู่คนเดียวก็เหงาก็เลย.. ไปก็ไป พอตอนเช้าหนูก็ตื่นมาโรงเรียนไม่ไหว... แล้วเค้าก็ยังแนะนำเพื่อนของแฟนให้รู้จัก อาจารย์ : กบั หนู เคา้ บอกหนวู ่า...ให้หนูรบี มแี ฟนจะไดไ้ ม่ต้องเหงาอย่คู นเดียว นกั เรยี น : แล้วหนูมคี ดิ ยังไงกับคำแนะนำของเขาจ๊ะ (ทกั ษะการถาม) อาจารย์ : ก็ดีนะคะอาจารย์ หนูเห็นเวลาเค้าอยู่ด้วยกันเค้าก็มีความสุขดี แต่อีกใจหนึ่งหนกู ว็ ่าไม่ค่อยดี.. นกั เรยี น : เวลาเค้าทะเลาะกัน..น่ากลัว แบบว่า..เค้าโดนแฟนตีด้วยนะค่ะอาจารย์ แล้วเพื่อนเค้าแต่ละ อาจารย์ : คนทแ่ี นะนำให้หนรู ้จู กั เนี่ย นา่ กลวั กว่าแฟนเพอ่ื นหนูอกี หนไู มแ่ นใ่ จวา่ จะมีแฟนดีไหม นกั เรยี น : จากท่ีหนเู ลา่ มาทัง้ หมด หนูคิดวา่ ถา้ หนูใช้ชวี ติ อย่างน้ีตอ่ ไปจะเปน็ ยงั ไงจ๊ะ อาจารย์ : (ทกั ษะชี้ผลทต่ี ามมา) นกั เรยี น : ก็…………………… อาจารย์ : ………….. (ทักษะการเงยี บ) ก็คง…คงจะ…จะติดกลุ่มเที่ยว กินเหล้า สูบบุหรี่ ความจริงแล้วเพื่อนหนู...แต่ก่อนเค้าก็ไม่ได้ นกั เรยี น : เปน็ แบบนีห้ รอกค่ะ คา้ พึง่ มาเปน็ ตอนคบกบั แฟนคนน้ีแหล่ะ นนั่ ซิ ถ้าหนูยังไปหาเพ่อื นคนน้ี ไปเท่ยี วตอนกลางคืนแลว้ กอ็ ยใู่ นกลมุ่ น้ีบ่อยๆ.. (ทกั ษะการซำ้ ความ) หนู...คง...แย่... เพราะตั้งแต่หนูไปเที่ยวกับพวกเค้า โรงเรียน..ก็ไม่ค่อยได้มาการบ้าน..งาน.. ค้างเยอะไปหมด คะแนนของหนูก็แยล่ งแทบจะทุกวชิ า ครูดีใจนะที่หนูคิดได้แบบนี้ แลว้ หนูคิดวา่ หนจู ะทำอย่างไรตอ่ ไป (ทกั ษะการใหก้ ำลงั ใจและการถาม) หนูวา่ จะเลกิ ไปหาเคา้ ที่หอ แลว้ ก็.....อยู่บ้านแทน เป็นความคิดที่ดีมากเลย เออ..แต่ว่า หนูบอกครูว่า...ที่ออกไปหาเพื่อนเพราะว่า เหงาต้องอยู่ บา้ นคนเดยี ว แล้วถา้ หนไู ม่ออกไปหาเค้า..จะอยู่บา้ น หนูจะเป็นยงั ไง (ทักษะการสรุปความและการถาม) ก็คงจะเหงา..แล้วก็เหงามาก... เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

26 ขัน้ หาแนวทางแก้ไขปัญหา อาจารย์ : นั่นสิ อยู่บ้านก็เหงา ไปหาเพื่อนก็ดูจะอันตราย แล้วหนูคิดว่าจะทำอย่างไร (ทักษะการสรุป ความและการถาม) นกั เรยี น : ก็คงดูทีวี ฟงั เพลง ไปตามภาษา เรื่อยเปอ่ื ย อาจารย์ : ดูทวี ี ฟังเพลง แล้วหนคู ดิ วา่ จะหายเหงาไหม (ทักษะการทวนซำ้ และการถาม) นกั เรยี น : มันก็...ไม่หายเหงาหรอกค่ะอาจารย์ ที่หนูไปเที่ยวผับกับเพื่อน ๆ ความจริง ก็ดี หายเหงา เพอื่ นเยอะดี อย่บู า้ นแล้ว เซง็ ไปค้างหอเพ่อื นบา้ งกด็ ี อาจารย์ : ไปเที่ยวผับ แล้วก็ไปค้างหอเพื่อนต่อ ถ้าพ่อแม่กลับมา..แล้วรู้ว่าหนูไม่อยู่บ้าน...หนูคิดว่าจะ เกดิ อะไรขึ้น (ทกั ษะการซ้ำความและการชผี้ ลที่ตามมา) นกั เรยี น : ……….(เงียบ)… พ่อกับแม่คงโมโหมาก เพราะเคยบอกว่าอย่าไปไหนตอนกลางคืน ไม่ให้ไป คา้ งบ้านคนอ่ืน….หากไม่ไดข้ ออนุญาต อ่า…ทำไงดีคะ อาจารย์ : น่นั ซิ ทำไงดี (ทักษะการถาม) นกั เรยี น : ชา่ งเหอะ.. จะไดร้ มู้ งั่ ว่า คนเรากเ็ หงา กก็ ลัวเป็นเหมอื นกันท่ตี อ้ งอย่คู นเดยี ว อาจารย์ : ฟังดเู หมอื นกบั ว่า... ที่หนูไปเท่ยี วกบั เพ่ือนดึก ๆ ดนื่ ๆ เนีย๊ ะนอกจากจะเหงาแล้วหนูยังกลัวท่ี ตอ้ งอยู่คนเดยี วตอนกลางคนื แลว้ ก็จะประชดคณุ แม่ด้วย... (ทกั ษะการตีความ) นกั เรยี น : ..........(เงยี บ กม้ หนา้ นำ้ ตาไหล) อาจารย์ : …….. (ส่งกระดาษซับนำ้ ตาให)้ ......(ทกั ษะการเงยี บและการใส่ใจ) นกั เรยี น : หนูเหงา....(สะอ้นื ) หนอู ยากให.้ .. แม่มีเวลาให้หนูบ้าง... อาจารย์ : …….. (สง่ กระดาษซบั นำ้ ตาให)้ .....(ทักษะการเงยี บและการใสใ่ จ)......... หนูเคยบอกหรือทำอะไรให้คุณแม่รู้ไหมคะว่า... หนูเหงาแล้วก็อยากให้เขาอยู่กินข้าวด้วยใน ตอนเย็น (ทักษะการถาม) นกั เรยี น : ....ไมค่ ะ่ อาจารย์ : ที่ไม่บอกเนี๊ยะ เพราะอะไรเหรอ (ทักษะการซ้ำความและการถาม) นกั เรยี น : ทำไมต้องใหบ้ อกด้วย แม่ก็ต้องรูซ้ วิ า่ ลกู ทไ่ี หนๆเขาก็อยากใหแ้ ม่อยดู่ ้วยทัง้ นนั้ แหละ.... อาจารย์ : เปน็ ไปได้ไหมท่คี ุณแมจ่ ะคดิ วา่ หนอู ยเู่ องคนเดยี วได้ เขาจงึ ออกงานสงั คมบอ่ ย ๆ แลว้ อีกอย่าง ...ตัวหนูเองก็ไมเ่ คยบอกหรอื ทำให้เขารวู้ ่าอยากใหเ้ ขาอยดู่ ้วย (ทักษะการกระจา่ งความ) นกั เรยี น : หน.ู .ไมร่ ้.ู .. เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

27 อาจารย์ : แล้วหนคู ิดยงั ไง ถ้าจะบอกให้คณุ แม่รวู้ ่า...อยากให้เขาบ้าน...อยกู่ นิ ขา้ วดว้ ย (ทักษะการถาม) นกั เรยี น : ไมร่ ซู้ .ิ .แตก่ .็ ..นา่ จะ...ดเี หมือนกนั ขัน้ วางแผนเพื่อนำไปสูก่ ารปฏบิ ัติ อาจารย์ : ถ้าดี.....หนูจะลองบอกคุณแม่ดูไหม แล้วถ้าจะบอกหนูอยากจะบอกคุณแม่ว่ายังไงดีละ (ทักษะการซำ้ ความและการถาม) นกั เรยี น : ก็…บอกว่า ..หนูอยากให้คุณแม่ออกงานตอนเย็นน้อยลง อยู่บ้านกินข้าวเย็นกับหนูบ้าง แค่อาทติ ย์ละ 2-3 วันกพ็ อแลว้ อาจารย์ : ดีค่ะ..(ยิ้ม ผงกศีรษะ).. แล้วความรู้สึกของหนูที่ต้องอยู่บ้านคนเดียวล่ะ จะบอกไหม (ทักษะ การใหก้ ำลงั ใจและการถาม) นกั เรยี น : บอกดไี หมคะ.. บอกดีกว่า..หนูจะบอกว่า...หนูเหงาแล้วก็กลวั ด้วยที่ต้องอยู่คนเดยี ว อาจารย์ : อือ... ถา้ หนพู ูดแบบน้กี ับคุณแม่ หนคู ิดวา่ คณุ แมจ่ ะวา่ ยังไง (ทักษะการถาม) นกั เรยี น : คณุ แม่ก็คง…จะอยู่บ้านกับหนูมากข้ึน เพราะหนูก็ไม่ไดเ้ รียกรอ้ งอะไรมากมาย อาจารย์ : อม่ื …ครูก็คดิ อยา่ งนั้นแหละ แลว้ ตอนนีร้ สู้ กึ ยังไงบา้ ง (ทักษะการใหก้ ำลงั ใจและการถาม) นกั เรยี น : ก็ดีค่ะ โล่งๆดี ขอบคณุ มากนะคะอาจารย์ อาจารย์ : ครวู า่ ถ้าหนูทำตามอย่างทีห่ นูคิด ทกุ อยา่ งนา่ จะดขี ึน้ แลว้ จะพดู กบั คณุ แมว่ ันไหนดลี ะ่ (ทักษะ การให้กำลังใจและการถาม) นกั เรยี น : เยน็ นีเ้ ลยคะ่ อาจารย์ คณุ แม่กลับดกึ ยงั ไงหนกู จ็ ะรอ ข้ันยุติการใหค้ ำปรึกษา อาจารย์ : ดีแลว้ คะ่ รีรอไปกไ็ ม่มีประโยชนอ์ ะไร ได้ผลเป็นยังไงกม็ าเล่าใหค้ รูฟงั นะ (ทักษะการใหก้ ำลงั ใจและการใสใ่ จ) นกั เรยี น : คะ่ ... อาจารย์ ขอบคณุ มากนะคะ สวสั ดคี ่ะ อาจารย์ : ไม่เปน็ ไรจ้ะ ครยู ินดี เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

28 เอกสารอา้ งองิ 1. จีน แบรี่. (2538). คู่มือการฝึกทักษะให้การปรึกษา.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. 2. มัลลวีร์ อดุลวัฒนศิริ.(2554). เทคนิคการให้คำปรึกษา : การนำไปใช้. ขอนแก่น : โรงพิมพ์คลัง นานา. 3. วรรณภา พิพัฒนธนวงศ. กระบวนการใหคําปรึกษา.[อนิ เทอรเน็ต]. 2560. [เขาถึงเมื่อ 2 เมษายน 2564]; จาก: http://www.maceduca.com/knowledge.php?id=9 เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

หลกั สตู ร ทักษะการสอนในรูปแบบการโค้ชและผู้อํานวยการการเรยี นรู้ แผนการเรยี นรูท้ ี 6 การแนะแนวอาชพี

สารบญั 0 เนอื้ หาท่ี หน้า 6. การแนะแนวอาชพี 1 14 6.1 หลกั สำคญั ของการแนะแนวอาชพี 6.2 บุคลกิ ภาพกบั การเลือกอาชพี เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

1 เอกสารประกอบการเรยี น เรอ่ื ง หลักสำคัญของการแนะแนวอาชีพ การแนะแนวอาชีพเป็นสิ่งสำคัญในการช่วยให้นักเรียนค้นพบความสามารถ ศักยภาพของตนเองนำไปสู่ การตดั สินใจในการศึกษาและประกอบอาชีพ โดยในหน่วยน้ีมเี นือ้ หา ประกอบด้วย หลักสำคัญของการแนะแนวอาชีพ และบุคลิกภาพกับการเลือกอาชีพ โดยมีรายละเอยี ดต่าง ๆ ดังน้ี หลักสำคัญของการแนะแนวอาชพี การแนะแนวอาชีพ (Vocational Guidance) การแนะแนวอาชีพเป็นกระบวนการเพื่อส่งเสริมให้บุคคลตัดสินใจ เลือกประกอบอาชีพได้ตรงกับความถนัดความสนใจ บุคลิกภาพ และทักษะของตนเองและให้สอดคล้องกับความ ต้องการของตลาดแรงงาน ความหมายของการเลือกอาชพี “แฟรงค์ พาร์สันส์” (Frank Parsons) บิดาแห่งการแนะแนวอาชีพให้ความหมายว่า การแนะแนวอาชีพ (Vocational Guidance) เปน็ กระบวนการสนบั สนนุ และส่งเสริมเพ่ือให้ประชาชนมีงานทำโดยสอดคล้องกับความ ตอ้ งการของตลาดแรงงาน ทั้งนี้ โดยมุ่งหวงั ให้เกดิ ความเข้าใจในโลกของอาชีพและการทำงาน ซึง่ จะทำให้สามารถ เลี้ยงดูตนเองและครอบครัวอย่างยั่งยนื ไป การแนะแนวอาชีพจะชว่ ยใหเ้ กิดความเข้าใจและสามารถตัดสินใจเลือก อาชีพได้ด้วยตนเอง อย่างสอดคล้องเหมาะสมกับความรู้ความสามารถ ความถนัด ความเข้าใจ ค่านิยม ของสังคม ตลอดจน สภาวะทางเศรษฐกจิ วชั รี ทรัพย์มี (2538) ใหค้ วามหมายของการแนะแนวอาชีพว่า การแนะแนวอาชีพ หมายถงึ กระบวนการช่วยเหลือ บุคคลให้เข้าใจตนเองและสิ่งแวดล้อม สร้างเสริมให้เขามีคุณภาพเหมาะสมตามลักษณะบุคลิกภาพของตน ค้นพบ และพัฒนาศักยภาพของตน มีทักษะการดำเนินชีวิต รู้จัก ตัดสินใจในการเลือกอาชีพ แก้ปัญหาในช่วงวิกฤติ วาง แผนการประกอบอาชีพ และสามารถปรบั ตวั ไดอ้ ย่างมีความสขุ ในชีวติ ได้พฒั นาตนเองให้ถงึ ขีดสุดในด้านอาชพี ซูเปอร์ ( Super. 1973 : 7) ให้ความหมายของการแนะแนวอาชีพว่าหมายถึงกระบวนการให้ ความช่วยเหลือ บุคคลให้ รู้จักตนเองรู้ จักโลกของงานรู้จัก ตัดสินใจเลือกอาชีพได้อย่างเหมาะสมรวมทั้งมีความสำเร็จและ มคี วามพึงพอใจในการประกอบอาชีพ เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

2 สมาคมแนะแนวอาชพี แหง่ ชาติของประเทศสหรฐั อเมริกา (National Vocational Guidance Association) (Herr and Carmer. 1988 : 7) ให้ความหมายของการ แนะแนวอาชีพว่าหมายถึงการแนะแนวอาชีพเป็น กระบวนการ ช่วยเหลือบุคคลในการเลือกอาชีพเตรียมตัวประกอบอาชีพเข้าสู่ความสำเร็จและการประสบความ ก้าวหน้าใน อาชพี ไม่เออร์(Myers. 1941 : 4) ให้ความหมายของการแนะแนวอาชีพว่าหมายถึงการแนะแนวอาชีพเป็นการให้ความ ช่วยเหลือบุคคลแต่ละคนในการให้ข่าวสารข้อมูล ประสบการณ์และคำแนะนำเกี่ยวกับการเลือกอาชีพ ซงึ่ จะ ชว่ ยให้แตล่ ะบุคคลสามารถเลอื กอาชีพสำหรบั ตนเองได้ กิบสันและมิทเชลล์ (Gibson and Mitchell. 1986 : 278) ให้ความหมายของการแนะแนวอาชีพว่า หมายถึง กิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งผู้ให้บริการปรึกษานำมาใช้เพื่อกระตุ้นและส่งเสริมให้บุคคลมีพัฒนาการด้านอาชีพที่ เหมาะสม กิจกรรมเหล่านี้ ครอบคลุมทั้งความชว่ ยเหลือ เกี่ยวกับการวางแผนอาชีพการตัดสินใจเลือกอาชีพและ การปรับตวั ในการประกอบอาชพี สรุปได้ว่า การแนะแนวอาชีพจึงเป็นกระบวนการช่วยเหลอื และสนับสนุนเพื่อให้บคุ คลเข้าใจในโลกของอาชีพและ การทำงาน รู้จักตัดสินใจเลือกอาชีพได้มีความพึงพอใจในการประกอบอาชีพเตรียมตัวประกอบอาชีพ การเรียนรูค้ วามก้าวหน้า ในอาชพี ซง่ึ จะชว่ ยใหแ้ ตล่ ะบุคคลสามารถเลือกอาชีพสำหรับตนเองได้และการปรับตัวใน การประกอบอาชพี ใน อนาคตไดต้ ามความเหมาะสมของบคุ ลิกภาพแต่ละบคุ คลและตามความถนัดของตนเอง หลักการสำคญั ของการแนะแนวอาชพี การแนะแนวอาชีพมีหลักการว่า หากบคุ คลใดได้ศึกษาหรือทำงานทีต่ รงกบั ความถนดั ความ สนใจและ อุปนิสัยใจ คอแลว้ เขาย่อมมคี วามสุขและ สามารถปฏบิ ัติงานไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพกวา่ การทตี่ ้องปฏิบตั ิงานในสงิ่ ที่ไม่ชอบ ไมถ่ นัด หรือไม่เหมาะสมกบั อุปนสิ ัยของตน ดงั นั้น ในการแนะแนวอาชีพ จงึ ต้องคำนงึ ถงึ หลักการสำคญั ดังต้อไปน้ี คอื 1. การแนะแนวอาชีพเป็นการพัฒนาคนให้มีความสามารถและมีโอกาสใชศักยภาพของตนอย่างเต็มที่ใน การ ผลติ งานท่ีจะก่อให้ เกิดประโยชน์ แก่สังคมและทำให้บุคคลนนั้ เกดิ ความสุขจากความสำเรจ็ ในการทำงาน 2. การแนะแนวอาชพี เป็นกระบวนการตอ่ เน่ืองโดยมีขั้นตอนต้ังแต่การช่วยบคุ คลให้ 2.1 รู้จักตนเองว่าตนมีความถนัด มีความสนใจ มีความสามารถ บุคลกภาพเป็นเช่นไรจะได้เลือกงาน ได้ถกู ต้อง เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

3 2.2 รู้จักขอ้ มลู ทางอาชีพอยา่ งกว้างขวางและแจ่มแจ้งว่าอาชีพต่าง ๆ มลี ักษณะอย่างไร ต้องการคนที่ มีคุณสมบัติอยา่ งไรบา้ งและมีทัศนคติท่ี ดตี ่อสมั มาชพี 2.3 รู้จักตัดสินใจเลือกอาชีพที่เหมาะสมกับตน โดยพิจารณาโอกาส ความเป็นไปได้ทั้งด้านคุณสมบัติ ของตนเองและความต้องการดา้ นกำลงั คนในอาชีพนนั้ ๆ 2.4 ได้มีโอกาสศึกษาฝกฝน อบรม หรือได้สัมผัสอาชีพนั้น ๆ ตามความเหมาะสมกับวัยเพื่อให้เกิด ทักษะ ความสามารถที่จะออกไปประกอบอาชีพได้ทันทีหรอื ในบางกรณีเพื่อเป็นการสร้างพื้นฐานและเพื่อเป็นการ เตรยี มตวั สำหรับการประกอบอาชพี ของตนในอนาคต โดยมีการศึกษาฝึกฝนเพิ่มเตมิ 2.5 การแนะแนวอาชีพเปน็ กระบวนการที่ต่องการความรว่ มมือจากทุก ๆ ฝา่ ยการจัดบริการแนะแนว อาชีพ ในสถานศึกษาจำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากบุคคลทุกฝ่ายในสถานศึกษานั้น และหน่วยงานอื่นที่ เกีย่ วขอ้ ง ตลอดจนความรว่ มมือของชุมชนในท้องถ่ินที่สถานศึกษาหรือหน่วยงานน้ันตั้งอย่จู ึงจะทำให้งานแนะแนว อาชพี เกิดประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผลครอบคลมุ ในทุกดา้ น 2.6 การแนะแนวอาชีพเปน็ กระบวนการที่มุ่งให้บุคคลตดั สนิ ใจดว้ ยตนเอง โดยยึดหลกั ในเรอ่ื งของการ ให้บคุ คลเป็นผูก้ ำหนดชวี ติ ของตน 2.7 มีงานทำหลงั จากสำเร็จการศึกษา ซ่งึ จะเปน็ อาชีพอิสระหรืออาชพี รบั จ้างแลว้ แต่กรณี 2.8 ได้รับการดแู ลและติดตามผล หลังจากท่ีจบการศึกษาออกไป ประกอบอาชพี แล้ววา่ บคุ คลนนั้ ๆ มี ความสามารถเหมาะสมกับงานเพียงใด สามารถ ปรับตัวให้เข้ากับงานได้ หรือไม่ได้ทำงานตรงตามความรู ความสามารถหรือไม่ เพียงใดควรมีการแก้ไขหรือปรับปรุงในด้านใดบ้าง ทั้งนี้ควรมีโครงการต่อเนื่องใน การเพม่ิ พนู ความรู้ความสามารถระหว่างปฏิบตั งิ าน (In Service Training) ดว้ ย ประโยชนข์ องการแนะแนวอาชพี 1. รู้จักเลือกอาชีพที่เหมาะสมกับความสามารถของตน เช่น ความถนัด ความสามารถ ความสนใจ บคุ ลิกภาพ ความตอ้ งการของตนเอง เปน็ ตน้ 2. ให้รู้จักโลกของงานอาชีพ เช่น อาชีพต่าง ๆ ที่อยู่ในชุมชนนั้น ๆ ลักษณะงานของอาชีพ คุณสมบัติของ บคุ คลทีจ่ ะประกอบอาชีพ หรอื งานยอ่ ยในอาชีพ ต่าง ๆ ความกา้ วหนา้ รายได้ ความม่ันคง การฝึกอบรมที่จะเข้าสู่ อาชีพต่าง ๆ 3. ให้รู้จักเตรียมตัวเพื่อประกอบอาชีพ เช่น การเข้ารับการอบรมในอาชีพต่าง ๆ เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถในอาชีพนั้น ๆ เช่น การซ่อมคอมพิวเตอร์ การแสวงหางาน การสมัครงาน การเข้ารับ การสัมภาษณ์ เปน็ ตน้ เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

4 ดังนั้นการแนะแนวอาชีพจึงเป็นกระบวนการช่วยเหลือและสนับสนุนเพื่อให้บุคคลเข้าใจในโลกของอาชีพและการ ทำงาน สามารถทำให้ผู้ที่ได้รับการแนะแนวรู้จักคิดและตัดสินใจในการทำงานตามความเหมาะสมของบุคลิกภาพ แตล่ ะบคุ คลและตามความถนัดของตนเอง โดยยึดหลักในการแนะแนวอาชีพดังนี้ คือ 1. การวิเคราะห์บุคคล นักแนะแนวจะช่วยผู้มารับบริการวิเคราะห์คุณสมบัติต่าง ๆ เช่น ความสามารถ ความสนใจ ความถนดั บุคลิกภาพ 2. การวิเคราะห์อาชีพ นักแนะแนวจะช่วยให้ผู้รับบริการมีความรู้เกี่ยวกับอาชีพ เช่น มีความรู้เกี่ยวกับ ลักษณะอาชีพ ความต้องการของตลาดเกี่ยวกับอาชีพนั้น ๆ เวลาและทุนทรัพย์ที่ใช้ในการเตรียมตัวเพื่อประกอบ อาชพี 3. การใชว้ ิจารณญาณในการตัดสินใจเลือกอาชีพ นักแนะแนวช่วยให้ผรู้ ับบริการตัดสินใจเลอื กอาชีพ โดย อาศัยหลกั การวิเคราะหต์ นเองและวิเคราะห์อาชีพประกอบกนั ความสำคัญของการเลือกอาชพี เนื่องจากอาชพี มีความสำคัญต่อมนษุ ย์มาก การเลือกประกอบอาชีพจงึ มีความสำคัญต่อมนุษยเ์ ปน็ อันมากในสังคม ของเรามีอาชีพมากมายหลายชนิด เช่น อาชพี วิศวกร นักธุรกจิ และนกั วิทยาศาสตร์ เป็นตน อาชีพแต่ละอาชีพก็มี ความแตกต่างกันมากอาชีพบางอย่างก็อาจเหมาะสมกับบุคลิกภาพคนหนึ่ง แต่ก็อาจมาสอดคล้ องกับบุคลิกภาพ ของอีกคนหนึง่ การเลือกประกอบอาชีพให้เหมาะสมกับบุคลิกภาพ ความสนใจความถนัดของแต่ละบุคคลจึงมีความสำคัญมาก คนท่ีเลอื กประกอบ อาชีพทเ่ี หมาะสมกับตน ย่อมกอให้เกดิ ความเพลดิ เพลนิ และเกิดความสขุ ในการทำงานและยังมี โอกาสที่ จะประสบความสำเร็จในการประกอบอาชพี มาก ในทางตรงข้าม ถ้าบุคคลประกอบอาชีพที่ไม่เหมาะสมกับตนเองแล้ว ก็จะเกิดความเบื่อหน่ายในการทำงาน เนื่องจากคนเราต้องใช้เวลาประกอบอาชีพภายหลังจากการศึกษาเป็นเวลาช้านาน ซึ่งการที่จะต้องอดทนต่อ กิจกรรมทนี่ าเบือ่ หน่ายเป็นระยะเวลาอนั แสนนาน เช่นนี้ จึงทำให้ชวี ติ ของคนไม่มีความสุข การประกอบอาชีพที่ไม่เหมาะสม หรือไม่สอดคล้องกับบุคลิกภาพ ความสนใจความถนัด นอกจากมีโอกาสประสบ ความสำเร็จในการประกอบอาชีพน้อยแล้วยังเป็นการทรมานชีวิตอย่างหนึ่งอีกด้วย การเลือกประกอบอาชีพที่ไม่ เหมาะสมกับตนเองยังก่อให้เกดิ ผลเสียต่อประเทศชาตเิ ปน็ อันมากอีกดว้ ย ดังนั้น การประกอบอาชีพเกือบทกุ ชนิด จะต้องมีการเตรียมตัวในการศึกษาเล่าเรียน อาชีพบางอย่างต้องใช้เวลาในการศึกษาเล่าเรียนจึงควรจะต้องมี การศึกษาการประกอบอาชพี อย่างรอบคอบ เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

5 ในสภาพการณ์ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงสภาพทางเศรษฐกิจสังคมการศึกษาและการประกอบอาชีพมี การเปลี่ยนแปลงโดยเฉพาะเยาวชนในวัยศกึ ษาเล่าเรียนซึ่งเป็นวยั ทีส่ ำคัญในการวางรากฐานให้กับตนเองเพื่อที่จะ ประสบความสำเร็จในการศึกษาเล่าเรียนอันจะนำไปสู่การประกอบอาชีพในอนาคตการที่จะไปสู่เป้าหมายแห่ง ความสำเร็จในชีวิตได้ นั้นเป็นเรืองยากยิ่งที่จะเลือกทิศทางที่เหมาะสมดังนั้นรูปแบบการแนะแนวอาชีพจึงเป็น กระบวนการสำคัญที่มุ่งส่งเสริมบุคคล ในทุกช่วงวัยของชีวิตโดยเฉพาะผู้ที่อยู่ในวัยเรียนให้รู้จักตนเองพึงตนเอง มี ทักษะทางชีวิตสามารถพัฒนาตนและสังคมได้เต็ม ตามศักยภาพการแนะแนวอาชีพจึงมีบทบาทสำคัญยิ่งต่อการ พัฒนาคน โดยองค์รวมทั้งในด้านสติปัญญาอารมณ์สังคมและ จิตใจให้เป็นบุคคลทีส่ ามารถในการเลือกดำเนนิ ชีวติ ในสังคมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม สำหรับการจัดกิจกรรมแนะแนวอาชีพนั้น การเลือกอาชีพที่เหมาะสมของแต่ละบุคคลนอกจากจะประโยชน์ต่อ ตนเองและต่อประเทศชาตแิ ล้ว ยังเปน็ ประโยชน์ต่อประเทศชาติด้วย เพราะการพฒั นาทางการศึกษาและทางด้าน เศรษฐกจิ ของรัฐ หมายถึง การพัฒนาอาชีพของประชาชน หากการเลือก การศกึ ษาต่อหรือเลือกอาชีพของเยาวชน ไมเ่ หมาะสมยงั กอ่ ใหเ้ กดิ ผลเสยี หายตอ่ เด็กและยังสง่ ผลต่อประเทศชาตดิ ว้ ย ประวิทย์ อุดมโชติ (2559 : 1-2) ได้กล่าวว่า สิ่งสำคัญที่จะพัฒนาประเทศได้ คือ การจัดการศึกษาที่ถูกต้อง เหมาะสมกับ ความต้องการ ความถนัด และความสนใจของบุคคลนั้นเพื่อใหพ้ ัฒนาตนเอง อันจะส่งผลให้เป็นแนว ทางการเลือกเรียนเลือก อาชีพได้เหมาะสมกับตนเองต้องอาศัยกิจกรรมการแนะแนวเป็นส่วนในการช่วยเหลือ สำหรบั การจดั กจิ กรรมแนะแนวควรจัดใหค้ รอบคลุมทั้ง 3 ด้าน คอื 1. การแนะแนวด้านการศึกษาซึ่งเป็นการให้ ข้อมูลเกี่ยวกับหลักสูตรระบบการเรียนการสอน การวัดผลและการประเมินผลวิธีการและเทคนิคในการศึกษาเล่าเรียนการ วางแผนเลือกการศึกษาต่อตลอดจน ทราบถึงคุณสมบัตทิ ่สี ถานศึกษาตา่ ง ๆ กำหนดไว้ 2. การแนะแนวด้านส่วนตัวและสังคม เปน็ การใหข้ ้อมูลในด้านบุคลกิ ภาพ อารมณ์ สงั คมในการอย่รู ่วมกับ ผู้อืน่ ในสังคมอยา่ งมีความสขุ และการปรับตัวให้ เขา้ กบั สังคมในปัจจบุ ันและอนาคตได้ 3. การแนะแนวด้านอาชีพเป็นการให้ข้อมูลเกี่ยวกับการให้บุคคลได้รู้จักตนเองใน ด้านความถนัด ความสามารถรู้จักการวางแผนการศึกษาและอาชีพให้สอดคล้องกันได้ทราบแหล่งข้อมูลทางอาชีพคุณสมบัติ ประจำตวั ของผปู้ ระกอบอาชีพรายได้และโอกาสในการประกอบอาชีพ และวธิ กี ารปฏบิ ตั ิงานให้ประสบความสำเร็จ การแนะ แนวด้านชีวติ และสังคม เป็นการให้ข้อมูลเกี่ยวกับการให้บุคคลได้รู้จักเข้าใจบุคลิกภาพของตนเอง เข้าใจ พฤติกรรมบทบาท การวางแผนการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพในอนาคต การเข้าศึกษาต่อในสาขาที่ตนเอง เลอื กไดอ้ ยา่ งไร (Super. 1960: 71-80) เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

6 ความสำคัญของการแนะแนวอาชพี กิบสันและมิทเชลล์ (Gibson and Mitchell. 1986 :385) ได้ให้ความสำคัญของการแนะแนวอาชีพว่า การแนะ แนวอาชีพมีความสำคัญเพราะการแนะแนว อาชีพช่วยให้ การตัดสินใจในการเลือกอาชีพได้ อย่าง เหมาะสมกับ ตนเองและยังสง่ ผลตอ่ สว่ นรวม ดังนี้ 1. มีความสำคัญต่อพฒั นาการด้านอาชีพอยา่ งสมวยั ของนักเรียน 2. มคี วามสำคัญต่อการเตรียมตัวเพอื่ ประกอบ อาชพี ของนักเรียน 3. มีความสำคัญที่มีต่อประเทศเพราะการที่นักเรียนส่วนใหญ่ที่จะเติมโตเป็นประชากรของประเทศแล้ว ถ้านักเรียนหรือประชากรโดยส่วนใหญ่ของประเทศ ได้เข้าสู่อาชีพและประกอบอาชีพตามที่แต่ละบุคคลได้ ตัดสินใจเลือกอย่างเหมาะสมน้ันผลที่ได้ รับจากการ ประกอบอาชีพไม่เพียงแต่จะตอบสนองให้ประชากรมีรายได้ ได้รับค่าตอบแทนและสวัสดิการต่าง ๆ ที่จะนำไป แสวงหาปัจจัย 4 และการศึกษาที่เป็นปัจจัยพื้นฐานในการ ดํารงชีวิต การประกอบอาชีพของประชากรยัง ตอบสนองความต้องการในด้านการได้ รับความมั่นคง ปลอดภัย การได้รับการยกย่องนบั ถือและการมีความสขุ ความสำเร็จในชีวิตอีกด้วย นอกจากนี้ การประกอบอาชีพ ใช่แต่จะ สนองตอบความต้องการด้านร่างกายจิตใจและ สังคมผู้ที่ประกอบอาชีพที่มั่นคง จะส่งผลให้สมาชิกใน ครอบครัว คุณภาพและยังนำประเทศไปสู่ความมั่งคั่งทาง เศรษฐกิจตลอดจนความสงบสุข และความมั่นคงของ ประเทศอีก ดว้ ย สมาคมแนะแนวอาชีพแห่งชาติของประเทศ สหรัฐอเมริกา (National Vocational Guidance Association) (Herr and Carmer, 2010 :15) ได้ให้ความสำคัญของการแนะแนวอาชีพว่า การประกอบอาชีพของนักเรียนมี ความสำคัญ เพราะถ้านักเรียนในวัยต่างเรียนเรืองอาชีพก็ จะทำให้รู้จักวางแผนในการเลือกเรียน และเลือกอาชีพ ได้ตรงกับความสามารถทำให้ได้รับการยกย่องนับถือ และการมีความสุขความสำเร็จในชีวิต การแนะแนวอาชีพ เป็นกระบวนการช่วยเหลือบุคคลในการเลือกอาชีพเตรียม ตัวประกอบอาชีพเข้าสู่และประสบความก้าวหน้าใน อาชพี จากความสำคัญ สรุปได้ว่าการแนะแนวอาชีพเพื่อเพิ่มสมรรถนะทางอาชีพมีความสำคัญทั้งต่อตัวนักเรียนและต่อ ประเทศ ดังนั้นเดก็ จึงควรไดร้ บั การสง่ เสรมิ ให้มีพัฒนาการทางด้านอาชพี ให้สมกับวยั ของตน เพื่อที่นักเรียนจะได้นำ ความรทู้ ่ีได้รับไปใช้ในการประกอบ อาชพี ได้เปน็ อย่างดี หลกั สำคญั ในการจดั แนะแนวการศึกษาและอาชีพ สมร ทองดีและวารุณี บุญประกอบ (2545 : 406-408) กล่าวว่าในการจัดแนะแนวอาชีพให้ดำเนินไปอย่างมี ประสิทธิภาพนน้ั ครูแนะแนวควรมหี ลักการดำเนินงานดังต่อไปน้ี เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

7 1. การแนะแนวอาชพี ต้องจดั อยา่ งต่อเนืองตาม ขนั้ ตอนของพัฒนาการด้านอาชพี 2. การแนะแนวอาชีพตอ้ งจดั ใหแ้ กน่ กั เรียนทุกคน 3. การแนะแนวอาชพี ต้องอาศัยขอ้ มลู 4. การแนะแนวอาชีพต้องอาศัยกิจกรรม เครืองมอื และวสั ดุอุปกรณ์ 5. การแนะแนวอาชพี ตอ้ งเคารพในสทิ ธิและ ความสามารถของนกั เรียนในการตัดสินใจเลือกอาชพี ของตน 6. การแนะแนวอาชพี ตอ้ งจัดให้สอดคล้องกบั ธรรมชาติของนักเรยี น 7. การแนะแนวอาชพี ต้องคำนงึ ถงึ ความแต่กตา่ งระหวา่ งบคุ คล 8. การแนะแนวอาชพี ตอ้ งจัดอย่างสอดคล้อง กบหลักสตู ร 9. การแนะแนวอาชพี ตอ้ งอาศัยความรว่ มมือ สนบั สนนุ จากบุคคลและหนว่ ยงานหลายฝา่ ย อรอนงค์ ธัญญะวัน (2539 : 14-15) กล่าวว่า ในการจัดแนะแนวอาชีพให้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพนั้น ครูแนะแนวควรมหี ลกั การดำเนินงาน ดังตอ่ ไปน้ี 1. การแนะแนวอาชีพเป็นกระบวนการ ที่ต่อเนือง เกิดขึ้นในระยะยาวแบบค่อยเป็นค่อยไป ดังน้ัน ควรจะเริมการแนะแนวอาชพี ต้ังแต่เด็กอยใู่ นวัยประถม ศึกษาและ จนกระทงั้ ถงึ ระดบั อุดมศึกษา โดยทีแ่ ตล่ ะระดับ นน้ั จะต้องแนะแนวอาชพี โดยคำนงึ ถึงวัยและความพรอ้ มของเดก็ 2. การแนะแนวอาชีพเป็นกระบวนการที่ต้องอาศัยข้อมูล เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับตัวนักเรียน อาชีพ สถานการณ์เศรษฐกิจของประเทศและค่านยิ มของสังคม การพฒั นาตนเองให้เขา้ กบั สภาพแวดลอ้ ม 3. การแนะแนวอาชีพเป็นกระบวนการ ที่ต้องการความร่วมมือจากบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาและ หนว่ ยงานอนื่ ๆ ท่เี กยี่ วขอ้ งตลอดจนความ รวมมอื ของชุมชนในท้องถิน่ ท่ีสถานศึกษาน้ันต้ังอยู่ 4. การแนะแนวอาชีพเป็นกระบวนการที่มุ่งให้ บุคคลตัดสินใจด้วยตนเองโดยยึดถือหลักในเรืองของการ ใหบ้ คุ คลเป็นผู้กำหนดชีวติ ของตน 5. การแนะแนวอาชีพเป็นกระบวนการที่ช่วยเหลือ บุคคลอย่างเป็นระบบต่อเนืองกัน ช่วยให้บุคคล รู้จักตนเองรู้ จักข้อมูลทางอาชีพอย่างกว้างขวาง ช่วยให้ ตัดสินใจเลือกอาชีพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม โดยให้มี โอกาสศึกษาฝึกฝนอบรมสัมผัสเกี่ยวกับงานอาชีพต่าง ๆ ตามความเหมาะสมเพื่อให้เกิดทักษะความสามารถ ที่จะออกไปประกอบอาชีพได้และชว่ ยให้มีการศึกษาฝึกอบรม เพิ่มเติมหลังจากมีงานทำและจัดให้มีการติดตามผล และ ประเมินผลเพอ่ื ปรับปรงุ จากหลักสำคัญในการจัดแนะแนวอาชีพ สรุปได้ว่าในการจัดการแนะแนวอาชีพนั้นต้อง จัดอย่ างต่อเนื่องตาม ข้ันตอนของพัฒนาการด้านอาชพี และตอ้ งจัดให้กบั นักเรยี นทกุ คนโดยให้ข้อมลู ทางอาชพี ท่ี ถูกต้องกับนักเรียนท้ังนี้ ตอ้ งคำนึงถึงความแต่กตา่ งระหวา่ งบุคคลด้วย เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

8 จดุ มงุ่ หมายของการแนะแนวอาชีพ พนม ล้ิมอารยี ์ (2533 : 8-9) ได้ กล่าวถงึ จดุ มุ่งหมายของการแนะแนวอาชพี ไวด้ งั น้ี 1. เพื่อชว่ ยใหน้ กั เรยี นไดม้ องเห็นความสำคัญของงานอาชีพ 2. เพ่ือช่วยให้นกั เรียนมีความรู้ความเข้าใจ เกยี่ วกับอาชีพต่างๆ 3. เพ่อื ช่วยให้นกั เรยี นได้ตระหนักถงึ อิทธิพลของสงิ่ ต่าง ๆ เช่น ความถนดั ความสนใจบุคลกิ ภาพระดบั สตปิ ัญญาสภาพร่างกายที่มีความสำคัญตอ่ การตัดสนิ ใจเลือกอาชพี 4. เพอ่ื ให้ข้อสนเทศแกน่ ักเรยี นเก่ียวกบั อาชีพทนี่ ักเรยี นสนใจ 5. เพื่อช่วยใหน้ กั เรียนรจู้ ักวธิ กี ารแสวงหางาน วธิ ีการสมัครงานและวธิ ปี รับตวั ให้เขา้ กบั งาน 6. เพือ่ ชว่ ยใหน้ ักเรยี นมีเจตคติท่ีดีต่ออาชพี ท่ีสจุ ริตทุกอาชีพ ศูนย์สหกิจศึกษาและพัฒนาอาชีพ มหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์ (2559 : 1) ได้กล่าวถึงจุดมุ่งหมายของการแนะแนว อาชพี ไว้ดงั นี้ 1. เพือ่ ช่วยให้นกั เรยี นไดม้ องเหน็ ความสำคัญของอาชีพ 2. เพือ่ ช่วยให้นกั เรยี นไดม้ คี วามรู้ ความเข้าใจ เกีย่ วกบั อาชีพตา่ งๆ ทมี่ ีอยู่ในท้องถิ่น และในโลกกวา้ ง 3. เพื่อช่วยให้ นกั เรยี นไดต้ ระหนักถึงอทิ ธิพล ของสง่ิ ต่าง ๆ เชน่ ความถนดั ความสนใจ บุคลกิ ภาพ ระดับ สตปิ ญั ญา สภาพร่างกาย ทีม่ ีความสำคญั ต่อการ ตัดสนิ ใจเลอื กอาชีพ 4. เพื่อให้ข้อสนเทศแก่นักเรียนเกี่ยวกับอาชีพที่นักเรียนสนใจ ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนได้มีความเข้าใจใน อาชีพนนั้ ๆ ลกึ ซึง้ มากยิง่ ขึ้น 5. เพื่อช่วยให้นักเรียนรู้จักวิธีการแสวงหางาน วิธีการสมัครงานวิธีการปรับตัวให้เข้ากับงานและวิธี การ ปฏบิ ตั ติ นใหม้ ีความเจริญก้าวหนา้ ในการทำงาน 6. เพอื่ ชว่ ยใหน้ ักเรียนมเี จตคติทีด่ ีตอ่ อาชพี ท่ีสจุ รติ ทกุ อาชีพ สรุปจุดมุ่งหมายของการแนะแนวอาชีพเพื่อช่วย ให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพที่สุจริตทุกอาชีพมองเห็น ความสำคัญของอาชพี มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ อาชพี ต่างๆ ท่มี ีอยูใ่ นท้องถ่นิ และในโลกกว้างได้ตระหนัก ถึง อิทธพิ ลของสงิ่ ต่าง ๆ กอ่ นการตัดสนิ ใจในการเลือก อาชพี เชน่ ความถนดั ความสนใจ บคุ ลิกภาพระดบั สติปัญญา สภาพร่างกายที่มีความสำคัญต่อการตัดสินใจ เลือกอาชีพเช่นกัน และให้นักเรียนรู้จักวิธีการแสวงหา งานวิธีการ สมคั รงานและวธิ ีปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กับงานในอนาคต เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

9 ทฤษฎีการแนะแนวอาชีพ ทฤษฎีการแนะแนวอาชีพทส่ี ำคัญมดี ังต่อไปน้ี 1. ทฤษฎีพัฒนาการแนะแนวอาชีพของ Super ค.ศ.1957 (นันทา สู้รักษา.2548 : 12-15) Super สรปุ ว่าการแนะแนวอาชพี จัดเป็นลำดับขั้นตอนดงั น้ี คือ 1. ขั้นการเจริญเติบโต เป็นขั้นของการเจริญเติบโต ทั้งทางร่างกายและจติ ใจ โดยอยู่ในช่วงอายุต้งั แต่ แรกเกิด ถึง 14-15 ปี ในขั้นนี้จะมีการพัฒนาความสามารถ ทัศนคติ ความสนใจ และความต้องการซึ่งมีส่วน เก่ยี วข้องกับอตั มโนทัศน์ในขนั้ นมี้ กี ารแบง่ ออกเปน็ ย่อย ๆ 4 ขอ้ ดงั น้ี - ขั้นกอ่ นสนใจอาชพี อยใู่ นช่วง 3 ปีแรก ของชวี ติ เด็กจะมีพัฒนาการทางดา้ นร่างกายอยา่ งรวดเร็ว - ขน้ั เพอ้ ฝัน อยู่ในชว่ งอายุ 4 ถงึ 10 ปี และมีจินตนาการดา้ นอาชีพตามความเพ้อฝนั ของตนเอง - ข้นั สนใจ อยใู่ นช่วง 11 ถงึ 20 ปี เดก็ จะ มีความสนใจเรอ่ื งอาชพี โดยขน้ึ อยกู่ ับความชอบ/ไม่ชอบ เปน็ หลักในการตดั สินใจ - ขั้นพิจารณาความสามารถ อยู่ในช่วง อายุ 13 ถึง 14 ปี เด็กจะให้ความสำคัญของความ สามารถ ประกอบการพจิ ารณาเกี่ยวกบั อาชีพ 2. ขน้ั การสำรวจ อยู่ในช่วงอายุ 15 ถงึ 24 ปี ใน ข้ันนี้ บคุ คลจะสำรวจตนเองและสำรวจอาชีพเพ่ือหา ข้อมูล และประสบการณ์ซง่ึ ได้จากกจิ กรรมของโรงเรยี น การทำงานพเิ ศษ ข้นั น้ี แบ่งออกเปน็ ขน้ั ย่อย ๆ 3 ขนั้ คือ - ข้ันพิจารณา อยู่ในชว่ งอายุ 15 ถึง 17 ปี เปน็ ขั้นทบี่ ุคคลพิจารณาความต้ องการ ความสนใจ ความสามารถ แตย่ งั ไม่ได้ตัดสินใจอาชีพแน่นอน - ขั้นการเปลี่ยนแปลงอยู่ในช่วงอายุ 18 ถึง 21 ปี เป็นขั้นที่บุคคลพิจารณาเลือกอาชีพจากสภาพ ความเป็นจริงมากขน้ึ เชน่ พิจารณาตนเองพิจารณา โอกาสทางการศึกษา โอกาสทีจ่ ะได้งานทำ โดยในขั้นน้ี บุคคล เรมิ ฝกึ หัดทกั ษะหรอื การศกึ ษาเฉพาะด้าน - ข้ันทดลองอยใู่ นชว่ งอายุ 22 ถงึ 24 ปี เปน็ ข้ันท่บี ุคคลเริมทดลองปฏิบัติงาน 3. ขั้นอาชีพ อยู่ในช่วงอายุ 25 ถึง 44 ปี บุคคลเริ่มทำงานที่ถาวรเมือได้พบงานที่เหมาะสม ถา้ งานน้นั ไม่ เหมาะสมไมเ่ ปน็ ที่พอใจก็อาจมีการเปลยี่ นแปลงงานได้ในระยะแรกๆ ในข้นั เริมประกอบอาชีพน้ี แบ่ง ไดเ้ ปน็ ขนั้ ยอ่ ย ๆ 2 ขัน้ คือ - ข้ันทดลองปฏิบัติงาน (Trial Substage) อยใู่ นช่วงอายุ 25 ถึง 44 ปี บุคคลเรมิ ทำงานที่ถาวรเมื่อ ได้พบงานที่เหมาะสมถ้างานนัน้ ไม่เหมาะสมหรือรู้สึกว่า อาชีพนั้นไม่เหมาะสมกับตนก็จะเกิดความรู้สึกไมพ่ ึงพอใจ กับอาชีพ - ขั้นประกอบอาชีพถาวร อยู่ในช่วงอายุ 31 ปี ถึง 44 ปี เป็นขั้นที่บุคคลประกอบอาชีพถาวรแล้ว จะแสวงหาความมัน่ คงและความก้าวหน้าในการทำงานเปน็ ชว่ งของการสร้างหลักฐาน เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

10 4. ขั้นรักษาความมั่นคงในอาชีพ อยู่ในช่วงอายุ 45 ถึง 65 ปี เป็นช่วงที่มีความมั่นคงในการทำงาน แล้ว และอยู่ในสภาวะท่ีบุคคลสามารถพฒั นาสถานภาพของ ตนเองและงานทท่ี ำอยู่ 5. ขั้นเสื่อมถอย อยู่ในช่วงอายุตั้งแต่ 65 ปี ขึ้นไป เป็นขั้นที่ประสิทธิภาพในการประกอบอาชีพลดลง อยู่ ในชว่ งวยั ชราลง รา่ งกายและสมองเสื่อมคุณภาพลง ขน้ั นี้แบ่งออกเปน็ ขั้นยอ่ ย ๆ ได้ 2 ข้ัน คือ - ขนั้ เร่มิ ลดประสทิ ธิภาพ อยูใ่ นช่วงอายุ 60 ปี ถงึ 70 ปี บุคคลเรมิ่ ลดประสิทธิภาพในการทำงาน ปลด เกษียณแล้ว หน้าที่การทำงานลดนอ้ ยลง - ขั้นเลิกประกอบอาชีพอยู่ในช่วงอายุ 70 ปี ขึ้นไป บุคคลใช้ชีวิตขั้นปลายด้วยการพักผ่อน โดยไมป่ ระกอบอาชีพใด ๆ เลย โดยสรุปแล้วทฤษฎขี อง Super อธบิ ายองค์ประกอบต่าง ๆ ท่มี อี ิทธิพลต่อการเลอื กอาชีพ 2 ประการ คอื 1. การพฒั นาทางอาชีพ เป็นกระบวนการทเี่ กิดขึ้น ตอ่ เน่ืองตลอดชีวติ ตามระยะข้นั พฒั นาการ 2. อัตมโนทัศนป์ รับเปลีย่ นไปตามแตล่ ะชว่ งชวี ติ ซ่ึงการปรบั เปลี่ยนน้ี มอี ิทธิพลกับพฤตกิ รรมมนุษย์ Super มีทศั นะว่าทฤษฎีอัตมโนทัศน์แบง่ เป็น 2 องคป์ ระกอบ คือ - อัตมโนทศั นส์ ่วนตัว ซ่งึ เนน้ ว่าแตล่ ะบคุ คลเลือกและปรับการเลือกของเขาอยา่ งไร - อตั มโนทศั น์ทางสังคม เน้นว่าคนแตล่ ะคน ประเมนิ สถานการณเ์ ศรษฐกจิ สงั คมและโครงสร้างสงั คม ปจั จุบันท่บี คุ คลจะทำงานและอาศยั อยวู่ า่ เป็นอย่างไร สำหรบั งานตามข้นั พัฒนาการของ Super สรุปเป็นตาราง 1 ซึ่งแสดงงานตามขน้ั พัฒนาการ ดงั นี้ ตารางท่ี 1 งานตามขนั้ พฒั นาการของ Super (Super’s Vocational Developmental Tasks) งานตามพฒั นาการด้านอาชีพ อายุ ลักษณะทั่วไป การเกิดความสนใจในอาชีพ 14-18 ปี เป็นระยะพัฒนาจุดมุ่งหมายเก่ยี วกบั อาชีพทวั่ ๆ (Crystallization) ไปโดยมีความตระหนกั รเู้ กยี่ วกับแหล่งของงาน 18-21 ปี ความสนใจ คา่ นิยม และวางแผนสำหรบั อาชีพที่ การพัฒนาความสนใจในอาชีพท่ี 21-24 ปี ตนชอบ เฉพาะเจาะจง (Specification) เปน็ ระยะท่ีพัฒนาจากความสนใจอาชพี ที่ยังไม่ แน่นอนมาสู่ความสนใจอาชีพทเี่ ฉพาะเจาะจงมาก การพัฒนาความสนใจในอาชพี อยา่ ง ขน้ึ มน่ั คงข้นึ (Implementation) เปน็ ระยะท่มี ีการฝกึ ฝนเก่ยี วกับอาชีพท่สี มบูรณ์ และเข้าสตู่ ลาดแรงงาน เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

11 งานตามพฒั นาการด้านอาชีพ อายุ ลักษณะท่ัวไป การประกอบอาชพี อย่างถาวร 24-35 ปี เปน็ ระยะที่ประกอบอาชีพที่ชอบอยา่ งจริงจงั มัน่ คง (Stabilization) ใชค้ วามรู้ ความสามารถในอาชพี อย่างเหมาะสม 35 ปี ขึน้ ไป และพฒั นาความรูส้ กึ ม่นั คงในตำแหนง่ งาน การสร้างความมั่นคงและกา้ วหนา้ ใน เปน็ ระยะที่มคี วามมนั่ คงกา้ วหนา้ ในงาน มี อาชพี (Consolidation) สถานภาพและมอี าวุโสในอาชพี ของตน Super (1990) ได้ปรบั ขน้ั พฒั นาการอาชีพตลอดชีวติ ข้นึ ใหมอ่ กี คร้ังเปน็ ขนั้ พัฒนาการดา้ นอาชพี สรุปได้ดงั ตาราง 2 ตารางท่ี 2 วงจรและการหมุนวงจรขัน้ พฒั นาการอาชีพตลอดชีวติ อายุ ระยะพัฒนาการ วัยรุ่น ผู้ใหญ่ตอนตน้ ผใู้ หญ่ตอนกลาง ผใู้ หญ่ตอนปลาย 14-25 ปี ระยะเจริญเติบโต พัฒนา self- 25-45 ปี 45-65ปี 65 ปี ข้ึนไป Growth concept ท่ีแทจ้ ริง เรยี นรทู้ ีจ่ ะสร้าง ยอมรับข้อจำกัด พฒั นาบทบาทท่ีไม่ใช่ ระยะสำรวจ เปดิ โอกาสให้ Exploration เรียนรมู้ ากขน้ึ ๆ สัมพันธภาพ ของตน อาชพี ระยะสร้างงาน เริม่ ตน้ สรา้ งงานที่ Establishment กับผู้อ่นื ระยะบำรงุ รักษา เลอื ก Maintenance พิสูจนไ์ ด้ว่าเปน็ หาโอกาส พิสจู นป์ ัญหาใหม่ใน มองหาจุด อาชพี ทเ่ี ลือกใน ระยะเส่ือม ทำงานท่ตี นชอบ การทำงาน เกษียณอายุที่ดี Decline ปจั จบุ ัน ใหเ้ วลากบั งาน ตงั้ หลักฐานมี พฒั นาทกั ษะ ทำตามสง่ิ ท่ีตนเอง อดิเรกน้อย ตำแหน่งท่มี ่ันคง ใหม่ ๆ ต้องการ สรา้ งความม่ันคง ตอ่ สกู้ ับการแข่งขัน ดูแลรกั ษาให้ยังคงมี ให้กับตำแหน่ง ความสนกุ สนาน เลน่ กีฬาน้อยลง เนน้ กจิ กรรมที่ ลดชัว่ โมงการทำงาน จำเปน็ เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

12 2. ทฤษฎีดา้ นการแนะแนวอาชพี ของ Holland ในทัศนะของ John Holland (1996, อ้างถึง นวลศิริ เปาโรหิตย์ 2544, 65-69) บุคคลจะเลือกอาชีพ ใด มักขึ้นอยู่กับบุคลิกภาพรวมทั้งตัวแปรจากสิ่งแวดล้อม Holland เชื่อว่า การเลือกอาชีพสะท้อนลักษณะทาง บุคลิกภาพของบุคคล นอกจากนี้รูปแบบทางบุคลิกภาพของบุคคลมักแสดงออกทางการทำงานของบุคคลด้วย ดงั น้นั การทบ่ี ุคคลมองตนเองเช่นไรและมองโลกอาชพี วา่ เป็นอยา่ งไร จึงเป็นสาเหตทุ ำใหบ้ คุ คลเลือกอาชพี น้ันด้วย ตามทฤษฎีของ Holland น้ัน ได้จัดแบ่งคน ออกเป็น 6 กลมุ่ อาชีพ โดยอาศัยบุคลิกภาพ ซง่ึ แตล่ ะกลมุ่ จะมีลักษณะ ทางบคุ ลิกภาพตา่ งกันไป หากบุคคลใด เลอื กอาชพี ไดเ้ หมาะกบั บุคลิกภาพ บุคคลนน้ั กจ็ ะเปน็ บุคคลทม่ี ีความสุขใน อาชีพ โดยบคุ คลทุกคนสามารถจัด เขา้ อยู่ในกลุ่มบคุ ลิกภาพชนดิ ใดชนิดหน่ึง ดังน้ี 1. กลุ่ม Realistic (R) บุคคลกลุ่มนี้ มีความสนใจ เป็นพิเศษกับงานที่ใช้กำลังกาย หรือ อาจเป็นงานท่ี ต้องทำกับวัตถุมากกว่าบุคคล เป็นงานรูปธรรมมากกว่างานที่เป็นนามธรรม อาชีพที่น่าจะอยู่ในกลุ่มนี้ คือ อาชีพ ช่าง กรรมกร วิศวกร ประมง ป่าไม้ เกษตรกร หรือนักกีฬา ประเภทต่าง ๆ ลักษณะบุคลิกภาพกลุม่ นี้ ได้แก่ เงียบ ขรึม ไมใ่ ครช่ อบสังสรรค์ ค่อนขา้ งจะอนรุ กั ษ์นยิ ม บางคร้ังอาจ ดูก้าวร้าว และไม่ใคร่สนใจด้านมนษุ ยส์ มั พนั ธ์ 2. กลุม่ lnvestigative (I) กลุ่มนี้ จบทางวิทยาศาสตร์ แขนงต่าง ๆ หรือท่ที ำงานกับเครืองคอมพิวเตอร์ ลกั ษณะ ทางด้ านบุคลกิ ภาพมักเป็นผูท้ ช่ี อบแสวงหาความรู้ นกั วชิ าการ ชอบทำงานอิสระไม่ชอบอยู่ภายใต้ควบคุม ใคร ชอบความมเี หตผุ ล ไมเ่ ช่อื อะไรง่ายๆ บางครงั้ อาจถูก มองวา่ คอ่ นขา้ งหัวรุนแรงและมุ่งงาน 3. กลุ่ม Artistic (A) กลุ่มศิลปินทุกแขนง ตั้งแต่ นักแสดง นักร้อง ดารา ช่างศิลป์ นายแบบ จนถึงครู สอน งานศลิ ปะลักษณะทางบุคลิกภาพที่เดน่ ก็คือ การเปน็ ผ้ทู ม่ี ีความคิดอิสระ มจี ินตนาการสูง อารมณ์อ่อนไหวได้ ง่าย กลา้ แสดงออก ไมช่ อบทำงานทมี่ โี ครงสรา้ งหรือทีต่ ้องคดิ อยูก่ บั กรอบและค่อนข้างจะเปิดเผย 4. กลุ่ม Social (S) จัดเป็นกลุ่มที่ชอบทำงานให้กับสังคม อาจเป็นครู อาจารย์ นักสังคมสงเคราะห์ นัก กายภาพบำบัด พยาบาล ผู้ให้คำปรึกษา หรืองานบริการ ทุกรูปแบบ ลักษณะเด่นทางบุคลิกภาพก็คือ ชอบอยู่กับ คนอื่น มนุษย์สัมพันธ์ดี สนใจช่วยเหลอื ผู้อื่นหรือทำงาน กับชุมชนในลักษณะต่าง ๆ เช่นในองค์กรท่ไี ม่ หวัง ผลประโยชน์ตอบแทน เปน็ ต้น 5. กลุ่ม Enterprise (E) กลุ่มนี้ ได้แก่ ผู้ประกอบ อาชีพประเภทธุรกิจ ทำงานฝ่ายขายหรือฝ่ายบุคคล ขาย ประกัน ทนายความ นักการเมือง เป็นต้น บุคลิกภาพที่ เด่นชัด คือ กล้าแสดงออก ค่อนข้างจะก้าวร้าว ชอบ ความเสี๋ยง อยากเป็นผู้นำ ชอบการปกครองหรือควบคุมผู้อนื่ มี ทกั ษะในการพูดโนม้ น้าวจิตใจผอู้ น่ื ได้ดี 6. กลุ่ม Conventional (C) อาชีพที่เด่นชัดได้แก่ อาชีพที่ต้องการความละเอียดในงานทีต่ ้องทำประจำ เช่น งานเลขานุการ เสมียน ผู้จดบันทึกรายการป้อนข้อมูลให้ คอมพิวเตอร์ ฝ่ายประชาสัมพันธ์ หรือ บรรณรักษ์ เปน็ ตน้ บุคลกิ ภาพของกลุ่มนี้ คอื เป็นพวกที่ชอบทำงานประจำ มีโครงสรา้ งทแ่ี น่นอน ทำตามรูปแบบเดิมท่ีเคยทำ กนั มา คอ่ นข้างอนุรกั ษน์ ยิ ม ไม่ชอบความคดิ โลดโผน ทำตามกฎระเบยี บทส่ี ังคมกำหนดไวแ้ ล้ว เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

13 และจากแนวคิดนี้เองจึงได้สร้างเครืองมือวัด ลักษณะบุคลิกภาพของบุคคลขึ้นสองแบบ คือแบบทดสอบ VPI (Vocational Preference Inventory) และแบบทดสอบ SDS (Self Directed Search) Realistic Investigative Conventional Artistic Enterprising Social อา้ งอิง 1. คมเพชร ฉัตรศุภสกุล. (2545). การแนะแนวเบอ้ื งต้น.กรุงเทพฯ: ภาควิชาการแนะแนวและจิตวิทยา การศึกษา คณะศึกษาศาสตร์มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ประสานมิตร. 2. นวลศริ ิ เปาโลหติ . (2530). พฒั นาการทางอาชพี . พิมพค์ รั้งท2ี่ . กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์แสงจันทร์. 3. ผอ่ งพรรณ เกดิ พทิ ักษ์. (2531). เอกสารประกอบการสอนแนะแนวทฤษฎีพฒั นาอาชีพ. กรงุ เทพฯ : ภาควชิ าการแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 4. สมคดิ กอมณี. (2559). รปู แบบการแนะแนวอาชพี สำหรับนักเรียนในระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษา. วารสารวชิ าการศกึ ษาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ: ปที ี่ 17 ฉบบั ท่ี 2 เดอื นกรกฎาคม-ธันวาคม 2559, หนา้ 106-121. 5. Herr, E.L. and H.C. Stantly. (1979). Careers Guidance through the Life Span.Boston : Little Brown, Inc. 6. Holland, J.L. (1973). Making Vocational Choices : A Theory of Career Englewood Cliffs.New Jersey : Prentice - Hall, Inc. 7. Super, D.E. (1957). The Psychology of Careers. New York : Harper and Brother Co.Turk, Gayla 8. Claire. (1985, February). “Development of the Music Listening Strategy Tempo : Computer Assisted Instruction in Music Listening”, Dissertation Abstracts International. 45 (8) : 2436 - A. เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

14 เอกสารประกอบการเรียน เร่อื ง บุคลกิ ภาพกบั การเลือกอาชีพ บคุ ลิกภาพกบั การเลือกอาชีพ การวิเคราะห์บุคลกิ ภาพกบั อาชีพ ในการแนะแนวอาชีพแต่ละครั้งนักแนะแนวหรือครูแนะแนวควรมีการวิเคราะห์บุคลิกภาพส่วนบุคคลของผู้เข้ารบั การแนะแนว เพื่อจะได้นำข้อมูลที่ได้มาเปรียบเทียบกับกลุ่มอาชีพที่สอดคล้องกับบุคลิกภาพของผู้เข้ารับการแนะ แนว ดังกรมการจดั หางานไดแ้ บ่งตามกลมุ่ บุคลิกภาพ 6 กลมุ่ ดงั นี้ 1. อาชพี บุคลิกภาพแบบจริงจงั ไมค่ ดิ ฝัน-นยิ มความจริง ก. ลักษณะโดยทว่ั ไป ผู้ที่มีบุคลิกภาพแบบนี้ จะชอบกิจกรรมที่ต้องใช้พละกำลัง ชอบงานกลางแจ้ง กิจกรรมที่ไม่ สลับซับซ้อน กิจกรรมเกี่ยวกับสิ่งของ เช่น เครื่องจักรกล ขาดทักษะในการสร้างสัมพันธ์ระหว่างบุคคล หลีกเลี่ยง กิจกรรมที่ต้องสังคมกับบุคคลอื่นชอบเป็นจุดสนใจของผู้อื่น ค่อนข้างก้าวร้าว มีลักษณะเป็นชายมีค่านิยมทาง เศรษฐกิจและในรปู แบบทม่ี ีระเบยี บแบบแผน ยึดถือประเพณนี ยิ ม ข. ลักษณะเดน่ ของบคุ ลิกภาพ มีความเป็นผู้ใหญ่ มีความอดทน มีความบากบั่น กล้าแสดงผลงาน ขาดทักษะในการสร้าง สัมพันธภาพทางสังคม ค. การประเมินตนเอง มคี วามเป็นผู้นำต่ำ มีทกั ษะในการสอื่ สารตำ่ มีสุนทรตี ่ำ ง. อาชีพท่สี อดคล้องกบั บุคลิกภาพ - เจ้าหน้าทค่ี วามปลอดภยั ในการทำงาน ช่างเขียนแบบทวั่ ไป ช่างเช่ือมโลหะ - ชา่ งเทคนิคเคร่ืองกล ช่างเทคนคิ อากาศยานและเคร่ืองยนต์ ชา่ งเทคนิคอเิ ล็กทรอนกิ ส์ - ชา่ งเขยี นแบบ (สถาปัตยกรรม) ชา่ งซอ่ มและติดตั้งวางสายไฟฟ้า ชา่ งเทคนิคเคร่ืองยนต์ - ชา่ งปรับอิเลก็ ทรอนิกส์ ช่างทนั ตกรรม ช่างแทน่ พิมพ์ออฟเซ็ท - ชา่ งฟิต นกั กายภาพบำบัด นกั บนิ - เจ้าหน้าทีจ่ ราจรทางอากาศ วศิ วกรการบิน วิศวกรเครื่องกล (ทัว่ ไป) - วศิ วกรโทรคมนาคม วศิ วกรอุตสาหการ ชา่ งซ่อมตวั ถังรถยนต์ - ชา่ งสำรวจ นกั เทคโนโลยีทางการศึกษา นกั อาชญาวิทยา - ผปู้ ระกอบอาหาร เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

15 2. อาชีพ บุคลกิ ภาพแบบท่ีต้องการใช้เชาว์ปญั ญา ก. ลักษณะโดยท่ัวไป ชอบคิด สังเกต วิเคราะห์ สังเคราะห์ วิจารณ์อย่างมีเหตุผล ชอบแก้ปัญหา ชอบใฝ่หาความรู้มี หลักการ ชอบทำงานทส่ี ลับซับซ้อนมากกว่าเปน็ ผลู้ งมือทำ ไม่ยดึ ตดิ ประเพณีนยิ ม หลีกเล่ยี งการคา้ การชกั ชวนเข้า สงั คมและการเลียนแบบ ข. ลกั ษณะเด่นของบุคลิกภาพ มีความเช่อื มั่นในตัวเอง มีความเห็นรุนแรง มีความบากบ่ัน อทุ ศิ เวลาใหก้ ับงาน เก็บตัวไม่ใคร่สนใจ สังคม ค. การประเมนิ ตนเอง มคี วามเปน็ ตัวของตวั เองสูง ไมช่ อบเอาอย่างใคร มีความร่าเรงิ ต่ำ ง. อาชีพที่สอดคล้องกับบคุ ลิกภาพ - จกั ษแุ พทย์ จติ แพทย์ นกั เคมี - นกั ชีววทิ ยา นกั ฟสิ กิ ส์ นักวิเคราะหร์ ะบบงานคอมพิวเตอร์ - นักวิเคราะห์ส่ิงแวดลอ้ ม นกั เศรษฐศาสตร์ ผู้จดั โปรแกรมคอมพิวเตอร์ - ทนั ตแพทย์ นักจติ วทิ ยา นักเทคนิคการแพทย์ - นกั วเิ คราะหก์ ารตลาด นกั วิจยั นกั สถติ ิ - ผู้บรหิ ารระบบข่าวสาร แพทยท์ ัว่ ไป เภสชั กร สัตวแพทย์ทว่ั ไป 3. อาชีพ บุคลกิ ภาพแบบมศี ลิ ปะ ก. ลกั ษณะโดยท่วั ไป ชอบกิจกรรมเกี่ยวกบั นามธรรม เป็นอสิ ระ รักความงาม มีความเป็นตวั ของตวั เองสูงชอบใช้ชีวิตและ กิจกรรมแบบตามลำพัง ไม่ค่อยควบคุมตัวเอง มักทำตามใจที่ปรารถนา มีความต้องการแสดงออกถึงลักษณะของ ตนเอง ชอบทางศลิ ปะ ไม่ชอบเลยี นแบบ มีความคิดรเิ ริม่ หลกี เลี่ยงงานประเภทใช้ระเบียบแบบแผน ข. ลกั ษณะเดน่ ของบุคลิกภาพ มีสุนทรยี ์ มีศลิ ปะ ชอบคดิ คำนงึ ชอบครนุ่ คิดคนเดยี ว เกบ็ ตัว ค. การประเมนิ ตนเอง มีความอิสระสูง มีความเขา้ ใจตนเองสงู มคี วามสามารถในการควบคมุ ตนเอง มีความสามารถในการ แสดงความรสู้ ึก ง. อาชพี ทีส่ อดคล้องกับบคุ ลิกภาพ - นักเขียนการต์ นู นักประชาสัมพนั ธ์ นกั ออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

16 - นักออกแบบฉากละคร นกั ออกแบบแฟช่ัน ผูจ้ ดั การฝา่ ยโฆษณา - ผสู้ ่ือขา่ ว มัณฑนากร นักเขยี นประกาศโฆษณา - นักหนงั สอื พิมพ์ นกั ออกแบบเครอื่ งเฟอรน์ เิ จอร์ นักออกแบบเคร่อื งประดับ - นักออกแบบเว็บไซต์ ผู้แปลภาษาต่างประเทศ สถาปนิก - ภมู สิ ถาปนิก 4. อาชพี บุคลิกภาพแบบทีช่ อบสมาคมสังคมกับบุคคลอน่ื ก. ลกั ษณะโดยท่ัวไป ชอบติดต่อกับคน ชอบสนทนา ชอบให้ความรู้สอนผู้อื่น ชอบแสดงตัว ร่าเริง มีความรับผิดชอบ มี ทักษะทางภาษา ต้องการความสนใจ ชอบช่วยเหลือผู้อื่น มีลักษณะเป็นหญิง หลีกเลี่ยงการใช้ความคิด ทางปญั ญา มักแกป้ ัญหาโดยคำนงึ ถึงความร้สู กึ หลีกเลี่ยงงานที่เกีย่ วกบั เครอื่ งยนต์ หรือทางวทิ ยาศาสตร์ ข. ลักษณะเด่นของบุคลกิ ภาพ ชอบสมาคม รา่ เริง ชอบเท่ียว รกั ษาประเพณี มคี วามรบั ผิดชอบ มีอำนาจ มีอิทธิพลเหนือผู้อ่นื มี ลักษณะทา่ ทางเป็นหญิง ค. การประเมนิ ตนเอง มคี วามเปน็ ผู้นำสูง มีทักษะในการพดู ชอบสมาคม ง. อาชพี ทส่ี อดคล้องกบั บุคลิกภาพ - ครอู าจารย์ เจ้าหนา้ ทีฝ่ า่ ยบุคคล ชา่ งเสริมสวย - นกั แนะแนว ผจู้ ดั การโรงแรม พนกั งานต้อนรับ - เจ้าหนา้ ท่โี สตทศั นูปกรณ์ นักจัดรายการวทิ ยุ นักสงั คมสงเคราะห์ - พยาบาล โภชนาการ 5. อาชพี บคุ ลิกภาพแบบกล้าคิดกล้าทำ ก. ลกั ษณะโดยท่ัวไป จะมีลกั ษณะของความเป็นผูน้ ำ มีความคดิ ริเริ่ม มีความเช่อื มัน่ ในตวั เอง กลา้ โต้แย้ง กล้าได้กล้าเสีย พร้อมที่จะทดลอง มีความเป็นอิสระ มีความสนใจอำนาจ มีความก้าวร้าวทางวาจา มีทักษะในการเจรจา มัก หลกี เลี่ยงสภาพการณท์ ่ตี อ้ งใชก้ ำลงั ทางปัญญาอนั ยาวนาน ไม่ชอบกจิ กรรมทีเ่ ป็นระเบยี บแบบแผน ข. ลักษณะเดน่ ของบุคลิกภาพ กล้าคิดกล้าทำ ชอบวางแผน ชอบสมาคม มีอำนาจเหนือผู้อืน่ ร่าเริง สนกุ สนาน ทำตามอารมณ์ ไม่ ชอบใชก้ ำลังความคิดอันยาวนาน เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

17 ค. การประเมนิ ตนเอง มคี วามเป็นผู้นำ ชอบการสมาคม มคี วามกา้ วร้าว มคี วามเข้าใจตนเอง ง. อาชีพที่สอดคล้องกับบคุ ลิกภาพ - ทนายความ ผจู้ ดั การฝา่ ยบุคคล พนักงานขาย - มัคคุเทศก์ ทป่ี รึกษาทางกฎหมาย ผ้พู พิ ากษา - พิธกี ร พนักงานต้อนรบั บนเคร่ืองบิน 6. อาชีพ บคุ ลิกภาพทที่ ำตามระเบียบแบบแผน ก. ลกั ษณะโดยท่ัวไป ชอบกิจกรรมที่เป็นรูปธรรมและกิจกรรมทางภาษา ยึดประเพณี ชอบทำตามระเบียบแบบแผน มากกวา่ การริเร่ิมด้วยตนเอง เป็นพวกวตั ถนุ ยิ ม และเจ้าระเบยี บ ไมย่ ดื หยนุ่ ชอบการเปน็ ผใู้ ต้บังคับบัญชา ชอบเลียนแบบ เป็นผู้ตาม ข. ลกั ษณะเด่นของบคุ ลิกภาพ มีความรบั ผดิ ชอบ กลา้ แสดงผลงาน ชอบพ่งึ พาอาศยั ผอู้ ืน่ รกั ษาระเบยี บ ประเพณี ค. การประเมินตนเอง มีจิตใจที่จะทำอะไรก็ทำจริง เคร่งครัดในระเบียบแบบแผน ง. อาชีพที่สอดคล้องกบั บคุ ลิกภาพ - ผนู้ ำเขา้ หรอื ส่งออก เจา้ หน้าทีค่ วบคุมคุณภาพ ผู้ตรวจสอบบัญชี - พนักงานพิมพด์ ีดคอมพวิ เตอร์ เลขานุการ พนกั งานบัญชี - ผ้ดู ูแลคลงั สินคา้ ผู้ประเมนิ ทรพั ย์สิน เจ้าหนา้ ทรี่ กั ษาความปลอดภัย - สมุห์บัญชี บคุ ลกิ ภาพกบั การเลือกอาชพี บุคลิกภาพมีอิทธิพลต่อการเลือกอาชีพ โดยบุคคลจะเลือกอาชีพที่เหมาะสมกับบุคลิกภาพของตน บุคลิกภาพ เฉพาะอย่างจะมีความสัมพันธ์กับอาชีพเฉพาะอย่าง ทฤษฎีการเลือกอาชีพของจอห์น แอล ฮอลแลนด์มีแนวคิด พื้นฐาน 4 ประการ - ประการที่ 1 อาชีพเป็นเครื่องแสดงออกทางบุคลิกภาพ บุคคลจะเลือกอาชีพใด ย่อมแสดงว่าบคุ ลกิ ภาพ ของเขาจะปรากฏออกมาในทิศทางเดียวกนั - ประการที่ 2 บุคลิกภาพของเขาแต่ละบุคคลมีความสัมพันธ์กับชนิดของสิ่งแวดล้อม ในการทำงานของ บุคคลนั้น ดังน้ัน บุคคลจึงมแี นวโนม้ จะหนั เข้าหางาน หรอื อาชีพท่ีสอดคลอ้ ง กบั บคุ ลกิ ภาพของเขา เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

18 - ประการที่ 3 บุคคลจะค้นหาสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวยให้เขาได้ฝึกทักษะ และใช้ ความสามารถของเขา ทั้งยงั เปดิ โอกาสใหเ้ ขาได้แสดงเจตคติค่านิยม และบทบาทของเขา - ประการที่ 4 บคุ ลกิ ภาพและส่งิ แวดลอ้ มจะเปน็ ตัวกำหนดพฤตกิ รรมของแต่ละบุคคล ดังน้นั เมอ่ื สามารถทราบบุคลิกภาพและส่งิ แวดล้อมของบุคคลแล้วก็จะทำให้ทราบผลทจี่ ะติดตามมาของบุคคลน้ัน ด้วย เช่น การเลือกอาชีพ ความสำเร็จในอาชีพ ตลอดจน ทั้งพฤติกรรมต่าง ๆ ทั้งการศึกษาอาชีพและสังคมด้วย การเลือกอาชีพและสาขาวิชาที่จะศึกษาให้เหมาะสมกับตัวเอง โดยเน้นเรื่องของ บุคลิกภาพ บุคคลแต่ละ บคุ ลิกภาพทีแ่ ตกต่างกัน แต่ละคนจะมีลักษณะทช่ี เี้ ฉพาะตนไมว่ ่าจะเปน็ รูปร่าง หนา้ ตา ผวิ พรรณ หรือนสิ ัยใจคอ มี นักวชิ าการบางทา่ นได้ใหค้ วามหมายของ คำว่า \"บคุ ลกิ ภาพ\" คอื ลักษณะสว่ นรวมของบคุ คล ซง่ึ ประกอบ ด้วยสิ่งที่ ปรากฏทางร่างกาย นิสัยใจคอ ความรู้สึกนึกคิด และพฤติกรรมรวมของบุคคลนั้น ซึ่งได้รวมอยู่ด้วยกันอย่าง ผสม กลมกลืนในตัวบุคคลนั้น รวมถึงสิ่งที่เขาชอบและไม่ชอบ สิ่งที่เขาสนใจและไม่สนใจ เป้าหมายต่าง ๆ ในชีวิตของ เขา สิ่งจูงใจต่าง ๆ ของเขา ความสามารถด้านต่าง ๆ ของเขา ลักษณะบุคลิกภาพเฉพาะของแต่ละคนนั้น หาก บุคคลรู้จักและเข้าใจบุคลิกภาพของตนเอง จนสามารถมองตนได้ตามสภาพความเป็นจริง ย่อมช่วยให้บุคคล ตัดสินใจเลือกแนวทางชีวิต การศึกษาและอาชีพได้อย่างสอดคล้องกับตัวเองมากที่สุด ลักษณะของบุคลิกภาพ เฉพาะของแต่ละคนนั้น หากบุคคลรู้จักและเข้าใจบุคลิกภาพ จนสามารถมองตนได้ตามสภาพความเป็นจริงย่อม ชว่ ยใหบ้ ุคคลตัดสนิ ใจเลอื กแนวทางชีวติ การศึกษา และอาชพี ไดอ้ ย่างสอดคล้องกบั ตวั เองมากท่สี ดุ เอกสารอา้ งองิ 1. คมเพชร ฉตั รศภุ สกุล. (2545). การแนะแนวเบือ้ งตน้ . กรงุ เทพฯ: ภาควิชาการแนะแนวและจิตวิทยา การศึกษา คณะศึกษาศาสตร์มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ ประสานมติ ร. 2. นวลศิริ เปาโลหิต. (2530). พฒั นาการทางอาชพี . พมิ พค์ ร้ังท2่ี . กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แสงจันทร.์ 3. ผอ่ งพรรณ เกิดพิทักษ.์ (2531). เอกสารประกอบการสอนแนะแนวทฤษฎพี ัฒนาอาชพี . กรงุ เทพฯ : ภาควิชาการแนะแนวและจติ วทิ ยาการศึกษา มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 4. สมคดิ กอมณ.ี (2559). รูปแบบการแนะแนวอาชีพสำหรับนกั เรยี นในระดับชั้นมธั ยมศกึ ษา. วารสารวชิ าการศกึ ษาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ: ปีที่ 17 ฉบับท่ี 2 เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2559, หน้า 106-121. 5. Herr, E.L. and H.C. Stantly. (1979). Careers Guidance through the Life Span.Boston : Little Brown, Inc. 6. Holland, J.L. (1973). Making Vocational Choices : A Theory of Career Englewood Cliffs.New Jersey : Prentice – Hall, Inc. เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

19 7. Super, D.E. (1957). The Psychology of Careers. New York : Harper and Brother Co.Turk, Gayla 8. Claire. (1985, February). “Development of the Music Listening Strategy Tempo : Computer Assisted Instruction in Music Listening”, Dissertation Abstracts International. 45 (8) : 2436-A. เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

หลกั สตู ร ทักษะการสอนในรูปแบบการโค้ชและผู้อํานวยการการเรยี นรู้ แผนการเรยี นรูท้ ี 7 ทักษะดา้ นความเปนครูในการสง่ เสรมิ ศักยภาพ ของผเู้ รยี นด้วยการโค้ชและผอู้ ํานวยการเรยี น

0 สารบัญ เน้อื หาท่ี หนา้ 7. ทกั ษะด้านความเป็นครูในการสง่ เสรมิ ศักยภาพของผเู้ รียนดว้ ยการโคช้ และผอู้ ำนวยการเรยี นรู้ 1 7.1 บทบาทหน้าท่ีของครูในการสง่ เสริมศักยภาพของผ้เู รียน 3 7.2 การประยุกตใ์ ช้ทกั ษะการสอนในรปู แบบการโคช้ และผ้อู ำนวยการเรยี นรู้ทส่ี ง่ เสรมิ ศกั ยภาพของผู้เรยี น เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

1 เอกสารประกอบการเรยี น เรอ่ื ง บทบาทหน้าทีข่ องครูในการส่งเสริมศกั ยภาพของผู้เรียน การปรับเปลี่ยนบทบาทของครูครั้งสำคัญ เกิดขึ้นเมื่อมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 จากเดิมที่ครูเป็นศูนย์กลางการจัดการเรียนการสอน (teacher-centered) มาสู่ผู้เรียนเป็น สำคัญ (student-centered) ปัจจุบันก้าวเข้าสู่ยุคดิจิทัล (digital era) ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศ การเข้าถึงข้อมูลความรู้และเรือ่ งราวต่างๆที่ผู้เรียนสามารถค้นคว้าเรียนรูไ้ ด้ด้วยตัวเอง ครูจึงไม่ใช่ผู้รูข้ องผู้เรยี นอกี ต่อไป ครจู ึงต้องเปลย่ี นบทบาทจากครผู ู้สอน (teacher) มาเปน็ ผอู้ ำนวยการเรยี นรู้ (facilitator) โดยเน้นให้ผู้เรียน มีวิธหี าความรใู้ นโลกแหง่ ความรู้อนั มากมายมหาศาลท่ีไม่อาจเรยี นรู้ได้หมด ครใู นยคุ ดจิ ิทลั ไมจ่ ำเป็นต้องเป็นคนที่มี ความรู้ เก่งที่สุดหรือประสบการณ์มากที่สุด แต่ต้องเป็นผู้ที่ “เข้าใจ” และ “เข้าถึง” ผู้เรียนผ่าน การถาม การฟัง การสังเกต การสังเคราะห์ข้อมูล สร้างความไว้วางใจ ความรู้สึกมั่นใจและแรงบันดาลใจในการที่จะเรียนรู้และ พฒั นาตนเองใหก้ บั ศิษย์ บทบาทใหมข่ องครผู สู้ อนคือการเปน็ ผอู้ ำนวยการเรียนรู้ 7 บทบาทของครทู ีเ่ ป็น “ผู้อำนวยการเรยี นรู้” ท่ดี ี มดี ังน้ี 1. เปน็ ผจู้ ัดบรรยากาศการเรียนรู้ เช่น การจดั ชน้ั เรียน สอ่ื /วสั ดอุ ปุ กรณ์แสงสวา่ ง ระบบเสยี ง 2. เป็นผู้แนะแนวทางการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนได้ค้นคว้าหาความรู้และสร้างความรู้ด้วยตนเองได้เต็ม ศักยภาพ 3. เป็นผู้เสรมิ แรงหรือสรา้ งแรงบันดาลใจ เพอื่ ให้ผ้เู รียนม่ันใจและพฒั นาตนเองเห็นคุณค่าและความหมาย ของการเรียนรู้ 4. เป็นผู้ใชค้ ำถามเป็นเคร่ืองมือในการพฒั นาผู้เรยี น 5. เป็นผู้ประเมนิ ให้ข้อมูลป้อนกลับ (feedback) เพอื่ ใหผ้ ู้เรียนทราบผลการเรยี นร้ขู องตน 6. เป็นผู้เรยี นรไู้ ปพรอ้ มกบั ศิษย์ ในการศกึ ษาความร้เู รอ่ื งใหม่ ๆ หรอื พฒั นานวัตกรรม 7. เปน็ ผู้วิจยั ศึกษาปญั หาในช้นั เรียนและแกป้ ญั หาโดยการทำวิจัยปฏบิ ัตกิ าร เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

2 ข้อแตกต่างของการเปน็ ครูผู้สอนและผ้อู ำนวยการเรยี นรู้ ครผู สู้ อน ผูอ้ ำนวยการเรียนรู้ ครูเตรยี มการสอน กจิ กรรม และอปุ กรณท์ ต่ี ้องใช้ ครเู ตรยี มประเดน็ ในการกระตุ้นความสนใจผู้เรยี น ครูคดั เลือกความรู้ใหผ้ ้เู รียน ทำใบความรใู้ ห้ ครูเปิดโอกาสให้เดก็ คน้ หาความรจู้ ากแหลง่ ทตี่ นเอง สนใจ และครูคอยช่วยใหค้ ำแนะนำ ครบู อกความร้แู กผ่ ูเ้ รยี น บอกข้ันตอนการทำงาน ครชู ่วยแนะนำวิธีการค้นควา้ หาความรู้ กระตุ้นให้ผ้เู รียน ทง้ั หมด พัฒนาการทำงานของตน ครกู ำหนดจุดประสงค์ และจัดกิจกรรมเพอ่ื บรรลุ ครูกระตนุ้ ใหผ้ เู้ รียนเกิดคำถามแห่งการเรียนรู้ และคน้ หา จดุ ประสงค์ คำตอบของคำถามน้นั ครสู อนวิชา เน้นความรู้วิชา ครชู ่วยผู้เรยี นเรียนรู้สอนคน, ฝึกทกั ษะสรา้ งแรงบนั ดาล ใจและทักษะการเรียนรู้ เน้นบทบาทสอนตามหลกั สูตร ตามตำรา ครสู อนคน เนน้ การออกแบบการเรยี นรรู้ ่วมกัน ครทู ำงานเปน็ ทมี เดยี ว บูรณาการวิชาที่สอนรว่ มกนั การสอบเนน้ ความรใู้ นวชิ า การสอบเน้นการประเมนิ ทกั ษะและกระบวนการเรยี นรู้ ของผเู้ รยี น การวดั ผลเนน้ ตดั สินผลการเรียนได้หรือตก การวัดผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผเู้ รยี นจนเตม็ ศกั ยภาพ เอกสารอ้างอิง 1. Plook Teacher, 2559, จากครูสูผ่ ู้อำนวยการเรยี นรู้ (From Teacher to Facilitator) [ออนไลน์]., แหลง่ ท่ีมา https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/50208/- edu-t2s1-t2-t2s2 สบื คน้ เมอื่ 1 มถิ นุ ายน 2564 เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

3 เอกสารประกอบการเรียน เรือ่ ง การประยุกต์ใช้ทักษะการสอนในรูปแบบการโค้ชและผูอ้ ำนวยการเรยี นรู้ ที่ส่งเสรมิ ศกั ยภาพของผเู้ รยี น การประยกุ ต์ใช้ทักษะการสอนในรปู แบบการโคช้ และผู้อำนวยการเรียนรู้ทส่ี ่งเสริมศักยภาพของผูเ้ รียนเปรียบเสมือน กระจกเงาให้นักเรียนสะท้อนตัวตน เกิดการตระหนักรู้ ค้นพบตนเองและก้าวข้ามพ้นกับดักการเรียนรู้ ทักษะสำคัญ ในการเปน็ ผูอ้ ำนวยการการเรียนรขู้ องครู มีดังน้ี 1. การใช้คำถาม การใชค้ ำถามทีด่ ีจะทำใหน้ ักเรียนเข้าใจตนเองอยากเปลี่ยนแปลงตนเองและมีเป้าหมาย ในการเรียนรมู้ ากขน้ึ 2. การรับฟังอย่างตั้งใจ คือ การฟังความสนใจในเรื่องที่นักเรียนสื่อสาร ไม่ขัดจังหวะไม่สอดแทรก หรือ แสดงความคิดเห็นใด ๆ ที่เป็นอุปสรรคในการนำเสนอความรู้ของนักเรียน การแสดงความสนใจฟัง จะทำให้ นักเรยี นรสู้ กึ ผ่อนคลายและเชือ่ มน่ั ในตัวเองมากขนึ้ 3. การใหข้ อ้ มูลป้อนกลับ ควรใช้ภาษาเชิงบวก และให้ข้อคดิ ทีเ่ ป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาการเรียนรู้ของ นักเรียน เช่น ชื่นชมข้อดี จูงใจให้นักเรียนเห็นข้อดีของตัวเอง และคิดว่าการแก้ไขปรับปรุงการเรียนรู้เป็นเรื่องท้า ทายความสามารถ การจัดการเรียนการสอนในรปู แบบการโค้ชและผูอ้ ำนวยการเรยี นรูท้ ่สี ง่ เสริมศกั ยภาพของผเู้ รียน การจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับแนวการปฏิรูปการณ์ศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญนั้น ครูต้องลดบทบาทและ ความสำคัญของตนเองลง ผู้สอนจะต้องเปลี่ยนบทบาทมาเป็นผู้อำนวยความสะดวก และต้องใช้เทคนิคการสอนที่ หลากหลายเพื่อให้สามารถตอบสนองผู้เรียนที่มีความสามารถหลากหลายได้ โดยมุ่งเน้นในการพัฒนาทักษะแห่ง ศตวรรษที่ 21 แกผ่ ู้เรยี นเพ่ือให้เปน็ บุคคลทเี่ ป็นท่ีต้องการในตลาดแรงงานแห่งศตวรรษท่ี 21 ซึ่งต้องการแรงงานท่ี มีคณุ สมบัติแห่งการเรียนรู้และพฒั นาตนเอง ในการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี น้นผูเ้ รียนเป็นสำคญั ครูจะต้องคำนึงถึงความสนใจ ความตอ้ งการ และแรงจูงใจ ทจ่ี ะ ทำให้ผูเ้ รยี นพฒั นาเตม็ ศกั ยภาพ รูจ้ ักคิด วิเคราะห์ มสี ว่ นรว่ ม และรจู้ ักแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง ในการที่ครูจะจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้มีทักษะในการแสวงหาและสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเองนั้น จำเป็นที่ จะต้องเปลี่ยนบทบาทของตนเองมาเป็นผู้อำนวยการเรียนรู้ ผู้อำนวยความสะดวกให้นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง อยา่ งแทจ้ รงิ และรบั บทบาทใหม่ดังนี้ เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

4 1. ผู้จัดระบบการเรียนการสอน เรมิ่ ต้งั แต่การศึกษาหลักสตู ร ตลอดจนวางแผนการเรียนการสอน การจัด กิจกรรมการเรยี นรู้ เลอื ก ผลิตและใชส้ ่ือการเรียนการสอนวัดผลและประเมินผล และรวมไปถึงการจัดระเบียบวินัย ในชั้นเรยี น 2. ผู้จัดบรรยากาศหรือสภาพแวดล้อมของการเรียนรู้ด้านกายภาพ ได้แก่ การจัดชั้นเรียน วัสดุอุปกรณ์ แสงสว่าง ระบบเสียงให้นักเรียนรู้สึกสบายและอยากเรียน ส่วนด้านจิตวิทยา ได้แก่ การจัดชั้นเรียนให้ผู้เรียนมี โอกาสทำกิจกรรมรว่ มกัน กล้าคิด กลา้ ทำ ให้โอกาสผู้เรยี นได้ประสบความสำเร็จทกุ คน 3. ผู้ชี้นำหรือแนะแนวทาง เพื่อให้ผู้เรียนได้ค้นคว้าหาความรู้โดยการสังเกต การสำรวจ การทดลอง ซึ่ง เป็นวิธีการให้ผเู้ รยี นสร้างองคค์ วามรดู้ ว้ ยตนเอง 4. ผู้สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน เพื่อพร้อมที่จะเข้าใจ ช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน เพื่อให้ผู้ได้เรียนรูไ้ ด้ อย่างราบร่ืน 5. ผู้เสรมิ แรง เพือ่ ใหผ้ ู้เรยี นแสดงพฤตกิ รรมท่คี รูต้องการ และเปน็ การยำ้ ใหผ้ ู้เรยี นมั่นใจในการกระทำของ ตนเอง จะได้พัฒนาตนเองใหด้ ียงิ่ ขึ้น โดยเลอื กโอกาสในการเสริมแรงใหเ้ หมาะสม 6. ผูถ้ ามคำถาม เพือ่ กระตุน้ ใหผ้ ูเ้ รียนคิด และใช้คำถามเป็นเครื่องมือในการพัฒนาสตปิ ัญญาของผเู้ รียน 7. ผใู้ หข้ อ้ มลู ย้อนกลับ เมอื่ ผเู้ รยี นลงมอื ปฏบิ ัตยิ อ่ มตอ้ งการทราบผลการกระทำของตน การวจิ ัยเพ่อื แกไ้ ขปญั หาในช้ันเรยี น การวิจัยในชั้นเรียน คือ การวิจัยที่ทำโดยครูผู้สอนในชัน้ เรียน เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนและนำผลมาใช้ ในการปรับปรุงพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนให้ดียิ่งขึ้น เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับผู้เรียน เป็นการวิจัย ที่ต้องทำอย่างรวดเร็ว นำผลไปใชท้ ันทแี ละสะท้อนข้อมูลเก่ียวกับการปฏิบตั ิงานตา่ ง ๆ ในชวี ิตประจำวันของตนเอง และกลุ่มผู้ร่วมงานในโรงเรียน โดยการวิพากษ์ อภิปราย แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับแนวทางที่ได้ปฏิบัติและผลที่ เกดิ ขึ้นเพ่อื พัฒนาการเรียนร้ทู ้ังครแู ละผเู้ รยี น (สวุ ิมล วอ่ งวาณิช, 2548) วัตถุประสงคส์ ำคัญของการวจิ ยั ในช้ันเรียน จึงเป็นการศึกษาสถานการณ์ที่เป็นปัญหาในการจัดการเรยี นรู้ในชั้นเรียน เพื่อให้ครูได้พิจารณาทบทวนการจัดการ เรียนรู้ของตนอย่างเปน็ ระบบ ลักษณะสำคัญของวิจัยในชั้นเรียน คือ การดำเนินงานที่เป็นวงจรต่อเนื่องที่ครูต้องดำเนินการตลอดเวลา เพื่อแกไ้ ขปัญหาและหาขอ้ คน้ พบ รวมถงึ แนวทางในการพฒั นาการเรยี นการสอน ไดแ้ ก่ 1. การวางแผน (plan) คอื การกำหนดแนวทางหรือประเดน็ ปญั หาทต่ี ้องการปรบั ปรงุ แก้ไขหรือพัฒนาให้ ดยี ิง่ ขึ้น 2. การปฏิบตั ิ (act) ดำเนินการตามแผนทีก่ ำหนด 3. การสงั เกต (observe) คอื การสังเกตผลการปฏิบัตงิ านในระหวา่ งทีด่ ำเนินการตามแผนท่ีกำหนด เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

5 4. การพิจารณาไตร่ตรอง (reflection) คือ การคิดไตร่ตรองเพื่อประเมินผลการปฏิบัติงานและปรับปรุง แกไ้ ขการดำเนนิ งานครง้ั ต่อไป การทำวิจัยในชั้นเรียนหากครูใช้นวัตกรรม ก็จะสามารถพัฒนาผู้เรียนได้ตรงจุดและส่งผลให้เกิด การเปล่ียนแปลงการจัดการเรยี นรูม้ ากกวา่ การกำหนดนโยบาย เอกสารอา้ งอิง 1. Plook Teacher, 2559, จากครสู ู่ผ้อู ำนวยการเรยี นรู้ (From Teacher to Facilitator) [ออนไลน]์ ., แหลง่ ท่ีมา https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/50208/- edu-t2s1-t2-t2s2 สบื คน้ เมื่อ 1 มิถุนายน 2564 2. วจิ ารณ์ พานชิ . การสรา้ งการเรียนร้สู ศู่ ตวรรษท่ี 21. https://www.scbfoundation.com 3. วจิ ารณ์ พานชิ . ครเู พ่ือศิษย์สร้างห้องเรียนกลับทาง. https://www.scbfoundation.com 4. วจิ ารณ์ พานชิ . วถิ ีการสร้างการเรียนรู้เพ่อื ศิษย์ในศตวรรษที่ 21. https://www.scbfoundation.com 5. วจิ ารณ์ พานชิ . สนกุ กบั การเรียนร้ใู นศตวรรษท่ี 21. https://www.scbfoundation.com 6. สวุ มิ ล ว่องวาณิช. (2548). การวิจยั ปฏบิ ัติการในชน้ั เรียน. พมิ พค์ รั้งที่ 8. กรุงเทพมหานคร: สำนกั พิมพ์แหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook