Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Course06_U01_merged

Course06_U01_merged

Published by POTETO BENCHAWAN, 2022-04-24 15:53:52

Description: Course06_U01_merged

Search

Read the Text Version

เนื้อหาที่ สารบญั หน้า 3.รปู แบบการจดั การเรยี นการสอนในศตวรรษท่ี ๒๑ 1 7 3.1 การศกึ ษาทเี่ นน้ ผลลัพธก์ ารเรียนรู้ (Outcome Based Education) 14 3.2 การจัดการเรยี นรู้ (Teaching / Learning Approaches) 3.3 การประเมนิ ผล(Assessment Method) เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

1 เอกสารประกอบการเรียน เรอ่ื ง การศกึ ษาทีเ่ นน้ ผลลัพธ์การเรียนรู้ (Outcome Based Education) หากการศึกษา คือความเจริญงอกงามของมนุษย์ ผู้เป็นครูย่อมต้องการเห็นลูกศิษย์อยู่รอด ปลอดภยั และมคี วามสขุ ในศตวรรษที่ 21 จากการออกแบบกระบวนการเรยี นร้ทู เ่ี ราบ่มเพาะ (Cultivate) มีทกั ษะสำคัญ ทจ่ี ำเปน็ ในการใช้ชวี ติ ทสี่ ถานการณใ์ นปัจจุบันมีความซบั ซอ้ นมากยง่ิ ขนึ้ การจัดการศกึ ษาในปจั จบุ นั จงึ ต้องเน้น ทผ่ี ลลัพธก์ ารเรียนรู้ หรอื ทเ่ี ราเรยี กวา่ Outcome-Based Education (OBE) OBE เปน็ แนวคิดดา้ นการศึกษาทม่ี งุ่ เน้นผลลัพธ์การเรยี นรู้ของผู้เรยี นเป็นสิ่งสำคญั โดยต้องมีกระบวน การออกแบบระบบการศึกษาที่เอื้อให้เกิดผลลัพธ์การเรียนรู้นั้น ซึ่งประกอบด้วยความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) และเจตคต/ิ คุณลักษณะ (Attitude/Attribute) สมรรถนะ เป็นความสามารถของบุคคลในการใช้ความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณลักษณะต่าง ๆ ที่ตนมีใน การทำงานหรือการแก้ปัญหาต่าง ๆ จนประสบความสำเร็จในระดับใดระดับหนึ่ง โดยสมรรถนะแสดงออก ทางพฤติกรรมการปฏิบัติที่สามารถวัดและประเมินผลได้ สมรรถนะจึงเป็นผลรวมของความรู้ ทักษะ เจตคติ คุณลกั ษณะ และความสามารถอื่น ๆ ทีช่ ว่ ยใหบ้ ุคคลหรือกล่มุ บุคคลประสบความสำเรจ็ ในการทำงาน คนทุกคนมีศักยภาพ (Potential) ภายใน ซึ่งเป็นความสามารถที่แฝงอยู่ในตัวบุคคล เป็นศักยภาพไม่ด้านใด ด้านหนึ่งหรือหลายด้านแฝงอยู่แล้วแต่อาจยังไม่ได้แสดงออกให้เห็น จนกว่าจะได้รับการกระตุ้นหรือได้รับ การศึกษา หรือเรียนรู้ที่เหมาะสมกับภาวะแฝงนั้น และเมื่อศักยภาพนั้นปรากฏออกมาหากได้รับการส่งเสริม ต่อไป จะทำให้บุคคลน้นั มคี วามสามารถในดา้ นนน้ั สูงขึน้ ดังนั้นการได้เรียนรู้สาระความรู้ และได้รับการฝึกทักษะต่าง ๆ รวมทั้งการได้รับการพัฒนาคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ ครูต้องออกแบบการเรียนรู้ในลักษณะเป็นภารกิจ งาน หรือสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิต เพื่อให้ ผู้เรียนได้บูรณาการความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะต่าง ๆ ประยุกต์ใช้เพื่อทำภารกิจที่ครูจัดการเรียนรู้ขึ้นให้ ได้ผลสำเรจ็ Situation-Based Learning เป็นกระบวนการที่ให้ผู้เรียนได้นำความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ มาประยุกต์ใช้ภายใต้สถานการณ์ต่าง ๆ โดยบทบาทของครูผู้สอนคือสร้างแรงบันดาลใจให้ผู้เรียนได้เรียนรู้บน ความผดิ พลาด และกระหายอยากเรียนรู้ เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

2 สำหรับหรับผู้เรียน จะเกิดความสงสัยและมีคำถามในใจเพื่อค้นหาข้อมูลอยา่ งอิสระ (Independently Study) รูปแบบการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 จึงปรับเปลี่ยนโดยเน้นเรียนรู้ เพื่อเลี้ยงชีพ ( Life long Learning) โดยจัดการเรียนรู้แบบ Competency Based Learning ที่เชื่อมโยงกับทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึม (Constructivism) ให้ความสำคัญกับตัวผู้เรียน หรือนักเรียนมากกว่า ครู หรือ ผู้สอน ผู้เรียนจะเป็นผู้ที่มี ปฏสิ ัมพนั ธ์ (interact) กบั วัตถุ (object) หรือเหตุการณ์ ดว้ ยตวั ของเขาเอง ซึ่งจะทำให้เกิดความเข้าใจในวัตถุ หรือ เหตุการณ์นั้น ซึ่งก็คือ การสร้าง ( construct) การทำความเข้าใจ (conceptualization) และ การแก้ปัญหาต่าง ๆ ด้วยตัวของเขาเอง หรือกล่าวโดยสรปุ ได้วา่ ทฤษฎีการเรยี นรู้คอนสตรัคติวสิ ซมึ เป็นทฤษฎี การเรียนรู้ที่เชื่อว่า ความรู้ (knowledge) และการเรียนรู้ (Learning) เกิดขึ้นได้ด้วยตนเองเป็นคนสร้างขึ้นมา ด้วยการตีความหมาย (interpreted) ของสิ่งที่อยู่ในโลกความเป็นจริง (real world) ทั้งที่เป็นวัตถุ (object) หรือเหตุการณ์ (event) ที่อยู่บนฐานประสบการณ์และความรู้ ที่แต่ละบุคคลมีมาก่อนเข้าไปสร้างความหมาย (representation) ภายในจติ ใจ ดังนั้น รูปแบบการจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 จึงมุ่งเน้นไปที่ผู้เรียนเป็นสำคัญ ที่ต้องสร้างความรู้ ด้วยตนเอง โดย Professor Seymour Papert แห่ง M.I.T. (Massachusette Institute of Technology) ได้ตอ่ ยอดจากทฤษฏคี อนสตรัคตวิ ิสซึม สู่คอนสตรัคช่ันนิสซมึ (Constructionism) เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

3 ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์ด้วยปัญญา (Constructionism Theory) ผู้เรียนจะเป็นฝ่ายสร้างความรู้ข้ึน ด้วยตนเอง โดยในการสร้างความรู้นั้น ผู้เรียนต้องลงมือสร้างสิ่งใดสิ่งหนึ่งขึ้นมา เพราะการสร้างสิ่งที่จับต้องได้ ทำให้ผู้อื่นมองเห็นได้นั้น ผู้เรียนต้องใช้ความคิด มีความกระตือรือร้น มีความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของ ตนเองอยา่ งจรงิ จัง และประจักษ์ชดั ว่าตนเองรเู้ พียงพอแลว้ หรือยงั หรือสรปุ ได้วา่ เรียนรโู้ ดยการปฏบิ ัติ (doing) และสร้าง (making) ข้ึนมา ข้นั ตอนการเรยี นรจู้ ากทฤษฎีการเรยี นรเู้ พ่ือสรา้ งสรรค์ดว้ ยปญั ญา 1. สำรวจ (Explore) 2. ทดลอง (Experiment) 3. เรยี นรูจ้ ากการกระทำ (Learning by Doing) 4. การสรา้ งสง่ิ ใหม่จาการเรยี นรู้ (Doing by Learning) การศึกษาที่เน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ (Outcome Based Education) จึงต้องออกแบบวัตถุประสงค์การเรียนรู้ หรือเราเรียกว่า “ผลลัพธ์การเรียนรู้ (Learning Outcomes) ให้สอดคล้องกับการประเมินผล (Assessment) และสอดคล้องกับการสอนหรอื กระบวนการเรียนรู้ (Teaching/Learning Approaches) Learning Outcomes Teaching / Learning Approaches Triangle of Effective Learning Assessment คำกริยาสำหรบั การเขียน Learning Outcome เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

4 การกำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ (Objectives) เป็นการกำหนดสิ่งที่ต้องการให้ผู้เรียนมีหรือบรรลุพฤติกรรม ทั้ง 3 ด้าน คือ Knowledge (K) Skill (S) และ Attitude (A) ตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ บนพ้นื ฐานความเชอ่ื เร่อื ง Outcome Based Education (OBE) มดี งั น้ี ด้านพทุ ธิพสิ ัย (Cognitive Domain)-Knowledge (K) คือ จุดประสงค์การเรียนรู้ที่เน้นความสามารถทางสมอง หรือความรอบรู้ในเนื้อหาวิชาหลักการหรือทฤษฎี พฤติกรรมการเรียนรู้ด้านนี้สามารถวัดได้จากการให้ผู้เรียนแจกแจงความรู้ เขียนรายการสิ่งที่รู้ยกตัวอย่าง ประยุกต์กฎต่าง ๆ ที่เรียนไป หรือวิเคราะห์สถานการณ์ เป็นต้น พฤติกรรมตามระดับการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย แบง่ ไว้ 6 ข้ัน ซ่ึงการเรียนร้ใู นระดับทส่ี งู ข้ึนไป ตอ้ งอาศัยระดับการเรียนรู้ท่ตี ำ่ กวา่ เสมอ ระดบั พฤติกรรม ตัวอย่างคำกรยิ าที่ใช้ 1. จำ (Remembering) ความสามารถใน บอก จบั คู่ เขยี น อธิบาย บรรยาย การจดจำส่งิ ทีเ่ รยี นมาแล้ว อาจเป็นขอ้ มูลงา่ ย ๆ ขีดเสน้ ใต้ จำแนก ระบุ (Identify) จนถงึ ทฤษฎี 2. เข้าใจ (Understanding) ความสามารถใน แปลความหมาย อธิบาย (Clarify) ขยายความ สรุป การจับใจความการแปลความหมาย การสรุป หรือ ความยกตัวอย่าง บอกความแตกต่าง เรยี บเรียง ขยายความ การจัดสิง่ ของให้เขา้ พวกโดยใช้ เปลีย่ นนำเสนอ (Represent) แปล (Translate) หลักเกณฑ์ตา่ ง ๆ ถอดความ(paraphrase) จัดกลมุ่ (Categorize) จดั หมวดหมู่ ย่อความ(Abstract) ลงความเหน็ 3. ประยุกตใ์ ช้ (Applying) นำไปใช้ เป็น ใช้ (Use) ดำเนินการใหส้ ำเรจ็ (Carry out) ความสามารถในการนำสิง่ ท่ไี ด้เรียนรไู้ ปใช้ใน แก้ปญั หา สาธติ ทำนายเชื่อมโยงความสัมพนั ธ์ สถานการณ์ใหม่ เปล่ียนแปลง คำนวณ ปรับปรุง ผลิต ซ่อม 4. วิเคราะห์ (Analyzing) ความสามารถในการแยก จำแนก (Discriminate) คดั เลอื ก (Select) จุดเนน้ สิง่ ตา่ ง ๆ ออกเป็นส่วนยอ่ ยเหลา่ นั้นได้ เปรียบเทียบ (Focus) เขยี นโครงร่าง แยกแยะ จัดประเภท บอก ความแตกตา่ งของสว่ นตา่ ง ๆ ของสง่ิ ท่กี ำหนด ความแตกตา่ ง บอกเหตุผล ทดลอง 5. ประเมินคา่ (Evaluating) ค้นหาความไม่ ค้นหา ทดสอบ Coordinate Monitor สอดคล้องหรอื ความขดั แยง้ ภายในกระบวนการหรอื วดั ผล เปรียบเทียบ ตคี ่า ลงความคดิ เห็น วจิ ารณ์ ผลผลิต ตดั สนิ เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

5 6. คดิ สร้างสรรค์ (Creating) การได้ทางเลือกหรอื สร้างสมมตฐิ าน (Hypothesize) ออกแบบ กอ่ ตัง้ สมมตฐิ านทอ่ี ยูบ่ นพืน้ ฐานของกฎเกณฑ์หรือเหตผุ ล จัดระเบียบ สรา้ ง ประดษิ ฐ์ วางหลกั การ นำเสนอ แนวคิดใหม่ ๆ ด้านทกั ษะพสิ ยั (Psychomotor Domain) - Skill (S) คือจุดประสงค์การเรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนาทักษะทางกาย เน้นหนักด้านการวางท่าทางให้ถูกต้องและ เหมาะสมกับการปฏิบัติงานแต่ละชนิด สามารถระบุพฤติกรรมที่แสดงออกได้จากการตีความทักษะหรือ การปฏิบัติออกมาเป็นพฤติกรรม ซึ่งสังเกตได้จากความถูกต้องแม่นยำ ความว่องไว คล่องแคล่ว และสม่ำเสมอ พฤติกรรมตามระดับการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัยแบ่งไว้ 5 ขั้น ระดบั พฤตกิ รรม ตัวอย่างคำกรยิ าท่ใี ช้ 1. การรับรู้ รับรใู้ นสิง่ ทจ่ี ะตอ้ งปฏบิ ตั ิ โดยผ่านประสาท สงั เกต รูส้ ึก สมั ผัส ตรวจพบ สัมผัส 2. การเตรยี มพร้อม การเตรยี มตวั ใหพ้ ร้อมทางสมองทาง แสดงทา่ ทาง ตง้ั ท่าเขา้ ประจำท่ี กายและจิตใจ 3. การปฏบิ ตั ิงานโดยอาศยั ผู้แนะ/เลยี นแบบ การทำตาม เลยี นแบบ ทดลอง ฝึกหัด ตวั อยา่ ง การลองผดิ ลองถูก 4. การปฏิบตั งิ านได้เอง/คลอ่ ง ปฏบิ ัติไดเ้ องอยา่ งถกู ต้อง สาธิต ผลติ แก้ไข ทำได้สำเร็จดว้ ยตนเอง เรยี บร้อย มีประสิทธภิ าพ ทำงานได้เรว็ ข้นึ 5. การปฏิบัติงานดว้ ยความชำนาญ/ทำงานใหมไ่ ด้ ทำงานดว้ ยความกระฉบั กระเฉง จดั ระบบ ปฏิบตั ิงานดว้ ยความคลอ่ งแคลว่ เหมือนอตั โนมตั สิ ามารถ ควบคมุ การทำงานแนะแนวทาง ทำงานใหมไ่ ด้ ด้านจติ พิสยั (Affective Domain)-Attitude (A) คือ จุดประสงค์การเรียนรู้ที่เน้นหนักในด้านความสนใจ เจตคติ ค่านิยม อารมณ์และความประทับใจซึ่งวัดได้ โดยการสังเกต แต่บางเรื่องก็ไม่สามารถสังเกตได้โดยตรง การระบุพฤติกรรมที่คาดหวังให้ผู้เรียนแสดงออกนั้น ต้องอาศัยการรวบรวมพฤติกรรมที่ชี้ถึงความรู้สึก เจตคติและค่านิยมของตนเองและผู้อื่น แล้วนำมาใช้ใน การกำหนดเปน็ พฤติกรรมท่คี าดหวัง พฤติกรรมตามระดับการเรียนร้ดู ้านจติ พิสยั แบง่ ไว้ 5 ข้ัน เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

6 ระดับพฤติกรรม ตวั อย่างคำกรยิ าทใี่ ช้ 1. การรับรู้ การยอมรับความคิด กระบวนการ เลือก ช้ี ตดิ ตาม ยอมรบั หรือสิ่งเรา้ ต่าง ๆ 2. การตอบสนอง ความเต็มใจทจี่ ะตอบสนองต่อส่งิ อภปิ ราย เลอื ก เขยี นชื่อกำกับ ทีร่ บั รู้ 3. การเหน็ คณุ คา่ ความรู้สกึ นยิ มพอใจในสงิ่ ใดสิง่ อภปิ ราย ริเรม่ิ เลือก แสวงหา ประพฤตติ าม หน่ึงจนเกิดการปฏบิ ตั ติ ามส่งิ ทน่ี ยิ ม นำมาใช้ ระดับพฤติกรรม ตัวอยา่ งคำกรยิ าท่ใี ช้ 4. การจัดระบบค่านิยม การนำเอาคุณค่าต่าง ๆ จำแนก จัดลำดับ จดั ระเบียบ ผสมผสาน ที่เกิดจากการเรียนรู้มาผสมผสานและจัดระบบเข้า ดว้ ยกนั เพือ่ เสรมิ สรา้ งระบบคุณคา่ ขน้ึ ภายในตนเอง 5. การกำหนดคณุ ลักษณะ การนำค่านิยมที่จดั ระบบ สนบั สนุน ตอ่ ต้าน ใช้เหตผุ ล แสดงออก ชักชวน แล้วมาปฏิบตั จิ นเปน็ นิสัยเฉพาะตน เอกสารอ้างอิง 1. Adapted from Lorin W.Anderson and David R. Krathwohl. A Taxonomy for Learning, Teaching, and Assessing. New York:Longman, 2001, pp.67-8. 2. พนิต เข็มทอง.2541 “วัตถปุ ระสงคท์ างการศกึ ษา : การเขียนและการจำแนก” ในเอกสาร ประกอบการฝกึ อบรมหลักสูตรกลยุทธก์ ารฝึกอบรมแนวใหม่ แนวคิดสูก่ ารปฏิบัติ. กรงุ เพทฯ : สำนกั สง่ เสรมิ และฝึกอบรม มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์. 3. พิมพันธ์ เดชะคปุ ต์ และพเยาว์ ยนิ ดีสุข.2548 ทักษะ 5 C เพ่อื การพฒั นาหนว่ ยการเรยี นรู้ และจัดการเรียนการสอนแบบบรู ณาการ. กรงุ เทพฯ : จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. 4. วฒั นาพร ระงับทุกข.์ 2542.แผนการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเปน็ ศนู ย์กลาง.กรุงเทพฯ : บรษิ ัท แอล ที เพรส จำกดั . 5. วจิ ารณ์ พานิช. สนุกกับการเรียนในศตวรรษที่ 21. กรงุ เทพฯ: มูลนิธิสดศร-ี สฤษด์วิ งศ์, 2556, หน้า 74-75. 6. สำนกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. 2562. กรงุ เทพฯ: บรษิ ัท 21 เซน็ จูร่ี จำกดั เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

7 เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง การจดั การเรียนรู้ (Teaching & Learning Approaches) ในการจัดการสอนและการเรียนรู้ในชั้นเรียนในศตวรรษที่ 21 นั้นนับว่ามีความสำคัญเป็นอย่างมาก เพราะการส่งผ่านของความรู้ในการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 นั้นมีความแตกต่างจากสมัยก่อนเป็นอย่างมาก ผู้เรียนก็สามารถที่จะเข้าถึงแหล่งข้อมูลของความรู้ได้โดยง่ายด้วยเทคโนโลยีในสมัยใหม่นี้ ดังนั้นสิ่งที่จะทำให้ ผู้สอนส่งผ่านความรู้ให้กับผู้เรียนในยุคใหม่นี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพนั่นคือ การเข้าใจการจัดการเรียนรู้ ตลอดจนแนวทางในการจดั การเรยี นรู้ให้กับผเู้ รยี นได้ คำสำคัญสำหรบั การสร้างการจัดการเรยี นรู้ และแนวทาง ในการจัดการเรียนรู้ นั่นคือการเรียนรู้แบบ Active Learning หากเรามองการเรียนรู้ที่ผ่านมาส่วนมากจะเป็น รูปแบบของ Cognitive Learning หรือ อาจจะกล่าวว่า การเรียนรู้แบบผ่านครู ผ่านการบรรยาย หากแต่ การเรียนรู้ในยุคใหม่ มแี นวคิดเร่อื งของทักษะตา่ ง ๆ มากมาย เพ่ือใหเ้ กิดขึ้นในตัวผเู้ รียน รปู แบบวธิ ีการสอนจึง เปลี่ยนแปลงไป การเรียนการสอนแบบกระตุ้นผู้เรียน จะเป็นสิ่งที่ช่วยการเรียนรู้กับความเปลี่ยนแปลงท่ี ต้องการนี้ได้ ในที่นี้จะขอยกแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน ซึ่งเป็นแนวทางหนึ่งของการใน Active learning ให้เกดิ ขนึ้ ในชน้ั เรียน เนื่องด้วยมีคำสำคัญมากมายเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เราจึงต้องอาศัยกรอบเชิงโครงสร้าง บางอย่างในการอธิบายความสัมพนั ธร์ ะหว่างคำเหลา่ นี้ให้ชดั เจนเพือ่ ท่ีเราจะไดเ้ ขา้ ใจและนำไปใช้ไดถ้ ูกต้องและ เกิดประสิทธิผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนและการสอนของเรา กรอบเชิงโครงสร้างดังกล่าวเรียกว่า พีระมิดแห่ง การเรียนรู้ (Pyramid of Learning) รูปท่ี 1 แสดงรายละเอยี ดของพรี ะมดิ แห่งการเรียนรู้ พีระมิดฯ เป็นเสมือนลิ้นชักสำหรับแบ่งแยกคำสำคัญทางการศึกษาที่เชื่อมโยงสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ โดยมรี ะดบั ความชดั เจน (level of clearness) 3 ระดับ คือ 1. ระดับอากาศธาตุ : เป็นระดับนามธรรม มองไม่เห็น และจับต้องไดย้ ากซึ่งประกอบด้วยปรัชญาและ ความเชือ่ และหลักการ 2. ระดับธาตุผสม : เป็นระดับกึ่งนามธรรม/รูปธรรม พอมองเห็นภาพในใจ แต่จับต้องยังไม่ได้ ซง่ึ ประกอบด้วยแนวทางหรือวถิ ีทาง และกระบวนการ 3. ระดับวัตถุธาตุ : เป็นระดับรูปธรรม มองเห็นหรือสังเกตเห็นได้ และอาจจับต้องได้ซึ่งประกอบด้วย วิธกี าร ทักษะ และกลเม็ด (เคลด็ ลบั ) เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

8 กลเมด (เคลดลบั ) ระดบั ความชัดเจน ส่งิ ท่โี ดดเด่นเฉพาะตวั ทกั ษะ วัตถธุ าตุ กสล่งิ ยททุ แ่ี ธสแ์ ดลงะอวอธิ กกี ใานร มองเหน็ และจบั ตอ้ งได้ กลยุทธ์และวิธกี าร ธาตุผสม ส่งิ ที่กระทาในกระบวนการ พอมองเห็น แตย่ งั จับตอ้ งไม่ได้ กระบวนการ อากาศธาตุ ลาดับการกระทาภายใตแ้ นวทาง/วิถที าง มองไมเ่ ห็นและ แนวทาง/วถิ ที าง จับต้องไม่ได้ สิง่ ท่ที าให้เข้าใกล้/เขา้ ถึง/บรรลหุ ลักการ หลักทัว่ ป/หลกั การ สงิ่ หรอื สาระสาคญั ทย่ี ดึ ถือไว้เปน็ หลกั ในการปฏบิ ตั ิ ปรชั าและความเชอ่ื (ทางการศึกษา) สิง่ ยดึ เหนี่ยวใจที่เรายอมรบั ว่าเปน็ จริง รปู ท่ี 1 พีระมดิ แหง่ การเรยี นรู้ เราได้พบกับคำทางการศึกษาที่หลากหลาย (รูปที่ 2) และเราสามารถจัดหมวดหมู่คำเหล่านี้ลงในพีระมิดแห่งสะเต็ม ึศกษา การเรียนรู้ได้ ด้วยเหตุและผลทางวิชาการ STEM ถูกจัดให้เป็นหลักทั่วไปหรือหลักการ (เป็นอากาศธาตุ) ว่าด้วย การบูรณาการ (Integration) ของวิทยาศาสตร์ (S) เทคโนโลยี (T) วิศวกรรม (E) และคณิตศาสตร์ (M) ด้วยเหตุนี้ การจัดการเรียนการสอนใด ๆ ก็ตามที่บูรณาการองค์ความรู้ทั้งสี่สาขาเข้าด้วยก็ถือว่าเป็น STEM ทั้งนี้หากขาดสาขาใดสาขาหนึ่งไปก็ไม่เรียกว่า STEM การที่จะมองเห็นอากาศ เราจำเป็นต้องหาตัวแทน (proxy) ในการรวมหรือบูรณาการทั้งสี่สาขาเข้าไว้ด้วยกัน ตัวแทนดังกล่าวอยู่ในชั้นแนวทางหรือวิถีทาง (approach) ซึ่งเรารู้จักกันดีในชื่อที่หลากหลาย อาทิ การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน การจัด การเรยี นรู้โดยใชป้ ญั หาเป็นฐาน การจดั การเรียนรโู้ ดยใชก้ ารสืบเสาะเปน็ ฐาน Project -based การจดั การ เรียนEรdู้แuบcบaใtชiกo้ nารสืบเสาะเป็นฐาน IBCLaseC-Bb aLPsreodb lem -b ased PBLLearning PjBL การจัดการ เRรeียsนeรaู้แrบchบ-ใbชa้กsาeรdวจิ ยั เป็นฐาน STEM RBL การจดั การIเnรqียuนiรryู้แ-บbบaใsชe้กdรณี เป็นฐาน การจัดการเรียนรู้แบบใช้โครง ง านเป็นฐาน การจัดการ เรียนรู้แบบใช้ปัญ หาเป็นฐาน รูปที่ 2 กล่มุ คำทห่ี ลากหลายทางการศึกษา เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

9 ตารางท่ี 1 จุดหมายของแนวทางหรือวิถีทาง (approach) แนวทาง/วถิ ที าง ตัวแทน จดุ หมาย (สัมพนั ธ์กบั ความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคต)ิ การจดั การเรียนรโู้ ดยใชโ้ ครงงานเป็น โครงงาน • การบูรณาการองค์ความรู้ ฐาน (Project-based Learning- (project) • กระบวนการคดิ เชงิ ระบบ PjBL) • การสบื คน้ สารสนเทศ • การวางแผน • การทำงานเป็นทีมและ • การเรยี นรู้เชงิ วัฒนธรรม การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปญั หาเปน็ ฐาน ปัญหาหรอื ประเด็น • การบรู ณาการองคค์ วามรู้ (Problem-based Learning-PBL) (problem/issue) • การคิดแกป้ ญั หาตามขั้นตอน การจดั การเรยี นร้โู ดยใชก้ ารสืบเสาะ ชอ่ งว่างของ • การวางแผน • การสบื คน้ สารสนเทศ เป็นฐาน สารสนเทศ • การเชอ่ื มโยงองคค์ วามรู้ (Inquiry-based Learning-IBL) (information gap) • การประเมนิ ความน่าเชือ่ ถอื ของแหล่ง สารสนเทศ • การสรุปความ แนวทางการเลือกใช้แนวทางหรือวิถีต้องสร้างความสอดคล้องกนั ระหว่างจุดหมายของแนวทาง/วิถที างกบั ส่งิ ที่ เราต้องการพัฒนาผู้เรียนในรูปของความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และเจตคติโดยคำนึงถึงธรรมชาติของสาขาวิชา หรือความเชี่ยวชาญเป็นสำคัญ การจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน (PjBL) เป็นแนวทางที่มีประสิทธิผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน และ หมายถึง การจัดการเรียนรู้ที่มีครูเป็นผู้กระตุ้นเพื่อนำความสนใจที่เกิดจากตัวนักเรียนมาใช้ในการทำกิจกรรม ค้นคว้าหาความรดู้ ้วยตวั นักเรยี นเอง นำไปสู่การเพิ่มความร้ทู ี่ได้จากการลงมือปฏิบตั ิ การฟงั และการสังเกตจาก ผู้เชี่ยวชาญ โดยนักเรียนมีการเรียนรู้ผ่านกระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม ที่จะนำมาสู่การสรุปความรู้ใหม่ มีการเขียนกระบวนการจัดทำโครงงานและได้ผลการจัดกิจกรรมเป็นผลงานแบบรูปธรรม ซึ่งเมื่อเรามอง ความหมายของการใชโ้ ครงงานเปน็ ฐานดังกล่าว เราจะเห็นว่า การเรยี นรแู้ บบโครงงานนั้น มีแนวคิดสอดคล้อง กบั John Dewey เร่อื ง “learning by doing” ซึ่งไดก้ ล่าววา่ “Education is a process of living and not เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

10 a preparation for future living.” ดังนั้นการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน นอกจากจะสร้างหรือกระตุ้น การเรียนรู้ผ่านการลงมือทำแล้ว ยังทำให้ผู้เรียนได้ความรู้ผ่านการลงมือทำได้อย่างแท้จริง คุณครูจะมีบทบาท ในการสอน แบบบรรยาย ที่น้อยลง จะทำหน้าที่ในการคอยอำนวยการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นระหว่างการเรียนรู้ของ ผเู้ รยี นได้ ผลลพั ธ์ทเ่ี กิดขึ้นจากการใชก้ ระบวนการของโครงงานเป็นฐานนัน้ เปน็ สง่ิ ท่ีสำคัญมากกวา่ ผลลัพธข์ อง โครงงานที่ผู้เรียนสร้างขึ้น เพราะการเรียนรู้ที่เข้าใจกระบวนการผ่านโครงงานจะทำให้ผู้เรียนสามารถนำ กระบวนการไปประยุกต์ใช้การการแก้ไขปัญหาอื่นๆ ที่นอกเหนือจากสิ่งที่ผู้เรียนได้ทำผ่านโครงงานได้ อันเนื่องมาจากการใช้โครงงานเป็นฐาน โดยส่วนใหญ่จะสร้างให้เกิดคุณลักษณะดังต่อไปนี้ให้เกิดขึ้นในตัว ผู้เรียน 1. การเชอื่ มโยงกับชีวติ จรงิ (Real-World Connection) 2. มสี าระหลกั เชือ่ มสกู่ ารเรียนรู้ (Core to Learning) 3. การสรา้ งความร่วมมือในเชงิ โครงสรา้ ง (Structured Collaboration) 4. พลังขบั เคลอ่ื นของนักเรียน (Student Driven) 5. การแนวทางการประเมินท่หี ลากหลาย (Multifaceted Assessment) ขัน้ ตอนหลกั ของการดำเนนิ การจดั การเรยี นรแู้ บบโครงงานเป็นฐาน (รปู ท่ี 3) อาจะสรปุ ด้ดังตอ่ ปน้ี ขน้ั ตอนท่ี 1 ขนั้ นำเสนอ การเตรียมความพร้อม เปน็ ขัน้ ตอนทีส่ ำคญั สำหรับผ้สู อนและผู้เรียน เป็นการเตรียมความพร้อมผู้สอน เพื่อให้เข้าใจบทบาทผู้สอนในการทบทวนสร้างความเข้าใจกับกิจกรรมในแผน การจัดการเรียนรู้และแหล่ง เรียนรู้ต่าง ๆ ให้พร้อมต่อการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน (PjBL) ให้ประสบความสำเร็จ ส่วนการ เตรียมความพร้อมผู้เรียนเป็นการสร้างความเข้าใจในบทบาทผู้เรียน ให้เกิดความตระหนักถึงเป้าหมายการ เรียนรู้และบทบาทผู้เรียนที่ต้องมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ รวมไปถึงการเตรียมแหล่งข้อมูล วัสดุอุปกรณ์ งบประมาณ ระยะเวลา ความปลอดภยั และปัจจัยอน่ื ๆ ท่ีเกีย่ วข้องในการทำโครงงาน และพร้อมทีจ่ ะนำเสนอ ใหก้ บั ครผู ูส้ อนต่อไป ครูผู้สอนอาจจะช่วยกระต้นุ ด้วยกจิ กรรมเชน่ การให้ขอ้ มูลปัจจุบนั ที่มอี ยูก่ ็ได้ ขน้ั ตอนที่ 2 ขน้ั วางแผน เป็นขั้นที่ผู้เรียนร่วมกันวางแผน โดยการระดมความคิด อภิปรายหารือข้อสรุปของกลุ่ม เพื่อใช้เป็น แนวทางในการปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 3 ขน้ั การปฏิบตั ิ การปฏิบัติงานโครงงาน เป็นการนำขั้นตอนวิธีการตามเค้าโครงของโครงงานสู่การปฏิบัติ หลังจากท่ี ผู้เรยี นไดร้ บั ความเห็นชอบจากครผู สู้ อนหรอื ครูทีป่ รกึ ษาแลว้ เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

11 ข้ันตอนที่ 4 ขน้ั ประเมินผล ขั้นการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง โดยให้บรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้ที่กำหนดไว้ในแผน การจัดการเรยี นรู้ โดยมีผู้สอน ผู้เรียนและเพือ่ นร่วมกันประเมิน การประเมินโครงงานเป็นขั้นตอนหน่ึงท่ีสำคญั ที่จะสะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงความสำเร็จของ โครงงานในแต่ละขั้นตอน ตั้งแต่ก่อนทำโครงงานจนถงึ เสร็จสิ้นโครงงาน ซึ่งเป็นการประเมินอย่าง ต่อเนื่องด้วยวิธีการและเครื่องมือที่หลากหลาย เน้นการประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) ท้งั ความรู้ กระบวนการคิด พฤติกรรมของผูเ้ รยี น ผลงาน และขอ้ คน้ พบท่ผี ูเ้ รียนได้ จากการทำโครงงาน รูปที่ 3 ขน้ั ตอนการจัดการเรียนรูแ้ บบโครงงาน (ท่ีมา : สำนักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษาและกระทรวงศกึ ษาธิการ) องค์ความรู้ถือเป็นส่วนสำคัญของการเรียนรู้และทุก ๆ การสอนของเราก็มุ่งหวังให้ผู้เรียนทุกคนได้รับความรู้ ตามที่ได้กำหนดไว้ในแผนการสอนหรือหลักสูตร เมื่อสิ้นสุดกิจกรรมการเรียนการสอนไม่ว่าเราจะใช้แนวทาง หรือวิถีทางการสอนแบบใดก็ตาม เราก็ต้องการรู้ว่าผู้เรียนได้รับหรือเกิดความรู้ตามที่ได้กำหนดไว้มากน้อย เพียงใด กลยุทธห์ รือวิธีการหน่ึงท่ีสามารถบอกเราได้ กค็ อื World Café (รปู ที่ 4) วธิ ีการ World café เปน็ รูปแบบหนง่ึ ของกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งมุ่งเน้นให้ “ผู้เข้าร่วมทุกคนได้มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความเข้าใจ ประสบการณ์ และความคิดเห็น” ในประเด็นที่กลุ่มใดกำหนดไว้ เป็นลักษณะของการทำกิจกรรม World café จะจัดขึ้นภายใต้ “บรรยากาศแห่งมิตรไมตร”ี หากลองนึกถึงบรรยากาศที่เรามโี อกาสนั่งในร้านกาแฟ เรา จะรู้สึกถึงความสบาย ผ่อนคลาย และหากยิ่งเรามีการพูดคุยกับกัลยาณมิตร เราจะรู้สึกได้ว่าการพูดคุยนั้นมี ความสขุ ดงั น้ัน ลกั ษณะของการจดั กระบวนการแบบ World Café จงึ เปรยี บไดก้ ับการทำใหอ้ งค์ความรู้ที่มีอยู่ ใน กลุ่มย่อยจนนำไปสู่องค์ความรู้ร่วม ลักษณะของการจัดกิจกรรมจะมีลักษณะคือ จะมีหัวข้อที่ ถูกเปิดประเด็นไว้กับเพ่ือนกลุ่มอื่น ๆ ซึ่งจะมเี จ้าบา้ น (Host) ประจำโต๊ะที่พร้อมต้อนรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมท่จี ะ หมนุ เวยี นมา จากโตะ๊ หรือกลมุ่ อ่ืน ๆ ดว้ ย เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

12 เพื่อให้เกิดผลที่ดีในการพูดคุยหรือสนทนากันขณะที่มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เราควรพิจารณาและใส่ใจกับ องค์ประกอบสำคญั และการดำเนินการของกิจกรรม World Café ดงั น้ี - (คร)ู ปรับเปลย่ี นบทบาทเปน็ ผูอ้ ำนวยการเรียนรู้ หรือ ผดู้ ำเนินรายการ - (ผอู้ ำนวยการเรียนร/ู้ ผูเ้ รยี น) แบ่งกลมุ่ ผเู้ รียนออกเปน็ กลมุ่ ยอ่ ยประมาณ 4-5 คน - (ผูอ้ ำนวยการเรยี นร)ู้ สรา้ งคำถามท่ีตอ้ งการใหก้ ลุ่มยอ่ ย ๆ ไดม้ โี อกาสในการแลกเปลี่ยนกัน - (ในแต่ละกลุ่มย่อย ๆ) กำหนดผู้นำกลุ่มเพื่อทำหน้าที่เป็นผู้บันทึกความคิดเห็นที่ได้จาก การแลกเปลยี่ นกนั ในกลุ่ม โดยคนท่ีเหลือในกลุ่มจะเป็น ‘สมาชกิ ในบา้ น’ รูปที่ 4 การใช้กระบวนการจดั กลมุ่ เรียนรดู้ ้วย World Café (ทีม่ า : https://www.gotoknow.org/posts/406480) - (ผู้อำนวยการเรียนรู้) กำหนดเวลาการแลกเปลี่ยนของกลุ่มย่อยต่าง ๆ โดยลักษณะการวนรอบ กลา่ วคอื ให้สมาชกิ ในบ้านของกลมุ่ หนึง่ ไดเ้ คลือ่ นยา้ ยไปเปน็ สมาชิกในบ้านของกล่มุ ยอ่ ยอน่ื เพือ่ ให้แลกเปล่ียน ความรรู้ ะหว่างกัน จนครบทุกกลุม่ - (ผู้อำนวยการเรยี นร้)ู สรุปภาพโดยรวมของการเรยี นรู้ในครั้งนั้น (โดยเฉพาะความรู้) อกี คร้ังหน่ึง เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

13 เอกสารอ้างอิง 1. Tan, S. and Brown, J. (2005). The World Café in Singapore: Creating a Learning Culture Through Dialogue. Journal of Applied Behavioral Science, 41(1): 83-90. เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

14 เอกสารประกอบการเรียน เรอื่ ง การประเมินผล (Assessment Method) องค์ประกอบสำคั ของการจดั การเรียนการสอน เราได้พบหลากหลายคำศพั ท์ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ทกุ ๆ ระดบั การศึกษา อาทิ วตั ถปุ ระสงค์ (objective) การประเมิน (assessment) การวัด (measurement) คะแนน (score) การประเมินผล (evaluation) แม้ว่าจะมีคำศัพท์ อยู่มากมาย เราสามารถจัดวางคำเหล่านี้ให้เป็นหมวดหมู่ได้และรูปที่ 1 แสดงกรอบอะตอม (atomic framework) ทีเ่ ชอื่ มโยงหมวดหมขู่ องคำศัพท์เข้าด้วยกนั อยา่ งมีความหมาย ผลลัพธ์การเรียนรู้ (learning outcomes) คือ ข้อความที่แสดงถึงสิ่งที่ผู้เรียนต้องรู้ (know) เข้าใจ (understand) และทำได้ (do) โดยบูรณาการและประยุกต์ใช้สิ่งที่รู้และเข้าใจบนพื้นฐานของประสบการณ์ การเรียนรู้จากหลักสูตรที่เชื่อมโยงกับบริบทการปฏิบัติงานและอาชีพเพื่อให้เกิดประโยชน์และผลกระทบที่ดี ในระยะยาว (Long-Term Impact) หลังจากสำเรจ็ การศกึ ษา ประสบการณ์/กิจกรรมการเรียนรู้ (learning experience/activity) คือ สถานการณ์หรือเหตุการณ์ท่ี ผู้สอนได้ออกแบบหรือกำหนดขึ้นอย่างมีระบบแบบแผนเพื่อให้ผู้เรียนเข้าร่วม ( participate) และผูกติด (engage) กบั การเรยี นรู้และประสบการณ์จนนำไปสู่การบรรลุผลลัพธ์การเรยี นรู้ การประเมิน (assessment) คือ กระบวนการเชิงบูรณาการเพื่อเก็บรวบรวม (collecting) หลักฐาน การเรียนรู้ต่าง ๆ ที่สะท้อนสภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน และสังเคราะห์ (synthesizing) เพื่อแสดงให้เห็นถึง สภาพความก้าวหน้าในการเรียนรู้หรือความสามารถของผู้เรียนเทียบกับผลลัพธ์การเรียนรู้ การประเมินเป็น เสมือนแว่นขยายสำหรับส่องเพื่อทำความเข้าใจการเรียนรู้ของผู้เรียนเรียน ระบุข้อจำกัดหรืออุปสรรคที่อาจ มองไม่เห็น และช่วยใหผ้ ้สู อนปรับปรุงแนวทางและวิธกี ารสอน เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

15 ผลลัพธ์ การเรียนรู้ การใหผ้ ล อะตอมสาคั ประสบการณ์ ปอ้ นกลับ ดา้ นการเรยี น /กิจกรรม การเรียนรู้ การสอน การประเมนิ รูปที่ 1 กรอบอะตอมการจัดการเรยี นการสอน การให้ผลป้อนกลับ (feedback) คือ คำอธิบายหรือข้อเสนอแนะที่เฉพาะเจาะจงกับหลักฐานการเรียนรู้ ซึ่งสะท้อนถึงความเข้าใจหรือความสามารถของผู้เรียนโดยมีความมุ่งหมายเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาทั้ง การคดิ หรือพฤติกรรมที่จะนำไปสู่การบรรลผุ ลลัพธก์ ารเรียนรู้ คำอธิบายหรือขอ้ เสนอแนะเหล่าน้ีควรเหมาะแก่ เวลาและใหค้ วามร้สู กึ วา่ เหมาะสำหรบั เฉพาะผเู้ รียนคนหนง่ึ ๆ เทา่ นัน้ กรอบการออกแบบแผนการสอน การออกแบบแผนการเรียนการสอนที่ดีต้องคำนึงอะตอมสำคัญของการเรียนการสอนและต้องได้รับการจัดวาง ให้สอดคล้องกันอย่างเด่นชัด การจัดวางดังกล่างต้องอาศัยกรอบการออกแบบซึ่งกรอบที่นิยมใช้ในศตวรรษท่ี 21 คือ กรอบการออกแบบแบบย้อนกลับ (backward design) (รปู ท่ี 2) การออกแบบแผนการเรียนรู้ตามกรอบการออกแบบแบบย้อนกลับ ( course backward design) คือ กระบวนการออกแบบการเรียนรู้ที่เริ่มต้นจากการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวัง ( expected learning outcome) จากนั้นจึงกำหนดหลักฐานเชิงประจักษ์ของการบรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวัง (acceptable evidence) หรือการประเมิน (assessment) และสุดท้ายออกแบบประสบการณ์หรือกิจกรรม การเรียนรู้ เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

16 หลักคิดสำคัญของการออกแบบการเรียนรูแ้ บบย้อนกลับ คือ การจินตนาการข้ึนในใจถึงจดุ หมายหรือผลสำเร็จ ที่อยากให้เกิดขึ้นในอนาคต แล้วจึงกำหนดเส้นทางย้อนกลับมายังจุดปัจจุบัน จากนั้นจึงลงมือปฏิบัติจากจุด ปัจจุบันเพื่อไปให้ถึงยังจุดหมายนั้น การดำเนินการลักษณะนี้มีชื่อเรียกรวมกันว่า ออกแบบย้อนกลับ ( design backward) และปฏิบัติไปขา้ งหนา้ (delivery forward) วางแผนประสบการณห์ รอื กำหนด กำหนด กจิ กรรมการเรียนรู้ หลักฐานการเรียนรู้ ผลลัพธก์ ารเรียนรู้ และการสอน เชงิ ประจักษ์ ประสบการณ์หรือกจิ กรรมการ เราจะรู้ ด้อย่าง รว่า ผเู้ รยี นจะทำอะ ร ด้บา้ งดว้ ยส่งิ ทร่ี ู้ เรยี นรู้ทจ่ี ะทำให้ผู้เรยี นแสดง ผเู้ รียน ดบ้ รรลุ และเข้าใจ? อะ รบ้างทคี่ วร/ต้อง หลกั ฐานการเรียนร้เู ชงิ ประจกั ษ์ ผลลพั ธ์การเรยี นรู?้ หลกั ฐานการ เขา้ ใจอยา่ งลกึ ซึ้ง? เป็นอยา่ ง ร? เรียนร้ใู ดบา้ งท่ยี ืนยันการบรรลุ ด้ (พิจารณาจากหลกั สูตร สาขาวิชา (พิจารณาจากแบบแผนการสอน รายวชิ า มหาวิทยาลัย และความ เชงิ รุก กลยทุ ธก์ ารสอน วธิ ีการสอน อย่างชัดเจน? รวมทั้งวสั ดุ อุปกรณ์ เครือ่ งมอื (พิจารณาจากวธิ ปี ระเมินท่ี ต้องการของสงั คม) แหล่งทรพั ยากร) หลากหลาย) รปู ท่ี 2 กรอบการออกแบบแบบย้อนกลับ การดำเนินการเช่นนี้เป็นการป้องกันบาปสองประการ (twin sins) ที่มักจะเกิดขึ้นกับการเรียนการสอนหรือ การออกแบบแผนการสอนในระบบดั้งเดิมซึ่งนักการศึกษาระดับโลก Grant Wiggings และ Jay Mctighe ได้กล่าวไว้ คือ การสอนที่มุ่งเน้นเนื้อหา (concept-focused teaching) และการสอนที่มุ่งเน้นกิจกรรม (activity-focused teaching) การสอนที่มุ่งเน้นเนื้อหาเป็นรูปแบบที่ผู้เรียนจะเรียนรู้ตามตำราหรือหนังสือ โดยตรงหรือแบบหน้าต่อหน้า (page by page) ซ่งึ ผู้สอนต้องการสอนให้ครอบคลมุ เน้ือหาท่ีกำหนดไวแ้ ตไ่ ม่ทำ ให้เกิดความเข้าใจเชิงลึกในระดับมโนทัศน์หรือความคิดรวบยอดที่จะทำให้ผู้เรียนถ่ายโอน ( transfer) หรือ ประยุกต์ (apply) การเรียนรู้นั้นไปยังสถานการณ์ใหม่ที่ไม่คุ้นเคยได้ ส่วนการสอนที่มุ่งเน้นกิจกรรมจะสร้าง การมีส่วนร่วมของผู้เรียนด้วยกิจกรรมที่หลากหลาย อย่างไรก็ตามการออกแบบกิจกรรมที่ให้เพียงความสนุก แต่ขาดความเชื่อมโยงกับความรู้และความเข้าใจเชิงลึกในแก่นของความรู้หรือสาระสำคัญจะทำให้เกิด สภาพการณ์ที่เรียกวา่ การปฏิบตั ิที่ปราศจากการพัฒนาความคดิ (hands-on without being minds-on) เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

17 วิธีการแก้ปัญหาของบาปสองประการ ก็คือการออกแบบตามกรอบการออกแบบแบบย้อนกลับ ซึ่งจะเห็นได้วา่ การเลือกใช้กิจกรรมนั้นจะอยู่ที่ขั้นสุดท้าย เพื่อให้มั่นใจว่าเราจะได้ผลลัพธ์การเรียนรู้ในรูปของความรู้ ความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง ทักษะ และเจตคติที่เหมาะสมและสอดคล้องกับความมุ่งหมายของการศึกษา หลักสูตร และรายวิชา เราสามารถใชก้ รอบโครงสร้างความรู้และกระบวนการ Do-Know-Understand (D-K-U) มาช่วย กำหนดได้ ตารางที่ 1 แสดงแม่แบบ D-K-U ตารางท่ี 1 แมแ่ บบ D-K-U เมือ่ สนิ้ สุดระยะเวลาการเรียนรู้แลว้ ผ้สู อนคาดหวงั วา่ … ผเู้ รยี นจะสามารถ… ผเู้ รียนจะรเู้ กี่ยวกับ… ผู้เรียนจะเขา้ ใจว่า… Do (D) Know (K) Understand (U) ผู้เรยี นสามารถทำอะไรได้ ผู้เรียนจะต้องรอู้ ะไรบ้าง ผเู้ รยี นจะเข้าใจวา่ อยา่ งไร หรอื ใชท้ กั ษะถา่ ยโอน (transferable skills) ในบรบิ ท เพ่ือใหส้ ามารถทำสง่ิ เหล่านัน้ ไดใ้ น เมือ่ มคี วามรูเ้ หลา่ นนั้ ? (ความ การทำงานหรือชีวิตจริงเม่ือผ่าน รายวิชา/หลักสตู รนไ้ี ปแล้ว? บริบทการทำงานหรือชวี ติ จริงเมื่อ เขา้ ใจชว่ ยให้บคุ คลใช้ ผา่ นรายวิชา/หลกั สตู รนี้ไปแลว้ ? ประสบการณก์ ารเรียนรู้ของตนได้ อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพเมอ่ื ต้องเผชิญ กับปญั หาหรอื ความทา้ ทายทางปัญญาในบริบท ทตี่ า่ งกนั หรอื ท่ยี ังไม่เกิดขน้ึ ) ลักษณะ : ลกั ษณะ : ลกั ษณะ : เป็นประโยคทีข่ น้ึ ต้นดว้ ยคำกรยิ า เป็นคำหรือขอ้ ความวลีที่ เปน็ ประโยคสมบูรณ์ที่แสดง (ละประธานซง่ึ เปน็ ผเู้ รยี น) ประกอบดว้ ย ความสัมพนั ธ์ระหว่างแกน่ ความรู้ ทชี่ ้ีให้เห็นถึงการแสดงหรอื ปฏิบตั ิ ข้อเทจ็ จริง (fact) และแก่นความรู้ ซึง่ ตอ้ งการใหผ้ ู้เรียนเข้าใจ (concepts) ของรายวชิ า/ สาขาวชิ า/หลักสตู ร ที่มารูปแบบ D-K-U : Rinkema, E. and Williams, S. (2019) เดิมรูปแบบของ Rinkema and Williams เป็น K-U-D อย่างไรก็ตาม ผู้จัดทำมีความคิดเห็นว่าควรเป็น D-K-U เนื่องด้วยมีความต้องการแสดงให้เห็นชัด เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

18 เป็นลำดับว่า ผู้เรียนสามารถทำ/แสดง/ปฏิบัติสิ่งใดได้โดยใช้ความรู้และความเข้าใจที่มีในตน ซึ่งให้ผลใน สองลกั ษณะ คือ เกิดผลงานทีเ่ ป็นประโยชน์ และเกิดความรู้ใหมท่ ล่ี กึ ซงึ้ การประเมิน การประเมนิ คือ อะ ร? ด้วยความหมายที่กล่าวแล้วข้างต้น (หัวข้อแรกและในรูปที่ 1) เราจะเห็นได้ว่า การประเมินมีส่วนสำคัญอยู่ 2 ประการ คอื 1. การรวบรวมหลักฐานการเรียนรู้ที่หลากหลายที่จะสามารถสะท้อนสภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยมงุ่ หวงั เพอ่ื ช่วยใหผ้ ้เู รียนมคี ุณภาพการเรียนรทู้ ด่ี ขี ้ึน 2. การสังเคราะห์สภาพการเรียนรู้เพื่อแสดงความก้าวหน้าในการเรียนรู้ (learning progress) เทียบกับผลลัพธ์การเรียนรู้หรือเป้าหมายซึ่งต้องอาศัยเครื่องมือประเมินในการวิเคราะห์และความชำนาญของ ผู้สอน(ผู้ประเมนิ )ในการสังเคราะห์ อะตอมการประเมินมีองค์ประกอบย่อยที่หลากหลายซ่อนอยู่ภายใน ตารางที่ 2 แสดงองค์ประกอบย่อยที่ สำคญั พรอ้ มทัง้ หนา้ ท่ี ลกั ษณะ และกระบวนการสำคญั ตารางท่ี 2 องคป์ ระกอบย่อยทส่ี ำคัญในอะตอมการประเมินในรูปท่ี 1 คำสำคั หนา้ ท่ี ลักษณะ กระบวนการสำคั การประเมิน รวบรวมและบนั ทึก แผนกจิ กรรมหรอื การกำหนดกิจกรรมหรือ (assessment) หลักฐาน เหตุการณท์ ่ีได้รับการ เหตกุ ารณท์ หี่ ลากหลาย การเรียนร้เู พื่อนำไปสู่ ออกแบบหรือกำหนดไว้ ตามความแตกต่างของ การตดั สนิ ใจ อยา่ งเปน็ ระบบโดย ผูเ้ รียนเพอ่ื ให้ผู้เรียนแสดง เชื่อมโยงกับผลลัพธ์การ ความสามารถของตนได้ เรยี นรู้ อยา่ งเต็มศักยภาพ การวัด กำหนดหรอื ระบสุ ญั ลกั ษณ์ แนวปฏิบัติและเคร่อื งมือที่ การกำหนดกระบวนการวัด (measurement) ลงบนหลักฐานการเรียนรู้ ชัดเจน และเครอื่ งมอื วัดที่ สอดคล้องกบั หลกั ฐานการ เรียนรู้ เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

19 ตารางที่ 2 องค์ประกอบยอ่ ยทส่ี ำคญั ในอะตอมการประเมินในรูปท่ี 1 (ตอ่ ) คำสำคั หน้าท่ี ลักษณะ กระบวนการสำคั แบบทดสอบ (test) เป็นวธิ กี ารหรือเครื่องมือ (โดยทว่ั ไป)การเขียน การเปิดโอกาสให้ผเู้ รยี น ประเมนิ ตอบ ได้แสดงความรู้ ความ คะแนน/เครอ่ื งหมาย เข้าใจ และทักษะผ่าน (score/mark) แสดงให้เหน็ ระดบั ความรู้ สญั ลักษณต์ วั เลขหรือ การเขยี นตอบคำถาม ความเข้าใจ หรือ ตวั อักษรทมี่ ีความหมาย การบันทกึ คะแนนหรือ ความสามารถ ท่ไี ดจ้ ากการวดั เครื่องหมายลงบน ของผูเ้ รียนด้วย หลกั ฐานการเรยี นร้หู รอื สัญลักษณ์ ระบบอนื่ ใดทีส่ ัมพันธก์ บั หลักฐาน การประเมนิ ผล ตัดสินใจเพือ่ ระบุระดบั แนวปฏิบตั ทิ ช่ี ัดเจนโดย การตัดสินใจเพอ่ื ระบุ เทยี บกบั จดุ อา้ งอิงหรอื ระดบั (evaluation/summative การเรียนรเู้ มอ่ื ส้นิ สุดช่วง เกณฑ์ที่กำหนด การเรียนรูต้ ามแนว ปฏบิ ตั โิ ดยเทยี บกบั assessment) การเรยี นรู้ จุดอา้ งอิงหรือเกณฑ์ ระบบการกำหนดเกรด/ ตัดสินใจเพอื่ ระบรุ ะดบั แนวปฏบิ ัตทิ ช่ี ัดเจนเชงิ การตัดสนิ ใจเพอ่ื ระบุ ระดับ (grading system) การเรียนรู้ โดยอาศยั ผล ระบบ ระดับ เกรด/ระดบั (grade) ที่ได้จากการวดั และ ของการประเมินผล การเรยี นรู้ ตามแนว แสดงหรือสื่อสาร ปฏิบตั โิ ดยเทียบกับ รายงานและสื่อสาร จุดอ้างอิงหรือเกณฑ์ สัญลักษณต์ วั เลขหรอื การนำผลทไี่ ดจ้ ากระบบ ระดบั ผลสัมฤทธท์ิ าง ตัวอักษร การกำหนดเกรด/ระดับ การศึกษาของผ้เู รียน ทมี่ คี วามหมายท่ไี ดจ้ าก มาเพือ่ รายงานหรือ ระบบ ส่ือสารไปยงั ผู้เกยี่ วขอ้ ง การกำหนดเกรด/ระดบั โดยเฉพาะผ้เู รียนและ ผสู้ อน เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

20 เหตใุ ดเราจงึ ต้องประเมิน? ด้วยความหมายที่กล่าวแล้วขา้ งต้น การประเมินจึงเป็นส่วนสำคัญ (integral part) ของการออกแบบและสร้าง แผนการสอน ช่วยให้เห็นภาพพัฒนาการหรือความก้าวหน้าทางการเรียนรู้ของผู้เรียน และช่วยให้ผู้สอนให้ผล ป้อนกลบั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและตรงประเดน็ เพอ่ื ใหผ้ ูเ้ รียนบรรลผุ ลลพั ธ์การเรียนรู้ เราจะประเมนิ อย่าง ร? เนื่องจากการประเมินเป็นส่วนสำคัญทีอ่ ยู่ในแผนการสอน ดังนั้นการกำหนดการประเมินทัง้ วิธแี ละเครื่องมือจงึ เปน็ เร่อื งท่สี ำคญั และตอ้ งเอาใจใส่เปน็ อย่างดตี ั้งแตก่ ารออกแบบแผนการสอน การเขยี น การใช้วาจา การสร้างสรรค์ การแสดง/ปฏิบตั ิ การสอื่ สารผา่ นการ การสือ่ สารผ่านการใช้ การสร้างงานสร้างสรรค์ การแสดงความสามารถ แสดงเป็นลายลกั ษณ์ คำพดู ในการอธิบายหรือ ท้ังท่ีเปน็ แนวคิดหรอื ในการปฏิบตั งิ านซง่ึ อกั ษรเพอ่ื ถา่ ยทอด เล่าเร่อื งเพอ่ื ถ่ายทอด ชิ้นงานซงึ่ ถูกคน้ ควา้ และ สะท้อนทกั ษะหรอื ความรู้ ความเขา้ ใจ สร้างมาอย่างมีหลกั การ ความสามารถและ ความรู้ ความคิด และ ความเขา้ ใจ ความคิด และสะทอ้ น อุปนิสยั ในสาขา ประสบการณ์ ซง่ึ สะท้อน และประสบการณซ์ ่งึ ความสามารถและกล ความเช่ียวชาญ สะทอ้ นความสามารถ ยุทธท์ างปัญญาในสาขา ความสามารถ ทางปัญญา ทางปญั ญา ความเชย่ี วชาญ งานเขียน งานนำเสนอหรือ งานจรงิ งานจำลอง (written work) การตอบสนองดว้ ยวาจา (simulated work) (real-world related (oral response) work) เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

21 การประเมินแบ่งออก ด้ 2 กล่มุ ให ่ คือ 1. การประเมนิ แบบดัง้ เดมิ (Traditional Assessment) ซง่ึ มกั จะเปน็ การสอบ - แบบเลือกตอบ - แบบสร้างคำตอบ (การตอบแบบสั้น, การตอบแบบยาว, เรียงความ) 2. การประเมนิ ตามสภาพจรงิ (Authentic assessment/Performance Assessment) ซ่ึง ประกอบดว้ ย - การสนทนา/การอภปิ รายเชิงลึก/การสัมภาษณ์ - การสาธติ - การเขียนเรยี งความตามบริบทงาน/บทความ - การสังเกต - การทดสอบความสามารถ/โครงงาน/การนำเสนอ - แฟ้มสะสมผลงาน - การสะท้อนคดิ ตนเอง - การประเมินตนเอง - การประเมินท่สี ร้างโดยผู้เรียน วธิ ปี ระเมินและเคร่อื งมือประเมนิ วิธีประเมิน (assessment method) หมายถึง หนทางหรือวิธีการที่ผู้สอน(ผู้ประเมิน)ใช้เพื่อดำเนินการ รวบรวมหลักฐานการเรียนรู้ที่สะท้อนผลลัพธ์การเรียนรู้ ส่วนเครื่องมือประมิน (assessment tool) หมายถึง เคร่อื งมือเฉพาะอย่างที่สอดดคลอ้ งกบั วธิ ปี ระเมินและช่วยในการวิเคราะหผ์ ลท่ีไดจ้ ากการประเมนิ ตารางที่ 3 แสดงตัวอย่างการเลือกใช้วิธีประเมินให้สอดคล้องหรือเหมาะสมกับลักษณะของสิ่งที่ต้องการ ประเมิน โดยมีรหัสดังนี้ Ⓗ (High) คือ เหมาะสมมากที่สุด Ⓜ (Medium) คือ เหมาะสมปานกลางและ Ⓛ (Low) คอื เหมาะสมนอ้ ยทส่ี ุด เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

22 ตารางที่ 3 ความสัมพนั ธร์ ะหว่างสง่ิ ท่ีต้องการประเมินและวธิ ปี ระเมิน (ตวั อยา่ ง)วธิ ปี ระเมนิ การ การ การเขยี น การ งาน การสังเกต การ เลือกตอบ เรยี งความ ตอบสน้ั รายงาน มอบหมาย ประเมนิ ที่ ปากเปลา่ เพอ่ื แสดง สร้างโดย ความสามารถ ผเู้ รยี น ความรู้ เชิงบรรยาย/ Ⓜ Ⓗ Ⓗ Ⓗ Ⓗ Ⓜ Ⓗ ขอ้ เทจจริง ความรู้ เชงิ Ⓛ Ⓜ Ⓛ Ⓜ Ⓗ Ⓗ Ⓗ กระบวนการ การคดิ และ การให้ Ⓜ Ⓗ Ⓜ Ⓗ Ⓗ Ⓛ Ⓗ เหตุผล การสือ่ สาร Ⓛ Ⓗ Ⓛ Ⓗ Ⓗ Ⓛ Ⓗ พฤติกรรม เสริมความ เขม้ แขงทาง Ⓛ Ⓛ Ⓛ Ⓛ Ⓜ Ⓗ Ⓗ วิชาการ Source: Marzano, R.J. (2000). เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

23 เอกสารอ้างองิ 1. Barkley, E. F. and Major, C. H. (2016). Learning assessment techniques: A handbook for college faculty. San Francisco: Jossey-Bass. 2. Brookhart, S. M. (2015). Performance assessment: Showing what students know and can do. West Palm Beach: Learning Sciences International. 3. Brookhart, S. M. (2017). How to give effective feedback to your students. 2nd ed.Alexandria, VA: ASCD. 4. Marzano, R. J. (2000). Transforming classroom grading. Alexandria, VA: ASCD. 5. Marzano, R. J. (2006). Classroom assessment and grading that work. Alexandria, VA: ASCD. 6. Mctighe, J. and Ferrara, S. (2020). Assessing student learning by design: Principles and practices for teachers and school leaders. New York, NY: Teacher College Press. 7. Reeves, D. (2016). Elements of grading. (2nd ed.). Bloomington: Solution Tree Press. 8. Rinkema, E. and Williams, S. (2019). The standard-based classroom: Make learning the goal. Thousand Oaks, CA: Corwin. 9. Schimmer, T. (2016). Grading from the Inside out: Bringing accuracy to student assessment through a standard-based Mindset. Bloomington: Solution Tree Press. 10. Schimmer, T., Hillman, G., and Stalets, M. (2018). Standard-based learning in action: Moving from theory to practice. Bloomington: Solution Tree Press. 11. Walvoord, B. E. (2010). Assessment clear and simple: A practical guide for institutions, departments, and general Education. (2nd ed.). San Francisco: Jossey-Bass. 12. Wiggins, G., & McTighe, J. (2005). Understanding by design (2nd ed.). Alexandria, VA: ASCD. เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

หลกั สตู ร ทักษะการสอนในรูปแบบการโค้ชและผอู้ ํานวยการการเรยี นรู้ แผนการเรยี นรูท้ ี 4 เทคนิคการจดั กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี นในยุคดจิ ทิ ัล

สารบญั 0 เนอื้ หาที่ หน้า 4. เทคนคิ การจดั กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี นในยุคดจิ ิทัล 1 9 4.1 การจดั การเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 14 4.2 บทบาทของครูโค้ช 4.3 บทบาทของครผู ู้อำนวยการเรียนรู้ เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง วถิ สี ร้างการเรยี นรเู้ พื่อศษิ ยใ์ นศตวรรษท่ี 21 Ms.Watson หรือชื่อเต็มคือ Jill Watson คือหนึ่งใน 9 ผู้ช่วยอาจารย์แห่ง Georgia Institute of Technology เธอคอยให้คำแนะนำนักศึกษากว่า 300 คนในเรื่องต่าง ๆ เกี่ยวกับคอร์สเรียนออนไลน์ เธอช่วยตอบคำถามให้ นักศึกษาทางอีเมล คอยแจ้งเตือนเมื่อถึงเวลาต้องส่งงาน แต่ในบรรดานักศึกษาที่ Ms.Watson ได้ให้ การชว่ ยเหลอื กลับไมม่ ีใครเคยเหน็ หน้าเธอเลย ทุกอย่างดูเป็นเรื่องราวปกติจนกระทั่งความจริงมาแตกโพละว่า Ms.Watson ที่หนุ่มสาวนับร้อยคนใน Georgia Institute of Technology ได้เคยรู้จักผ่านการโต้ตอบทางอีเมลนั้น แท้จริงแล้วเธอคือ Watson ปัญญาประดิษฐ์ ของ IBM นั่นเอง ซึ่งจากเรื่องราวดังกล่าว ทำให้เราได้สะท้อนคิดว่าหากครูอย่างเรา ไปแข่งเรื่องความรู้ ความจำ กบั AI คงลำบาก แตใ่ นฐานะที่ครเู ปน็ มนษุ ย์ เราจะทำอยา่ งไรเพ่ือจดั กระบวนการเรยี นร้ใู นแบบท่ี AI ทำไม่ได้ วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตรวรรษที่ 21 มีความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์หลายเรื่องที่ทำให้ ผู้เรียนอยู่รอดปลอดภัยและมีความสุขได้ โดยเฉพาะทักษะสารสนเทศ สื่อ และการใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ ซึ่งผู้สอนต้องใชโ้ อกาสนี้ให้ผู้เรยี นได้รูจ้ กั เครื่องมือในการเรียนรู้โดยใชเ้ ทคโนโลยีตา่ ง ๆ ที่เหมาะสม นอกเหนือจาก การสอนในวิชาชีพเฉพาะเท่านั้น ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการท่ีนางสาวตรีนุช เทียนทอง ได้ ใหน้ โยบายไว้เมอ่ื วนั ที่ 11 พฤษาภคม 2564 ดังน้ี 1. การปรับปรุงหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ให้ทันสมัย และทันการเปลี่ยนแปลงของโลกใน ศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกระดับการศึกษาให้มีความรู้ ทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสมกับบริบท สงั คมไทย 2. การพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครูและอาจารยใ์ นระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐานและอาชีวศกึ ษา ใหม้ สี มรรถนะทางภาษาและดจิ ิทัล เพอ่ื ใหค้ รแู ละอาจารยใ์ ดร้ บั การพัฒนาให้มีสมรรถนะ ทัง้ ดา้ นการจัดการเรียนรู้ ด้วยภาษาและดิจิทัล สามารถปรับวิธกี ารเรยี นการสอนและการใช้สือ่ ทันสมัย และมคี วามรับผิดชอบตอ่ ผลลัพธ์ทาง การศกึ ษาทเี่ กดิ กบั ผูเ้ รยี น 3. การปฏิรูปการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลฝานแพลตฟอร์มการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลแห่งชาติ (NDLP) และการ ส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน เพื่อให้มีหน่วยงานรับผิดชอบพัฒนาแพลตฟอร์มการเรียนรู้ด้วย ดิจิทัลแห่งชาติ ที่สามารถนำไปใช้ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ทันสมัยและเขา้ ถงึ แหลง่ เรียนรู้ได้อย่างกว้างขวาง ผา่ นระบบออนไลน์ และการนำฐานข้อมูลกลางทางการศึกษามาใชป้ ระโยชน์ในการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหาร และการจดั การศกึ ษา เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

2 4. การพฒั นาประสทิ ธภิ าพการบริหารและการจดั การศึกษา โดยการส่งเสรมิ สนับสนุนสถานศึกษาให้มี ความเปน็ อิสระและคล่องตวั การกระจายอำนาจการบรหิ ารและการจดั การศกึ ษาโดยใช้จังหวัดเปน็ ฐาน โดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายการศึกษาแห่งชาตทิ ี่ได้รับการปรับปรุงเพื่อกำหนดให้มรี ะบบบริหารและการจัดการ รวมถึงการจัดโครงสร้างหน่วยงานใหเ้ อื้อต่อการจัดการเรียนการสอนให้มีคณุ ภาพ สถานศึกษาให้มคี วามเปน็ อิสระ และคล่องตวั การบรหิ ารและการจดั การศกึ ษาโดยใช้จงั หวัดเปน็ ฐาน มีระบบการบรหิ ารงานบคุ คลโดยยึดหลัก ธรรมาภบิ าล 5. การปรับระบบการประเมินผลการศึกษาและการประกันคุณภาพ พร้อมจัดทดสอบวัดความรู้ และ ทักษะที่จำเป็นในการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาทั้งสายวิชาการและสายวิชาชีพ เพื่อให้ระบบ การประเมินผลการศึกษาทุกระดับและระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ได้รับการปรับปรุงให้ทันสมัย ตอบสนองผลลัพธ์ทางการศึกษาได้อย่างเหมาะสม 6. การจัดสรรและการกระจายทรัพยากรให้ทั่วถึงทุกกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงการระดมทรัพยากร ทางการศกึ ษาจากความร่วมมือทุกภาคสว่ น เพ่อื ให้การจัดสรรทรพั ยากรทางการศึกษามีความเป็นธรรมและสร้าง โอกาสให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพทัดเทียมกลุ่มอื่น ๆ กระจายทรัพยากรทั้งบุคลากร ทางการศกึ ษา งบประมาณและส่อื เทคโนโลยีไดอ้ ย่างทวั่ ถึง 7. การนำกรอบคณุ วฒุ ิแหง่ ชาติ (NQF) และกรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน (AQRF) สู่การปฏิบัติ เป็นการ ผลติ และการพัฒนากำลังคนเพื่อการพฒั นาประเทศ โดยใช้กรอบคุณวุฒแิ ห่งชาติ เช่ือมโยงระบบการศกึ ษาและการ อาชีพ โดยใช้กลไกการเทียบโอนประสบการณ์ด้วยธนาคารหน่วยกิตและการจัดทำมาตรฐานอาชีพในสาขาท่ี สามารถอา้ งองิ อาเซยี นได้ 8. การพัฒนาเด็กปฐมวัยให้ได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาเพื่อพัฒนาร่างกาย จิตใจ วนิ ยั อารมณ์ สงั คม และสตปิ ญั ญาใหส้ มกบั วัย เพื่อเป็นการขบั เคลื่อนแผนบูรณาการการพฒั นาเด็กปฐมวัย ตาม พระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2562 สู่การปฏิบัติเป็นรูปธรรม โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำไปเป็น กรอบในการจัดทำแผนปฏิบตั กิ ารเพ่ือพัฒนาเดก็ ปฐมวัย และมีการตดิ ตามความก้าวหนา้ เปน็ ระยะ 9. การศึกษาเพื่ออาชีพและสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เพื่อให้ผู้จบการศึกษา ระดับปริญญาและอาชีวศึกษามอี าชพี และรายได้ทีเ่ หมาะสมกับการดำรงชีพและคุณภาพชีวิตที่ดีมีส่วนช่วยเพิม่ ขดี ความสามารถในการแข่งขนั ในเวทโี ลกได้ 10. การพลิกโฉมระบบการศึกษาไทยด้วยการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัด การศึกษาทุกระดับการศึกษา เพื่อให้สถาบันการศึกษาทุกแห่งนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีท่ีทันสมัยมาใช้ในการ จัดการศึกษาผ่านระบบดจิ ทิ ัล เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

3 11. การเพ่ิมโอกาสและการเข้าถงึ การศึกษาที่มคี ณุ ภาพของกล่มุ ผู้ดอ้ ยโอกาสทางการศึกษาและผู้เรียน ที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ เพื่อเป็นการเพิ่มโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพของกลุ่มผู้ดอ้ ยโอกาส ทางการศกึ ษา และผเู้ รียนทมี่ คี วามตอ้ งการจำเปน็ พิเศษ 12. การจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย โดยยึดหลักการเรยี นรู้ตลอดชีวิตและการ มีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อเพิ่มโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพของกลุ่มผู้ด้อยโอกาสทาง การศกึ ษาและผู้เรยี นทีม่ คี วามต้องการจำเป็นพเิ ศษ นอกจากนี้ กระทรวงศึกษาธิการได้ถอดบทเรียนการจัดการศึกษาเพื่อรับมือสถานการณ์การแพร่ระบาดของ เช้ือ ไวรัสโควิด-19 โดยคดิ หารปู แบบการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมกบั แต่ละพืน้ ทีต่ ามท่ี ศบค.กำหนด ดังน้ัน ศธ. จะไม่กำหนดรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งเพื่อให้ทุกสถานศึกษา จัดการเรียนการสอนเหมือนกันทั้งหมด โดยได้ต่อยอด รูปแบบ การจัดการเรียนการสอนเป็น 5 รูปแบบ เพื่อให้มีความเหมาะสมต่อการรับมือกับการแพร่ระบาดระลอก ใหม่นี้ คอื 1. On-site เรียนที่โรงเรียน โดยมีมาตรการเฝ้าระวังตามประกาศของศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) 2. On-air เรียนผา่ นมูลนิธกิ ารศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ หรอื DLTV 3. On-demand เรยี นผ่านแอปพลิเคชันต่าง ๆ 4. On-line เรยี นผ่านอนิ เตอร์เนต็ 5. On-hand เรยี นที่บา้ นดว้ ยเอกสาร เช่น หนังสือ แบบฝกึ หดั ใบงาน ในรูปแบบผสมผสาน เมื่อการเรียนการสอนต้องปรับสู่วิถีใหม่ ครูจึงต้องปรับตัวเพื่อให้สอดคล้องกับบริบทที่เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนจาก Teacher เปน็ E-moderator หรอื ท่เี รียกว่า “นกั จดั กระบวนการเรียนรอู้ อนไลน”์ Gilly Salmon นักการศึกษาออนไลน์ชาวอังกฤษที่วิจัยและทำเรื่อง Elearning มานานกว่าสองทศวรรษ โพสต์เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเชิญชวนนำไปใช้และทำวิจัยเก็บผล โดยอาจารย์สุรพล ธรรมร่มดี ได้กล่าวถึง Active online learning ไดน้ า่ สนใจ ดงั นี้ จากประสบการณ์และทฤษฎีของนักจัดการเรียนรู้ออนไลน์อย่าง Gilly Salmon จากการนำเสนอวิธีการทำ กิจกรรมถกเถียงออนไลน์ (E-tivities) ที่ผู้สอนทำบทบาทเป็นผู้ดำเนินรายการออนไลน์ (E-moderator) และเป็น นกั จัดกระบวนการ (Facilitator) เพอื่ ทำให้เกดิ การเรียนรู้ออนไลน์อย่างกระตอื รือร้น (Active online learning) เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

4 E-tivities เป็นกระบวนการถกเถยี งออนไลนท์ เี่ รียบง่ายแต่มีพลัง และยดื หยนุ่ รองรบั การเรยี นรแู้ บบไม่พร้อมเพรียง กัน (Asynchronous learning) ไดเ้ ป็นอยา่ งดี วธิ ีการน้ีประกอบดว้ ย 1. การจุดประกาย (The Spark) ผู้สอนให้ข้อมูล คำถาม หรือสื่อขนาดเล็ก ๆ ที่กระตุ้นและท้าทาย แกผ่ ้เู รยี น ระบเุ ปา้ หมายของการแลกเปลยี่ น และกำหนดช่วงระยะเวลาแลกเปลีย่ น 2. การโพสต์ความเห็น (The individual action) การใหท้ ุกคนไดโ้ พสต์ความเห็นของตนในพ้ืนท่ีออนไลน์ ท่กี ำหนดไว้ 3. การถกกับผู้อื่น (Response to others) การสนทนาเกิดขึ้นโดยผู้สอนเอื้ออำนวยให้ผู้เรียนรู้วิธี การแลกเปลย่ี น พฒั นาความรู้ความเข้าใจ และกระท่งั ชว่ ยผู้เรยี นอืน่ ในการแลกเปลยี่ น 4. การสรุป (Summary) การวิพากษ์ การให้ความเห็นกลับ การเรียงร้อยข้อวิพากษ์ต่าง ๆ โดยผู้สอน เพอ่ื ให้เกดิ องคค์ วามรู้ทรี่ ่วมกันของผเู้ รียนและผู้สอน วิธีนี้เน้นการเรียนรู้ออนไลน์แบบไม่พร้อมกัน จึงเปิดโอกาสให้ผู้เรียนที่มคี วามแตกตา่ งหลากหลายได้เขา้ ร่วมโดยมี ระยะเวลาที่ยืดหยุ่น (Jacques, David & Gilly Salmon. 2007. P.106) และผู้สอนได้ปรับบทบาทไปเป็น ผูด้ ำเนินรายการการเรียนร้ทู างออนไลน์ หรือที่Salmonเรียกว่า E-moderator การทำหน้าที่เป็น E-moderator ผู้สอนต้องปรับเปลี่ยนชุดการคิด (Mindset) จากการเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ หรือผู้รู้ (Expert) ไปเป็นนักจัดกระบวนการกลุ่ม และนักพัฒนาการเรียนรู้ ตามโมเดลการจัดการเรียนการสอน ออนไลน์ 5 ขนั้ ตอนดังน้ี 1. การใช้ระบบออนไลน์ กบั การสร้างแรงจงู ใจ 1.1 ด้านการสนับสนุนทางเทคนิค ในขั้นตอนนี้ผู้สอนต้องเอื้ออำนวยให้ผู้เรียนเข้าถึงการใช้ระบบ ออนไลน์ตลอดจนวสั ดุอปุ กรณ์ต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และง่ายดาย โดยการสนบั สนนุ เปน็ รายบุคคล เพราะสภาพปัญหา ของแต่ละคนมีความแตกต่างกนั 1.2 ด้านการดำเนินรายการ (E-moderating) ผู้สอนพึงสร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียนวางใจและกล้า เขา้ ร่วมเรยี นรู้ด้วยกระบวนการตอ้ นรบั ทำความรจู้ ักกนั และการสง่ เสริมให้มีการโพสตแ์ ลกเปลี่ยนกนั 2. การทำให้ออนไลนเ์ ป็นพืน้ ท่ีของทุกคน (Online socialization) 2.1 ด้านการสนับสนุนทางเทคนิค ผู้สอนมุ่งสร้างการเรียนรู้การใช้พื้นที่ออนไลน์ผ่าน การส่งและรับ สารของสมาชิกซ่ึงเป็นเง่อื นไขสำคัญพื้นฐานของการอยู่รว่ มกันในชุมชนออนไลน์ 2.2 ด้านการดำเนนิ รายการ ผ้สู อนพงึ ตระหนักถึงสิง่ กีดขวางการสื่อสารระหว่างบุคคลซึ่งมาจากความ แตกต่างทางวัฒนธรรม อคติ และความเห็นต่าง และใช้วิธดี ำเนินรายการเพื่อการหาจุดร่วม การสร้างความเคารพ ในความแตกต่าง และการยึดถอื เปา้ หมายเพอื่ การเรยี นรแู้ ละการทบทวนตนเอง เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

5 3. การแลกเปลี่ยนข้อมูล (Information exchange) 3.1 ด้านการสนับสนุนทางเทคนิค ผู้สอนส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้เรียนมีเทคนิคในการเข้าถึงข้อมูล วัตถุดิบ และแหล่งค้นคว้าต่าง ๆ เพื่อเรียนรู้ในหัวข้อ เนื้อหา หรือทำโครงงานรว่ มกันของกลุ่มท่ีตรงประเด็นและมี คุณคา่ ต่อการเรียนรู้ 3.2 ด้านการดำเนินรายการ ผู้สอนการให้คำแนะนำอย่างต่อเนื่องและต่อรายบุคคลในการใช้ กลยุทธ์การสืบค้น การจับประเด็น การตีความ การวิพากษ์ และการสื่อสารกับผู้สอนและกับเพื่อนในกลุ่ม เพื่อให้ เกิดการเรียนรูท้ ม่ี ีความหมาย 4. การสร้างองค์ความรู้ (Knowledge construction) 4.1 ดา้ นการสนับสนนุ ทางเทคนคิ ผสู้ อนสง่ เสริมให้มีการส่ือสารความรู้ความเข้าใจท่ีตกผลึกของผู้เรียน รายบคุ คลภายในกลุ่มอย่างเป็นระบบทงั้ ด้านการเขยี น การอ่าน การนำเสนอ และการถกเถยี ง 4.2 ด้านการดำเนินรายการ ผู้สอนมีกลยุทธ์การจัดกระบวนการที่ส่งเสริมการเปิดใจรับรู้มุมมองที่ หลากหลายระหว่างผู้เรียน ความกล้าขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์ และความเป็นอิสระพึ่งตนเองและกลุ่มใน การเรียนรู้ยิ่งกว่าการพึ่งผู้สอน อาทิ การตั้งคำถามท้าทาย การจัดกิจกรรม E-tivities อย่างหลากหลาย การเช่ือมร้อยองค์ความรูท้ ีผ่ ูเ้ รียนไดม้ าจากกระบวนการตา่ ง ๆ และการโคช้ ใหค้ ำแนะนำเพ่ือตอ่ ยอดการเรียนรู้ 5. การพฒั นา (Development) 5.1 ด้านการสนับสนุนทางเทคนคิ ผ้สู อนเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนจดั กระบวนการแลกเปล่ยี นถกเถียงอย่าง เป็นอิสระ และให้ข้อแนะนำต่อผู้เรียนถึงเครือข่าย บุคคล หรือกลุ่มที่สามารถเข้าร่วมกระบวนการ และก่อให้เกิด การต่อยอดการเรียนรู้ 5.2 ด้านการดำเนินรายการ ผู้สอนสนับสนุนให้เกิดคุณภาพการพัฒนาองค์ความรู้ของผู้เรียน โดยวิธีการถกเถียง การวิพากษ์ และการท้าทายจากมุมมองต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมการคิดที่ลึกซึ้ง (Deep thinking) และการทบทวน (Reflection) เพื่อให้เกิดการประเมิน การปรับ และการผนวกรวมอันนำไปสู่การพัฒนาองค์ ความร้ใู ห้มีคุณภาพดยี ง่ิ ขนึ้ หากเราปรับเปล่ยี นบทบาทเป็น E-moderator ก็จะทำให้เกิดการรับรู้กับผู้เรยี นในยคุ ดจิ ิทลั ได้ เพราะการรับรู้ เกิด จากอวัยวะรับสัมผสั ซ่งึ แยกได้เปน็ 7 ประเภท คือ 1. ตา เรยี กว่า จกั ษสุ ัมผสั 2. หู เรียกว่า โสตสัมผัส 3. จมูก เรยี กว่า ฆานสมั ผสั 4. ลิน้ เรยี กวา่ ชวิ หาสมั ผสั 5. ผิวหนัง เรยี กวา่ กายสมั ผสั เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

6 6. สัมผัสคีเนสเซซิส (Kinesthesis) เป็นการเคลอ่ื นไหวของอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย โดยอาศัยประสาท ในกลา้ มเนือ้ เอน็ และข้อตอ่ ของกระดูก เรียกว่า กล้ามเน้อื สมั ผัส 7. สัมผัสการทรงตัว (Vestibules Sense) การสัมผัสจากอวัยวะสัมผัสภายในช่องหูด้านในการรับรู้กับ การเรียนรู้จะต้องเกี่ยวเนื่องควบคู่กันไป มีการรับรู้ก่อนแล้วจึงเกิดการเรียนรู้ หรือเพราะมีการเรียนรู้แล้ว จึงทำให้การรับรู้ง่ายและเร็วขึ้น การรับรู้จึงหมายถึง การที่เราได้ทราบว่ารูปร่างลักษณะของสิ่งของต่าง ๆ ที่ล้อมรอบตวั เรา จากอวยั วะสมั ผสั ของเราว่าเป็นอะไร มคี วามหมายอย่างไร หรอื อาจกลา่ วได้วา่ การบั รนู้ ้ันเป็นผล ของการเรียนรู้บวกกับความรู้สึกจากการสัมผัส ถ้าไม่มีการรับรู้ การเรียนรู้ย่อมเกิดขึ้นไม่ได้ เพราะคนเราไม่มี ประสบการณเ์ ดิมอย่เู ลย ซ่ึงการเรียนรูม้ ีผู้ใหค้ วามหมายของการเรียนรู้ ดังนี้ ฮลิ การด์ และโบเวอร์ (Hilgard and Bower) “การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ทำให้พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม อันเป็นผลจากการฝึกฝนและ ประสบการณ์ แต่มิใช่ผลจากการตอบสนองที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เช่น สัญชาตญาณ หรือวุฒิภาวะ หรือจากการ เปล่ียนแปลงชัว่ คราวของร่างกาย เชน่ แพว้ คั ซีน เปน็ ต้น” คมิ เบลิ และการเ์ มซ่ี (Kimble and Gemathy) “เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ค่อนข้างถาวร โดยเป็นผลจากการฝึกฝน เมื่อได้รับการเสริมแรง มิใช่เป็นผลจากการตอบสนองตามธรรมชาติที่เรียกว่า ปฏิกิริยาสะท้อน เช่น การกระพริบตา หรือวุฒิภาวะ เป็นตน้ ” บลมู (Bloom) เมอื่ เกดิ การเรียนรู้ ต้องมีการเปลยี่ นแปลงเกดิ ข้นึ 3 ประการ จึงเรียกวา่ เป็นการเรยี นรทู้ ่สี มบรู ณ์ - ด้านความรู้ (Cognitive Domain) - ด้านอารมณ์หรือความรู้สึก (Affective domain) - ดา้ นการเคล่อื นไหวของร่างกาย (Psychomotor Domain) ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) เป็นการกระทำของมนุษย์เกิดจากสิ่งแวดล้อมภายนอกท่ี ตอบสนองตอ่ สง่ิ เร้า โดยมีทฤษฎตี า่ ง ๆ ดังน้ี - ทฤษฎกี ารเช่ือมโยงของธอร์นไดค์ (Thorndike’s Classical Connectionism) - ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอตั โนมตั ขิ องพาฟลอฟ (Pavlov-Classical Conditioning) - ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของวตั สัน (Watson) - ทฤษฎกี ารวางเงอ่ื นไขแบบโอเปอร์แรนต์ของสกินเนอร์ (Skinner-Operant Conditioning - ทฤษฎีการเรยี นรู้กลุ่มมนุษยนยิ ม (Humanism) ให้ความสำคัญของความเป็นมนุษย์ และมองมนุษย์ว่ามี คุณคา่ มคี วามดงี าม มคี วามสามารถ มีความตอ้ งการและมแี รงจงู ใจภายในทจี่ ะพัฒนาตนเองได้ เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

7 - ทฤษฎกี ารเรยี นร้ขู องมาสโลว์ (Maslow) ในยุคดิจิทัล ครตู ้องเป็นผรู้ ักการเรยี นรู้เพราะโลกปัจจุบันมีความรแู้ ละเทคโนโลยีใหม่ ๆ เกิดขึน้ อยู่ตลอดเวลา การ สร้างชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ หรือ Professional Learning Community (PLC) จะเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ครูได้ ออกแบบการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับผู้เรียนในยุคดิจิทอลได้ เพราะเป้าหมายสำคัญของ PLC คือ การสร้างการ เรียนรู้ของครูร่วมกันเพื่อให้ทุกคนได้ยกระดับความรู้ความเข้าใจในสิ่งท่ีจะสอน มีทักษะการจัด การเรียนการสอน และมีจิตวญิ ญาณของความเป็นครู โดยมีองคป์ ระกอบดงั นี้ 1. การเตรยี มองค์กร เตรยี มสภาพแวดล้อมใหส้ ะอาด รม่ รื่น ปลอดภยั และสปั ปายะ 2. ก่อรูปวฒั นธรรมองค์กรใหม่ การร่วมกันกำหนดเป้าหมายองค์กรและข้อตกลงเบื้องต้น การออกแบบกิจกรรมเพื่อลดลำดับชั้นให้ นอ้ ยลง เป็นองค์กรระดบั รวบมากย่งิ ขน้ึ และสร้างกลไกให้เกิดการแลกเปลีย่ นเรียนรู้อยู่เสมอ ทั้งเป็นกลไกที่ดึงดูดผู้ ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเข้ามาอยู่ในกระบวนการด้วย เช่น การกำหนดช่วงเวลา สถานที่ หัวข้อ ผู้เข้าร่วม และผู้นำวง แลกเปลย่ี นเรยี นรูใ้ นแตล่ ะครั้ง ซึ่งผู้นำหรอื ผู้บริหารเปน็ องคป์ ระกอบสำคัญมากในขั้นตอนนี้ 3. กิจกรรม PLC Dialogue หรือ กระบวนการสุนทรียสนทนาเพื่อเรียนรูเ้ พื่อการเรียนรู้ เพื่อการเรียนรู้ กันและกันด้วย การคุยกันในแนวระดบั ราบ เนน้ การฟงั อย่างรู้เท่าทันจิตใจของตนเอง เพื่อการขจัดการตัดสินทีเ่ กดิ ขึ้น ขณะฟัง การฟงั นน้ั กจ็ ะเตม็ ไปด้วยความกรณุ าต่อกัน ทุกคนจะมโี อกาสรบั เนือ้ ความไดอ้ ยา่ งครบถ้วนทงั้ มิติและเนอื้ หา ในวง PLC เรานำเรื่องราวต่าง ๆ จาก Lesson Study เป็นกระบวนการร่วมกันพัฒนากิจกรรม การสร้าง การเรยี นรขู้ องกลุ่มครู ตัวอย่างหัวข้อคำถามเพื่อ Lesson Study เช่น ทำอยา่ งไรทจี่ ะให้องค์กร (โรงเรียน) พัฒนา ปัญญาภายในให้กับผู้เรียน หรือ กิจกรรมฝึกฝนการรู้ตัวมีอะไรบ้าง เป็นต้น หรือนำการ Share & Learn เพื่อ แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากประสบการณ์ ความสำเร็จหรือความล้มเหลวจากหน้างานของกันและกัน เน้นการอภิปรายร่วมกันอย่างสร้างสรรค์โดยมีเจตจำนงที่ดีต่อการทำให้งานพัฒนาขึ้น หรือนักศึกษาได้พัฒนา รวมถึง After Action Review ที่เป็นการร่วมกันอภิปรายสรุปในแต่ละแง่มุมหลักงจากเสร็จสิ้นกิจกรรมเพื่อทำให้ เกิดการใคร่ครวญหรือการทบทวนต่อเรือ่ งน้ัน ๆ ก็นำมาในวง PLC ได้ เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

8 เอกสารอ้างองิ 1. Blognone (2016). ขอแนะนำ \"Ms.Watson\" ผ้ชู ว่ ยอาจารยท์ ไี่ มเ่ หมือนใครในโลก กบั ความสามารถในการหลอกนักศกึ ษาท้ังช้ันว่าเธอเป็นคน. สบื คน้ เมอ่ื 1 กรกฎาคม 2564 จาก https://www.blognone.com/node/80805 2. KMUTT X Classroom & OBE Clinic. (2020). Active Online Learning. สืบคน้ เม่ือ 1 กรกฎาคม 2564 จาก https://www.facebook.com/kmuttxclassroom/posts/2966147676810379 3. ไทยรฐั ออนไลน.์ (2564). กระทรวงศกึ ษาธกิ ารเตรียมความพรอ้ มจดั 5 รูปแบบการเรียน การสอนยคุ โควิด-19 ป่วนเมือง. สบื คน้ เมื่อ 1 กรกฎาคม 2564 จาก https://www.thairath.co.th/news/local/2100016 4. ปรยี าพร วงคอ์ นุตรโรจน์.2553. จติ วทิ ยาการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : ศูนย์สอ่ื เสริมกรุงเทพ 5. วิเชยี ร ไชยบัง. 2558. จติ ศึกษากบั การพฒั นาปัญญาภายใน. บุรีรมั ย์ : สำนกั พิมพ์เรยี นนอกกะลา. เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

9 เอกสารประกอบการเรยี นการสอน เรือ่ ง ครูโค้ช (Teacher as a Coach) International Coach Federation หรือ ICF ได้ให้นิยามของคำว่า Coaching ไว้ว่า “การโค้ช คือ การเป็น หนุ้ ส่วนกบั ผ้รู บั การโค้ช (โคช้ ชี)่ ในกระบวนการกระตุน้ ความคิดอย่างสรา้ งสรรค์ เพ่ือสร้างแรงบนั ดาลใจให้พวกเขา นำเอาศักยภาพทง้ั ส่วนตวั และวชิ าชีพมาใชอ้ ยา่ งสูงสุด” ครูโค้ช จึงเป็นผู้ที่ต้องเชื่อในศักยภาพของผู้เรียนทุกคนว่ามีศักยภาพ และเป็นหน้าที่ของครูโค้ชที่ต้องดึงศักยภาพ ของผเู้ รยี นนั้นออกมาใหไ้ ด้ ซึ่งความทา้ ทายอยูท่ ธ่ี รรมชาติของมนษุ ย์อยู่ในพนื้ ที่ปลอดภัย หรือ Comport Zone ที่ ครโู ค้ชตอ้ งนำพาเปน็ เพือ่ นคคู่ ิด มติ รร่วมทางเดนิ ใหพ้ วกเขากล้ามาเผชิญในพน้ื ท่ี Fear Zone คุณลักษณะของครูโค้ชจึงต้องเป็นผู้ที่โค้ชชี (Coachee) หรือผู้เรียนให้ความไว้วางใจ ว่าเมื่อเขาก้าวมาอยู่ในพื้นท่ี Fear Zone ก็ยังมีครูโค้ชเป็นหุ้นส่วน (Partner) เป็นผู้ชี้ทางบรรเทาทกุ ข์ ชี้สุขเกษมสาน และคอยอยู่เคียงข้างกนั ซึ่งหมายถึง หากเราเป็นครูโค้ช เราจึงต้องสร้างความไว้เนือ้ เช่ือใจ และบรรยากาศที่ปลอดภัยในการเรียนรู้ เพราะ หากผู้เรยี นก้าวขา้ มผา่ น Fear Zone ไปได้ นัน่ จงึ เกิดการเรียนรู้ หรอื Learning Zone ซง่ึ นำสูค่ วามเจริญงอกงาม หรือ Growth Zone ซึ่งการสร้างพื้นที่ปลอดภัยในการเรียนรู้ จะส่งผลต่อสมองส่วนหน้าของมนุษย์ (Neocotex) ที่ทำให้สมองของ มนุษย์ได้คิด และเปิดรับการเรียนรู้ เพราะ Limbic Brain หรือสมองส่วนที่รับรู้ความรู้สึกของมนุษย์ส่งผ่าน ความรู้สึกดี ๆ และทำให้ต่อมเคมีในร่างกาย ทั้งฮอร์โมนแห่งความสุขก็หลั่งและ นี่จึงเป็นเหตุผลว่าก่อน การเรยี นรู้ ครูโคช้ จึงตอ้ งสร้างบรรยากาศแบบ Rapport เพ่ือสร้างความไวว้ างใจและ engagement กบั ผเู้ รยี น Learning Journey ครูโคช้ ต้องเขา้ ใจก่อนว่ามนุษยน์ ั้นไมร่ ู้ตวั ว่าตัวเองไมม่ ีความสามารถ ซ่งึ เปน็ บันไดข้นั ท่ี 1 ของ Learning journey ที่เรียกวา่ Unconscious Incompetence ซ่งึ ครโู คช้ ต้องสรา้ งใหค้ นไดต้ ระหนักรู้ (Awareness) เพื่อให้เขารู้ตัวเอง ว่าไม่มีความสามารถใด หรือ Conscious Incompetence ซง่ึ การทำใหค้ นได้ตระหนกั รู้ว่าตวั เองไม่มคี วามสามารถ ใดนั้น ครูโค้ชต้องออกแบบกระบวนการเรียนรู้ที่ทำให้ผู้เรียนเกิดอาการ เอ๊ะ! สงสัย ใคร่รู้ ขึ้นมาด้วยตัวเองจาก ปัญหา สถานการณ์ หรือโปรเจคต่าง ๆ เพื่อนำสู่การเรียนรู้ของผู้เรียนให้เขารู้ตัวว่าตัวเอ งมีความสามารถ หรือ Conscious Competence เพอื่ จะไดฝ้ ึกฝนจนนำสูบ่ นั ไดขน้ั สดุ ทา้ ย คอื ไมส่ งสยั ว่าตวั เองมีความสามารถอะไร เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

10 เพราะเวลาทำสิ่งนั้นแล้วมันเกิดขึ้นอัตโนมัติ คล่องแคล้วที่เรียกว่าความเชี่ยวชาญ/ชำนาญ (Unconscious Competence หากเรานำเรื่อง Johari Window Model เข้ามาเชื่อมโยง ก็เห็นได้ว่าในส่วน Blind Area จะเป็น พื้นที่เหมือนม่านบังตา ทำให้ไม่รู้จักตนเอง ซึ่งครูโค้ชต้องทำให้ผู้เรียนยอมรับข้อวิจารณ์ (Feedback) และนำมา ใคร่ครวญ จนผูเ้ รยี นเกิด Self-awareness เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

11 TAPS Model กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียนในยุคดิจทิ ัล ครูโคช้ สามารถประยุกต์ใชก้ ิจกรรมท่ีมาจากตัวอักษรของ TAPS ได้ ดงั นี้ T = Tell คือการบอก อธิบาย A = Ask คอื การถาม P = Problem คือ ปญั หา หรือเรอ่ื งอดตี S = Solution คอื วิธีการ หรอื ทางออก จากภาพ เราจะเหน็ ว่า การโคช้ (Coaching) เน้นท่ีการถาม (Ask) เพือ่ ให้ผเู้ รียนหาคำตอบหรือทางออกของปัญหา ได้ด้วยตัวเอง ซึ่งการ Ask-Solution จะเป็นวิธีการของครูโค้ชเพื่อนำมาจัดกิจกรรมมากที่สุดกว่าวิธี การอื่น ซ่ึง สัดสว่ นขึ้นอยกู่ บั บริบทของกิจกรรมในแต่ละหน่วยการเรียน บทบาทของครูโค้ชจึงต้องมีทักษะการฟัง ถาม และสะท้อนกลับ ซึ่งเห็นได้ว่าการฟังเป็นทักษะสำคัญของครูโค้ช เพราะหากฟังอย่างใคร่ครวญ หรือ Deep listening แล้วจะนำมาซึ่งข้อคำถามและการสะท้อนกลับที่มี ประสิทธิภาพ เพราะหากเราเข้าใจเรื่ององค์ประกอบของการสื่อสารที่ ดร.อัลเบิร์ต เมห์ราเบียน ได้วิจัยเรื่อง การ สอ่ื สาร เรอ่ื งองคป์ ระกอบทม่ี ีอิทธิพลต่อการส่ือสารเราพบว่า 7% มาจากคำพดู (Words or Verbal) 38% มาจาก นำ้ เสียง (Tone of Voice) และ 55% มาจากภาษากาย (Nonverbal or body language) เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

12 การฟงั จึงเปน็ ทกั ษะท่สี ำคญั เพอื่ การรับรู้ทมี่ ีความหมาย ซง่ึ ทำใหเ้ ราเข้าอกเข้าใจผ้เู รยี นมากย่ิงข้ึนจากการฟังอย่าง ใคร่ครวญ และนำสู่การตั้งคำถามได้ ซึ่งการตั้งคำถามมี 2 รูปแบบ คือ การตั้งคำถามแบบปลายปิด คือให้ตอบว่า ใช่ หรือ ไม่ใช่ ซึ่งใช้สำหรับการยืนยันข้อมูล และคำถามที่ครูโค้ชใช้มากทีส่ ดุ คือการตัง้ คำถามแบบปลายเปิดที่เปน็ 5W 1H คือ What When Where Why Who และ How การสะท้อนกลบั (Feedback) การสะท้อนกลับ (Feedback) หมายถึง การให้ข้อมูลย้อนกลับ โดยให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานและ พฤติกรรม โดยใชห้ ลัก 1. มุ่งเนน้ ที่พฤติกรรม 2. อธิบายวา่ พฤติกรรมส่งผลกระทบอยา่ งไร 3. ให้ยกตัวอย่างท่เี ฉพาะเจาะจง 4. ใหท้ างเลอื ก ซึ่งวิธีการสะท้อนกลับ ทำได้ทั้งแบบ 1.การสนทนา และ 2.การเขียนบันทึก/รายงานโดยการสะท้อนกลับ มีเทคนิคต่าง ๆ ดงั น้ี 1. STAR คือ การสะท้อนกลับที่ให้สะท้อนถึงสถานการณ์ หรือภารกิจต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นซึ่งตรงกับตัวอักษร ST และเมื่อเล่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ก็ตามมาด้วยกันให้เห็น Action คือตัว A และบอกถึง Result ว่า ผลลพั ธเ์ ป็นอยา่ งไร ซง่ึ คอื ตัว R นนั่ เอง 2. ASK TELL ASK เป็นเทคนิคสะท้อนกลับที่ไม่ได้เนน้ ทจ่ี ดุ แข็ง (Strengths) แต่ให้ถามกอ่ นเพื่อให้ผู้เรียน ไดป้ ระเมนิ ตนเอง หลังจากน้ันเราจึง Tell บอกคำแนะนำทเี่ ราคาดหวงั หรืออยากเห็น หลังจากนน้ั กลับมาใช้คำถาม เพอ่ื ปิดการสะท้อนกลบั วา่ เขาคิดอยา่ งไรในสิง่ ท่เี ราบอกไป 3. Rainbow Bridge เปน็ เทคนคิ ทีเ่ นน้ จดุ แข็งของคน (Strengths) โดยมีวิธกี ารสะท้อนกลบั ดงั นี้ 3.1 Past-บอกจุดแข็ง หรือสิ่งที่ผู้เรียนทำได้ดี (ซึ่งต้องเป็นความรู้ ทักษะ หรือคุณลักษณะท่ี พึงประสงค์ที่สมั พนั ธก์ บั เหตุการทเี่ ราต้องการ Feedback 3.2 Present-บอกถงึ สถานการณ์ว่าผลลัพธ์เป็นอย่างไร เกิดอะไรข้นึ มา 3.3 Future-บอกคำแนะนำ วา่ ครงั้ ต่อไปใหท้ ำอยา่ งไร 4. Sandwich Feedback 4.1 Positive feedback เขาทำอะไรได้ดบี า้ ง 4.2 Constructive feedback ถา้ จะทำใหด้ ีกวา่ นี้ ต้องเพิ่มเติมหรอื พัฒนาอะไรบา้ ง เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

13 4.3 Positive feedback ให้กำลังใจ หากกลา่ วโดยสรปุ คุณสมบัติของครูโคช้ มดี ังน้ี 1. เปน็ ผ้ทู เ่ี ชอื่ มน่ั ในศกั ยภาพของมนษุ ย์ เช่ือวา่ มนุษยท์ ุกคนมเี พชรท่ซี อ่ นอยภู่ ายในตน เพียงแตร่ ูปรา่ ง หน้าตา ขนาด นำ้ หนกั อาจแตกต่างกัน เพชรบางเม็ดกำลงั รอรบั การเจียระไนอยู่ 2. มีความเชอื่ ม่นั ในตนเอง แต่อัตตานอ้ ย หรือถา้ ไม่มีอตั ตาเลยยิ่งดี เพราะอัตตาคือการมองตนเองเป็น ศนู ยก์ ลางของจักรวาล ซึง่ มุมมองแบบน้ีเป็นอนั ตรายตอ่ โค้ชชี่ อาจชน้ี ำโคช้ ช่ีไปในทศิ ทางทต่ี นต้องการ 3. รกั การให้ความช่วยเหลอื ผู้อ่นื มีความปรารถนาที่อยากจะเห็นผอู้ ่นื ประสบความสำเร็จอยา่ งแท้จรงิ 4. มีความปรารถนาที่จะให้โค้ชชี่เข้าใจ มองเห็นตัวตนของตนเองมากกว่าใช้การโน้มน้าว และชี้นำโค้ชช่ี ไปสเู่ สน้ ทางที่ควรจะเปน็ หรอื เปน็ เสน้ ทางทโี่ คช้ ตอ้ งการ 5. ไม่ตดั สนิ โค้ชชี่ โดยใช้กรอบความคิด หรือมุมมองของตนเอง 6. มีความปรารถนาดที ่จี ะชว่ ยเหลือโค้ชชี่ แตร่ จู้ ักรกั ษาระยะห่าง เพ่ือใหส้ ามารถรักษามุมมองท่ี ไร้ อคติ และเปน็ กลางใชส้ ตปิ ัญญา ความรูแ้ จง้ ในการชว่ ยเหลือโคช้ ชีม่ ากกว่าใช้อารมณ์หรือความผูกพนั สว่ นตวั 7. มีความสามารถในการปล่อยวางความรู้ ประสบการณ์ กรอบความคิด ความเชื่อ และค่านิยมของตน เพ่อื ผลประโยชน์สูงสุดของโคช้ ชี่ 8. มคี วามสามารถในการสรา้ งบรรยากาศและความไว้วางใจเพ่ือกระตุ้นใหโ้ ค้ชชคี่ ิดอย่างอิสระและเป็นตัว ของตัวเอง 9. มีทักษะในการสื่อสารเพื่อกระตุ้น แสดงความมั่นใจ และชื่นชมในจุดแข็ง ความสำเร็จ และความกล้า คิด กลา้ เส่ยี งของโคช้ ช่ี 10. เปน็ นักต้ังคำถามชน้ั ยอด และนกั ฟังชน้ั เย่ยี ม ฟงั อย่างลกึ ซึ้งถึงสิง่ ท่ีซ่อนอยู่เบ้ืองหลงั คำพดู นน้ั 11. เป็นผู้คนุ้ ชินกับความเงียบ ความเงยี บในขณะท่โี คช้ ช่ีกำลังใชค้ วามคิด หรือกำลงั พดู โคช้ จะเงยี บสนทิ 12. เปน็ ผมู้ ีความสามารถในการปรับตนให้ลื่นไหลไปกบั โคช้ ช่ี ขณะทตี่ ระหนักรู้ตัวตลอดเวลาว่ากำลังช่วย ให้โคช้ ชีเ่ ขา้ ใจตนเอง และหาทางออกจากปญั หาได้ 13. เป็นนกั ส่อื สารช้นั เยยี่ ม ส่ือสารได้ชัดเจน กระชบั เฉพาะเจาะจง แตเ่ อาใจเขามาใส่ใจเรา เอกสารอา้ งองิ 1. เทิดทูน ไทศรีวิชยั . 2562. หวั ใจแหง่ การโคช้ . กรุงเทพฯ : โค้ชไทย คอร์ปอเรชน่ั 2. ทัศนีย์ จารุสมบัติ. 2561. ชีวิตที่ใช่! ในแบบโค้ชและฟา. กรุงเทพฯ : บริษัท เลิร์นน่ิงฮับ (ไทยแลนด์) จำกัด เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

14 เอกสารประกอบการเรยี นการสอน เรอื่ ง บทบาทของครผู ู้อำนวยการเรยี นรู้ (Facilitator) ผู้อำนวยการเรียนรู้ (Facilitator) เป็นบทบาทที่เกี่ยวข้องกับนำพาตัวเองร่วมกับผู้อื่น เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ บางอย่างผ่านช่องทางของการสนทนา (Dialogue) ดังนั้นเมื่อมีเรื่องของบุคคลเขามาเก่ียวข้องการเข้าใจผู้อ่ืน การ ใช้เครื่องมือที่จะทำให้เกิดการสื่อสารจึงมีความจำเป็นและสำคัญ หากเราพัฒนาตัวเราจากบทบาทของครู สู่การ เป็นผู้อำนวยการเรยี นรู้ ก็จะกอ่ ให้เกิดประโยชนใ์ ห้กับวงพดู คุยในการเรียนรู้น้ัน ๆ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี เครื่องมือท่ีสำคัญ อยา่ งหนึ่งกค็ ือเรอ่ื งของ “การฟงั ” ในความหมายของผอู้ ำนวยการเรียนรนู้ ั้น การฟัง กค็ อื วธิ ีการฟังเพื่อใหร้ วู้ า่ ผู้พูด กำลังสื่อสารอะไรกลับมา ไม่ใช่เพียงแคค่ ำหรอื ประโยค แต่สิ่งที่ซ่อนอยู่ภายใตค้ ำหรือประโยค อันได้แก่ ความรู้สึก ความต้องการ เป็นต้น ระดบั ของการฟงั โดยปกติแล้วเมื่อเรามีการพูดคุยหรือสนทนากันก็ย่อมที่จะมีผู้พูด และผู้ฟัง โดยเฉพาะผู้ฟังนั้น หากเราลองมอง แบบการแบง่ ระดับชั้น เราจะพบว่า ในการฟงั นน้ั เราสามารถเห็นไดว้ า่ ตวั เราเม่ือเปน็ ผ้ฟู งั เราอยู่ในช้นั ระดับใด ระดบั ท่ี 1 ของการฟงั Downloading การฟังระดับท่ี 1 เป็นการฟังในระดับที่เราได้ยินเสียงความคิดของตัวเองเป็นหลัก การฟังในระดับนี้จะมี การตัดสินที่เกิดจากความหมาย, ความเชื่อ, ความคิด, ทัศนคติ แบบเดิมมาตัดสินและคัดแยกข้อมูลให้เราได้ยิน เพยี งบางด้าน ทำใหก้ ารฟังในระดบั ท่ี 1 เรียกวา่ downloading ระดบั ท่ี 2 Debate การฟังอย่างตั้งใจ แต่เพื่อค้นหาจุดผิดให้คนตรงหน้าเพื่อช่วยปรับปรุง หรือพัฒนาเขา เป็นการฟังแบบตรรกะ เหตผุ ลของตวั เองเปน็ หลกั ฟงั โดยใชข้ อ้ เท็จจรงิ ไปจบั ผดิ กับเรอ่ื งราวของคนพดู ว่า ‘มีเหตมุ ีผลไหม’ โดยทีเ่ ราอาจจะ ไม่ไดเ้ ข้าใจอยา่ งแท้จริง ระดับท่ี 3 Sensing การฟังทีส่ นใจความสมั พนั ธม์ ากขึน้ ผฟู้ งั จะรู้สึกไดว้ า่ ผ้พู ดู กำลังร้สู กึ อะไร อยู่ในอารมณ์ไหน รสู้ กึ ไดถ้ ึงสิง่ ท่ีเขาไม่ได้ พูดออกมาจากสีหน้า แววตา โทนเสียงของผู้เล่า ซึ่งการฟังลักษณะนี้ คือการค้นหาว่าสิ่งที่เขาพูดเช่นนั้น มาจาก เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

15 อะไร ขยายกรอบการฟงั ของตนเองเพอื่ ค้นหาว่า ขา้ งในเขาอยากจะบอกอะไร เพราะภาษามีข้อจำกัดท่สี ูงมาก และ มนุษย์ไมส่ ามารถเลา่ หรือแสดงออกได้ทั้งหมดที่รู้สกึ จึงตอ้ งอาศยั ผฟู้ งั อยา่ งลึกซงึ้ เพ่ือรับรูส้ ิง่ ท่ีผู้พดู ต้องการจะบอก ระดับที่ 4 Generative การฟังที่ลึกขึ้นอีกขั้น การฟังในระดับนี้ คือฟังได้ถึงขั้นว่า เบื้องหลังความโกรธเกลียดนี้ มีความต้องการอะไรซ่อน อยู่ และรับรูถ้ ึงความสามารถในการใหอ้ ภัยและศักยภาพในการเปลี่ยนแปลงของคนตรงหน้า นอกจากนเ้ี รายังสามารถทจ่ี ะเขา้ ใจระดับของการฟงั ในมิติของคุณลักษณะของนสิ ยั ท่เี ราจะสง่ ผลต่อคนภายนอกใน อีกรูปแบบก็ได้ เพ่ือการตระหนักถึงคุณภาพในการฟังของเรา จากทฤษฎี U-Theory ของ Otto Scharmer เรา สามารถท่จี ะใชเ้ ปน็ เครอ่ื งมอื ระดบั ท่ี 1 มลี ักษณะแบบ I-in-me หรอื ตวั ฉนั เองทเี่ ปน็ ศนู ย์กลาง ระดับที่ 2 I-in-it หรอื การใชข้ อ้ มูลเป็นศนู ยก์ ลาง ระดับท่ี 3 I-in-you หรือ การรบั ร้คู วามรูส้ ึกของผู้พดู ระดับที่ 4 I-in-now หรอื การฟังแบบไม่ยดึ ตดิ เป็นตัวตน วธิ ีการฟงั 4 ขั้นตอน เพื่อให้ผู้อำนวยการเรียนรู้สามารถที่จะสร้างคุณลักษณะของตัวเองที่ดีกับการฟัง อันจะเป็นเครื่องมือที่จะนำพาสู่ การจดั กระบวนการเรียนรู้ต่อไปได้มีแนวปฎิบตั ดิ งั นี้ วิธที ่ี 1 การเคารพและแบ่งปันพืน้ ท่ี ผอู้ ำนวยการเรียนรสู้ ามารถสรา้ งใหท้ กุ คนมสี ่วนรว่ มในการพดู ได้ด้วย การฟัง เสียงทุกเสียงในวงพูดคุยนัน้ มีคุณค่าและความหมาย ดังนั้นเราจะให้ทุกคนในวงได้มีสิทธิได้พูด และทุกคน จะใหพ้ ื้นทีแ่ ห่งนด้ี ว้ ยการตอบรับการฟัง วิธีที่ 2 การห้อยแขวนความคิด การฟังที่ดีคือการให้โอกาสของผูพ้ ูดได้พูดจนครบ การแฝงความคิด หรือ สิง่ ที่มกี ารตัดสนิ อยอู่ าจจะทำใหเ้ ราพลาดข้อมูล หรอื สาระสำคญั จากผ้พู ดู ได้ ลองฟังผพู้ ดู ใหส้ ้นิ กระแสความ วิธีที่ 3 การรับรู้ความรู้สึกของผู้พูด ในทุกคำหรือประโยค มักมีความรู้สึก หรือความต้องการของผู้พูด ซ่อนอยู่ หากผู้ฟังได้มีโอกาสฝึกฟังให้รับรู้ตรงส่วนนี้ได้จะเป็นประโยชนใ์ นการตอบสนองกับเหตุการณ์ชองผูพ้ ูดได้ อยา่ งถกู ต้องและเหมาะสมตอ่ ไป วธิ ีที่ 4 การฟังอยา่ งลึกซงึ้ เปน็ ส่ิงทห่ี ากผฝู้ ึกปฏิบตั กิ ารฟงั ฝกึ มาจนถึงข้นั นี้ไดจ้ ะทำใหผ้ ูฟ้ งั เข้าใจความรู้สึก เหมือนกับว่าเราได้เข้าไปอยู่ในใจของผู้พูดเป็นอย่างดี ดงั นนั้ การปฏบิ ัติตัวปฏิบัติตน ตอ่ ผู้พูด ก็จะทำให้เกิดสภาวะ ทเี่ ปน็ กลั ยาณมิตรต่อไปได้ เอกสารอา้ งองิ เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

16 1. ออตโต ซาเมอร์ ผู้เขียน, สมสิทธิ์ อัศดรนิธี ผู้แปล (2563), The Essential of Theory U ทฤษฎี หัวใจตวั ย,ู สำนกั พมิ พ์อมั รนิ ทร์ 2. เดวดิ โบห์ม ผเู้ ขียน, เพชรรัตน์ พงษ์เจริญสขุ ผู้แปล (2563), วา่ ดว้ ยสนุ ทรยี สนทนา, สำนกั พมิ พ์เคล็ด ไทย เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

หลกั สตู ร ทักษะการสอนในรูปแบบการโค้ชและผ้อู ํานวยการการเรยี นรู้ แผนการเรยี นรูท้ ี 5 เทคนิคการใหค้ ําปรกึ ษา

เนื้อหาที่ สารบญั หน้า 5.เทคนคิ การให้คำปรึกษา 1 11 5.1 กระบวนการใหค้ ำปรกึ ษา 5.2 ทักษะการใหค้ ำปรึกษาเบ้ืองตน้ เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

1 เอกสารประกอบการเรยี น เรือ่ ง กระบวนการให้คำปรึกษา เทคนิคการให้คำปรึกษาของครูนับเป็นสิ่งจำเป็นในการดูแลนักเรียน เนื่องจากครูมักจะต้องพบเจอนักเรียนที่มี ความหลากหลายและมีปัญหาต่าง ๆ กันไป หากครูมีความเข้าใจและใช้เทคนิคการให้คำปรึกษากับนักเรียนที่ ประสบปัญหาต่าง ๆ ครูจะสามารถช่วยเหลือให้นักเรียนได้หาทางแก้ไขปัญหาของตนในเบื้องต้นได้ โดยใน หน่วยนี้มีเนื้อหา ประกอบด้วย กระบวนการให้คำปรึกษาและทักษะการให้คำปรึกษาเบื้องต้น โดยมีรายละเอียด ต่าง ๆ ดังนี้ หลักการและความรู้ทวั่ ไปเทคนิคการใหค้ ำปรึกษา ความหมายของการใหค้ ำปรึกษา การใหค้ ำปรึกษา หมายถงึ กระบวนการให้ความช่วยเหลือ ตดิ ต่อสอื่ สารกันด้วยวาจาและกริ ยิ าท่าทาง ทเี่ กดิ จากสัมพนั ธภาพทางวชิ าชีพของบุคคลอย่างน้อย 2 คน คอื ผู้ให้และผู้รับคำปรกึ ษา ผู้ให้คำปรึกษาในที่น่ีหมายถึง ครูที่มีคุณลักษณะที่เอื้อต่อการให้คำปรึกษา มีความรู้และทักษะในการให้ คำปรึกษา ทำหน้าที่ให้ความช่วยเหลือแก่ผู้รับคำปรึกษาหรือนักเรียน ซึ่งเป็นผู้ที่กำลังประสบความยุ่งยากใจ หรือมีความทุกข์และต้องการความช่วยเหลือให้เข้าใจตนเอง เข้าใจสิ่งแวดล้อม ให้มีทักษะในการตัดสินใจ และหาทางออกเพื่อลดหรือขจัดความทุกข์ ความยุ่งยากใจด้วยตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถพัฒนา ตนเองไปสู่เป้าหมายทีต่ อ้ งการ (Burks and Shefflre, 1979 อา้ งถงึ ใน George & Cristiani, 1995) การให้คำปรึกษานี้มีลักษณะที่แตกต่างจากการให้บริการอื่น ๆ ดังนี้ คือ (กรมสุขภาพจิต, 2540 ; Gladding, 1996) 1. มีทฤษฎี กระบวนการและเทคนิคการให้คำปรึกษาให้ครูได้เลือกใช้ได้ตามความเหมาะสมกับลักษณะ ของปัญหาและธรรมชาตขิ องนักเรียน 2. เน้นสัมพันธภาพที่ดีระหว่างครูผู้ให้และนักเรียนผู้รับคำปรึกษา เพื่อให้นักเรียนเกิดความรู้สึก ไว้วางใจ และกล้าเปิดเผยตนเอง ซึ่งจะช่วยให้การให้คำปรึกษาดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ ใช้การสนทนา หรอื การส่อื สารสองทางระหวา่ งครูกบั นกั เรยี น เป็นเคร่อื งมอื สำคญั ของการใหค้ ำปรึกษา 3. เน้นปัจจุบัน เพื่อให้นักเรียนอยู่ในโลกของความเป็นจริง และสามารถค้นหาแนวทางแก้ไขที่เป็นไป ไดใ้ นปจั จบุ นั เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

2 4. ไม่มคี ำตอบสำเร็จรูปตายตัว เพราะการให้คำปรึกษาเป็นท้ังศาสตรแ์ ละศิลป์ วิธีการแก้ปัญหาในแต่ ละกรณีจะไม่เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับสถานการณ์และสภาพปัญหา โดยนักเรียนจะเป็นผู้ตัดสินใจเลือกแนวทาง แก้ปญั หาดว้ ยตัวเอง 5. ครูผใู้ หค้ ำปรกึ ษาตอ้ งให้เกยี รติ และยอมรบั นกั เรยี นที่มาขอรบั คำปรึกษาอย่างไม่มีเงือ่ นไข ไม่ ตดั สนิ ไม่ประเมนิ และไมว่ ิพากษ์ วิจารณ์ หรอื ตำหนินักเรียน การให้การปรึกษาเป็นกระบวนการ (Process) ที่เริ่มต้นที่การสัมพันธภาพระหว่างบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป โดยที่ฝ่ายหนึ่งคือผู้ให้การช่วยเหลือหรือที่เรียกว่า ผู้ให้การปรึกษา (counselor: CO) และอีกฝ่ายหนึ่งคือผู้รับ การช่วย เหลือหรือที่เรียกว่าผู้รับการปรึกษา (counselee or client: Cl) ผู้ให้การปรึกษาจะใช้คุณสมบัติและ ทักษะในการกระตุ้นให้ผู้รับการปรึกษาตระหนักรู้ถึงภาวะจิตใจและความคิดของตน สำรวจปัญหาและ ผลกระทบของปัญหาต่อทั้งความคิด จิตใจ ภาวะอารมณ์ และพฤติกรรมจนเกิดความเข้าใจในปัญหาและ สาเหตุ ในที่สุดสามารถจัดการกับปัญหาได้ด้วยตนเองตามศักยภาพที่มีอยู่ หรือ สามารถเผชิญสถานการณท่ี ยากได้อย่างสงบและผ่อนคลา (สุกมล วิภาวีพลกุล, 2543) รวมทั้งเพื่อที่จะได้รับความสำเร็จตามเป้าหมาย ที่ตั้งไว้ (Goal Attainment) (King, 1981) และสามารถดำเนินชีวิตอย่างมีความสุขและเต็มประสิทธิภาพ (Peplau, 1952) ความสำเร็จของการใหก้ ารปรึกษาจะปรากฏเม่ือผ้รู บั การปรึกษาหรือผู้รับบรกิ าร และผใู้ ห้การปรกึ ษา หรือผู้ใหบ้ รกิ าร จะต้องก้าวเข้าสู่กระบวนการให้การปรึกษา (Counseling process) กระบวนการ คือ สิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ระหว่างผู้รับการปรึกษากับผู้ให้การปรึกษา กระบวนการให้การปรึกษาเริ่มต้นตั้งแต่การพบกัน ในการพบปะ กันผู้รับการปรึกษานำความคิด (thought) ความรู้สึก (Feeling) และ ประสบการณ์ชีวิต (Experience) และ ความรู้สึกเกี่ยวกับความยากลำบาก สิ่งที่ผู้รับการปรึกษานำเขา้ มาในกระบวนการ ผู้รับการปรึกษาถ่ายทอดท้ัง ในรูปของภาษาพูด (Verbal) และ ภาษาท่าทาง (Non-verbal) ในขณะเดียวกันผู้ให้การปรึกษาแต่ละคน นำทฤษฎี หลักการ และปรัชญา ส่วนตัวเข้ามาในกระบวนการ รวมทั้งนำทักษะการให้การปรึกษาเข้ามา ร่วมด้วย ซึ่งสิ่งที่ผู้ให้การปรึกษาและผู้รับการปรึกษานำเข้าสู่กระบวนการการปรึกษานี้รวมเรียกว่า เนื้อหา (Content) การให้การปรึกษา ในความเป็นจริงสามารถที่จะเกิดขึ้นได้ทุกหนทุกแห่ง ตั้งแต่ในบ้าน ในโรงเรียน ในวัด ใน งานเลี้ยง ในการฝึกอบรม ข้างเตยี งผปู้ ว่ ย ป้ายรถประจำทาง หรอื แม้กระทงั่ บนรถประจำทาง โดยมีบรรยากาศ ตั้งแต่บรรยากาศของวิชาชีพหรือเป็นวิชาการ บรรยากาศของที่ทำงาน บรรยากาศของสังคมทั่ว ๆ ไป หรือ บรรยากาศของความรักความอบอุ่นในครอบครัว ดังนั้นจะเห็นว่า “การให้การปรึกษา” เป็นเสมือนสิ่งที่ สะท้อนให้เห็นถึง ความปรารถนาดี ความตั้งใจที่อยากช่วยเหลือ ต้องการเห็นผู้อื่นก้าวผ่านอุปสรรค ความอึด เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

3 อดั ใจ ความขดั แย้ง และอารมณท์ ่ีไมเ่ ป็นสุข โดยการผา่ นการฟังอย่างสนใจและต้ังใจ (วรรณภา พพิ ัฒน์ธนวงศ์, 2560) วัตถปุ ระสงค์ของการใหค้ ำปรึกษา การใหค้ ำปรึกษาแก่นักเรยี นมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือชว่ ยนกั เรยี นในเร่อื งตอ่ ไปนี้ 1. สำรวจตนเอง และสงิ่ แวดลอ้ ม เพือ่ ใหเ้ กดิ การเรียนรู้ และเข้าใจ 2. ลดระดบั ความเครยี ด และความไม่สบายใจที่เกิดการมีปฏิสมั พนั ธก์ บั สง่ิ แวดลอ้ ม 3. พัฒนาทักษะทางด้านสังคม ทักษะการตัดสินใจ และทักษะการจัดการกับปัญหาให้มีประสิทธิภาพ มากย่ิงข้ึน 4. เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทิศทางที่พึงประสงค์ เช่น มีความรับผิดชอบในหน้าที่ต่าง ๆ มากข้ึน มีพฤติกรรมการเรียนทีด่ ี และสร้างสมั พนั ธภาพกบั ผอู้ ่นื ไดด้ ขี นึ้ วรรณภา พิพัฒน์ธนวงศ์ ( 2560 ) กล่าวถึง วัตถุประสงค์ของการให้คำปรึกษาเพื่อช่วยผู้รับการปรึกษาให้เกิด ความคดิ ความรูส้ ึกดงั ตอ่ ไปน้ี 1. เกดิ แรงจงู ใจทีจ่ ะใหข้ อ้ มูล 2. เขา้ ใจและเห็นปญั หาของตนเอง 3. อยากแก้ไขปัญหา หรอื พัฒนาตนเอง 4. ดำเนนิ การแก้ไขปญั หา หรือพฒั นาตนเอง หลักการใหค้ ำปรกึ ษา การให้คำปรึกษา เป็นการช่วยเหลือรูปแบบหนึ่ง ที่อาศัยความสัมพันธ์และการสื่อสารระหว่างผู้ให้คำปรึกษา และผู้รับการ ปรึกษา เพื่อให้ผู้รับการปรึกษาเกิดความเข้าใจตนเอง เข้าใจปัญหา ได้ความรู้และทางเลือกใน การแก้ปัญหานนั้ อยา่ งเพยี งพอมสี ภาพอารมณแ์ ละจิตใจ ท่พี รอ้ มจะคิดและตัดสนิ ใจดว้ ยตัวเอง หลกั การท่ีสำคญั ในการให้คำปรกึ ษา เนื่องจากการให้คำปรึกษาเป็นกระบวนการที่เก่ียวข้องกับบุคคลที่เป็นทัง้ ผู้ให้คำปรึกษาและผู้รับคำปรึกษาตอ้ ง มีระบบระเบียบ มีเทคนิควิธีในการเข้าใจ การสร้างมนุษยสัมพันธ์ การช่วยเหลือ การวางแผน การตัดสินใจ การเปลี่ยนแปลงในหลายด้านในตัวผู้รับคำปรึกษา ดังนั้นในการให้คำปรึกษาจึงจำเป็นต้องมีหลักการที่สำคัญ (สวัสด์ิ บรรเทิงสขุ , 2542) ดังนี้ 1. การใหค้ ำปรึกษาต้งั อยู่บนพ้นื ฐานท่ีวา่ ผูร้ บั คำปรึกษาต้องการที่จะเปล่ียนแปลงพฤตกิ รรมของตน 2. การให้คำปรึกษาต้งั อยู่บนพื้นฐานทีว่ ่าผู้ให้คำปรกึ ษาต้องไดร้ ับการฝึกฝนเพ่อื ความชำนาญงานมากอ่ น เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

4 3. การให้คำปรึกษาเป็นการช่วยให้ผู้รับคำปรึกษาสามารถพิจารณาตนเองได้ดีเช่นเดียวกับ ความสามารถในการพจิ ารณาส่ิงแวดล้อมของตน จนเกิดการตัดสนิ ใจไดใ้ นทส่ี ดุ 4. การให้คำปรึกษา ยึดหลกั ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล 5. การให้คำปรึกษาเป็นทั้งศาสตร์ (Science) และศิลปะ (Art) เป็นทั้งงานวิชาการ และวิชาชีพที่ต้อง อาศยั การฝกึ ฝนจนชำนาญมากกวา่ การใชส้ ามัญสำนึก 6. การให้คำปรึกษา เป็นความร่วมมืออันดีสำหรับผู้ให้คำปรึกษา และผู้รับคำปรึกษาในอันที่จะ ช่วยกันค้นหาปัญหาหรือทางออกที่เหมาะสมแท้จริงทั้งนี้โดยที่ต่างฝ่ายอาจจะไม่เข้าใจมาก่อนว่า “แท้ที่จริง แล้วความยากลำบากหรือปัญหาของสิ่งนั้นคืออะไร ซึ่งแตกต่างไปจากการสอนซึ่งผู้สอนรู้ข้อเท็จจริงมาก่อน หนา้ นแี้ ลว้ ” 7. การให้คำปรึกษาเน้นถึงจรรยาบรรณ และบรรยากาศที่ปกปิดหรือความเป็นส่วนตัว เพื่อสนับสนุน การไดม้ าซ่งึ ขอ้ เทจ็ จริงสำหรับชว่ ยเหลือ และรักษาผลประโยชนข์ องผู้รบั คำปรึกษาเป็นสำคญั 8. การให้คำปรึกษาจะเกิดขึ้นต่อเมื่อสัมพันธภาพระหว่างผู้ให้คำปรึกษา และผู้รับคำปรึกษา มรี ะดับสงู มากพอทีผ่ รู้ ับคำปรกึ ษาเต็มใจทจี่ ะเปิดเผย ความรสู้ กึ ทแ่ี ทจ้ ริงของตน โดยไม่ปกปดิ หรอื ซอ่ นเรน้ ประเภทของการใหค้ ำปรกึ ษา การให้คำปรกึ ษาสามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 ประเภทดังน้ี 1. การใหค้ ำปรกึ ษาเป็นรายบุคคล (Individual Counseling) การให้คำปรึกษาประเภทนี้เป็นแบบที่ได้รับความนิยม และถูกนำมาใช้ในหน่วยงานต่าง ๆ การให้ คำปรึกษาจะเป็นการพบกันระหว่างผู้ให้คำปรึกษา 1 คน กับผู้ขอคำปรึกษา 1 คน โดยร่วมมือกัน การให้ คำปรึกษาแบบนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะช่วยให้ผู้ขอรับคำปรึกษาให้สามารถเข้าใจตนเอง เข้าใจปัญหา และสามารถ แกไ้ ขปญั หาต่าง ๆ ไดด้ ้วยตนเอง หรอื เพอื่ ใหส้ มาชิกในองค์การ เพิ่มประสิทธภิ าพการปฏิบัติงานใหส้ งู ขึ้น ทำให้ คนในองค์การได้ตระหนักถึง ความรู้สึกเก่ียวกับปฏิกิริยาและการแสดงออกของอารมณ์ของตนและผู้อื่น เข้าใจ ความสำคัญของทัศนคติ ความเชื่อ ค่านิยม แรงจูงใจ พฤติกรรมต่าง ๆของบุคคล เข้าใจความสำคัญของ การเสริมแรงและการต่อต้านการเปลี่ยนแปลง คนสามารถกำหนดเป้าหมายและการประพฤติปฏิบัติของ ตนเองได้ เป็นกระบวนการช่วยเหลือโดยมีการพบปะเป็นการส่วนตัวระหว่างผู้ให้คำปรึกษากับผู้รับบริการ ซึ่งจะเป็นการช่วยให้ผู้รับบริการได้เข้าใจตนเอง และสิ่งแวดล้อมได้ดีขึ้น สามารถวางโครงการในอนาคตได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งมิใช่เฉพาะจะสามารถแก้ปัญหาที่กำลังเผชิญอยู่เท่านั้น แต่ จะช่วยให้มีทักษะใน การแก้ปัญหาอนื่ ๆ ไดด้ ว้ ยตนเอง 2. การให้คำปรึกษากลุ่ม คือการให้การช่วยเหลือแก่นักเรียนจำนวนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปที่มีพฤติกรรม เสย่ี งในเร่ืองท่ีคล้ายคลงึ กนั หรอื มีความต้องการท่ีจะพฒั นาตนในเรอ่ื งเดยี วกนั โดยใช้ความสัมพันธแ์ ละอทิ ธิพล ของกลุ่มในการช่วยเหลือสมาชิกในด้านกำลังใจ ความเห็นอกเห็นใจ การให้ข้อมูลย้อนกลับ และข้อเสนอแนะ เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา

5 เพื่อให้สมาชิกเข้าใจตนเอง เข้าใจปัญหา ได้แนวทางแก้ไขปัญหา หรือพัฒนาตนจากการพูดคุยและพิจารณา ร่วมกันในกลุ่ม จำนวนสมาชิกในกลุ่มควรอยู่ระหว่าง 8-12 คน ซึ่งจะทำให้การให้คำปรึกษามีประสิทธิภาพ เพราะสมาชิกมีโอกาสสร้างปฏิสัมพันธ์กันได้ทั่วถึง และมีส่วนร่วมในการรับและให้ความช่วยเหลือในกลุ่มได้ อยา่ งเตม็ ที่ ขอ้ ควรคำนึงในการใหค้ ำปรกึ ษา การให้คำปรึกษาแก่นักเรียนครูควรปฏิบัติดังนี้ (Meier & Davis, 1993 ; Faiver, Eisengart and Colonna, 1995) 1. ตรงต่อเวลานัดหมายทั้งเริ่มต้น และสิ้นสุดการให้คำปรกึ ษา โดยทั่วไปแล้วการให้คำปรึกษาแต่ละครั้ง ควรใช้เวลา 45-50 นาที สำหรับการให้คำปรึกษารายบุคคล และ 60-90 นาที สำหรับการให้คำปรึกษากลุ่ม และควรอย่ใู นชว่ งระยะเวลาไมเ่ กนิ 3 เดือน ต่อราย หรอื ต่อกลุ่ม รวมทัง้ หลกี เลย่ี งการนดั หมายอน่ื ๆ 2. ให้ความสำคัญกับภาษาท่าทางของนักเรียนให้มาก หากพบว่าคำพูดกับท่าทางของนักเรียนขัดแย้ง กัน ให้เชื่อภาษาท่าทางและสะท้อนกลับให้นักเรียนรับรู้ เพื่อให้นักเรียนเข้าใจตัวเองมากขึ้น เช่น “เธอบอกว่า เธอเสยี ใจกับเร่อื งนีม้ าก แตข่ ณะทีเ่ ธอพดู ว่าเสียใจ ครูเห็นเธอย้ิมจรงิ ๆ แลว้ เธอรูส้ กึ อยา่ งไร” 3. หลีกเลี่ยงการถามข้อมูลที่ละเอียดอ่อน หรือเจาะจงเกินไป เพราะอาจทำให้นักเรียนอึดอัดใจ และ ไมใ่ หค้ วามรว่ มมือในการปรกึ ษาได้ 4. หลีกเลี่ยงการแนะนำให้นักเรียนปฏิบัติตามความเห็นของครู เพราะนักเรียนอาจเคยปฏิบัติในสิ่งท่ี ครูแนะนำมาแล้วแต่ไม่ประสบความสำเร็จ หรืออาจเป็นคำแนะนำที่นักเรียนไม่ต้องการ ซึ่งจะทำให้นักเรียน หลกี เลี่ยงทจี่ ะมารับคำปรึกษาตอ่ ไป 5. หลีกเลี่ยงการเกิดอารมณ์ร่วมและการเห็นชอบกับพฤติกรรมของนักเรียนที่จะเป็นการเสริมแรง ให้นกั เรียนคดิ และทำพฤตกิ รรมเหมือนเดมิ ทำให้นกั เรยี นไมม่ โี อกาสเปลีย่ นแปลงไปในทางทด่ี ขี น้ึ 6. ไมค่ วรรบี ด่วนทีจ่ ะสรปุ และแกป้ ญั หา โดยท่นี ักเรยี นไมม่ ีโอกาสไดส้ ำรวจปัญหา และสาเหตมุ ากพอ 7. หลังจากการให้คำปรึกษาแต่ละครั้งแล้ว ครูควรบันทึกผลการให้คำปรึกษาไว้เพื่อเป็นข้อมูลใน การให้คำปรกึ ษาตอ่ ไป 8. ตอ้ งรักษาความลบั และประโยชนข์ องนกั เรียน โดยตอ้ งระมัดระวังท่จี ะไมน่ ำเร่ืองราวของนักเรียน ไปพูดในที่ต่าง ๆ แม้จะไม่เอ่ยชื่อก็ตาม เพราะคนฟังอาจปะติดปะต่อเรื่องราวเอง หรือสอบถามกันจนรู้ว่าเป็น เรื่องราวของนักเรียนคนใด ซึ่งจะส่งผลเสยี หายต่อนักเรียนดังกล่าว และกระทบถงึ ความน่าเชื่อถือไว้วางใจของ ระบบการให้คำปรกึ ษาได้ เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา

6 คุณลกั ษณะของครูผ้ใู ห้คำปรกึ ษา ครผู ทู้ ่จี ะทำหนา้ ทใ่ี ห้คำปรกึ ษาได้อย่างมีประสทิ ธิภาพควรมลี ักษณะสว่ นตวั ดงั ต่อไปน้ี (จีน แบร่ี,2538) 1. รจู้ กั และยอมรับตนเอง 2. อดทน ใจเย็น 3. จรงิ ใจ และตัง้ ใจชว่ ยเหลอื ผอู้ ่นื 4. มที ่าทีทเ่ี ป็นมติ ร และมองโลกในแงด่ ี 5. ไวตอ่ ความรู้สกึ ของผู้อื่น และช่างสงั เกต 6. ใช้คำพดู ได้เหมาะสม 7. เปน็ ผูร้ ับฟงั ทด่ี ี นอกจากนีย้ งั ควรมคี ุณลักษะทส่ี ำคญั คอื มบี ุคลิกภาพท่ีดี และการรกั ษาความลับ รายละเอียดตา่ ง ๆ ของกระบวนการให้คำปรึกษา และทกั ษะการให้คำปรกึ ษาเบอื้ งตน้ มีดงั นี้ 1. กระบวนการใหค้ ำปรกึ ษา เป็นกระบวนการการช่วยเหลือที่ประกอบด้วยขั้นตอนต่าง ๆ ที่ผู้ให้การปรึกษาเอื้ออำนวยให้ผู้รับบริการ การปรกึ ษาได้เขา้ ใจถึงปญั หาและรับร้ถู ึงศักยภาพทีแ่ ทจ้ ริงของตนเองและเรยี นรู้การจัดการแก้ไขปญั หาหรือส่ิง ที่รบกวนจิตใจ ด้วยตนเอง นอกจากนี้ยังรวมทั้งการเอื้ออำนวยให้ผู้รับการปรึกษาได้เรียนรู้ที่จะดำเนินชีวิตได้ อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพแมว้ า่ ปัญหาหรือสง่ิ รบกวนจิตใจยงั มไิ ด้รับการแก้ไข กระบวนการใหก้ ารปรึกษา ประกอบด้วย 5 ขัน้ ตอน ไดแ้ ก่ 1. การสร้างสัมพนั ธภาพ 2. การสำรวจปัญหา 3. การเขา้ ใจในปญั หา 4. การวางแผนแก้ปญั หา 5. และการยุตกิ ารปรึกษา กระบวนการให้คำปรึกษา กระบวนการใหค้ ำปรึกษา อาจสรปุ ได้ 5 ข้นั ตอนดังนี้ คือ - ขัน้ ตอนที่ 1 การสรา้ งสัมพนั ธภาพ ผใู้ ห้คำปรึกษาต้องทำให้ผู้รับคำปรึกษาเกิด ความอบอ่นุ สบายใจ และไวว้ างใจ เอกสารประกอบการฝึกอบรม สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook