Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุดการสอนที่ 3.1.2-3

ชุดการสอนที่ 3.1.2-3

Published by naywirphlsmbatib, 2018-05-01 03:42:16

Description: ชุดการสอนที่ 3.1.2-3

Search

Read the Text Version

ชุดการสอนที่ 3การถอดประกอบ การค้นหาสาเหตุข้อบกพร่อง ของคอมเพรสเซอร์

โครงการสอนท่ี 3 หน่วยที่ 3ช่ือวชิ า งานปรับอากาศรถยนต์ รหสั 2101-2103 สอนคร้ังท่ี 3-8ช่ือหน่วย การถอดประกอบการคน้ หาสาเหตุขอ้ บกพร่องของคอมเพรสเซอร์ เวลา 30 ชม.เร่ือง 1. ความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั คอมเพรสเซอร์ 2. การคน้ หาสาเหตุขอ้ บกพร่องคอมเพรสเซอร์ 3. การถอดประกอบคอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ (Reciprocating) 4. การถอดประกอบคอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลต (Swash plate) 5. การถอดประกอบคอมเพรสเซอร์แบบเวนโรตารี่ (Vane rotary) จุดประสงค์การสอน รายการสอน1. อธิบายหลกั การทางานของคอมเพรสเซอร์ 1. ความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั คอมเพรสเซอร์ แบบต่าง ๆ ได้ 2. การคน้ หาสาเหตุขอ้ บกพร่อง2. ตรวจสอบสภาพ คน้ หาสาเหตุ และถอดประกอบ คอมเพรสเซอร์ คอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ (Reciprocating) ได้ 3. การถอดประกอบคอมเพรสเซอร์3. ตรวจสอบสภาพ คน้ หาสาเหตุและถอดประกอบ แบบลูกสูบ (Reciprocating) คอมเพรสเซอร์แบบ สวอชเพลต (Swash plate) ได้ 4. การถอดประกอบคอมเพรสเซอร์4. ตรวจสอบสภาพ คน้ หาสาเหตุ และถอดประกอบ แบบสวอชเพลต (Swash plate) คอมเพรสเซอร์แบบเวนโรตาร่ี (Vane rotary) ได้ 5. การถอดประกอบคอมเพรสเซอร์ แบบเวนโรตาร่ี (Vane rotary)วธิ ีการสอน บรรยาย/ถาม - ตอบส่ือการสอน สื่อประกอบการสอนอุปกรณ์ 3 ชนิด คอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ (Reciprocating),แบบสวอชเพลต (Swash plate) และแบบเวนโรตาร่ี (Vane Rotary) ซ่ึงเป็นของจริงใบความรู้ แบบฝึกหดั ใบงาน แบบทดสอบการประเมนิ ผล คะแนนจากการทาแบบทดสอบก่อน/ หนังสืออ้างอิง บรรณานุกรมลาดบั ที่หลงั เรียน แบบประเมินผลใบงาน 1, 2, 3 ,4 , 5, 7, 8, 9, 10, 12 ,13แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน

….. แผนการสอนท่ี 3 หน่วยที่ 3 ชื่อวชิ า งานปรับอากาศรถยนต์ รหสั 2101-2103 สอนคร้ังท่ี 3-8 ช่ือหน่วย การถอดประกอบการคน้ หาสาเหตขุ อ้ บกพร่องของคอมเพรสเซอร์ เวลา 30 ชม.สาระสาคญั คอมเพรสเซอร์ ท่ีใชก้ นั อยทู่ กุ วนั น้ีสามารถแบง่ ออกได้ 3 ประเภท คือ แบบลูกสูบ(Reciprocating)แบบสวอชเพลต (Swash plate) และแบบเวนโรตาร่ีหรือใบพดั หมุน (Vane rotary) เม่ือใชไ้ ปนาน ๆ กจ็ ะเกิดการชารุด เช่น ผขู้ บั รถรู้สึกวา่ ระบบปรับอากาศรถยนตไ์ มเ่ ยน็ หรือระบบปรับอากาศไมท่ างาน ฉะน้นั จึงมีการซ่อมบารุงใหส้ ามารถใชง้ านไดด้ ีอยเู่ สมอ ในการท่ีจะถอดชิ้นส่วน ส่วนใดบา้ งในคอมเพรสเซอร์ จะตอ้ งรู้สาเหตุของการเกิดปัญหาก่อน จึงจะทาใหไ้ ม่เสียเวลา หรือเสียเงินโดยเปล่าประโยชนน์ อกจากน้ีจะตอ้ งใช้เครื่องมือใหถ้ ูกตอ้ งกบั งานดว้ ยจุดประสงค์การเรียนรู้จุดประสงค์ทว่ั ไป เพื่อใหน้ กั เรียน สามารถตรวจสภาพ คน้ หาสาเหตุของขอ้ บกพร่อง และการถอดประกอบคอมเพรสเซอร์ 3 ชนิด คือแบบลูกสูบ (Reciprocating) แบบสวอชเพลต (Swash Plate) และแบบเวนโรตารี่หรือใบพดั หมุน (Vane Rotary )จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม เม่ือนกั เรียนเรียนชุดการสอนท่ี 3 แลว้ นกั เรียนสามารถ 1. อธิบายหลกั การทางานของคอมเพรสเซอร์แบบต่าง ๆ ได้ 2. ตรวจสอบสภาพ คน้ หาสาเหตุ และถอดประกอบคอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ (Reciprocating)ได้ 3.ตรวจสอบสภาพคน้ หาสาเหตุและถอดประกอบคอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลต (Swashplate)ได้ 4. ตรวจสอบสภาพ คน้ หาสาเหตุ และถอดประกอบ คอมเพรสเซอร์แบบเวนโรตารี่(Vane rotary)ได้เนือ้ หา 1. ความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั คอมเพรสเซอร์ 2. การคน้ หาสาเหตุขอ้ บกพร่องคอมเพรสเซอร์ 3. การถอดประกอบคอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ (Reciprocating) 4. การถอดประกอบคอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลต (Swash plate) 5. การถอดประกอบคอมเพรสเซอร์แบบเวนโรตารี่ (Vane rotary)

………………….. กจิ กรรมการเรียนการสอนกจิ กรรมการเรียนการสอน 1.ข้นั นาเขา้ สู่บทเรียน 1.1 นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน 1.2 ทบทวนเรื่องเครื่องมือที่ใชใ้ นงานปรับอากาศรถยนต์ 1.3 นาเขา้ สู่บทเรียนโดยใชว้ ธิ ีซกั ถาม 2. ข้นั สาธิตและยกตวั อยา่ ง 2.1 สอนเตรียมเคร่ืองมือและอุปกรณ์ รวมท้งั ใบงานและใบความรู้ 2.2 สาธิตยกตวั อยา่ งสาเหตุขอ้ บกพร่องและแสดงวธิ ีการถอดประกอบ คอมเพรสเซอร์ ตามใบงานเป็นข้นั ตอน 2.3 อธิบายรายละเอียดการตรวจสภาวะระบบปรับอากาศรถยนตพ์ ร้อม ยกตวั อยา่ งประกอบ 3. ข้นั ฝึกปฏิบตั ิ 3.1 จดั ลาดบั การตรวจสภาพคอมเพรสเซอร์ 3.2 จดั ลาดบั การถอดประกอบคอมเพรสเซอร์ 4. ข้นั สรุปและตรวจสอบ 4.1 สรุปสาเหตุขอ้ บกพร่องของคอมเพรสเซอร์วธิ ีการถอดประกอบท่ี รวดเร็วและถูกตอ้ ง 4.2 ตรวจสอบความถูกตอ้ งในการถอดประกอบ 5. ข้นั ฝึกใหเ้ กิดความชานาญฝึกการคน้ หาสาเหตุขอ้ บกพร่อง และการถอด ประกอบคอมเพรสเซอร์ ซ้าอีกใหท้ ุกคนท่ีเรียนไดฝ้ ึกปฏิบตั ิทุกคน 6. ข้นั ประเมินผล 6.2 การซกั ถามระหวา่ งเรียน 6.3 การอภิปรายกลุ่ม 6.4 การตรวจสอบการปฏิบตั ิงานตามใบงาน 6.5 การตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน………

สื่อการเรียนการสอน 1. ใบความรู้ หน่วยที่ 3 เรื่องการถอดประกอบการคน้ หาสาเหตุขอ้ บกพร่อง ของคอมเพรสเซอร์ 2. ส่ือประกอบการสอนอุปกรณ์ 3 ชนิด คอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ (Reciprocating), แบบสวอชเพลต (Swash plate) และแบบเวนโรตารี่ (Vane Rotary) ซ่ึงเป็นของจริง 3. แบบทดสอบก่อน/หลงั เรียน 4. แบบฝึกหดั 5. ใบงานการวดั ผล / ประเมินผล การวดั ผล วดั ผลโดยวธิ ีการดงั น้ี 1. การทาแบบทดสอบก่อนเรียน 2. การซกั ถามระหวา่ งเรียน 3. ความสนใจระหวา่ งเรียน 4. บนั ทึกการปฏิบตั ิงาน 5. ทาแบบทดสอบหลงั เรียน 6. คะแนนจากการทาแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน การประเมินผล ประเมินผลโดยถือเกณฑ์ กาหนดจากระดบั คะแนนการ วดั ผลดงั น้ี คะแนนร้อยละ 0 ถึง 49 ระดบั คะแนน(เกรด) 0 ผลการเรียนต่ากวา่ เกณฑข์ ้นั ต่า คะแนนร้อยละ 50 ถึง 54 ระดบั คะแนน(เกรด) 1 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑอ์ ่อนมาก คะแนนร้อยละ 55 ถึง 59 ระดบั คะแนน(เกรด) 1.5 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑอ์ ่อน คะแนนร้อยละ 60 ถึง 64 ระดบั คะแนน(เกรด) 2 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑพ์ อใช้ คะแนนร้อยละ 65 ถึง 69 ระดบั คะแนน(เกรด) 2.5 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑพ์ อใช้ คะแนนร้อยละ 70 ถึง 74 ระดบั คะแนน(เกรด) 3 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ี คะแนนร้อยละ 75 ถึง 79 ระดบั คะแนน(เกรด) 3.5 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ีมาก คะแนนร้อยละ 80 ถึง 100 ระดบั คะแนน(เกรด) 4 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ีเยยี่ มหมายเหตุ น้าหนกั ของคะแนนในการประเมินผลคะแนนจากการตรวจผลงาน 80 %

จากการทดสอบหลงั เรียน 20 % ห น่ แบบทดสอบก่อนเรียน/หลงั เรียน ว ย ชื่อวชิ า งานปรับอากาศรถยนต์ รหสั 2101-2103 ท่ี 3 ส อ น ค ร้ั ง ท่ี 3 - 8

ช่ือหน่วย การถอดประกอบการคน้ หาสาเหตขุ อ้ บกพร่องของ เ วคอมเพรสเซอร์ ล า 3 0 ช ม .

คาสั่ง ใหท้ าเคร่ืองหมาย  ทบั ขอ้ ท่ีถูกท่ีสุดเพียงขอ้ เดียว1. ส่วนประกอบใดมีอยเู่ ฉพาะในคอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบเทา่ น้นัก. ลูกสูบ ข. พเู ล่ย์ค. หรีดวาลว์ ง. เพลาขอ้ เหวยี่ ง2. ขอ้ ใดท่ีไม่ใช่คอมเพรสเซอร์ท่ีใชใ้ นเคร่ืองปรับอากาศรถยนต์ก. แบบลูกสูบ ข. แบบเวนโรตารีค. แบบเซนติฟูกลั ป์ ง. แบบสวอชเพลต3. ขอ้ ใดกล่าวถูกตอ้ งเก่ียวกบั คอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลตก. ใชใ้ บพดั ขบั ลูกสูบ ข. ใชแ้ ผน่ เอียงขบั ลูกสูบค. ใชเ้ พลาขอ้ เหวย่ี งขบั ลูกสูบ ง. ใชใ้ บพดั ในการดูดและอดั สารทาความเยน็4. จงั หวะใดท่ีส่งผลใหล้ ิ้นของคอมเพรสเซอร์แบบเวนโรตารีเปิ ดก. จงั หวะดูด ข. จงั หวะอดัค. จงั หวะส่ง ง. จงั หวะผลกั5. พเู ล่ยท์ ่ีตวั คอมเพรสเซอร์ ทาหนา้ ที่อะไร ก. สร้างสนามแม่เหลก็ ไฟฟ้ า ข. รับกาลงั ส่งจากโรเตอร์ค. ตดั -ตอ่ กาลงั จากเคร่ืองยนต์ ง. รับกาลงั ขบั จากเคร่ืองยนตโ์ ดยผา่ นทางสายพาน6. ตวั ควบคุมที่ทาใหค้ อมเพรสเซอร์ทางานคือขอ้ ใดก. คลตั ช์แม่เหลก็ ข. สวติ ช์ ปิ ด-เปิ ดค. รีเลยไ์ ฟฟ้ า ง. สวติ ช์สารทาความเยน็

7. ปกติคอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบประกอบดว้ ยลูกสูบก่ีตวัก. 1 ตวั ข. 2 ตวัค. 6 ตวั ข้ึนไป ง. 10 ตวั ข้ึนไป8. ในคอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบถา้ วาลว์ ดา้ นจา่ ยอดั ปิ ดลูกสูบจะอยใู่ นจงั หวะใดก. ดูด ข. อดัค. ระเบิด ง. คาย9. ลูกสูบของคอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลต จะทางานอยใู่ นลกั ษณะใดก. แนวดิ่งและต้งั ข. ต้งั ตามบริษทั ผลิตค. แนวต้งั ง. แนวนอน10. สารทาความเยน็ ในคอมเพรสเซอร์อยใู่ นสถานะใดก. แขง็ ข. เหลวค. แก๊ส ง. ถูกทุกขอ้

ห น่ ว. แบบเฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน/หลงั เรียน ย ที่ช่ือวชิ า งานปรับอากาศรถยนต์ รหสั 2101-2103 3 ส อ น ค ร้ั ง ที่ 3 - 8ช่ือหน่วย การถอดประกอบการคน้ หาสาเหตุขอ้ บกพร่องของ เ วคอมเพรสเซอร์ ล า 3 0 ช ม .

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน /หลงั เรียน ชุดการเรียนท่ี 31. ง 2. ค 3. ข 4. ข 5. ง6. ก 7. ข 8. ก 9. ง 10. ค

ใบความรู้ที่ 3.1 ห น่ช่ือหน่วย การถอดประกอบการคน้ หาสาเหตุขอ้ บกพร่องของ ว ยคอมเพรสเซอร์ ที่เร่ือง ความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั คอมเพรสเซอร์ 3 ส อ น ค ร้ั ง ที่ 3 - 8 เ ว ล า 3 0 ช ม .

จุดประสงค์การเรียนรู้ เพอ่ื ใหน้ กั เรียนอธิบายหลกั การเบ้ืองตน้ ของคอมเพรสเซอร์ในระบบปรับ อากาศ รถยนตไ์ ด้ เนือ้ หา หลกั การทวั่ ไปของคอมเพรสเซอร์ในระบบปรับอากาศรถยนต์ คอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ (Reciprocating) คอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลต (Swash plate) คอมเพรสเซอร์แบบเวนโรตารี่หรือใบพดั หมุน ( Vane Rotary) 1. หลกั การทวั่ ไปของคอมเพรสเซอร์ในระบบปรับอากาศรถยนต์ คอมเพรสเซอร์ท่ีใชใ้ นระบบปรับอากาศรถยนต์ จะเป็ นแบบปิ ด และ จะยึดติดอยู่กบั เคร่ืองยนต์ โดยใช้กาลงั ของเคร่ืองยนต์มาหมุนให้คอมเพรสเซอร์ ทางาน โดยใชส้ ายพานและจะ มีคลตั ช์แม่เหล็ก (Magnetic Clutch) ในการควบคุม ใหค้ อมเพรสเซอร์ทางานและหยดุ ทางาน รูปที่ 3.1 แสดงคอมเพรสเซอร์ท่ีติดต้งั อยกู่ บั เครื่องยนต์…………………………...

2. คอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ (Reciprocating Compressor) เป็นคอมเพรสเซอร์แบบที่ใชก้ นั อยโู่ ดยทวั่ ไป โครงสร้างเหมือนกบั คอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบทาความเยน็ โดยทวั่ ไปปกติคอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบของระบบปรับอากาศรถยนต์ จะเป็ นแบบ 2 กระบอกสูบ (Two Cylinder) การทางานน้นั กเ็ หมือนกนั คือในขณะท่ีลูกสูบหน่ึงเคลื่อนที่ลงในจงั หวะดูด ลูกสูบอีกลูกหน่ึงจะเคลื่อนที่ข้ึนจงั หวะอดั ในจงั หวะดูด ลิ้นดา้ นจ่าย (Discharge valve)จะปิ ด และลิ้นดา้ นดูดจะเปิ ดใหส้ ารทาความเยน็ ท่ีเป็นแกส๊ จากท่อดา้ นดูดเขา้ มา และในจงั หวะอดั (ลูกสูบที่เคลื่อนที่ข้ึน)สารทาความเยน็ ที่เป็ นแกส๊ ในกระบอกสูบจะถูกอดั ใหม้ ีความดนั สูง และลิ้นดา้ นจ่ายจะเปิ ดใหส้ ารทาความเยน็ ผา่ นออกทางทอ่ดา้ นส่ง (Discharge line) เพอ่ื ส่งไปยงั คอนเดนเซอร์ ต่อไป คอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบท่ีนิยมใชก้ นั คือคอมเพรสเซอร์ของยอร์ค (York) ใน ประเทศไทยใชอ้ ยู่ 3 ขนาด คือ เบอร์ 206 , 209 และ 210 รูปท่ี 3.2 แสดงการทางานคอมเพรสเซอร์ แบบ 2 สูบ 3. คอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลต (Swash Plate Compressor)

คอมเพรสเซอร์สวอชเพลต ยงั จดั อยใู่ นชนิดของคอมเพรสเซอร์ท่ีใชล้ ูกสูบ แต่ลูกสูบของแบบสวอชเพลตอยใู่ นแนวนอน การเคล่ือนที่ของลูกสูบ เพ่ือดูดและอดั สารทาความเยน็ ของคอมเพรสเซอร์แบบน้ีไมต่ อ้ งใช้เพลาขอ้ เหวยี่ ง และกา้ นสูบเป็นตวั ช่วยใหล้ ูกสูบเคล่ือนที่ แตล่ ูกสูบจะเล่ือนเขา้ ออกในกระบอกสูบไดโ้ ดยการหมุนของสวอชเพลตอยใู่ นตาแหน่งเอียง 45 องศา กล่าวคือ ขณะท่ีแกนเพลาที่ตอ่ มาจากรอก (pulley)หมุน สวอชเพลตหรือแผน่ เอียงกจ็ ะหมุนตามไปดว้ ยซ่ึงทาใหล้ ูกสูบเคล่ือนท่ีเขา้ ออกในกระบอกสูบทาใหเ้ กิดการดูดอดั สารทาความเยน็ ได้ คอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลตจะมีต้งั แต่ 5สูบข้ึนไป เช่น 6 สูบ และ 10 สูบ เป็นตน้ รูปท่ี 3.3 คอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลตแบบ 5 สูบ

4. คอมเพรสเซอร์แบบเวนโรตารี่ ( Vane Rotary)เป็นคอมเพรสเซอร์ท่ีใชใ้ บพดั หมุน ซ่ึงเป็นรุ่นใหม่และเป็นท่ียอมรับกนั และกาลงั จะเขา้ มาแทนท่ีคอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลตซ่ึงมีลกั ษณะดงั น้ีมีปริมาตรดูดสูงจากนอ้ ยไปกระทง่ั สูงสุด , มีความเสียดทานนอ้ ยเน่ืองจากใชใ้ บพดั , มีระดบั เสียงต่าและสัน่ สะเทือนนอ้ ย, มีขนาดเล็กและน้าหนกั เบาส่วนประกอบของคอมเพรสเซอร์ ซ่ึงประกอบรวมกนั อยจู่ ะมีความเท่ียงตรง และช่องวา่ งระหวา่ งชิ้นส่วนนอ้ ยมาก เนื่องจากชิ้นส่วนต่าง ๆ มีช่องวา่ งนอ้ ยมากเม่ือมีการถอดชิ้นส่วนออกมาซ่อมหรือตรวจสอบและประกอบเขา้ ไปใหมจ่ ะเกิดความบกพร่องไม่เที่ยงตรง ทาใหก้ ารทางานของโรเตอร์และใบพดั จะไม่ดีเทา่ ท่ีควรรูปที่ 3.4 คอมเพรสเซอร์แบบเวนโรตาร่ีหรือใบพดั หมุน ( Vane Rotary)

ใบงานท่ี 3.1 ช่ือหน่วย การถอดประกอบการคน้ หาสาเหตขุ อ้ บกพร่องของคอมเพรสเซอร์ เรื่อง ความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั คอมเพรสเซอร์จุดประสงค์การเรียน เม่ือนกั เรียนปฏิบตั ิงานตามใบงานท่ี 3.1 แลว้ นกั เรียนสามารถอธิบาย หลกั การเบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั คอมเพรสเซอร์ได้คาส่ัง ใหน้ กั เรียนอธิบายเก่ียวกบั คอมเพรสเซอร์ในระบบปรับอากาศรถยนตด์ งั ตอ่ ไปน้ี 1. หลกั การทางานทว่ั ไปของคอมเพรสเซอร์………………………………...……...….……………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………..… 2. หลกั การทางานของคอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ………………………………...…………………………………………………………………………………………………………….……………………...…….……..……………………..………………………………………………………………………………..…. 3. หลกั การทางานของคอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลต……………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………...…….……..…………………………………………………………………………………..……………………… 4. หลกั การทางานของคอมเพรสเซอร์แบบเวนโรตารี่ ……………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………...…….……..…………………………………………………………………………………..……………………… ……………… ..

เฉลยใบงานท่ี 3.1 หน่วยท่ี 3ชื่อหน่วย การถอดประกอบการคน้ หาสาเหตขุ อ้ บกพร่องของคอมเพรสเซอร์ สอนคร้ังที่ 3-8เร่ือง ความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั คอมเพรสเซอร์ เวลา 30 ชม.1. หลกั การทวั่ ไปของคอมเพรสเซอร์ คอมเพรสเซอร์เป็นอุปกรณ์ท่ีเพิม่ ความดนั ของสารทาความเยน็ ที่อยใู่ นสถานะเป็นแก๊ส ใหแ้ กส๊ท่ีมีความดนั และอุณหภูมิต่าจากอีวาปอเรเตอร์ผา่ นเขา้ ทางลิ้นดูด และอดั แกส๊ ใหม้ ีความดนั และอุณหภูมิสูงข้ึน โดยมีความดนั มากกวา่ 200 ปอนดต์ ่อตารางนิ้ว โดยใชก้ าลงั ของเครื่องยนตม์ าหมุนใหค้ อมเพรสเซอร์ทางาน โดยใชส้ ายพานและมีคลตั ช์แม่เหล็ก ในการควบคุมใหค้ อมเพรสเซอร์ทางานและหยดุ ทางาน2. หลกั การทางานของคอมเพรสเซอร์แบบลกู สูบ คอมเพรสเซอร์ชนิดน้ีมีลูกสูบ 2 กระบอกสูบ ในขณะท่ีลูกสูบหน่ึงเคล่ือนท่ีลงในจงั หวะดูด ลูกสูบหน่ึงจะเคล่ือนที่ในจงั หวะอดั ในจงั หวะดูดลิ้นดา้ นจา่ ยจะปิ ด และลิ้นดา้ นดูดจะเปิ ดใหส้ ารทาความเยน็ จากท่อดา้ นดูดเขา้ มา และในจงั หวะอดั สารทาความเยน็ ในกระบอกสูบจะถูกอดั ใหม้ ีแรงดนั สูง และลิ้นดา้ นจา่ ยจะเปิ ดใหส้ ารทาความเยน็ ผา่ นออกทางท่อดา้ นจ่าย3. หลกั การทางานของคอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลต ลูกสูบของคอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลตจะอยใู่ นแนวนอน การเคลื่อนที่ไม่ตอ้ งใชเ้ พลาขอ้เหวยี่ ง กา้ นสูบเป็นตวั ช่วยใหล้ ูกสูบเคล่ือนที่ ลูกสูบจะเลื่อนเขา้ ออกในกระบอกสูบไดโ้ ดย การหมุนของสวอชเพลต อยใู่ นตาแหน่งเอียง 45 องศา ทาใหเ้ กิดการดูดอดั สารทาความเยน็ คอมเพรสเซอร์แบบน้ีจะมี ต้งั แต่ 5 สูบข้ึนไป เช่น 5 สูบ และ 10 สูบ เป็นตน้4. หลกั การทางานของคอมเพรสเซอร์แบบเวนโรตาร่ี เป็นคอมเพรสเซอร์ท่ีใชใ้ บพดั หมุน ซ่ึงเป็นรุ่นใหม่และเป็นที่ยอมรับกนั และกาลงั จะเขา้ มาแทนที่คอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลต ซ่ึงมีลกั ษณะดงั น้ี มีปริมาตรดูดสูงจากนอ้ ยไปกระทง่ั สูงสุดมีความเสียดทานนอ้ ย เน่ืองจากใชใ้ บพดั มีระดบั เสียงต่าและส่ันสะเทือนนอ้ ยมีขนาดเลก็ และน้าหนกั เบา

ใบความรู้ท่ี 3.2 หน่วยท่ี 3 ช่ือหน่วย การถอดประกอบการคน้ หาสาเหตขุ อ้ บกพร่องของคอมเพรสเซอร์ สอนคร้ังท่ี 3-8 เร่ือง การคน้ หาสาเหตุขอ้ บกพร่องของคอมเพรสเซอร์ เวลา 30 ชม.จุดประสงค์การเรียนรู้ เพอื่ ใหน้ กั เรียน สามารถคน้ หา สาเหตุขอ้ บกพร่องของคอมเพรสเซอร์ได้เนือ้ หา การตรวจระบบปรับอากาศรถยนตก์ ็คือการตรวจหนา้ ที่ของส่วนประกอบในระบบซ่ึงสามารถท่ีจะตรวจเบ้ืองตน้ ไดด้ ว้ ยตวั เอง เพือ่ ท่ีจะแกไ้ ขไดอ้ ยา่ งเหมาะสมเมื่อตรวจอุปกรณ์ต่างๆ ซ่ึงจะเป็นการสร้างความมน่ั ใจ วา่ จะไม่เกิดปัญหาที่ไมค่ าดคิดมาก่อน โดยวธิ ีการตรวจดงั น้ีการวเิ คราะห์ปัญหาดว้ ยสายตาและการฟังเสียงท่ี อาการทเ่ี กดิ สาเหตุทเ่ี ป็ นไปได้ การตรวจและแก้ไข1. สายพานหยอ่ น - หมดอายกุ ารใชง้ าน - เปล่ียนสายพานใหม่ - เกิดการลื่นและสึกหรอ - ปรับสายพานใหค้ วาม - โบลตห์ รือน็อตท่ียดึ คอมเพรสเซอร์ ตึงที่กาหนด หลวม - ขนั โบลตห์ รือน็อตที่ยดึ ใหแ้ น่น2. เกิดเสียงดงั ใกลก้ บั - โบลตห์ รือน็อตที่ยดึ แผน่ เหลก็ กบั - ขนั โบลตห์ รือน็อตที่ยดึคอมเพรสเซอร์ คอมเพรสเซอร์คลายตวั ใหแ้ น่น3. เกิดเสียงดงั ภายใน - เสียงดงั ที่เกิดข้ึนอาจจะมาความเสียหาย - ถอดเปลี่ยนชิ้นส่วนท่ีคอมเพรสเซอร์ ของชิ้นส่วนภายในคอมเพรสเซอร์ ชารุดของคอมเพรสเซอร์4. การระบายความร้อนที่ - ฝ่ นุ ละอองเกาะจบั ตดิ ท่ีคอนเดนเซอร์ - ลา้ งสิ่งสกปรกและฝ่ นุคอนเดนเซอร์ไม่ดี ทา - พดั ลมไฟฟ้ าไม่ทางาน ละอองออกจากให้ ประสิทธิภาพความ คอนเดนเซอร์เยน็ ลดลง - ตรวจพดั ลมไฟฟ้ า5. เกิดคราบน้ามนั บริเวณ - เกิดการร่ัวของสารทาความเยน็ ตามขอ้ - ขนั ขอ้ ตอ่ ต่าง ๆ ใหแ้ น่นขอ้ ต่อตา่ ง ๆ ของระบบ ต่อต่าง ๆ - ตรวจหวั ขอ้ ตอ่ ถา้ เสียให้ปรับอากาศเยน็ เปลี่ยนใหม่6. เกิดเสียงดงั ใกลก้ บั พดั - การติดต้งั มอเตอร์พดั ลมไม่อยใู่ น - ปรับเปลี่ยนที่ติดต้งั ใหม่ลมใน อีวาปอเรเตอร์ ตาแหน่งที่ถกู ตอ้ ง

ใบงานที่ 3.2 หน่วยท่ี 3ช่ือหน่วย การถอดประกอบการคน้ หาสาเหตุขอ้ บกพร่องของคอมเพรสเซอร์ สอนคร้ังที่ 3-8เร่ือง การคน้ หาสาเหตุของขอ้ บกพร่องของคอมเพรสเซอร์ เวลา 30 ชม.จุดประสงค์การเรียนรู้ เพอ่ื ใหน้ กั เรียนสามารถหาสาเหตุขอ้ บกพร่องของคอมเพรสเซอร์ในระบบปรับอากาศรถยนตไ์ ด้คาสั่ง ใหน้ กั เรียนคน้ หาสาเหตุของขอ้ บกพร่องของคอมเพรสเซอร์ต่อไปน้ีข้อ สาเหตุข้อบกพร่องที่ อาการทเี่ กดิ ขึน้ กบั คอมเพรสเซอร์1. สายพานหยอ่ น ……………………………………………………… ………………………………………………………2. เกิดเสียงดงั ในคอมเพรสเซอร์ ……………………………………………………… ………………………………………………………3. คอมเพรสเซอร์ไมท่ างาน ………………………………………………………. ………………………………………………………4. การไหลของอากาศในหอ้ งโดยสารไม่ ……………………………………………………… เพยี งพอ ……………………………………………………… ………………………………………………………5. ความเยน็ นอ้ ยผดิ ปกติ ……………………………………………………… ……………………………………………………… ……………………………………………………… ……………………………………………………… ……………………………………………………… ………………………………………………………

เฉลยใบงานท่ี 3.2 หน่วยที่ 3 ชื่อหน่วย การถอดประกอบการคน้ หาสาเหตุขอ้ บกพร่องของคอมเพรสเซอร์ สอนคร้ังท่ี 3-8 เรื่อง การคน้ หาสาเหตุของขอ้ บกพร่องของคอมเพรสเซอร์ เวลา 30 ชม.จากการคน้ หาสาเหตุตามใบงานกาหนด สามารถสรุปขอ้ บกพร่องไดด้ งั น้ีข้อที่ อาการทเี่ กดิ ขึน้ กบั คอมเพรสเซอร์ สาเหตุข้อบกพร่อง1. สายพานหยอ่ น - อายกุ ารใชง้ านนาน2. เกิดเสียงดงั ในคอมเพรสเซอร์ - การยดื และการสึกหรอ - โบลตห์ รือน็อตคลาย - ชิ้นส่วนภายในเกิดความเสียหาย3. คอมเพรสเซอร์ไมท่ างาน - สายพานขาดหรือชารุด - คลตั ชแ์ ม่เหลก็ หรือวงจรควบคุมไมท่ างาน สวติ ชค์ วามดนั ไมท่ างาน4. การไหลของอากาศในหอ้ งโดยสารไม่ - ระบบพดั ลมทางานผดิ ปกติเพียงพอ - เกิดน้าแขง็ เกาะท่ีอีวาปอเรเตอร์5. ความเยน็ นอ้ ยผดิ ปกติ - ปะเก็นขาด - วาลว์ หกั หรือแตก……………………….

………………


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook