Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการธนาคารข้าว กลุ่ม8 ปีการศึกษา2560

โครงการธนาคารข้าว กลุ่ม8 ปีการศึกษา2560

Published by ภูธิป ยาเภา, 2017-11-19 11:55:43

Description: โครงการธนาคารข้าว กลุ่ม8 ปีการศึกษา2560

Keywords: ricebank

Search

Read the Text Version

โครงการธนาคารข้าวตามแนวพระราชดาริ Royal Rice Bank Projectนายภาณพุ งศ์ พพิ ฒั นานิมติ ร รหัสนิสติ 60460712นางสาวภาวรนิ ทร์นางสาวภาษติ า ชยั จติ ตปิ ระเสริฐ รหสั นิสติ 60460729นายภธู ปินายภบู ดินทร์ จันทรเ์ พญ็ รหัสนสิ ิต60460736นายภมู ินายภรู ิณัฐ ยาเภา รหัสนสิ ิต 60460743นางสาวมิกฑติ านางสาวเมทินี แดงไฟ รหัสนสิ ิต 60460750นางสาวโยษิตา อรรถฐิตนิ ยั รหัสนสิ ิต 60460767 แสงนา รหสั นสิ ติ 60460774 แก่นจันทร์ รหัสนิสติ 60460781 แซ่เฮง้ รหัสนิสิต 60460798 เยรบุตร รหสั นิสิต 60460804 คณะแพทยศาสตร์รายงานน้ีเปน็ ส่วนหน่ึงของรายวิชา GE001221 สารสนเทศเพ่ือการศกึ ษาค้นควา้ มหาวิทยาลยั นเรศวร ภาคการศึกษาปที ี่ 1/2560

ก คานา รายงานเล่มนจ้ี ดั ทาขนึ้ เพ่ือเป็นสว่ นหน่ึงของวิชาสารสนเทศเพ่อื การศึกษาคน้ คว้ามจี ดุ ประสงค์เพ่ือศกึ ษาความรู้เก่ยี วกบั โครงการธนาคารข้าวซึ่งรายงานฉบับนี้มเี นือ้ หาเก่ียวกบั ความเป็นมาของโครงการธนาคารข้าวและข้อมลู สาคญั ของโครงการธนาคารขา้ ว ท้ังน้ีทางคณะผู้จัดทาหวังเป็นอยา่ งย่ิงว่ารายงานเล่มนี้จะเปน็ ประโยชน์ต่อผูท้ ี่ไดม้ าศึกษาเปน็อยา่ งดแี ละหากมีข้อเสนอแนะหรอื ข้อผิดพลาดประการใดคณะผจู้ ดั ทาขอน้อมรบั ไวแ้ ละขออภยั มา ณ ที่นี้ดว้ ย คณะผจู้ ัดทา

ข บทคดั ย่อ “...ในสมัยปัจจุบัน อาชีพเพาะปลูกน้ีมีความสาคัญมาก เพราะการเพาะปลูกน้ีเป็นจุดเร่ิมต้นของชีวิตมนุษย์ ถ้าเราไม่มีการเพาะปลูก ก็จะไม่มีวัตถุดิบที่จะมาเป็นอาหาร หรือเครื่องนุ่งห่ม หรือเป็นสิ่งก่อสร้าง ฉะนั้นต้องทาการกสิกรรม...” พระราชดารสั ของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุเดชพระราชทานแก่ผู้นาสหกรณ์การเกษตรและสหกรณ์นิคม ณ ศาลาดุสิดาลัย เม่ือวันที่ ๑๑ พฤษภาคม๒๕๒๑ เนื่องจากประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม อาทิ การทาไร่ ทานา รวมถึงมีข้าวเป็นอาหารหลักของชาวไทย แต่เน่ืองจากบางพ้ืนท่ีได้รับปัญหาจากภัยธรรมชาติ เช่น ภัยแร้ง น้าท่วมเป็นต้น รวมถึงการอาศัยอยู่ในเขตทุรกันดารของประชาชน ทาให้เกิดปัญหาขาดแคลนข้าว โครงการธนาคารข้าวจึงถูกจัดต้ังขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว และเพื่อยกระดับชาวนาไทยให้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นดงั นั้นโครงการธนาคารจงึ มคี วามสาคัญตอ่ คนไทยเป็นอย่างมาก ทางคณะผู้จัดทาจึงเห็นว่าเป็นโครงการท่ีควรนามาศึกษา และนามาเผยแพร่หรือให้ความรู้ เพ่ือให้นิสิตกลุ่มอ่ืนๆและคณะอาจารย์ในรายวิชาGE001221สารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า ปีการศึกษาท่ี 1/2560 ได้รู้จักและเข้าใจในโครงการรวมถึงตระหนักถึงความสาคัญของโครงการ ให้เห็นคุณค่าของข้าวมากข้ึน ท้ังนี้คณะผู้จัดทาจึงทาการศึกษาโครงการธนาคารข้าวในพระราชดาริ และจัดทาสื่อเพื่อเผยแพร่ความรู้ผ่านการนาเสนอในรูปแบบของโปรแกรม PowerPoint และในรูปแบบของวิดีโอ เพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจ ในเน้ือหา คณะผู้จัดทาได้รับความรู้เรื่องธนาคารข้าวเพ่ิมมากขึ้น และสามารถสร้างสรรค์ส่ือในการนาเสนอโครงการได้ และสามารถสรุปได้ว่าคณะผู้จัดทาตระหนักถึงความสาคัญของโครงการธนาคารข้าว และเห็นคุณค่าของข้าวมากขึ้นรวมถึงสามารถเผยแพร่ส่ือให้ความรู้เกี่ยวกับโครงการธนาคารข้าวได้ จึงกล่าวได้ว่าโครงการนี้ประสบความสาเรจ็ ตามวตั ถุประสงค์ทีไ่ ด้กาหนดไว้

ค Abstract “ … nowadays, farmers are very important occupation. Because agriculture is abeginning of human life. If we don’t have agriculture, we don’t have raw material for foodor clothes or building. So we must do agriculture…” Royal speech of King BhumibolAdulyadej to the leader of agriculture cooperation at Dusidalai Hall on May, 11 1978. Due to the fact that the Thai people have traditionally been rooted in agriculture,according to rice agriculture, rice is the main food for them. But in some areas suffer fromnatural disaster like water shortage or flood, and some people live in wilderness area, sothey lack of rice. Royal rice bank project was established to solve the problems and toimprove Thai farmer to have better life. So Royal rice bank project is very importantproject for Thai. Therefore, our group should study this project to understand and canpublicize to other groups and teachers in GE0 0 1 2 2 1 Information Science for Study andResearch, they can also understand the project and be aware the important of rice. Ourgroup studied the project, then we created PowerPoint and Video for better presentation.After all, Member group understood this project clearly and realized how important it is,according to doing media to present Royal Rice Bank Project. It can be said that this projectis finish successfully.

ง กิตตกิ รรมประกาศ โครงการน้ีสาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาจากอาจารย์ประจาวิชา GE001221 สารสนเทศเพ่ือการศึกษาค้นคว้าท่ีได้ให้คาแนะนาท้ังด้านการจัดทารูปเล่มรายงาน การนาเสนอ และแนวคิดในการทางาน ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆมาโดยตลอด จนรายงานเล่มน้ีเสร็จสมบูรณ์ ผู้จัดทาจึงขอกราบขอบพระคุณเปน็ อยา่ งสงู ขอขอบพระคุณ คุณพ่อ คุณแม่ รวมถึงผู้ปกครองของสมาชิกภายในกลุ่มทุกคน ที่คอยให้คาปรึกษาในเร่ืองต่างๆ และสนับสนุนในการทาโครงการรายวชิ าน้ีอย่างเต็มท่ี รวมท้ังเป็นกาลังใจที่ดีเสมอมา ขอบคุณเจ้าหน้าท่ีประจาห้องสมุด ทั้งสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร ที่ช่วยอานวยความสะดวกในการให้บรกิ ารห้องประชมุ กล่มุ สุดท้ายขอบคุณเพ่ือนสมาชิกภายในกลุ่มท่ีช่วยกันทางาน จนทาให้โครงการน้ีสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี คณะผ้จู ดั ทา

สารบัญ จคานา หนา้ กบทคัดย่อภาษาไทย ข คบทคัดย่อภาษาอังกฤษ ง จกิตติกรรมประกาศ ซ 1สารบัญ 1 1สารบญั รปู ภาพ 2 2บทที่ 1 บทนา 3 1.1 ทม่ี าและความสาคัญ 3 1.2 วัตถปุ ระสงค์ 3 1.3 ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รบั 4 1.4 ขอบเขตการดาเนนิ โครงการ 5 5บทที่ 2 หลักการและทฤษฏเี บ้ืองต้น 6 6 2.1 โครงการธนาคารขา้ วตามแนวพระราชดาริ - ความหมายของธนาคารขา้ ว - ความเปน็ มาของธนาคารขา้ ว - จดุ กาเนดิ ของธนาคารข้าว - วัตถุประสงค์ - หลัการจัดตั้งโครงการ - การดาเนนิ กิจกรรมธนาคารข้าว o การดาเนินงาน o ทุนดาเดนิ งาน

o คณะกรรมดาเนินงาน ฉ o การเงินของธนาคารขา้ ว o การแก้ไขเปลยี่ นแปลงระเบียบตา่ งๆ 8 o ผู้รบั ผิดชอบการดาเนินงาน 9 - ขอ้ ดีขอ้ เสยี ของธนาคารข้าว 10 - ธนาคารข้าวจะช่วยเหลือผู้ยากไรท้ ่สี ุดในชุมชนได้หรอื ไม่ 10 - สบิ ปีแหง่ บทเรยี นทผ่ี า่ นมา 11 - อนาคตของธนาคารข้าว 11 2.2 ตวั อยา่ งธนาคารข้าว 12 - ธนาคารขา้ วแห่งแรกของประเทศไทย 14 - ธนาคารข้าวบ้านปกั คมุ้ ศูนย์ฯจนั ทบุรี - โครงการธนาคารข้าวบา้ นเลตองคุ 17 18บทที่ 3 วธิ ีการดาเนนิ งาน 20 3.1 ข้ันตอนการดาเนนิ โครงงาน 22 23 3.2 แผนการดาเนนิ โครงงาน 24 25บทที่ 4 ผลการศึกษาค้นคว้า 26 27บทท่ี 5 สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ 29ภาคผนวกประวตั ิผดู้ าเนินโครงการบรรณานกุ รม

ชสารบญั รูปภาพ หนา้ภาพที่ 1 แสดงการดาเนนิ กจิ กรรมธนาคารข้าว 6ภาพท2่ี แสดงภาพท่ีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกลา้โปรดกระหม่อม ให้เจ้าหน้าทโี่ รงการหลวงพฒั นาชาวเขานาข้าวสารพระราชทานไปให้ผู้ท่ีมีความจาเป็นยมื ไปบรโิ ภค ณ บ้านป่าแป๋ ตาบลแมส่ ะเรียง อาเภอแมส่ ะเรียง จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน 17ภาพท่ี 3 แสดงโครงการธนาคารข้าวบา้ นเลตองคุ1 20ภาพท่ี 4 แสดงโครงการธนาคารข้าวบา้ นเลตองคุ2 20ภาพท่ี 5 แสดงภาพทีพ่ ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณา 22โปรดเกลา้ โปรดกระหม่อม พระราชทานข้าวสาหรบั ใชบ้ รโิ ภคในระบบธนาคารข้าว

1 บทที่ 1 บทนาที่มาและความสาคัญ ตง้ั แตอ่ ดตี พระราชกรณยี กิจของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลเดชปรากฏสสู่ ายตาปวงชนชาวไทยมากกว่า 4,000 โครงการ และหนึ่งในนั้นคือ โครงการธนาคารข้าว ซ่ึงเป็นโครงการท่ีพระองค์ทรงให้ความสาคัญกับการปลูกข้าว และให้เห็นถึงคุณค่าของข้าว ดังพระราชดารัสที่พระองค์พระราชทานแก่ผู้นาสหกรณ์การเกษตรและสหกรณ์นิคม ณ ศาลาดุสิดาลัย เมื่อวันที่ ๑๑ พฤษภาคม๒๕๒๑ ความตอนหนึง่ วา่ “...ในสมัยปัจจุบัน อาชีพเพาะปลูกน้ีมีความสาคัญมาก เพราะการเพาะปลูกนี้เป็นจุดเร่ิมต้นของชีวิตมนุษย์ ถ้าเราไม่มีการเพาะปลูก ก็จะไม่มีวัตถุดิบที่จะมาเป็นอาหาร หรือเครื่องนุ่งห่ม หรือเป็นสิ่งก่อสร้าง ฉะน้นั ต้องทาการกสิกรรม...” โครงการธนาคารข้าวเริ่มต้นเป็นโครงการที่จัดต้ังโดยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนข้าวเพื่อบริโภคอันเนื่องมาจากการประสบภัยทางธรรมชาติ หรือการที่ประชาชนอาศัยอยู่ในท้องถิ่นทุรกันดาร โดยโครงการนี้จัดต้ังเพ่ือยกระดับชาวนาไทยให้มีความเปน็ อยู่ที่ดขี ึน้ สมกบั เป็นผ้ปู ลกู ขา้ วเลี้ยงคนท้ังประเทศและเป็นผสู้ ง่ ออกข้าวรายใหญ่ เนื่องจากประชาชนชาวไทยสว่ นมากทาอาชีพเกษตรกรรม ประกอบกับการที่ข้าวเป็นอาหารหลักของชาวไทย ดังนั้นโครงการน้ีจึงมีความสาคัญมาก คณะผู้จัดทาจึงเห็นว่าเป็นโครงการที่ควรท่ีจะนามาศึกษา และนามาเผยแพร่หรือให้ความรู้ เพื่อให้นิสิตกลุ่มอ่ืนๆและอาจารย์ในรายวิชา GE001221สารสนเทศเพ่ือการศึกษาค้นคว้า ปีการศึกษาที่ 1/2560 ได้รู้จักและเข้าใจในโครงการ และตระหนักถึงความสาคัญของโครงการ รวมถึงเหน็ คณุ คา่ ของขา้ วมากขึ้นวตั ถุประสงค์ 1. เพ่ือศึกษาโครงการธนาคารขา้ ว และตระหนกั ถึงความสาคัญของโครงการ 2. เพ่อื จัดทาส่อื เผยแพรห่ รอื ให้ความร้เู กย่ี วกบั โครงการธนาคารขา้ วตามแนวพระราชดาริ

2ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ บั 1. สมาชิกในกลุ่มมีความเขา้ ใจใน โครงการธนาคารขา้ ว มากขึ้น 2. สามารถทาส่ือเพ่ือเผยแพร่ “โครงการธนาคารข้าว” แก่นสิ ิตกล่มุ อนื่ ๆและอาจารย์ในรายวชิ า สารสนเทศเพ่ือการศกึ ษาค้นควา้ ปกี ารศึกษาที่ 1/2560ขอบเขตการดาเนินโครงงาน หวั ข้อทศี่ ึกษา : โครงการธนาคารข้าวในพระราชดาริ สถานที่ศกึ ษา : แหลง่ สารสนเทศ ได้แก่ หอ้ งสมดุ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร และออนไลน์ ระยะเวลาที่ใช้ศกึ ษา : 9 ตลุ าคม 2560 – 27 พฤศจิกายน 2560

3 บทที่ 2 หลักการและทฤษฏเี บอื้ งต้นโครงการธนาคารข้าวตามแนวพระราชดาริความหมาย ธนาคารข้าว หมายถึง กิจกรรมการบริการด้านการให้ข้าวเพ่ือการบรโิ ภคหรอื ทาพันธ์ุ โดยอาจให้เปล่า ให้ยมื (ไม่คดิ ดอกเบยี้ ) หรอื ให้กู้ (คดิ ดอกเบ้ีย)ความเปน็ มาของโครงการ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงมีพระราชดาริว่า ต้องทาทุกวิถีทางให้ชาวนามขี ้าวพอกนิ ใหก้ ารทานาเปน็ อาชพี ท่ีมรี ายได้แนน่ อนสามารถลมื ตาอ้าปากได้ เนื่องด้วยลักษณะภูมิประเทศบริเวณพื้นที่ชายแดนภาคเหนือของประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นภูเขาสงู ชันและเป็นท้องถน่ิ ทุรกนั ดารราษฎรที่อาศยั อยู่ในพื้นที่ดังกล่าวสว่ นใหญป่ ระกอบอาชีพด้านการเกษตรซึ่งมีพื้นท่ีดาเนินการจากัด ประกอบกับบ่อยคร้ังท่ีต้องประสบภัยทางธรรมชาติ ทาให้ผ ลผลิตทางการเกษตรได้รับความเสียหายอยู่เสมอ อันเป็นผลให้ราษฎร ต้องขาดแคลนข้าวเพื่อบริโภคในบางปีเหตุการณ์เหลา่ น้ี พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชได้ทรงรับทราบถึงปัญหาและทรงมีความหว่ งใยพสกนิกรผู้ประสบภยั ทางธรรมชาตเิ ป็นอย่างยิง่ พระองค์ทรงมีพระราชดาริในชัน้ ตน้ เพ่ือหาแนวทางท่ีจะแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อเป็นการช่วยเหลอื บรรเทาความเดอื ดร้อนของราษฎรเหล่าน้ัน จึงทรงโปรดเกล้าฯให้รีบดาเนินการช่วยเหลือโดยการจัดตั้งโครงการธนาคารข้าวในหมู่บ้านท่ีประสบภัยดังกล่าว เป็นการสร้างมติ ใิ หม่ยกระดับชีวติ ชาวนาไทยใหม้ มี าตรฐานความเป็นอยทู่ ดี่ ขี นึ้

4จดุ กาเนดิ ของธนาคารขา้ ว การทาธนาคารข้าวเร่ิมเป็นรูปเป็นร่างขึ้นในราวๆปี พ.ศ.2520 น้ัน เป็นกิจกรรมที่บรรดาหน่วยงานจากภายนอกชุมชนไม่ว่าจะเป็นรัฐหรอื เอกชน มกี ารตอบสนองต่อปญั หาพ้ืนฐานของชาวบ้านคือปัญหาการอดข้าวหรือการมีข้าวไม่พอกินตลอดท้ังปี อันอาจจะมีสาเหตุจากความเเห้งเเล้งตามธรรมชาติหรือมาจากสาเหตขุ องการเอาเปรยี บจากเพ่ือนมนุษยด์ ว้ ยกนั เชน่ อัตราดอกเบ้ียกยู้ มื ขา้ วที่ค่อนขา้ งสูงเป็นต้น เเละไม่ว่าเเรงจูงใจเบ้ืองเเรกในการทากิจกรรมธนาคารข้าวของรัฐเเละเอกชนน้ีจะมีมูลเหตุต่างกันไปเช่นอาจเรม่ิ มาจากการดาริของผูน้ าสังคม มนษุ ยธรรม เมตตา สงสาร หรืออน่ื ๆ แตก่ ล่าวโดยเป้าหมายรว่ มเเล้วต่างกม็ ุ่งทีจ่ ะแกไ้ ขการขาดเเคลนขา้ วในหมู่คนทีเ่ ปน็ ผเู้ พราะปลูกข้าวเองเปน็ สาคัญ เม่ือหนึ่งทศวรรษของการทาธนาคารข้าวผ่านพ้นไป ในสังคมไทยก็ได้เกิดรูปแบบของวิธีการทาธนาคารข้าวมากมายหลายอย่าง อย่างไรก็ตามท่ามกลางความหลากหลายน้ัน ก็คงมีองค์ประกอบหลักๆรว่ มกนั บางประการท่ีถือเป็นจุดเด่นของการทานาธนาคารข้าว เชน่ เเนวความคดิ หลักของการทาธนาคารข้าวน้นั ต้องอาศยั ความรว่ มมือร่วมเเรงเเละรว่ มใจของชาวบ้านเป็นตวั หลัก (เเละเปน็ ชาวบ้านทร่ี วมกันเป็นกลุ่ม มิใช่การแก้ปัญหาเป็นรายบุคคล) ความช่วยเหลือจากองค์กรภายนอกไม่ว่าจะเป็นเรื่องเงินทุนหรือการดาเนินการก็ตามจะเป็นเพียงจุดเร่ิมต้นเท่าน้ัน เเต่ในการเดินเครื่องต่อไปจะต้องเป็นบทบาทของชาวบ้านเอง หรอื ในกรณขี องการกาหนดวัตถปุ ระสงคห์ รือเป้าหมายระยะสนั้ จะเปน็ เร่ืองการแกป้ ัญหาของการอดข้าว เพ่ือให้ชาวบ้านมีข้าวตลอดปีเเต่ส่วนใหญ่หน่วยงานพัฒนาทั้งรัฐเเละเอกชนมักตั้งความหวังไกลกว่านั้น เช่น เป้าหมายระยะยาวต่อตัวชาวบ้านเองก็คือ เพื่อพ่ึงตนเอง ผึกการรวมกลุ่มทางาน เพื่อแก้ปัญหาด้วยตัวเอง เพ่ือสรา้ งความสามัคคีเป็นปึกเเผ่นในชุมชน เพอื่ สง่ เสริมคณุ ธรรม ความเมตตากรุณาเอ้ือเฟอ้ื เผ่อื แผ่ต่อผู้อืน่ ส่วนเป้าหมายระยะยาวตอ่ ภายนอก เชน่ เพ่อื แกป้ ญั หาการกู้หนี้ยืมสนิ ทั้งทเี่ ป็นเงินเเละข้าวจากนายทุน เพ่ือมีอานาจต่อรองราคาผลผลติ กับพ่อค้าคนกลาง เพ่ือรู้เท่าทันกระเเสความเป็นไปในสงั คม ฯลฯ เเมว้ า่ บรรดาองคก์ รต่างๆ จะมองเหน็ ปญั หาเเละสาเหตุของปัญหาชดั เจนอยูเ่ เล้วหากแต่หนทางท่ีจะบรรลุเป้าหมายน้ัน ก็ยังข้ึนอยู่กับเงื่อนไขหลายประการ เช่น ลักษณะธรรมชาติขององค์กร หากเป็นหน่วยงานราชการซึ่งต้องรับผิดชอบพ้ืนที่ครอบคลุมมาก (นับเป็นพันๆเเห่ง) ก็จาเป็นต้องมีการวางเเผน

5จากส่วนกลาง ในบางหมู่บ้านเป็นการริเร่ิมจากชาวบ้านเองโดยไม่มีทุนสนับสนุนจากภายนอก กลุ่มชาวบา้ นทร่ี ิเริม่ จึงต้งอใชว้ ธิ ีระดมหุน้ เเละพยายามเพิ่มห้นุ เพ่อื เปน็ หลักประกันระยะยาว เปน็ ตน้ ดูเหมือนว่า ปัญหาร่วมกันในระยะเเรกท้ังภาครัฐเเละเอกชน ก็คือเเนวคิดในการทาธนาคารข้าวนั้นเป็นความคิดเเบบใหม่ จึงขาดความชัดเจนในการแปรเเนวคิดไปสู่ภาคปฏิบัติดังนั้นในระยะเร่ิมเเรกเจ้าหน้าท่ีรัฐบาลจึงยังไม่เข้าใจความเเตกต่างระหว่างโครงการที่เรียกว่า ธนาคารข้าว กับ โครงการยุ้งฉางหรอื ทางเอกชน กย็ งั ไมส่ ามารถหาวิธกี ารใหช้ าวบ้านเข้ามารบั ผิดชอบดา้ นการบรหิ ารโครงการธนาคารข้าวไดอ้ ยา่ งเต็มท่ี ลักษณะการตงั้ กฏเกณฑ์เเละระเบยี บต่างๆ จึงเปน็ เเบบบนลงล่างเสยี มากกว่า อน่งึ เปน็ ที่น่าสังเกตว่า เมอ่ื กาลเวลาผา่ นไป องคก์ รเอกชนซึง่ มีขนาดเล็กกะทัดรัดคล่องตวั กว่า ไดม้ ีการปรบั เปลย่ี นเเละเคลื่อนไหว เรียนรู้วิธีการทางานได้รวดเร็วกว่า (โดยเปรียบเทียบ)กับหน่วยงานรัฐบาลซึ่งใหญ่โตกว่า จึงยอ่ มเทอะทะเเบะอุย้ อ้ายกวา่วัตถปุ ระสงค์ 1. ช่วยเหลือ สงเคราะห์ ประชาชนผู้ยากจน โดยการให้เปล่า แลกแรงงาน ให้ยืม(ไม่คิดดอกเบ้ี ย) และให้ก(ู้ คิดดอกเบยี้ ) ขา้ ว เพอื่ ไปบริโภคหรอื ทาพนั ธุ์ในฤดูทานา 2. เพอื่ ชว่ ยเหลือ ลดหน้สี นิ ของชาวนาชาวไรท่ ่มี อี ย่กู บั ภาคเอกชน และภาครฐั บาล 3. ส่งเสริมประชาชนให้สานึกในการร่วมกลุ่มเพื่อช่วยเหลือตนเอง ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และให้ผู้ มีฐานะดีไดม้ ีส่วนร่วมช่วยเหลืออนุเคราะห์ผู้ยากจน 4. ดาเนนิ การโดยไมแ่ สวงหาผลกาไรละไม่มีการแบง่ ปันผลประโยชน์ 5. เพื่อบรรเทาความเดือดรอ้ นของราษฎรทปี่ ระสบทุพภกิ ขภยั ในถ่นิ ทรุ กันดาร 6. เพื่อใหร้ าษฎรผปู้ ระสบภัยมขี ้าวพอเพียงตอ่ การบรโิ ภคตลอดปี 7. เพื่อเป็นพืน้ ฐานในการสร้างความสัมพนั ธแ์ ละความเข้าใจอันดีระหว่างราษฎรกับเจ้าหน้าที่หลกั การตั้งโครงการธนาคารข้าว 1. จัดตั้งในหมู่บ้านที่มีประชากรร้องขอหรือทราบว่าราษฎรขาดแคลนเพ่ือบริโภคและไม่สามารถ ดาเนนิ การจัดหาขา้ วเพื่อบริโภคในหมบู่ ้านไดเ้ พยี งพอ 2. ไม่จัดตั้งซ้าซ้อนหรือใกล้เคียงกับหมู่บ้านที่มีการจดั ต้ังโครงการธนาคารข้าวของหนว่ ยงานอื่นท่ีได้ ดาเนนิ การอยู่ 3. พิจารณาพ้นื ที่ทีจ่ ดั ตั้งโดยคานงึ ถงึ ประโยชนท์ จี่ ะไดร้ ับต่อหมบู่ ้านบรวิ าร

6 4. ดาเนนิ การจัดต้ังในหมบู่ า้ นท่ีมคี วามปลอดภัยในการควบคุมและตดิ ตามผล 5. ไม่เป็นหมบู่ า้ นทมี่ ีแนวโนม้ ท่จี ะมีการโยกย้ายการดาเนินกจิ กรรมธนาคารข้าว ภาพท่ี 1 แสดงการดาเนินกจิ กรรมธนาคารขา้ วการดาเนนิ งาน 1. ข้าวของธนาคารให้เก็บไว้ท่ียุ้งฉางที่สร้างข้ึนเป็นส่วนกลาง หรือจะฝากไว้ตามฉางของผู้นา หรือผู้บริจาคในกรณีท่ีฉางไม่สามารถบรรจุได้ โดยคานึงถึงความสะดวกในการขนส่งและทา บญั ชีรายรบั -จา่ ยให้เรยี บร้อย 2. ให้กลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต เป็นแกนกลางในการดาเนินกิจกรรมของธนาคารข้าว และ กิจกรรมยุ้งฉางโดยคณะกรรมการการบริหารกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต แต่งต้ัง

7 ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร จั ด ก า ร ธ น า ค า ร ข้ า ว ข้ึ น เ ป็ น ผู้ รั บ ผิ ด ช อ บ ด า เ นิ น ง า น ข้ึ น ต ร ง ต้ อ ค ณ ะ กรรมการบรหิ ารกลุ่มออมทรัพยเ์ พื่อการผลิต 3. หากท้องท่ีใดไม่มีกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต แต่มีการจัดต้ังธนาคารข้าวขึ้นแล้วให้ คณะกรรมการสภาตาบลแต่งต้ังคณะกรรมการจัดการธนาคารข้าวขึ้นดาเนินการข้ึนตรงต่อ คณะกรรมการหมู่บ้าน และคณะกรรมการสภาตาบล ตามลาดับ หากภายหลังได้จัดต้ังกลุ่ม ออมทรัพย์เพื่อการผลิตข้ึนแล้วให้คณะกรรมการจัดการธนาคารข้าวรับผิดชอบข้ึนตรงต่อ คณะหรรมการบริหารกลมุ่ ออมทรัพยเ์ พอ่ื การผลิต 4. ให้นาเงินกองทุนท่ีมีผู้บริจาค จัดซ้ือข้าวใส่ฉางข้าว หากยังมีเหลือให้นาฝากธนาคารกรุงไทย ในบัญชีสะสมทรัพย์ของกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต และจัดทาบัญชียอดเงินไว้ต่างหาก ใน กรณีไม่มีกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลติ ใหฝ้ ากไว้ในนามของคณะกรรมการสภาตาบลเป็นบัญชี สะสมทรัพย์ไปกอ่ น 5. ผลกาไรท่ีได้จากดอกเบี้ยจะนามาแบ่งกันไม่ได้ แต่ต้องเก็บไว้เป็นกองทุนซื้อข้าวและการ ดาเนินงานกิจกรรมธนาคารขา้ ว 6. เม่ือดาเนินกิจกรรมธนาคารไปจนประชาชนในหมู่บ้าน ตาบล พ้นจากความทุกข์ยากและไม่ จาเป็นต้องสงเคราะห์ต่อไป ให้นาเงินกองทุนไปดาเนินกิจกรรมท่ีเป็นประโยชน์ต่อหมู่บ้าน ตาบล ตามมติของคณะกรรมการสภาตาบลโดยการปรึกษากับคณะกรรมการหม่บู า้ นทนุ ดาเนนิ งาน 1. รับบริจาคขา้ วสารและข้าวเปลือกจากประชาชน ขา้ ราชการ และองค์การต่างๆ 2. จัดทาบุญทอดผา้ ปา่ ข้าวเปลือกตามประเพณโี บราณท่ีเคยปฏบิ ตั ิกนั มา 3. จัดทาโครงการของบประมาณจากองค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์การสาธารณกุศลต่างๆ เช่น สโมสรโรตาร่ี 4. รบั ฝากขา้ วจากผู้มีจิตศรทั ธาโดยคิดหรือไมค่ ดิ ดอกเบี้ยให้ผฝู้ ากตามแต่จะตกลงกัน 5. กลุม่ ออมทรัพย์เพ่ือการผลติ จา่ ยเงนิ บางสว่ นโดยไมค่ ดิ ดอกเบี้ยมาเป็นทนุ สารองซ้ือขา้ ว และ เม่ือดาเนินการไปแล้วมีเงินทุนเพียงพอก็ใช้เงินสารองคืนแก่กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลติ หรือ กล่มุ ออมทรัพยเ์ พื่อการผลิตจะใชเ้ งินทนุ สาธารณะมาบรจิ าคให้ธนาคารข้าวก็ได้ 6. นาผลประโยชน์ที่ได้รับจากการให้กู้ข้าวมาใช้เป็นทุนดาเนินการให้การจัดเก็บดูแลรักษาข้าว ในฉาง และให้ผู้ขาดแคลนข้าวได้ขอข้าวไปบริโภคโดยไม่คิดดอกเบ้ีย หรือโดยการแลก แรงงานหรือนาไปบริโภคหรือทาพันธุ์แล้วส่งใช้คืน จะโดยไม่มีดอกเบ้ียหรือมีดอกเบ้ียก็ได้ แล้วแต่ฐานะของผู้กู้ ซ่ึงกรรมการอานวยการกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต จะเป็นผู้พิจารณา นาเสนอคณะกรรมการหมบู่ ้าน และคณะกรรมการสภาตาบล

8คณะกรรมการดาเนนิ งาน ในกรณีท่ีตาบลยังไม่ได้จัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์ฯ แต่ได้จัดสร้างฉางเพื่อเก็บข้าวไว้ดาเนิน กจิ กรรมธนาคารขา้ วแล้ว ใหด้ าเนินการดงั น้ี 1. ให้คณะกรรมการสภาตาบล จัดต้ังคณะกรรมการจัดการธนาคารข้าวข้ึน ประกอบด้วย ตัวแทนจากหม่บู ้านต่างๆ ในตาบลรับผิดชอบดาเนินงานธนาคารข้าว การดาเนินงานใดๆ ให้ ขนึ้ ตรงต่อคณะกรรมการสภาตาบลโดยตรง 2. การอนุมัติให้กระทาการใดๆ คณะกรรมการจัดการธนาคารข้าวปรึกษาหารือกับ คณะกรรมการหมบู่ ้าน เพอื่ ขอความเห็นชอบและต้องเสนอขออนุมัตจิ าก คณะกรรมการสภา ตาบล 3. ในกิจกรรมธนาคารข้าว การท่ีคณะกรรมการจัดการธนาคารข้าว พิจารณาว่าการจะให้ความ ช่วยเหลือทั้งด้านการสงเคราะห์ (ฟรี) ให้ยืม (ไม่มีดอกเบ้ีย) หรือ ให้กู้ (มีดอกเบี้ย) ข้าวแก่ ผู้ใด หากเป็นคนในหมู่บ้านท่ีฉางข้าวตั้งอยู่ให้ คณะกรรมการหมู่บ้านเป็นผู้อนุมัติแล้วแจ้ง คณะกรรมการสภาตาบล เพือ่ ทราบ 4. ถ้าหากพิจารณาให้การช่วยเหลือแก่บุคคลที่อยู่ต่างหมู่บ้านท่ีฉางข้าวตั้งอยู่ หรือต่างตาบล หรอื มาจากท่อี ่ืน ให้คณะกรรมการสภาตาบลพจิ ารณาอนมุ ตั ิดว้ ย ภายหลังได้มีการจัดต้ังกล่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตขึ้น จึงให้คระกรรมการบริหารกลุ่ม ออมทรัพย์เพ่ือการผลิตเข้ารับผิดชอบเรื่องกิจกรรมธนาคารข้าว และหากสามารถขยายกิจกรรม ออกไปเป็นกิจกรรมยุ้งฉางและดาเนินการเพ่ือการค้าก็ให้กระทาได้ โดยคณะกรรมการธนาคาร ข้าวทแี่ ตง่ ตง้ั ไวแ้ ล้วรบั ผดิ ชอบกจิ กรรมยงุ้ ฉาง และดาเนนิ การทกุ ขั้นตามขอ้ ตอ่ ไปน้ี ในกรณีท่ตี าบลนัน้ ได้มกี ารจดั ตั้งกลุม่ ออมทรัพย์เพ่ือการผลติ แล้ว ใหด้ าเนนิ การดงั น้ี 1. ให้คณะกรรมการบริการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตเป็นผู้รับผิดชอบดาเนินงาน โดยตั้ง คณะกรรมการจดั การธนาคารข้าว หรือย้งุ ฉางข้นึ คณะหนงึ่ ประกอบดว้ ยตวั แทนจากหมู่บ้าน ตา่ งๆ ในตาบลทาหนา้ ทีเ่ ปน็ “คณะจดั การ” เร่อื งธนาคารข้าวหรอื ยุ้งฉาง 2. การอนุมัติให้กระทาการใดๆ คณะกรรมการจัดการธนาคารข้าวต้องเสนอขออนุมัติจาก คณะกรรมการอานวยการกลมุ่ ออมทรัพยเ์ พ่ือการผลิต

9 3. ในกิจกรรมธนาคารข้าว การที่คณะกรรมการจัดการธนาคารข้าวพิจารณาว่าจะให้การ สงเคราะห์ (ฟรี) ให้ยืม (ไม่มีดอกเบ้ีย) หรือ ให้กู้ (มีดอกเบี้ย) ข้าวแก่ผู้ใดแล้ว ให้นาเสนอ คณะกรรมการอานวยการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต คณะกรรมการอานวยการกลุ่มออม ทรัพย์เพื่อการผลิตจะต้องประชุมหารือกับคณะกรรมการหมู่บ้านทผ่ี ู้รับบรกิ ารธนาคารขา้ วมี บ้านเรือนต้ังอยู่ ถ้าหากให้แก่บุคคลอยู่ต่างตาบลหรือมาจากท่ีอ่ืน ต้องให้คณะกรรมการสภา ตาบลพิจารณาอนุมตั ิดว้ ยการเงินของธนาคารข้าว 1. ในกรณีทีย่ ังไมไ้ ด้จัดตง้ั กลุม่ ออมทรัพย์เพ่ือการผลิต 1) ให้คณะกรรมการจัดการธนาคารข้าวเป็นผู้ดาเนินการนาเงินทุนหมุนเวียน หรือเงินทุน อ่นื ๆ ไปดาเนนิ การซอ้ื ข้าว โดยตอ้ งไดร้ ับอนมุ ตั จิ ากคณะกรรมการสภาตาบล 2) ทุนท่ีเหลือให้นาฝากธนาคารกรุงไทยในบัญชีสะสมทรัพย์ของคณะกรรมการสภาตาบล โดยมีกรรมการรับผิดชอบ 3 คน คือประธานคณะกรรมการสภาตาบลและกรรมการ จัดการธนาคารขา้ วอกี 2 คน 3) การอนุมัติให้ดาเนินการใดๆ ท่ีเกี่ยวกับการเงินต้องเสนอขออนุมัติต่อคณะกรรมการสภา ตาบล ทกุ ครั้ง 2. ในกรณที ี่ได้จดั ตงั้ กลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิตแล้ว 1) ให้คณะกรรมการจัดการธนาคารข้าวเป็นผู้ดาเนินการนาเงินหมุนเวียนหรือเงินทุนอ่ืนๆ ไปดาเนินการซ้ือข้าวโดยต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการอานวยการกลุ่มออมทรัพย์ เพ่อื การผลิต 2) เงินที่เหลือให้นาฝากธนาคารกรุงไทย โดยให้กรรมการผู้รับผิดชอบนาเงินฝากและเบิก จ่ายเงินจากธนาคารของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตเป็นผู้นาฝาก โดยฝากไว้ในบัญชี สะสมทรพั ยข์ องกล่มุ ออมทรัพย์เพื่อการผลติ และใหจ้ ัดทาบัญชแี ยกไวต้ า่ งหาก 3) การอนุมัติให้ดาเนินการใดๆ ท่ีเกี่ยวกับการเงินต้องเสนอขออนุมัติจากคณะกรรมการ อานวยการกลุม่ ออมทรพั ยเ์ พอื่ การผลิต ทกุ ครัง้

10การแกไ้ ขเปลีย่ นแปลงระเบียบตา่ งๆ การแก้ไขระเบียบควรเป็นเรื่องของคณะกรรมการสภาตาบลในกรณีท่ียังไม่ได้จัดต้ังกลุ่มออม ทรพั ยเ์ พอื่ การผลิต และให้เป็นเรอ่ื งของคณะกรรมการบริหารของกลุ่มออมทรพย์เพ่ือการผลิตในกรณี ท่ไี ด้จัดตัง้ กล่มุ ออมทรพั ย์เพ่ือการผลติ เเล้ว เเละเสนอคณะกรรมการสภาตาบลเพอ่ื ทราบผ้รู ับผดิ ชอบการดาเนินงาน ผู้รับผิดชอบการดาเนินการให้เป็นไปตามระเบียบควรเป็นประธานกรรมการสภาตาบลในกรณีที่ยังไม่ได้จัดต้ังกบุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต และควรเป็นประธานกรรมการบริหารกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิตในกรณีท่ไี ดจ้ ัดตงั้ กล่มุ ออมทรัพย์เพ่ือการผลิตเเลว้เเนวทางปฏิบัติรว่ มกับกจิ กรรมยุง้ ฉาง 1. ฉางข้าวท่ีกาลังสร้างข้ึน สามารถเเบ่งออกเป็น2ส่วน ส่วนหน่ึงเป็นการเก็บข้าวสะสมไว้ทา กจิ กรรมธนาคารข้าว อีกส่วนหน่งึ เก็บข้าวหรือพืชผลอื่นไว้จาหน่ายแบง่ ปันผลกาไรในรูปของ กิจกรรมยุ้งฉาง โดยผลกาไรต้องเเบ่งปันแก่สมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต ทุกคนหรือ กรณีท่ียังไม่มีการต้ังกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ก็ให้เเบ่งกันในหมู่ผู้ท่ีมีทะเบียนอยู่ใน กิจกรรมยงุ้ ฉาง 2. ธนาคารข้าวหรือยุ้งฉางไม่ต้องมีสมาชิกแต่ให้ทาเป็นทะเบียนผู้บริจาค ผู้ฝากข้าวเเละ ผู้รบั บริการจากธนาคารข้าว เเละในกรณยี ุ้งฉางให้มีทะเบยี นผู้ฝากขาย ขายฝาก ขายขาด ใน กรณที ี่มีกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตเเล้วถือว่าสมาชิกกบ่มุ ออมทรัพย์เพื่อการผลิตทุกคนเป็น ผรู้ บั ผิดชอบธนาคารขา้ งเเละยงุ้ ฉางข้าว หรอื พชื ผลอน่ื ทีเ่ ก็บไว้ในฉางน้ันๆ จากเเนวคิดทฤษฎีเเละเเนวทางปฏิบัติท่ีกล่าวมาเเล้ว ได้เเสดงให้เห็นว่า การดาเนินงานธนาคารขา้ ว มรี ปู เเบบการดาเนนิ งาน ดงั ปรากฎในแผนภาพท่ี 1

11ขอ้ ดีและข้อเสียของธนาคารข้าว หากกลุ่มใดสามารถดาเนินการได้บรรลุเป้าหมายท่ีวางไว้ ย่อมถือว่าเป็นข้อดีของธนาคารข้าวแลว้ แตว่ ่าธนาคารขา้ วแหง่ น้ันๆ วางเป้าหมายแบบใด กิจกรรมธนาคารขา้ วมปี ระโยชน์หลายประการ ดังน้ี ข้อดี คือธนาคารข้าวสามารถที่จะทาหน้าที่เป็นสถาบันสวัสดิการสาหรับชุมชนในชนบทได้ ในยามเจบ็ ป่วยสามารถกขู้ า้ วไปขายเพ่ือจ่ายค่ารักษาได้ ชว่ ยผ่อนปรนความเดือดร้อนในการตระเวนกยู้ ืมข้าวช่วงรอการเก็บเกี่ยวผลผลิตใหม่ และการจัดการและบริหารข้าวนั้นง่ายกว่าสินทรัพย์อ่ืนๆ ธนาคารข้าวยังชว่ ยปลุกจติ สานึกของชาวบ้านด้วยกนั เอง รวมทงั้ เปน็ บันไดกา้ วแรกที่มั่นคงในการกา้ วไปทากจิ กรรมอย่างอน่ื ๆ ขอ้ เสียของธนาคารขา้ วนน้ั อาจเกิดขึน้ จากผทู้ ากจิ กรรมขาดความเขา้ ใจถงึ เป้าหมายของกจิ กรรมเช่น หากทาธนาคารข้าวโดยไม่คานึงถึงโครงสร้างอานาจท่ีเหล่ือมล้ากันในชุมชน หรือระบบพวกพ้องธนาคารขา้ วอาจกลายเป็นเครอ่ื งมือในการเอารัดเอาเปรยี บกันในชมุ ชนธนาคารข้าวจะช่วยเหลือผู้ยากไรท้ ี่สุดในชุมชนไดห้ รือไม่ การริเร่ิมทาธนาคารข้าวนั้นจะเป็นไปในรูปแบบของการถือหุ้นสมาชิก ส่วนในการดาเนินการก็ตอ้ งมกี ารพบปะประชุมกันอยา่ งสม่าเสมอ ดังน้ันชาวบา้ นที่ยากจนที่สด เช่นพวกชาวนารบั จา้ งซ่งึ ไม่มีข้าวจะมาสมทบเปน็ คา่ หนุ้ ไม่มเี วลามารว่ มประชุม และไม่คอ่ ยเข้าถึงขอ้ มูลข่าวสาร เป้าหมายของธนาคารข้าวกลับมีขีดจากัดต่างๆ ท่ีขวางกั้นไม่ให้ผู้เดือดร้อนเหล่าน้ีเข้าถึงธนาคารได้ หลังจากที่ผลงานของธนาคารข้าวสามารถช่วยเหลือคนกลุ่มหน่ึงในชุมชนได้แล้ว แต่ยังลงไปไม่ถึงคนยากจนที่สุดในหมู่บ้าน ในหลายองค์กรจึงได้ถือเป็นภารกิจสาคัญในอนาคตท่ีจะต้องบรรลุเป้าหมายดังกล่าวนี้และการทีธ่ นาคารขา้ วจะช่วยเหลอื คนยากจนทส่ี ุดได้นัน้ ขน้ึ อยู่กบั ปัจจัยหลายประการ เช่น รูปแบบของการจัดธนาคารข้าว ธนาคารข้าวแบบเน้นสมาชิกภาพ ย่อมปิดก้ันโอกาสของคนยากจน ตอ้ งมีการขยับขยายบางส่ิงบางอย่างจากพน้ื ฐานเดิม เชน่ สมาชิกของธนาคารข้าวบางคนโอนสิทธิในการกู้ยืมของตนให้แก่คนจน เปิดโอกาสให้ลงทุนด้วยการใช้แรงงานทดแทนข้าว แบ่งข้าวส่วนหน่ึงไวใ้ ห้คนจน (แม้ไม่ได้เป็นสมาชิก) กู้ยืมโดยตรง ต้ังกฎว่าให้คนจนกู้ยืมก่อน สมาชิกโอนหุ้นบางส่วนให้คนจนเป็นตน้

12ธนาคารข้าว : สบิ ปีแห่งบทเรยี นท่ผี า่ นมา สิบปีท่ีผ่านมาให้บทเรียนแกเราว่า การก่อต้ังธนาคารข้าวนนั้ อาจไม่ใช่เรื่องยากเท่าการท่ีจะรักษาธนาคารขา้ วใหย้ ืนยาวต่อไปได้ การทีจ่ ะบรรลเุ ปา้ หมายนี้ต้องอาศัยความเข้าใจในองค์ประกอบหลายอย่างของธนาคารขา้ ว และตอ้ งฝ่าอุปสรรคแบบกลืนไมเ่ ข้าคายไม่ออกหลายๆ อยา่ ง เร่ิมตั้งแต่ความเข้าใจและรับรู้ถึงความหมายของการทาธนาคารข้าว เราะธนาคารข้าวอาจเป็นเคร่ืองมือแบบระบบทุนนิยมท่ีหว่านทุนเพ่ือเก็บผลผลิต หรืออาจหมายถึงองค์กรที่ช่วยเหลือกันและกันต่อมาต้องเข้าใจเก่ียวกับบทบาทและหน้าที่ของธนาคารข้าว ในการคัดเลือกสมาชิกเข้ามาทางานร่วมกันต้องมีหลักในการคัดคนมาเป็นสมาชิก ผู้นา คณะกรรมการ ไม่ใช่การคัดสมาชิกจากหลักทางเศรษฐกิจ(สมาชิกต้องมีข้าวมาลงหุ้นเท่าน้ัน) เพียงอย่างเดียวเท่าน้ัน โดยเพ่ิมหลกั ความเป็นมนษุ ย์ ได้แก่ จิตใจที่รกัในเพอ่ื นมนษุ ย์ สามารถทางานร่วมกับผ้อู ื่น ต่อมา ด้านการจดั การและบริหาร ผู้ดาเนนิ ธนาคารข้าวตอ้ งจัดสมดุลระหว่างการกู้ยืมข้าวแก่คนกลุ่มต่างๆ พร้อมกับต้องดาเนินการให้ธนาคารข้าวอยู่รอดไปได้ จุดนี้มีข้อคิดว่า การดาเนินงานของธนาคารข้าวน้ันไม่ใช่เพียงแค่การขยายกิจกรรมเพื่อผลกาไรทางวัตถุอย่างเดียวเท่าน้ัน แต่ต้องเน้นการจัดการกับมโนธรรมในจิตใจของสมาชิกด้วย และประสบการณ์จากธนาคารข้าวหลายๆแห่ง ได้ให้ความสาคัญกับขั้นตอนก่อนท่ีจะมีการดาเนินงานว่า จะต้องมีงานการตระเตรียมความคดิ ในมวลหมสู่ มาชกิ เสียก่อน อาจจะเป็นการพดู คุยกนั อย่างไม่เป็นทางการ การเสวนากนั การ “โส”กัน การทัศนศึกษาดูงาน เพราะย่ิงมีการเตรียมความคิดที่ดีเท่าใดก็น่าจะช่วยให้เกิดปัญหาน้อยลงในการดาเนนิ งาน และการพบปะพดู คุยปรึกษาหารือกันน้ี ดจู ะเป็นยาดาท่ีขาดเสยี มิได้อยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะจะเป็นการเตรียมการเพ่ือรับมือกับตัวแปรต่างๆที่อยู่นอกเหนือการควบคุมของมนุษย์ เช่น ภาวะฝนแล้งน้าท่วม หรือตัวแปรท่ีเกิดจากมนุษย์และสังคม เช่น ราคาผลผลิตท่ีไม่คงที่ จากการทางานร่วมกันปรึกษาหารือรว่ มกนั จะทาใหช้ าวบา้ นและนักพฒั นาได้เรียนรจู้ ิตใจของกันและกัน พรอ้ มท้งั คิดแนวแก้ไขเพื่อรวมจิตใจของแต่ละคนให้เป็นน้าหน่ึงใจเดียวกัน และสิ่งน้เี ป็นหลักประกนั ของการทาธนาคารข้าวที่ดียง่ิ ไปกวา่ จานวนข้าวหลายรอ้ ยเกวียนท่อี ยูใ่ นยุ้งเสียอกี และกล่าวให้ถึงทีส่ ุดแล้ว งานพัฒนาท่ีแทจ้ รงิ กม็ ิไดอ้ ยู่ทต่ี ัวกจิ กรรมธนาคารข้าวโดยตัวของมันเองหากแต่เป็นการพัฒนาด้านการเรียนรู้ท้ังของชาวบ้านและนักพัฒนา ซ่ึงคงจะประกอบทั้งการเพิ่มพูนความสามารถ และพฒั นาคณุ ธรรมควบคู่กนั ไป สบิ ปที ีผ่ า่ นไปเราพอจะประมวลข้อเรยี นรู้ได้ดงั นี้คือ

131. จาเป็นต้องมีรูปแบบธนาคารข้าวท่ีมีความหลากหลาย ท้ังน้ีเพราะความเป็นจริงในแต่ ละชุมชนมีความแตกต่างกัน ไม่ว่าจะเป็นความต้องการของชุมชน ธรรมชาติของแต่ละ ชุมชน สภาพเศรษฐกิจ โครงสรา้ งอานาจ และวฒั นธรรมในแต่ละท้องที่ กลมุ่ คนในแต่ละ แหง่ กต็ า่ งจิตต่างใจ ต่างวิธีการ แมแ้ ตศ่ กั ยภาพในการเพ่ิมปริมาณข้าว หรือวิธีการดาเนิน ธนาคารข้าวในแต่ละหมู่บ้านก็ไม่เหมือนกัน ข้อเท็จจริงอันนี้อาจจะเป็นปัญหาสาหรับ องค์กรของรัฐที่มีลักษณะค่อนข้างรวมศูนย์ และมีการวางแผนมาจากส่วนกลาง อย่างไร ก็ตามหากองค์กรของรัฐสามารถเอาชนะการท้าทายดังกล่าวได้ก็จะมีคุณูปการอย่างยิ่ง ตอ่ ประชาชนในชนบท2. หลักการสาคญั ของการทางานน้นั ต้องเรียนรู้มาจากส่ิงที่ชาวบ้านมี ตัวอย่างเชน่ การ จะกาหนดความชว่ ยเหลือจากภายนอกว่าจะสรา้ งยงุ้ ฉางหรือจะให้ข้าว กน็ ่าจะแล้วแตว่ ่า ชาวบ้านสว่ นนน้ั มีอะไรและขาดอะไร จะเกบ็ ออมเป็นข้าวหรือเป็นเงิน ก็นา่ จะแล้วแต่ว่า ชุมชนน้ันวิถีการผลิตแบบไหน จะเข้มงวดกับกฎระเบียบภายนอก หรือเน้นหนักมโน ธรรมในใจ กน็ า่ จะแลว้ แต่ชุมชนน้ันประกอบไปดว้ ยคนท่ีมศี ลี ธรรม หรอื เป็นทีช่ ุมนุมของ ถ่ินดาวร้าย และเม่อื ชุมชนมีวัฒนธรรมทยี่ ืดหยุ่นในเรื่องการลงโทษ ก็ต้องเร่ิมตน้ จากตรง น้ี แตถ่ ้าชุมชนเขม้ งวดเรื่องความรับผดิ ชอบตอ่ กลมุ่ กต็ อ้ งเริ่มตน้ จากตรงนนั้ เช่นกนั3. ในระหว่างท่ีธนาคารข้าวดาเนินไปน้ัน จะต้องมีการปรับเปลี่ยนยุทธวิถี ในขณะที่ จุดเริ่มต้นเป็นการทางานระหว่างนักพัฒนากับประชาชน ในข้ันต่อไป จะต้องให้มีการ ส่งผลสะเทือนระหว่างชาวบ้านกับชาวบ้านให้มากขึ้น ตัวอย่างท่ีได้ทามาแล้วก็คือการ จัดให้มีการทัศนศึกษาแลกเปล่ียนระหว่างชาวบ้านกับชาวบ้านเพ่ือให้เกิดความ หลากหลายทั้งในแนวคิดและแนวปฏิบัติดังกล่าวมาแล้ว แต่ในการปรับเปล่ียนยุทธวิถี ดงั กลา่ ว องค์กรพฒั นาจะตอ้ งมีการปรับเปลี่ยนบทบาทของตนเองให้เหมาะสมดว้ ย (เช่น เปลี่ยนกิจกรรมจากการฝึกอบรมโดยใช้วิทยากรจากภายนอก มาเป็นการสรุป ประสบการณ์จากการแลกเปลี่ยน เป็นต้น) การใช้ยุทธวิถีการส่งผลสะเทือนระหว่าง ชาวบ้านกับชาวบ้านน้ันดูจะเป็นวิธีการท่ีมีความเป็นไปได้ของการที่จะช่วยเหลือคนที่ ยากจนทส่ี ดุ ของชุมชนโดยอาศยั ความรว่ มมือจากคนในชมุ ชนเอง

14อนาคตของธนาคารขา้ ว : มีหรือไม่ และจะเป็นอย่างไร ตอ่ คาถามทวี่ ่าในอนาคตน้ัน จะยงั คงมีธนาคารข้าวอยู่อีกหรือไม่ มีบางเสียงทอี่ าศยั การวเิ คราะห์จากภายนอกระดบั มหภาคทคี่ าดการณ์วา่ เน่อื งจากวิถกี ารผลิตโดยเฉพาะด้านการเกษตรจะเปลี่ยนแปลงไป กล่าวคือ จานวนชาวนารายย่อยจะลดน้อยลง รูปแบบการผลิตจะเปล่ียนแปลงเป็นการทานาขนาดใหญ่ทใ่ี ช้เคร่ืองจกั รและแรงงานรับจ้าง และเมอ่ื น้นั “ธนาคารขา้ ว” ก็คงดารงอยู่ตอ่ ไปไมไ่ ด้ ในอีกด้านหน่ึง เสียงจากคนปลูกข้าวทานาเองก็ยังคงยืนยันว่าตราบใดที่คนไทยยังกินข้าวอยู่ตราบนั้นก็ยังคงต้องมีคนปลูกข้าวและยังจะต้องมีธนาคารข้าวอยู่ตลอดไป ทั้งน้ีเพราะกิจกรรมอย่างอื่นๆอาจจะมาทดแทนได้ยาก เพราะข้าวกับคนชนบทเป็นเร่ืองที่พูดกนั งา่ ยอยู่แล้ว ทัศนะทั้งสองน้ี เราก็คงต้องเปิดใจรับฟังไว้ทั้งสองข้าง อย่างไรก็ตาม ในอนาคตอันใกล้ๆสัก ๑๐ปีน้ี เราคาดว่าความม่นั คงของธนาคารข้าวจะยังมีอยู่ต่อไปไมน่ ้อย ทัง้ นเ้ี ห็นได้ทง้ั ในความม่ันคงแข็งแกร่งของธนาคารข้าวในเขตชนบท ส่วนในระดับมหภาค รัฐบาลก็ได้จัดเอาธนาคารข้าวเป็นแผนย่อยแผนหน่ึงในแผนการพัฒนาประเทศ อย่างไรก็ตาม หากในอนาคตอันยาวไกล ธนาคารข้าวจะสามารถดารงอยู่คู่กับแผ่นดินชนบทของไทยได้ ธนาคารขา้ วจาเปน็ ตอ้ งตอบคาถามสาคัญๆดังน้ีคอื 1. ธนาคารขา้ วจะสามารถตอบสนองความต้องการข้นั พน้ื ฐานของชาวบา้ นได้ โดยเฉพาะภารกิจ ขั้นพื้นฐานของธนาคารข้าวคือการแก้ปัญหาการอดข้าวในช่วงเวลาวิกฤต และในทานอง เดียวกันชาวบ้านท่ีดาเนินกิจกรรมน้ีก็จาเป็นต้องเข้าใจสาระและความหมายที่แท้จริงของ ธนาคารข้าวดังที่ไดก้ ล่าวมาแลว้ 2. กิจกรรมธนาคารข้าวจะต้องเชื่อมโยงกับกิจกรรมอื่นๆ กล่าวคือ การทากิจกรรมจะต้องไม่ หยุดหรือมีจุดจบในตัวเองอยู่ท่ีธนาคารข้าวเท่านั้น หากแต่จะต้องยึดถือเอาธนาคารข้าวเป็น บนั ไดขน้ั แรกทีจ่ ะกา้ วต่อไปยังกิจกรรมอืน่ ๆ (ดงั ท่ไี ดก้ ล่าวมาแล้ว) และในท้ายท่สี ุดกจ็ ะต้อง มีการจัดระบบเครือข่ายของกิจกรรมท้ังมวลโดยมีข้อเสนอแนะ ๒ แนวทางคือ ประการแรก เสนอให้กิจกรรมธนาคารข้าวเป็นกิจกรรมศูนย์กลางเหมือนกับก้านร่มกิจกรรมอื่นๆก็เป็น ส่วนประกอบปลีกย่อยอ่ืนๆ เหตุผลสนับสนุนข้อเสนอน้ีก็คือข้าวเป็นส่ือที่มีคุณค่าและมี ความหมายมากต่อชาวชนบท กิจกรรมใด ๆ ก็ตามจะริเร่ิมและดาเนินการให้ต่อเนื่องอย่าง สะดวกงา่ ยดายเท่ากับข้าวไม่มีอีกแล้ว ส่วนอีกขอ้ เสนอหนึง่ คิดว่าควรจะให้กิจกรรมธนาคาร

15 เงนิ เปน็ ศูนย์กลางมากกวา่ เพราะเงินเปน็ สง่ิ ที่แปรรูปได้ง่ายกวา่ จัดการและบรหิ ารไดส้ ะดวก กว่าข้าว ซึ่งต้องการการเก็บรักษา ต้องการยุ้งฉาง ต้องการการแปรรูป แต่ทว่าการทา กิจกรรมเก่ียวกบั เงนิ ๆ ทอง ๆ ก็ต้องระมัดระวังรอบคอบอย่างมากเช่นกนั 3. ขอบเขตของการครอบคลุมเป้าหมายของธนาคารข้าวในทางอุดมคติแล้ว ควรจะผนวกเอา คนทุกคนทุกกลุ่มในชุมชนเข้ามา เพราะย่ิงมีพ้ืนฐานกว้างขวางมากเท่าใด ก็ยิ่งมีหลักประกัน ความม่ันคงมากขึ้นเพียงนั้น ส่วนวิธีการท่ีจะรวมกลุ่มคนเข้ามานน้ั ก็อาจะใชว้ ิธีการตามแบบ ประเพณวี ฒั นธรรมท่ีเคยมอี ยใู่ นชุมชน หรือตามวธิ กี ารแบบสมยั ใหม่ผสมผสานเข้าไป 4. ในระยะยาว จาเป็นจะต้องมีการสร้างเครือข่ายขนาดใหญ่ขึ้นกว่าระดับหมู่บ้าน เช่น ชมรม ธนาคารขา้ วทกี่ ลา่ วมาแลว้ ทั้งน้เี พอื่ การหนุนชว่ ยกันเอง ในกรณที ี่เกิดฝนแลง้ หรือนาล่มใน ที่หน่ึงๆ ทั้งนี้อาจจะอาศัยเครือข่ายระหว่างชุมชนที่เคยมีอยู่แล้วเป็นรากฐานแล้วพัฒนาให้ ม่ันคงแข็งแรงขึ้น อย่างไรก็ตาม ก่อนที่จะมีการจัดตั้งเครือข่ายขนาดใหญ่ งานในกลุ่ม พ้นื ฐานยอ่ ยจะตอ้ งม่ันคงแขง็ แรงก่อน และจะต้องเข้าใจอยา่ งชดั เจนถึงเป้าหมายและทิศทาง ของการสร้างเครือขา่ ยดงั กลา่ ว 5. กลมุ่ ธนาคารข้าวจะต้องมศี ักยภาพในการเผชญิ หนา้ กับการเปลย่ี นแปลงใหม่ ๆ จากภายนอก ท่ีจะส่งผลกระทบเข้าไปถึงชุมชน เช่น การเปลี่ยนแปลงวิถีการผลิต การพัฒนาประเทศไปสู่ ความเป็นนิกส์ เป็นต้น ในการสร้างเสริมศักยภาพดังกล่าวนี้ กลุ่มธนาคารข้าวของชุมชน จาเป็นต้องทางานร่วมกับกลุ่มสนับสนุนจากภายนอกอันได้แก่ กลุ่มเพื่อนผู้มีน้าใจดีในทุก ๆ แห่ง ทุก ๆ สถานบันไม่ว่าจะเป็นรัฐหรือเอกชนก็ตาม ความสามารถของกลุ่มธนาคารข้าวใน อันที่จะสร้างความเข้าใจในงานพัฒนากับกลุ่มภายนอก และระดมความร่วมมือช่วยเหลือ จากภายนอกเป็นต้นทุนอันสาคัญพอ ๆ กับต้นทุนด้านวัตถุ ตัวอย่างท่ีอาจมองเห็นได้ก็เช่น กลุ่มธนาคารข้าวบางแห่งได้ข้าวจากหน่วยงานราชการ ได้ฉางข้าวจากการออกค่ายของ นักศึกษา ได้หุ้นจากคนท่ีพอมีฐานะในหมู่บ้าน เป็นต้น ในอนาคตเม่ือทางราชการได้มีการ นาเทคโนโลยีสมัยใหม่ เช่น เคร่ืองคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ การประสานความช่วยเหลือ ดังกล่าวก็อาจทาได้อย่างมีการวางแผน เป็นระบบและตอบสนองได้ตรงกับความต้องการ ของท้องถิน่ มากยง่ิ ขนึ้ ในท้ายที่สุดนี้ เราอาจจะกล่าวคาดการณ์ได้คร่าว ๆ วา่ เนือ่ งจากธนาคารข้าวเปน็ กลไกของชีวิตที่สาคัญที่สุดของประเทศเกษตรกรรมอย่างประเทศไทย ดังนั้น ธนาคารข้าวก็ยังคงจะต้องมีอยู่ต่อไปอีก

16ยาวนานอย่างแน่นอน แต่ส่ิงที่ไม่แน่นอนก็คือ ในอนาคตนั้นจะเป็นธนาคารแบบไหนเท่าน้ัน จะเป็นธนาคารข้าวแบบทนุ นยิ มหรือธนาคารขา้ วแบบคุณธรรมกันแน่ และในการน้ี แม้ว่าประชาชนท่ีเป็นผู้ทาธนาคารข้าวจะมีบทบาทชี้ขาดเป็นอย่างมาก อันเปรียบเสมือนผู้ท่ีออกแรงจ้าพายนาวาธนาคารข้าว แต่ทว่ากลุ่มนักพัฒนาท้ังภาครัฐและเอกชนก็มีบทบาทสาคัญอยู่ไม่น้อยในฐานะผู้คัดท้ายหางเสือเรือลานี้ พันธกิจที่สาคัญท่ีสุดของนักพัฒนาก็คือ การรักษาสมดุล อย่าให้โอนเอียงไปข้างใดข้างหน่ึงจนขาดความสมดุลระหว่างข้ัวทั้งสองในองค์ประกอบของธนาคารข้าว กลา่ วคอื นักพฒั นาจะต้องชง่ั นา้ หนักระหว่างการสะสมวัตถุ (ขา้ ว เงนิ ) กบั การสะสมน้าใจจติ ใจ ความเมตตา เสียสละ ระหวา่ งการขบคิดปญั หาดา้ นการจัดการภายในธนาคารข้าวกับการใชธ้ นาคารข้าวเป็นเวทีสาหรับสร้างสรรค์การเรียนรู้ และบ่มเพาะสานึกต่อชุมชน ระหว่างการช่วยตัวเองกับการช่วยเหลือผู้อื่น ระหว่างความสามารถกับคุณธรรมของสมาชิก ฯลฯ และในการนี้เราอาจจะต้องหันไปเก็บรับบทเรียนจากวฒั นธรรมชมุ ชนที่ส่งั สมประสบการณ์ของการจัดดุลตาชั่งเหลา่ นเี้ อาไวอ้ ย่างชาญฉลาด รปู แบบของธนาคารข้าวทีจ่ ะออกมาในอนาคต จะเป็นประจักษ์พยานถึงฝีมือของบรรดานายท้ายเรือท้ังหลาย และนี่คือบทเรียนบทต่อไป ผู้ท่ีมีส่วนร่วมในการทาธนาคารข้าวท่ีคงจะเกิดขึ้นอย่างหลากหลายในอนาคตนั้น เป้าหมายของการทาธนาคารข้าวแต่ละที่ก็คงจะเป็นตัวจัดแบ่งประเภทของธนาคารขา้ วน้นั ว่า เปน็ ธนาคารข้าวเพอ่ื อะไร และเพอื่ ใคร

17 ตวั อย่างธนาคารขา้ วธนาคารขา้ วแหง่ แรกของประเทศไทยภาพที่2 แสดงภาพท่ีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้เจ้าหน้าท่ีโรงการหลวงพัฒนาชาวเขานาข้าวสารพระราชทานไปให้ผู้ท่ีมีความจาเป็นยืมไปบริโภค ณ บ้านป่าแป๋ ตาบลแม่สะเรียง อาเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน กวา่ 40 ปีมาแลว้ ทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช พระราชทานพระราชทรพั ย์สว่ นพระองค์ ก่อตง้ั ธนาคารข้าวแหง่ แรกข้นึ ทจ่ี งั หวัดแม่ฮ่องสอน เพ่อื แกป้ ัญหาการขาดแคลนข้าวอุปโภค-บรโิ ภคของราษฎรบนพื้นทีส่ งู ตดิ ตามจากรายงาน ธนาคารข้าวแห่งแรกของประเทศไทย ก่อตง้ั ขึ้นเมอื่ ปี 2513 ทบี่ ้านปา่ แป๋ อาเภอแม่สะเรียงจังหวดั แมฮ่ ่องสอน ดว้ ยพระราชทรพั ยส์ ว่ นพระองค์ของ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช เพอ่ื แกป้ ัญหาการขาดแคลนข้าวของราษฎรชาวไทยภูเขาเผ่าลวั๊ ะในขณะนนั้ พ่อเฒ่าบือ ชาวเขาเผ่าล๊ัวะ ผู้เคยเฝา้ ทลู ละอองธลุ ีพระบาท เผยว่า ก่อนจะได้รับพระราชทานธนาคารข้าว ชาวบ้านประสบปัญหาขาดแคลนข้าวอย่างหนัก เน่ืองจากยุ้งขา้ วของหม่บู า้ นถูกไฟไหม้ ข้าวท่ีเกบ็ ไว้บรโิ ภคตลอดปเี สียหายทง้ั หมด ผนู้ าตอ้ งไปขอยืมข้าวจากหมบู่ า้ นใกล้เคยี งมาประทังชีวติ แต่ตอ้ งเสยี ดอกเบ้ียเป็นข้าวถงึ ร้อยละ 50 หากขอยืมขา้ วมา 100 ถัง จะต้องคนื ขา้ วถึง 150 ถงั ทาให้ปตี ่อๆมาชาวบ้านเหลือข้าวไม่พอบริโภค เมือ่ ทรงทราบจึงได้พระราชทานพระราชทรพั ย์สว่ นพระองค์ 20,000 บาทเปน็ ทนุ ตง้ั ตน้ เพ่อื ซื้อข้าวมาก่อต้ังธนาคารขา้ วขน้ึ เพอ่ื ใหร้ าษฎรหยบิ ยืม คิดดอกเบย้ี ต่า โดยให้ชาวบา้ น

18รว่ มกันดแู ลและได้เสด็จพระราชดาเนนิ ไปทรงเปิดธนาคารข้าวเม่ือวนั ที่ 1 มนี าคม 2513 และทรงรับสั่งว่า\"เปน็ ธนาคารขา้ วแหง่ แรกของโลก\" หลงั มีธนาคารข้าว ชาวบ้านปา่ แป๋ก็สามารถปลดหนีข้ ้าวที่ค้างกับหมู่บา้ นใกลเ้ คียงได้จนหมดตอ่ มาพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช ไดเ้ สด็จพระราชดาเนินไปทรงเยีย่ มราษฎรบา้ นปา่ แป๋อีกคร้งั ในปี 2524 ชาวบา้ นไดร้ วมตวั กันทลู เกลา้ ทลู กระหม่อมถวายเงนิ ก่อต้ังธนาคารข้าว 20,000บาท คืนพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช ได้พระราชทานต่อให้ผูน้ าหมู่บา้ นฮากไมเ้ หนือบา้ นฮากไม้ใต้แหง่ ละ 5,000 บาท และผนู้ าบ้านด้ง 10,000 บาท เพ่ือกอ่ ตัง้ ธนาคารข้าวขึ้นในหม่บู ้าน โดยใช้ธนาคารข้าวบ้านปา่ แปเ๋ ปน็ ต้นแบบ จากวนั นน้ั เปน็ ตน้ มาราษฎรบนพื้นทีส่ งู ของจังหวดั แมฮ่ ่องสอน กไ็ ม่ประสบปญั หาขาดแคลนข้าวอีกเลย ถือเป็นพระมหากรณุ าธิคุณหาทส่ี ดุ มิได้ ปัจจุบนั ธนาคารขา้ วแหง่ แรก ยังคงดาเนินกิจการอยู่ เพื่อช่วยเหลอื ราษฎรในยามทขี่ าดแคลน ถือเปน็ สายพระเนตรอันยาวไกล ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช ที่ทรงหว่ งใยเรอ่ื งปากท้อง อันเปน็ จดุ เร่มิ ต้นของชวี ติ และใหค้ วามสาคญั กบั ข้าว อาหารหลักที่หล่อเล้ยี งราษฎรทั้งแผ่นดินธนาคารขา้ วบ้านปกั ค้มุ ศูนย์ฯจันทบรุ ี รายละเอยี ดโครงการธนาคารขา้ วบา้ นปักคุ้ม บ้านปักคุ้มต้ังยู่ท่ีหมูท่ี 6 ตาบลท่าเกวียน อาเภอวัฒนานคร จังหวัดปราจีนบุรี ผู้รับผิดชอบโณงการน้ีคือ ผู้ใหญ่บ้าน ชื่อคาดี หมู่บ้านนี้มีประชากรท้ังหมด 50 ครอบครัว โดยแบ่งเป็น ทาไร่ 50% ทานา50% ชาวบ้านบางส่วนจะออกไปรับจ้างเพ่ือหารายได้เสริม และมีการทาไร่ห่างจากอาเภอวัฒนานครจานวน 15 คน การคมนาคมไม่ค่อยสะดวก สภาพดินเป็นทรายปนลูกรัง ทาให้ผลผลิตทางการเกษตรต่าเกษตรกรมีรายได้ต่ามาก ปัญหาที่หนักสาหรับชาวบ้าน คือ วัฏจักรของการผลิตที่ผูกขาดกับเถ้าแก่ ซ่ึงชาวบ้านถือว่ามีบุญคุณกับชีวิต เม่ือเกิดปัญหาภัยแล้ง-น้าท่วม ผลผลิตทางการเกษตรจะเสียหายท้ังหมดสมาชิกธนาคารขา้ วบางครอบครวั ตอ้ งเชา่ พน้ื ทที่ ากนิ ไม่มเี ครือ่ งมอื ในการประกอบอาชีพเลย ปญั หาของหมบู่ ้าน คือ การผูกขาดราคาผลผลิต เน่ืองจากหนสี้ ินท่ียมื พ่อคา้ นายทุน พร้อมท้งั ภัยธรรมชาติเป็นเหตุให้ชาวบ้านมภี าระหนส้ี นิ มากข้ึน บางปีตอ้ งยืมข้าวหรอื เงินเพ่อื ซือ้ ขา้ วบรโิ ภคในฤดทู างาน หรือตลอดทั้งปี ซ่ึงตอ้ งเสยี ดอกเบ้ียสูงคอื ยมื ข้าวสาร 1 กระสอบ ต้องเสยี ดอกเบี้ย 20 ถัง ข้าวเปลือกหรอื เงนิ 100 บาท ตอ้ ง

19เสียดอกเบ้ีย 20% ดังน้ันธนาคารข้าวจึงมีความจาเป็นต่อคนในชุมชนน้ีมาก พราะชาวบ้านเกือบทุกครอบครัว เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิต ไม่ว่าข้าว ข้าวโพด ส่วนมากจะขาย ส่วนท่ีเก็บไว้บริโภคมีน้อย จึงต้องยืมในฤดูทางาน เปา้ หมายของธนาคารขา้ ว เปา้ หมายโดยตรงของธนาคารข้าวบ้านปักคุ้มน้ัน เพ่ือแกป้ ัญหาการขาดแคลนขา้ วให้มีกนิ ตลอดปีไม่ยืม ที่ซึ่งต้องจ่ายดอกเบ้ียสูง เพื่อลดปัญหาหนี้สิน เพราะเม่ือมีข้าวบริโภคก็ไม่มีหนี้สินโดยทางอ้อมศูนย์ฯคาดว่าชาวบ้านจะมโี อกาสได้เรียนรู้หลกั ในการพึง่ ตนเองอย่างถูกต้อง และสามารถทางาน เพื่อแก้ไขปัญหาในหมู่บ้านร่วมกัน รวมท้ังมีอิสระในการประกอบอาชีพมากข้ึน คือ ไม่ต้องไปพึ่งเถ้าแก่นายทุนท้ังหมด ไมว่ า่ เรือ่ งบริโภคและการลงทุน และเปน็ การสง่ เสริมใหก้ าลังใจแก่สมาชิกในการประกอบอาชีพ มีข้าวกิน จะสามารถทางานไดเ้ ตม็ ที่ ผลประโยชนแ์ ละขดี จากัดของการกระทา ในระยะเริ่มแรกที่ต้ังธนาคารข้าว พบเพียงปัญหาเรื่องรวมทุนในการสร้างยุ้งฉาง แต่ก็สามารถแก้ไขได้โดยประธาน คอื ผใู้ หญบ่ า้ นออกทนุ ช่วยบางส่วน และงานดาเนนิ ไปได้ดีพอสมควร ผลประโยชน์ท่ีมองเห็นได้อย่างชัดเจนคือ สมาชิกในกลุ่มมีข้าวกินไม่ขาดแคลน และสามารถช่วยลดหนี้สินไปได้สว่ นหน่งึอยา่ งไรกต็ าม ขีดจากดั ของธนาคารขา้ วแห่งนีม้ อี ย่หู ลายประการคอื 1. เน่ืองจากสาเหตุการกู้ยืมน้ันมาจากหลายส่วน ท้ังการกู้ยืมเพื่อการบริโภคและการลงทนุ เพ่อื การเพาะปลูก ดงั นน้ั การมีธนาคารข้าวก็ช่วยไดเ้ พียงลดหนสี้ ินส่วนการบรโิ ภคเท่านั้น แต่ชาวบา้ นยังต้องกู้เงินมา เพอื่ ลงทนุ เพาะปลูก 2. ขีดจากัดในเร่ืองความเข้าใจต่อธนาคารข้าว โดยส่วนใหญ่แล้ว กลุ่มสมาชิกผ้ทู าโครงการ ธนาคารข้าวยังมองว่า ธนาคารข้าวมีไว้เพ่ือแก้ปัญหาเฉพาะหน้าในช่วงระยะขาดข้าว เทา่ นนั้ และยงั ไมค่ านึงถงึ ผลระยะยาว เช่น เรอ่ื งศกั ด์ศิ รีความเปน็ อิสระในการตดั สนิ ใจ 3. เนือ่ งจากชุมชนนี้อยู่กันอย่างกระจัดกระจาย เมือ่ คนที่ยากจนต้องมารวมกลุ่ม กต็ ้องการ เงอื่ นไขหลายอย่าง เชน่ ตอ้ งการเวลาในการประชุมพดู คุยกนั แตช่ าวบ้านมเี น้อื หาท่ีต้อง คานึงคือ ปญั หาปากทอ้ ง ลูกเมยี จากภาระการหากินประจาวันที่ต้องรบั ผิดชอบทาให้มา ทากจิ กรรมกลุ่มทาได้ไม่เตม็ ท่ี

20โครงการธนาคารขา้ วบา้ นเลตองคุ ความเป็นมา เมือ่ วันท่ี 13 ธ.ค.49 สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสดจ็ ฯ ทรงเยย่ี ม โรงเรยี น ตชด. บา้ นเลตองคุ และ ทรงเยย่ี มราษฎรบา้ นเลตองคุ ทรงทราบวา่ ราษฎรบางครอบครวั มีขา้ วไมเ่ พยี งพอในการบริโภค จงึ ทรงมีพระราชดาริ ใหจ้ ดั ตัง้ ธนาคารขา้ ว เพอ่ื แกไ้ ขปญั หาให้กับราษฎรวตั ถปุ ระสงค์ ภาพที่ 3 แสดงโครงการธนาคารขา้ วบ้านเลตองคุ1• เพอ่ื ช่วยเหลือราษฎรท่ีเดอื ดร้อนไม่มขี า้ ว หรือขาดแคลนข้าวบรโิ ภค• เพื่อใหร้ าษฎรสามารถกยู้ มื ข้าวเปลอื กจากธนาคารเพ่ือหมุนเวยี นความชว่ ยเหลือใน หมู่บา้ น• เพอื่ ใหร้ าษฎรมีความรเู้ กย่ี วกับการรักษา การจดั เก็บข้าวเปลอื กที่ถกู วธิ ี• เพอ่ื ให้ราษฎรไดเ้ รยี นร้วู ธิ ีการรวมกลุม่ อย่างเป็นระบบเป้าหมายราษฎรบา้ นเลตองคุ หมู่ท่ี 10 ต.แมจ่ นั อ.อุ้มผาง จ.ตาก จานวน 32 ครอบครัวระยะเวลาดาเนินงานในปี 2550 - 2552 รวม 3 ปีงบประมาณในการดาเนินงาน สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีพระราชทานเงิน จดั ซ้อื ข้าวเปลอื ก จานวน 600 ถงั ๆ ละ 50บาท เป็นเงิน 30,000 บาท เพือ่ เปน็ กองทุนหมุนเวียน กก.ตชด.34 สนับสนุนวสั ดุอปุ กรณ์ในการก่อสร้างฉางขา้ วเปน็ เงนิ 11,820 บาท ภาพที่ 4 แสดงโครงการธนาคารขา้ วบา้ นเลตองคุ2

21 ภาพท่ี 5 แสดงภาพทีพ่ ระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานขา้ วสาหรับใช้บรโิ ภคในระบบธนาคารขา้ ว สมาชิกนิคมสร้างตนเองพัฒนาภาคใต้ ณ ตาบลมาโมง กิ่งอาเภอสุคิริน อาเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส เป็นสมาชิกใหม่ที่เรม่ิ อพยพเข้าทามาหากินในพุทธศักราช ๒๕๒๑ ระหว่างท่ีสมาชิกรอผลผลติจากการปลูกข้าว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกะหม่อมพระราชทานข้าวสาหรับใช้บรโิ ภคในระบบธนาคารข้าว ตามพระราชดาริ เมื่อคราวเสด็จพระราชดาเนินไปทรงเยยี่ มนิคมสร้างตนเองพัฒนาภาคใต้ เม่อื วันที่ ๒ กันยายน พทุ ธศกั ราช ๒๕๒๑ อนึง่ ธนาคารข้าวตามพระราชดาริ ทมี่ อี ยูท่ ่วั ทุกภมู ิภาค ในปัจจุบนั ถึง ๗๘๙ แห่ง น้นั มหี ลายลักษณะ กลา่ วคอื บางแห่งได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานพระราชทรัพยส์ ่วนพระองค์เพื่อก่อสร้างยุ้งบางแห่งสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถน้อมเกล้าน้อมกะหม่อม ถวายเพื่อโดยเสด็จพระราชกุศล บางแห่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานอุปกรณ์บางส่วนเพ่ือการก่อสร้างบางแห่งหน่วยราชการ องค์กรต่างประเทศ หรือบริษัทห้างร้านน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวาย เพื่อโดยเสด็จพระราชกศุ ล

22 บทที่ 3 วิธกี ารดาเนินโครงงานวธิ ที ใ่ี ช้ในการศกึ ษาค้นคว้าเพอ่ื ดาเนนิ โครงงาน ใช้วธิ ีการวิจัยแบบเอกสาร โดยมขี น้ั ตอนการดาเนินโครงงาน ดงั นี้ ขน้ั ตอนการดาเนินโครงงาน 1. สมาชิกในกลุ่มประชุมในหัวข้อ “โครงการธนาคารข้าวในพระราชดาริ” รวมถึงแบ่งหน้าท่ีในการ ทางาน ได้แก่ สืบค้นข้อมูล รวบรวมข้อมูล และนาเสนอข้อมูลในรูปแบบของ Powerpoint และ วิดโี อ 2. นาขอ้ มลู ทีไ่ ด้จากการศึกษาค้นคว้ามาสงั เคราะหร์ ว่ มกัน เพอ่ื หาข้อมูลทีม่ ีความนา่ เชื่อถือมากท่ีสุด ทั้งข้อมูลท่ีมาจากแหล่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตและแหล่งข้อมูลท่ีมาจากหนังสือต่างๆรวมถึง วทิ ยานพิ นธ์ 3. จัดทารายงานเรือ่ งธนาคารข้าว โดยการนาเน้อื หาจากแหล่งข้อมลู ต่างๆมาสรปุ และทาให้เนื้อหามี ความนา่ สนใจและสามารถอ่านได้เข้าใจมากย่งิ ข้นึ 4. นาข้อมูลท่ีได้มานาเสนอผ่านโปรแกรม Powerpoint โดยมีการใช้ Pictogram เพ่ือให้ส่ือที่ นาเสนอสามารถดงึ ดูดความสนใจผอู้ า่ นได้ 5. จัดทาวีดีโอเพ่ือเผยแพร่ความรู้เก่ียวกับโครงการธนาคารโดยใช้หลักการวาดภาพการ์ตูนและเร่ง ความเรว็ วิดโี อรวมถงึ มกี ารอธบิ ายภาพประกอบเพื่อใหผ้ ชู้ มสามารถเข้าใจในโครงการธนาคารข้าว มากยงิ่ ขึ้นการสืบค้นข้อมูล ในการสบื คน้ ข้อมูล ผจู้ ดั ทาได้สบื คน้ ข้อมูลจากแหล่งสารสนเทศ 2 แหลง่ คือ 1. แหล่งสารสนเทศอนิ เทอรเ์ น็ต • เคร่อื งมอื ที่ใชใ้ นการสืบค้น คือ search engine แบบ keyword index คือ www.google.co.th โดยมีคาทีใ่ ช้สืบค้น ดงั ต่อไปน้ี o โครงการธนาคารข้าว

23 o ธนาคารขา้ ว o ธนาคารแหง่ แรกของประเทศไทย o ธนาคารขา้ วปจั จุบนั2. หอ้ งสมดุ “แสงเทียน” มหาวิทยาลัยนเรศวร • เครื่องมือที่ใช้ในการสบื คน้ คือ WebOPAC โดยใช้ ชื่อเรอื่ ง “โครงการธานาคารขา้ ว” และ “โครงการในพระราชดาริ” • หนงั สอื ท่เี ลือกมาใช้อา้ งองิ ได้แก่ o หนงั สอื ชีวติ ข้าว ชวี ติ คน “ธนาคารข้าว” โดยสภาคาทอลิกแห่งประเทศไทยเพ่ือ การพฒั นา o สมุดภาพโครงการตามพระราชดาริแผนการดาเนนิ โครงงาน ระยะเวลาในการดาเนนิ งานข้นั ตอนการดาเนินงาน ตลุ าคม กนั ยายน พฤศจิกายน (สัปดาห์) (สปั ดาห์) (สัปดาห์) 1 2 3 412341 2341.สมาชกิ ในกลุม่ ประชุมและแบ่งหน้าท่ดี าเนินงาน2.รายงานผลการศกึ ษาค้นคว้า(รายงานความคบื หนา้ ของโครงการ)3.วเิ คราะหเ์ นอื้ หาท่ไี ด้จากการคน้ ควา้ และสงั เคราะหเ์ นื้อหาลงในรูปเล่มรายงาน4. จดั ทา Powerpoint เพ่อืนาเสนอข้อมูล5.จัดทาวิดโี อ6.นาเสนอโครงการธนาคารข้าว

24 บทที่ 4 ผลการศึกษาคน้ คว้า จากการศึกษาข้อมูลเก่ียวกับธนาคารข้าวเพ่ือจัดทาสื่อเผยแพร่หรือให้ความรู้เก่ียวกับโครงการธนาคารข้าวตามแนวพระราชดาริ ผู้จัดทาได้เข้าใจความหมาย ความเป็นมาของโครงการ วัตถุประสงค์ของโครงการ หลักการจัดต้ังโครงการ การดาเนินกิจกรรมธนาคารข้าว ตลอดจนข้อดี-ข้อเสียของธนาคารข้าว อีกทั้งยังได้ข้อมูลเก่ียวกับการนาโครงการธนาคารข้าวไปใช้ในพ้ืนที่ต่าง ๆ ของประเทศ ตัวอย่างเชน่ธนาคารขา้ วบา้ นปกั คุ้ม ศูนย์ฯจนั ทบุรี ซึง่ ขอ้ มลู ท่ไี ด้ประกอบไปด้วยรายละเอียดของโครงการ ปญั หาของหมู่บ้าน เป้าหมายของธนาคารข้าว และผลประโยชน์และขดี จากัดของการกระทา นอกจากน้ีการจัดทาส่ือเผยแพร่หรือให้ความรู้ยังทาให้คนท่ัวไปได้เข้าใจและตระหนักถึงความสาคัญของโครงการธนาคารข้าวด้วย

25 บทที่ 5 สรุปผลการศกึ ษา และข้อเสนอแนะสรุปผลการศึกษา ในการจัดทาโครงงานเร่ือง โครงการธนาคารข้าวในพระราชดาริ ผู้จัดทาได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากหนังสือ และเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ในการศึกษาครั้งนี้พบว่า ปัญหาความขาดแคลนของชาวบ้านถูกแก้ไขปัญหาอย่างย่ังยืน โดยได้รับความช่วยเหลือด้านทุนทรัพย์จากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เพื่อก่อตั้งธนาคารข้าวขึ้น ท้ังน้ีการจะก่อต้ังธนาคารข้าวขึ้นมาได้ ต้องอาศัยความร่วมมือกันในหลายฝา่ ย รวมถงึ คนในชมุ ชนด้วยประโยชน์ทีไ่ ดร้ ับ 1. ได้รบั ความรทู้ สี่ าคัญเกีย่ วกบั ธนาคารขา้ ว 2. ตระหนกั ถึงความสาคญั ของธนาคารข้าวต่อผคู้ นในชุมชน 3. ได้ตระหนักในการทางานเป็นหมู่คณะขอ้ เสนอแนะ 1. ควรจะมสี อื่ วีดที ัศนเ์ กี่ยวกับธนาคารข้าวในรูปแบบท่ีเขา้ ใจไดง้ า่ ย 2. จัดทัศนศึกษาไปยงั ธนาคารข้าวในพนื้ ทีใ่ กลเ้ คยี ง เพือ่ ศกึ ษาจากพ้นื ที่จริง

26ภาคผนวกรูปภาพหนงั สือท่ีใชใ้ นการอ้างองิ : ชวี ิตข้าว ชีวติ คน “ธนาคารข้าว”รูปภาพหนงั สอื ที่ใชใ้ นการอา้ งอิง : สมุดภาพโครงการตามพระราชดาริ

ประวตั ิผ้ดู าเนนิ โครงการ 27 ผูด้ าเนนิ โครงการ ประวัติ นายภาณพุ งศ์ พิพฒั นานิมิตร คณะแพทยศาสตร์ ปี 1 Email : [email protected] Phanuphong Phiphattananimit 1st year student at faculty of Medicine นางสาวภาวรินทร์ ชยั จิตติประเสรฐิ แพทยศาสตร์ ชั้นปที ี่ 1 E-mail:[email protected] Pawarin Chaijittiprasert 1st year medical student Faculty of Medicine Naresuan University นางสาวภาษิตา จันทร์เพญ็ แพทยศาสตร์ ปี 1 Email : [email protected] Pasita Junpen 1st year medical student Faculty of Medicine Naresuan University นายภูธิป ยาเภา แพทยศาสตร์ ป1ี email:[email protected] phoothip yapao 1st year medical student Faculty of Medicine Naresuan University นายภบู ดินทร์ แดงไฟ เเพทยศาสตร์ ปี 1 Email:[email protected] Phubordin Dangfai 1st year medical student Faculty of Medicine Naresuan University

28นายภรู ณิ ฐั แสงนา แพทยศาสตร์ ปี 1Email:[email protected] Sangna1st year medical studentFaculty of Medicine Naresuan Universityนางสาวมิกฑิตา แก่นจนั ทร์ แพทยศาสตร์ ปี 1Email : [email protected] Kaenchan1st year medical studentFaculty of Medicine Naresuan Universityนางสาวเมทนิ ี แซเ่ ฮง้ แพทยศาสตร์ ปี 1Email: [email protected] Sae-Heng1st year medical studentFaculty of Medicine Naresuan Universityนางสาวโยษิตา เยรบุตร แพทยศาสตร์ ปี 1Email: [email protected] Yerabut1st year medical studentFaculty of Medicine Naresuan University

29 บรรณานกุ รมพฒั พล ฉายบุญครอง. (2536). ลักษณะการมีส่วนรว่ ม ความรู้ และความคิดเหน็ ของชาวบ้านตอ่ ธนาคารข้าว. จงั หวดั กาฬสินธ์ุ. ปริญญานพิ นธ์ ศศ.ม., มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ มหาสารคาม, มหาสารคามสภาคาทอลกิ แหง่ ประเทศไทยเพือ่ การพัฒนา. (2533). ชีวิตขา้ ว ชีวิตคน “ธนาคารข้าว”. กรงุ เทพฯ: สานกั เลขาธกิ ารสภาคาทอลิกแห่งประเทศไทยเพอื่ การพฒั นา,สเุ มธ ตันติเวชกลุ , โกวิท วรพิพฒั น์, แมน้ มาส ชวลิต และวบิ ลู เพญ็ ชยั ปาณี. (2531). ธนาคารขา้ ว. สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนโดยพระราชประสงคใ์ นพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว. สบื คน้ เม่ือ 14 ตุลาคม 2560, จาก http://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=12&chap=9&page=t12-9-infodetail03.html.สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7. (1 พฤศจิกายน 2559). รายงานพิเศษ : ธนาคารขา้ วแห่งแรกของ ประเทศ. สบื คน้ เมอ่ื 28 ตุลาคม 2560, จาก http://www.ch7.com/watch/200051/.โครงการธนาคารขา้ วบ้านเลตองคุ ตามพระราชดาร.ิ สืบค้นเมื่อ 28 ตลุ าคม 2560, จาก http://bpp34.bpp.police.go.th/Project%20_2.html.สานักราชเลขาธกิ าร. (2525).สมดุ ภาพโครงการตามพระราชดาริ. กรุงเทพฯ; สานักราชเลขาธิการ.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook