Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการดำเนินงานศูนย์เรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจำตำบลบัวทอง

คู่มือการดำเนินงานศูนย์เรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจำตำบลบัวทอง

Published by กศน.ตำบลบัวทอง, 2020-09-30 11:55:05

Description: คู่มือการดำเนินงานศูนย์เรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจำตำบลบัวทอง

Search

Read the Text Version

ศนู ย์เรียนรูป้ รชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่ ประจาตาบลบวั ทอง Center for Sufficiency Economy Learning Philosophy and New Theory of Agriculture Bua Thong Sub-district



3

4

คำนำ กศน.ตำบลบัวทอง ได้ดำเนนิ โครงกำรศูนย์กำรเรียนร้ปู รชั ญำของ เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ ประจำตำบลบัวทอง เปน็ ศูนยก์ ลำงกำรเรียนรู้ของ นกั เรยี น นกั ศกึ ษำ ประชำชนในชมุ ชน และผ้ทู ่สี นใจ และเพือ่ สนองนโยบำยของรัฐบำล ดงั กล่ำว ศนู ย์นี้จะมีบทบำทในกำรให้ควำมรกู้ ับประชำชน ในกำรนำหลกั ปรัชญำของ เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่มำประยุกตใ์ ช้กับสถำนกำรณจ์ ริง เช่น กำรจัดปลกู พชื ชนิดใด ตอ้ งใช้เหตุผลคำนึงถึงควำมเหมำะสมกบั สภำพพื้นท่โี ดยใช้หลกั ของควำม พอประมำณเพือ่ ไดผ้ ลผลิตท่เี หมำะสม นอกจำกนใ้ี นกำรหำเลี้ยงชีพ ควรเสริมสร้ำง ภมู ิค้มุ กนั ในกำรปลกู พืชอยำ่ งผสมผสำน โดยศูนยเ์ นน้ ปลูกผักสวนครัว ปลอดสำรพษิ และ กำรเลี้ยงสตั ว์ควบคู่กนั ไปในพ้นื ท่เี พิ่มเติมเพื่อให้มีรำยได้ทดแทนกนั และสำมำรถหำควำมรู้ เพิม่ เติมจำกกำรประกอบอำชีพไดจ้ ำกแหลง่ ข้อมลู หนว่ ยงำนทเ่ี กีย่ วขอ้ ง เชน่ ด้ำน เทคโนโลยีกำรเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยครู กศน.ตำบลบัวทอง เป็น หนว่ ยประสำนและจดั กระบวนกำรเรียนรู้รว่ มกบั หนว่ ยงำนต่ำงๆในพื้นท่เี พือ่ เผยแพรอ่ งค์ ควำมรใู้ ห้เกิดกำรจดั กำรควำมรขู้ องชมุ ชน ในรูปแบบชุมชนศึกษำตำมหลกั ปรชั ญำของ เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ทีค่ นไทยควรยึดถือเปน็ แนวทำงเพื่อประยกุ ต์ใชใ้ น กำรดำเนินชีวติ อยำ่ งมีคณุ ภำพ อันเปน็ เป้ำหมำยในกำรพัฒนำไปส่ศู นู ย์เรยี นรูต้ ำมหลัก ปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจำตำบลตอ่ ไป..อย่ำงย่งั ยืน หนังสือเลม่ นีไ้ ดถ้ อดองค์ควำมรู้และภูมิปญั ญำของศูนยเ์ ครือข่ำย ปรำชญช์ ำวบำ้ น ประกอบไปดว้ ยองคค์ วำมรูแ้ ละภมู ิปัญญำทอ้ งถิ่น รวม ๘ ฐำนกำรเรียนรู้ ได้แก่ กำรปลกู ผกั สวนครัว กำรทำป๋ยุ หมกั อินทรยี ์ชีวภำพ กำรทำนำ้ ส้มควันไม้ กำรเพำะ เหด็ นำงฟำ้ กำรเลีย้ งไก่ดำ และไกพ่ ื้นบำ้ น กำรเลี้ยงปลำดุกในบอ่ ซีเมนต์ กำรเลีย้ งกบในบ่อ พลำสติก และองค์ควำมรู้ อืน่ ๆ กศน.ตำบลบวั ทอง ขอขอบคุณปรำชญช์ ำวบำ้ นทุกคนท่ไี ด้ ใหค้ วำมอนเุ ครำะหข์ ้อมูลทเ่ี ปน็ ประโยชน์ สุดทำ้ ยน้ี กศน.ตำบลบัวทอง หวังเปน็ อยำ่ งยิ่งวำ่ หนงั สือกำรดำเนินโครงกำรศูนยเ์ รยี นรูป้ รัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ ประจำตำบลบวั ทอง จะเป็นประโยชน์แก่เกษตรกรและผู้สนใจทวั่ ไป ในกำรนำไป ประยุกต์ใช้ให้เหมำะสมในกำรดำรงชีวติ ตำมแนวทำงกำรพฒั นำกำรเกษตรทฤษฎีใหมโ่ ดย ยึดหลกั ปรชั ญำเศรษฐกิจพอเพียง ผู้จดั ทำโดย 5 นำยวิเชียร วรรณโกษิตย์ ครู กศน.ตำบลบัวทอง ศนู ยเ์ รียนรูป้ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหมป่ ระจาตาบลบวั ทอง

สารบัญ คำนำ หนา้ สำรบัญ 5 6 บทนำ และควำมเป็นมำศนู ยก์ ำรเรยี นรปู้ รัชญำของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่ 7 - 24 ประจำตำบลบัวทอง แนวทำงกำรขบั เคล่ือนกจิ กรรมศนู ย์กำรเรียนร้ปู รัชญำของเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หม่ ประจำตำบลบัวทอง 25 - 64 กจิ กรรมผเู้ ข้ำเยยี่ มชมศูนย์ส่งเสริมพฒั นำประชำธิปไตยและกำรเลือกตั้งตำบลบัวทอง 65 - 110 แผนทีแ่ สดงจำนวนศนู ยก์ ำรเรยี นรู้ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หม่ 111 ประจำตำบล ทวั่ ประเทศ คณะผู้จดั ทำ 112

กว่า 40 ปีลว่ งมาแลว้ นับตง้ั แตป่ ีพุทธศกั ราช 2517 สานักงาน กศน.ประจาปีงบประมาณ 2559 ซึง่ ยึดเรอ่ื งของ ทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ไดพ้ ระราชทานหลกั ปรชั ญา ” ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงและปรัชญาคิดเป็น “ ทม่ี ี เศรษฐกจิ พอเพียงให้แกป่ วงชนชาวไทย เพือ่ เป็นหลักในการ เปา้ ประสงค์ ให้ชมุ ชนมีสว่ นรว่ มในการขับเคลื่อนกจิ กรรม การเรยี นรขู้ องชุมชน ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ดาเนินชวี ิตอย่างสมดุ ล และเทา่ ทันี กบั กระแสความ และปรชั ญาคิดเปน็ รวมถึงยุทธศาสตรใ์ นเร่ืองของการสร้าง เปลีย่ นแปลงของโลก ผลจากกระแสของระบบทุนนิยมที่ อุดมการณ์ รกั ชาติศาสน์ กษตั ริย์ และสร้างคา่ นิยมทีพ่ ึง หลั่งไหลมารวดเร็วเกนิ ไป ในขณะทค่ี นไทยยังขาดภมู ิคมุ้ กัน ประสงค์ ทม่ี ีจุดเนน้ การดาเนินงาน ในการสง่ เสริมการจดั ชีวิต ได้ทิ้งร่องรอยความบอบชา่ ไวใ้ นสังคมไทยแบบตั้งตัวไม่ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั เพื่สนับสนุน ทนั ชว่ งเวลานีจ้ ึงเป็นชว่ งรอยต่อสาคัญในการฟืน้ ฟูและรกั ษา โครงการอนั เนือ่ งมาจากพระราชดาริ หรือโครงการอัน สภาพของความเปน็ ไทย โดยการปลกู หัวใจคนไทยให้เกดิ เกย่ี วเนื่องจากพระราชวงศ์ และสง่ เสริมใหช้ มุ ชนจัดต้ัง ความสานึกรกั แผน่ ดินเกิดหวงแหนความเปน็ ชาติ สร้างความ หมบู่ า้ นเรยี นรู้ตามรอยพระยคุ ลบาท เพื่อเสริมสรา้ ง เปน็ ปึกแผ่น เปน็ น้าหนึ่งใจเดี่ยวกันของคนในชาติอีกคร้งั พล อดุ มการณต์ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงจากการที่ เอกประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรัฐมนตรี ไดแ้ ถลงนโยบาย คณะรฐั มนตรีไดม้ ีมติเมือ่ 18 กุมภาพนั ธ์ 2558 ในการกาหนด ตอ่ สถานตบิ ัญญตั ิแหง่ ชาติ ในการนาหลักปรัชญาเศรษฐกจิ แนวทางการรักษาความม่ันคงสถาบนั หลัก พอเพียงมาเป็นจดุ เนน้ ในยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ โดย ของชาติภายใตก้ ารปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี จดั ทาแผนยุทธศาสตร์บูรณาการการขับเคลือ่ นการพัฒนา พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยมอบหมายใหก้ ระทรวง ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง พ.ศ. 2557 - 2560 ศึกษาธกิ ารเป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลกั ในแนวทางที่ 1 คือ เพื่อใชเ้ ปน็ กรอบและแนวทางในการปฏิบัติงานร่วมกันและ การเสริมสร้างความรคู้ วามเข้าใจทถ่ี กู ตอ้ งเกย่ี วกับบทบาท การสง่ เสริมใหท้ ุกภาคสว่ น นาหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง และความสาคญั ของสถาบันพระมหากษัตริยต์ ่อสงั คมไทย มาใช้อย่างตอ่ เนื่องโดยยึดหลกั การสาคญั คือรู้จกั และมอบหมายให้กองอานวยการรักษาความมัน่ คงภายใน พอประมาณ มเี หตุมีผลและมีภูมคิ ุ้มกันบนพื้นฐานของความรู้ ราชอาณาจกั ร (กอ.รมน.) เปน็ หน่วยงานรับผิดชอบหลกั ใน คคู่ ุณธรรมสอดคล้องกับหลกั การพัฒนาตามพระราชดาริ แนวทางที่ 2 คือการส่งเสริมสนับสนนุ โครงการอัน เรอ่ื ง ” เขา้ ถึงเขา้ ใจ พัฒนา “ สอดรบั กบั หลกั ปรัชญาการ เนื่องมาจากพระราชดาริ และขยายผลออกไปในวงกว้างเพื่อ ดาเนินงานของ ประโยชน์ของ ศนู ยเ์ รยี นรูป้ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่ประจาตาบลบวั ทอง 7

ประชาชนกับแนวทาง ทางที่ 3 คอื การส่งเสริมการเรียนรู้ นักศกึ ษา กศน. และประชาชน ไดต้ ระหน่ีกรู้ เกดิ การพัฒนา หลักการทรงงานและแนวพระราชดารใิ หท้ ุกภาคส่วน คุณภาพชีวิตและเห็นความสาคญั ในความเป็ นชาติ ศาสนา สามารถประยุกตใ์ ช้ในการปฏบิ ัติงานและการดาเนิน และเทิดทนู สถาบันพระมหากษัตริย์ ส่งเสรมิ สนับสนุนการ ชีวติ น่ันคือจุดเริ่มต้นของ ” การขบั เคล่อื นศูนยเ์ รยี นรู้ จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ในหลกั การทรงงานและแนว เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หมป่ ระจาตาบล “ พระราชดารติ ลอดจนใหค้ วามรว่ มมอื ส่งเสรมิ ให้ ภายใต้ข้อตกลงความรว่ มมอื ระหว่างสานักงาน กศน. และกองอานวยการรักษาความม่ันคงภายใน สถานศกึ ษาไดม้ กี ารเรียนรู้ตามรอยพระยคุ ลบาทในชุมชน โดยประสานงานและใหค้ วามร่วมมอื กบั หน่วยงานท่ี ราชอาณาจักร (กอ.รมน.) โดยมวี ตั ถปุ ระสงคด์ ้านการ รกั ษาความม่นั คงสถาบนั หลกั ของชาตใิ หบ้ ุคลากรใน เกย่ี วข้องในพืน้ ทใี่ นการดาเนินงานขบั เคลอ่ื น เผยแพรอ่ งค์ สงั กดั สานักงาน กศน.ทุกระดับ และนักศึกษา ความรูใ้ หเ้ กิดการจัดการความรูข้ องชุมชนในรูปแบบชุมชน ศกึ ษา และสร้างเครือข่ายแหลง่ เรียนรูใ้ นระดับพืน้ ทีต่ าม ประชาชนได้ต ระหนักรูแ้ ละเกดิ ความภาคภมู ใิ จ ในการ ขยายผลโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ ตามหลัก หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ทคี่ นไทย ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและสปู่ ระชาชนอยา่ ง ควรยดึ ถอื เป็ นแนวทางในการประยกุ ตใ์ ช้ในการดาเนินชีวติ แพรห่ ลาย เพ่ือเข้าถงึ คุณคา่ และความสาคญั ของสถาบัน อยา่ งมีคุณภาพ อนั เป็ นเป้าหมายในการบรู ณาการความรู้ พระมหากษัตรยิ ข์ องประเทศไทยและการให้ความ ร่วมมือในการจัดต้ังหม่บู า้ นเรยี นรู้ตามรอยพระยคุ ลบาท ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ โดยใช้ กศน.ตาบล เป็ นฐานแบบมสี ่วนร่วม เพราะการทีจ่ ะพัฒนาประเทศอยา่ งย่งั ยนื ไดน้ ้ัน จาเป็ น ในการจดั กระบวนการเรียนรูอ้ ยา่ งต่อเน่ืองตลอดชวี ิต จะต้องมุง่ เน้นไปี ทกี่ ารมสี ่วนรว่ มของชุมชนเป็ นสาคญั เพือ่ ให้ประชาชนทุกชว่ งวัยมีโอกาสไดร้ ับการศกึ ษา ใหม้ ี สาหรับการเปิ ดศูนยเ์ รยี นรูป้ รชั ญาของเศรษฐกิจ ความรู้ ทกั ษะ ทีเ่ พียงพอตอ่ การดารงชวี ิต ประกอบอาชพี และปรบั ตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงไดอ้ ยา่ งเหมาะสม พอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หมป่ ระจาตาบล ใน เพ่อื ใหเ้ กดิ การพัฒนาสังคมและชุมชนอยา่ งตอ่ เนื่อง อันจะ พืน้ ที่กศน.ตาบล จานวน 7,424 แหง่ ท่ัวประเทศ นับเป็ น นาชุมชน สังคม และประเทศทีม่ คี วามม่ันคง ม่งั ค่ัง และ การเร่ิมต้นการขบั เคลื่อนนโยบายไปส่กู ารปฏบิ ัติพรอ้ ม กนั อยา่ งเป็ นทางการในวนั ที่ 13 มิถนุ ายน 2559 ” ศนู ย์ ย่งั ยนื ต่อไป” เราจะครองแผ่นดนิ โดยธรรม เพอ่ื เรยี นรู้ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎี ประโยชนส์ ุขแหง่ มหาชนชาวสยาม “ พระปฐม ใหมป่ ระจาตาบล “ จานวน 7,424 แหง่ ท่วั ประเทศ เกิดขึน้ เพ่อื สนับสนุนแนวทางในการเผยแพรอ่ งคค์ วามรู้ บรมราชโองการแห่งองค์ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว เป็ นเครอื่ งยนื ยนั ว่าในหลวงของปวงชนชาวไทยไมเ่ คย ตามหลกั การปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตร ทอดทิง้ ประชาชนของพระองค์ หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ ทฤษฎีใหม่ รวมท้ังหลักการทรงงาน เพื่อสร้างสานึก พอเพียงทพ่ี ระองคพ์ ระราชทานใหจ้ ะนาพาคนไทยทุกคนทง้ั ความหวงแหนสถาบันหลักของชาตแิ ละการพัฒนา ระดับปัจเจกระดบั ครอบครัว ชุมชน สังคม และ คุณภาพการจัดการเรียนรู้ในชุมชน ผ่านกลไกทาง ประเทศชาติใหเ้ จรญิ กา้ วหน้าไปสคู่ วามย่งั ยนื อยา่ งสมุดล การศึกษาของ กศน. โดยให้บุคลากร ศนู ยเ์ รยี นรูป้ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หม่ประจาตาบลบวั ทอง 8

ศนู ยเ์ รียนรูป้ รชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หม่ประจาตาบลบวั ทอง 9

ศนู ยเ์ รียนรูป้ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หม่ประจาตาบลบวั ทอง 10

ศนู ยเ์ รยี นรูป้ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หมป่ ระจา 11 ตาบลบวั ทอง

ศนู ยเ์ รยี นรูป้ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หมป่ ระจา 12 ตาบลบวั ทอง

ศนู ยเ์ รยี นรูป้ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หมป่ ระจา 13 ตาบลบวั ทอง

ศนู ยเ์ รยี นรูป้ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หมป่ ระจา 14 ตาบลบวั ทอง

ศนู ยเ์ รยี นรูป้ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หมป่ ระจา 15 ตาบลบวั ทอง

ศนู ยเ์ รยี นรูป้ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หมป่ ระจา 16 ตาบลบวั ทอง

ศนู ยเ์ รยี นรูป้ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หมป่ ระจา 17 ตาบลบวั ทอง

ศนู ยเ์ รยี นรูป้ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หมป่ ระจา 18 ตาบลบวั ทอง

ศนู ยเ์ รยี นรูป้ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หมป่ ระจา 19 ตาบลบวั ทอง

ศนู ยเ์ รยี นรูป้ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หมป่ ระจา 20 ตาบลบวั ทอง

ศนู ยเ์ รียนรูป้ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หม่ประจาตาบลบวั ทอง 21

ศนู ยเ์ รียนรูป้ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หม่ประจาตาบลบวั ทอง 22

โรงแรมเซ็นทรา ศูนยร์ าชการและคอนเวนชนั เซ็นเตอร์ แจง้ วัฒนะ - พล.อ.ประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานพิธีเปิดศนู ย์เรยี นรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตร ทฤษฎีใหม่ประจาตาบล เมือ่ วันจันทร์ที่ 13 มิถุนายน 2559 ณ หอประชมุ วายภุ ักษ์ ช้นั 4 โดย มี พล.อ.ดาวพ์ งษ์ รัตนสุวรรณ รฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ, พล.อ.สรุ เชษฐ์ ชยั วงศ์ และ นพ.ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ รัฐมนตรชี ่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ, ผบู้ ริหารกอง อานวยการรกั ษาความม่ันคงภายในราชอาณาจักร, เลขาธิการมลู นธิ ิชัยพัฒนา, เลขาธิการ คณะกรรมการพิเศษเพือ่ การประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดาริ, ผู้บริหารระดับสงู หน่วยงานภาครฐั , ผู้วา่ ราชการจงั หวดั , คณะกรรมการขบั เคลื่อนการดาเนนิ งานศูนย์เรยี นรู้ปรชั ญา เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจาตาบลระดับกระทรวง และระดบั ศนู ย์การศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย (กศน.) ในระดับจงั หวดั อาเภอ เขต และ กศน.ตาบล 7,424 แหง่ ทว่ั ประเทศ รวมท้งั ผแู้ ทนภาคีเครอื ข่ายภาครฐั และภาคเอกชนเข้าร่วม จดั โดยกองอานวยการรักษา ความมัน่ คงภายในราชอาณาจกั ร รว่ มกบั สานกั งาน กศน. เพือ่ ใหบ้ ุคลากรและนักศกึ ษา กศน. ตลอดจนประชาชนท่วั ไปไดต้ ระหนกั เกิดความภาคภมู ิใจในสถาบันหลักของชาติ และเปน็ การขยาย ผลโครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดารติ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสปู่ ระชาชนอย่าง แพรห่ ลาย ศนู ยเ์ รยี นรูป้ รชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหมป่ ระจา 23 ตาบลบวั ทอง

รมว.ศกึ ษาธิการ กลา่ วว่า ตามที่รฐั บาลได้น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั มาเปน็ แนวทางการบรหิ ารประเทศ โดยมุ่งเน้นการมีสว่ นร่วม ของประชาชนเพ่อื ให้ประเทศเกิดการพัฒนาอย่างมน่ั คงและยัง่ ยืนนั้น เพื่อใหเ้ ปน็ ไปตามนโยบายรัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการได้รว่ มกับกองอานวยการ รกั ษาความม่นั คงภายในราชอาณาจกั ร (กอ.รมน.) จัดตง้ั ศนู ยเ์ รียนรู้ปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หมป่ ระจาตาบลในทุกตาบล จานวน 7,424 แห่ง เพอ่ื ให้ชมุ ชนใชเ้ ป็นศูนย์การเรียนรเู้ รือ่ งหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว หลักการเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ โดยใช้ กศน.ตาบล ซึง่ กระจายอยู่ทวั่ ประเทศเปน็ ศนู ย์การเรยี นรขู้ องประชาชน พรอ้ มทงั้ จดั สรรครู กศน.ตาบล เพ่อื ทาหน้าท่สี ง่ เสรมิ การเรียนรตู้ ลอดชีวิตให้กบั ประชาชนอยู่แล้ว โดยเน้นหลักปรชั ญา เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ให้มากขนึ้ ศนู ยเ์ รยี นรูป้ รชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจา 24 ตาบลบวั ทอง

การขบั เคลอ่ื นและการการเรยี นรู้ ในศนู ยเ์ รียนร้ปู รชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่ ประจาตาบลบวั ทอง

ศนู ยเ์ รยี นรูป้ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หมป่ ระจา 26 ตาบลบวั ทอง

ศูนย์เรยี นรปู้ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่ ประจาตาบลบัวทอง ศนู ยก์ ารเรียนรปู้ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่ ประจาตาบลสานกั งาน กศน.ได้ลงนามบันทกึ ข้อตกลงกบั กองอานวยการรักษาความ ม่ันคงภายในราชอาณาจกั ร (กอ.รมน.)มีภารกิจทส่ี าคัญคือ ใหเ้ ป็นศูนย์กลางการ จัดการเรียนรู้ รวบรวม ขยายผล เชื่อมโยง สร้างเครือข่าย และเผยแพรอ่ งคค์ วามรู้ เกี่ยวกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่ และการเรียนรตู้ าม รอยพระยุคลบาทตามแนวพระราชดาริและหลกั การทรงงานของพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัว เพื่อให้เกิดการพฒั นาสงั คมและชมุ ชนอย่างตอ่ เนื่องมีความเข้มแข็งและ ยง่ั ยืน โดยบรู ณาการการทางานและประสานความรว่ มมือกับภาคี ศูนย์เรียนร้ปู รชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่ ประจาตาบลบัวทอง จัดตัง้ เมื่อวนั ที่ 13 มิถนุ ายน 2559 โดยศูนยเ์ รียนรู้ฯ ทจ่ี ัดตงั้ ขึ้น มีภารกิจ ดังตอ่ ไปนี้ 1. เปน็ ศนู ย์กลางในการจดั การเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตร ทฤษฎีใหม่ 2. เปน็ แหลง่ เผยแพรอ่ งคค์ วามรู้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎี ใหม่ 3. เปน็ แหลง่ ขยายผลการดาเนินงานและสร้างเครือข่ายในชุมชน ศนู ยเ์ รียนรูป้ รชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหมป่ ระจา 27 ตาบลบวั ทอง

วันที่ 13 มิถุนายน ๒๕๕๙ กศน.ตาบลบวั ทอง ไดร้ ับเกียรตจิ าก นายดารงชยั เนรมติ ตก พงศ์ ปลัดจงั หวัดบรุ รี ัมย์ มาเปน็ ประธานพธิ ี ในการเปดิ ศูนยเ์ รยี นรู้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตร ทฤษฎใี หม่ ประจาตาบลบัวทอง ศนู ยเ์ รียนรูป้ รชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมป่ ระจา 28 ตาบลบวั ทอง

วนั ที่ 13 มถิ ุนายน ๒๕๕๙ กศน.ตาบลบวั ทอง ได้รบั เกียรติจาก นายดารงชัย เนรมติ ตก พงศ์ ปลัดจงั หวดั บรุ ีรมั ย์ มาเปน็ ประธานพิธี ในการเปดิ ศูนยเ์ รยี นรู้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตร ทฤษฎใี หม่ ประจาตาบลบวั ทอง ศนู ยเ์ รยี นรูป้ รชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจา 29 ตาบลบวั ทอง

จดุ เริ่มตน้ แนวคิดเศรษฐกจิ พอเพียง เรม่ิ จำกตวั เองตอ้ งกำร ผลิตอำหำร ทป่ี ลอดสำรพษิ เนือ่ งจำกพืชผักเปน็ พชื อำหำรทค่ี น ไทยนยิ มนำ มำใช้รับประทำนกันมำกเนื่องจำกมีคณุ ค่ำทำงอำหำร ท้งั วิตำมินและแร่ธำตุต่ำงๆ ท่เี ป็น ประโยชน์ตอ่ รำ่ งกำยสงู แตค่ ่ำนิยมในกำรบริโภคผักนน้ั มกั จะเลือก บริโภคผกั ทส่ี วยงำมไมม่ ีรอ่ งรอย กำรทำลำยของหนอนและแมลงศตั รพู ชื จงึ ทำ ใหเ้ กษตรกรทป่ี ลูกผกั จะต้องใชส้ ำรเคมีป้องกนั และกำ จดั แมลงฉีดพ่นในปริมำณทีม่ ำก เพื่อให้ไดผ้ ักท่สี วยงำมตำมควำม ต้องกำรของตลำด เมือ่ เรำซือ้ นำ มำ บริโภคแลว้ อำจได้รับอันตรำยจำกสำรพษิ ทีต่ กคำ้ งอยู่ในพืชผกั นัน้ ได้เพือ่ เปน็ กำรแกป้ ัญหำดงั กลำ่ ว เกษตรกรจงึ ควรหันมำ ทำ กำรปลูกผักปลอกภัยจำกสำรพษิ โดยนำ เอำวิธีกำรปอ้ งกันและกำ จัด ศัตรพู ชื หลำยวิธีมำประยกุ ต์ใชร้ ว่ มกัน เปน็ กำรทดแทนหรอื ลดปรมิ ำณกำรใชส้ ำรเคมีให้นอ้ ยลง เพื่อ ควำมปลอดภัยของเกษตรกร ผู้บริโภคและสิ่งแวดลอ้ ม หลกั กำร 1. ยดึ กรอบความคดิ เศรษฐกิจพอเพยี ง 3 ห่วง 2 เงอ่ื นไข เป็ นสาระหลักในการ ดำเนินงำน 2. ใช้กระบวนการจัดการความรู้เป็ นวธิ ีการในการสร้างสรรคก์ ระบวนการเรยี นรู้ 3. ใช้ชุมชนเป็ นพนื้ ฐานการเรียนรู้ ท้งั ระดับตัวบุคคล และระดับชุมชน 4. ยดึ แนวการทางานโดยใช้การประสานเครือข่ายในพืน้ ที่ 5. ให้ความสาคัญกับบทบาทของครู กศน. ในการเป็ นผู้จัดการเรียนรู้ในชุมชนโดยเน้น เป็ นการจัดกจิ กรรมใหม่ 6. บริหารโดยครู กศน. เป็ นเจ้าภาพ ชุมชนเป็ นเจ้าของ เครือข่ายเป็ นเจ้ามือ วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื ขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งดา้ นการศกึ ษา เพอื่ ให้สถานศกึ ษาและ บุคลากรสามารถนาปรัชญาไปประยุกตใ์ ช้ในการบรหิ ารองคก์ ร บรหิ ารการศึกษา และพัฒนาผู้เรียนได้ อยา่ งเหมาะสมของแตล่ ะพนื้ ทส่ี ู่การดารงชีวิตของผู้เรียน ตลอดถงึ ครอบครัวและชุมชน 2. เพอื่ นาหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่ชุมชนโดยผ่านกระบวนการเรยี นรู้การศกึ ษา นอกโรงเรยี น 3. เพอื่ พัฒนาสถานศึกษาใหเ้ ป็ นศูนยก์ ลางการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพยี ง ศนู ยเ์ รียนรูป้ รชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หม่ประจา 30 ตาบลบวั ทอง

แนวทำงกำรดำเนินงำน ในการดาเนินงานขบั เคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชมุ ชน โดยกระบวนการ กศน. มี แนวทางดังนี้ 1. พัฒนาบุคลากร กศน. ใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจ และมีเจตคติเกี่ยวกับการ ดาเนินการขบั เคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชมุ ชน และสามารถนาสู่การปฏิบตั ิได้อย่าง เปน็ รูปธรรม 2. พัฒนาสถานศึกษา องคก์ รทกุ ระดับใหส้ ามารถนาปรชั ญาเศรษฐกิจสู่การปฏิบัติ ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 3. สามารถบรู ณาการปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงในกิจกรรมการเรยี นร้ทู กุ หลกั สูตร กศน.ทง้ั หลกั สตู รการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน บรู ณาการในหลกั สตู รวิชาชีพ ทักษะชีวิต 4. จัดกิจกรรมการเรียนร้ตู ามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยรปู แบบการเรียนที่ หลากหลาย เชน่ เรียนร้จู ากภูมิปัญญา ปราชญ์ ศกึ ษาตามโครงการพระราชดาริทใ่ี ห้ มีการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ จนสามารถนาสู่การปฏิบตั ิในชีวิตประจาวนั เปำ้ หมำย -ประชาชนในชุมชนมีคุณภาพชีวิตทด่ี ี มีความพอประมาณ ความมเี หตุผล การสร้าง ภมู คิ ุ้มกนั ความรอบรู้และความมีคุณภาพ -ประชาชนสามารถนาความรู้ ทไี่ ดร้ ับการอบรม นาไปประยุกตใ์ ช้ ในชวี ิตประจาวันได้ อยา่ งเหมาะสม ศนู ยเ์ รยี นรูป้ รชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจา 31 ตาบลบวั ทอง

1.ขอ้ มูลสภาพทว่ั ไป ศนู ย์เรียนรปู้ รัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ ประจาตาบลบวั ทอง ที่ต้ัง ศูนย์เรียนร้ปู รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่ ประจาตาบลบัว ทอง ต้ังอยบู่ ริเวณ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตาบลบัว ทอง กศน.ตาบลบัวทอง ทางทิศเหนือของอาเภอเมืองบรุ ีรัมย์ หา่ งจากที่ว่า การอาเภอเมืองบรุ ีรมั ย์ ประมาณ 8 กิโลเมตร โดยมีอาณาเขตดงั นี้ ทิศเหนือ จดตาบลบา้ นดา่ น กิง่ อาเภอบ้านดา่ น ทิศใต้ จดตาบลบา้ นยาง อาเภอเมืองบรุ ีรมย์ ทิศตะวนั ออก จดตาบลปราสาท กิ่งอาเภอบา้ นด่าน และตาบลโคก เหล็ก อาเภอหว้ ยราช ทิศตะวันตก จดตาบลกลันทา และตาบลชุมเหด็ อาเภอเมืองบรุ ี รมย์ ศนู ยเ์ รยี นรูป้ รชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่ประจา 32 ตาบลบวั ทอง

2.จุดเดน่ ลักษณะเฉพำะของ ศนู ยเ์ รียนรู้ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตร ทฤษฎใี หม่ ประจำตำบลบัวทอง ศนู ยเ์ รียนรูป้ รัชญำ ของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ ประจำ ตำบลบวั ทอง โดยแบ่งเปน็ ฐำนกำรเรียนรู้ที่นำเสนอ กำรประยุกต์หลกั ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพียงดำ้ น กำรเกษตร ทส่ี อดคล้องกับบริบทและสภาพแวดล้อม ของชุมชน โดย แบง่ เป็ นฐานการเรยี นรู้ จานวน 9 ฐาน การเรยี นรู้ ได้แก่ ศนู ยเ์ รียนรูป้ รชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมป่ ระจา 33 ตาบลบวั ทอง

ศนู ยเ์ รยี นรูป้ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หมป่ ระจา 34 ตาบลบวั ทอง

ศนู ยเ์ รยี นรูป้ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หมป่ ระจา 35 ตาบลบวั ทอง

ศนู ยเ์ รยี นรูป้ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หมป่ ระจา 36 ตาบลบวั ทอง

ศนู ยเ์ รยี นรูป้ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หมป่ ระจา 37 ตาบลบวั ทอง

ศนู ยเ์ รยี นรูป้ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หมป่ ระจา 38 ตาบลบวั ทอง

ศนู ยเ์ รยี นรูป้ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หมป่ ระจา 39 ตาบลบวั ทอง

ศนู ยเ์ รยี นรูป้ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หมป่ ระจา 40 ตาบลบวั ทอง

ศนู ยเ์ รยี นรูป้ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หมป่ ระจา 41 ตาบลบวั ทอง

ศนู ยเ์ รยี นรูป้ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หมป่ ระจา 42 ตาบลบวั ทอง

นายจาเรญิ มะโนบาล 43 ปราชญด์ า้ นการทาป๋ ยุ อินทรยี ช์ ีวภาพ หมทู ่ี 9 บา้ นหนองเพชร ตาบลบวั ทอง อ.เมือง จงั หวดั บรุ รี มั ย์ องคค์ วามร/ู้ ภมู ิปัญญาของปราชญช์ าวบา้ น - หมอดินประจาอาเภอ -การทาป๋ ยุ อินทรยี ช์ ีวภาพ -การปลกู ผกั สวนครวั ปลอดสารพิษ ศนู ยเ์ รยี นรูป้ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหมป่ ระจา ตาบลบวั ทอง -การขยายพนั ธพ์ ุ ืช

นายประกิต เจรญิ รมั ย์ ปราชญด์ า้ นการเล้ยี งกบ ในบ่อซีเมนต์ หรอื บ่อดิน หมทู่ ี่ 14 บา้ นสขุ สวั สดิ์ ตาบลบวั ทอง อ.เมือง จงั หวดั บรุ รี มั ย์ องคค์ วามร/ู้ ภมู ิปัญญาของปราชญช์ าวบา้ น - การเล้ียงสตั วน์ ้า -หมอดินตาบล ศนู ยเ์ รียนรูป้ รชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่ประจา 44 ตาบลบวั ทอง

นายสรุ จกั ร สรุ ยิ า ปราชญด์ า้ นการเล้ยี งปลาดกุ ในบ่อซีเมนต์ หมทู่ ่ี 5 บา้ นรนุ ตะวนั ออก ตาบลบวั ทอง อ.เมือง จงั หวดั บรุ รี มั ย์ องคค์ วามร/ู้ ภมู ิปัญญาของปราชญช์ าวบา้ น - การเล้ียงสตั วน์ ้า -การปลกู ผกั สวนครวั ปลอดสารพิษ - การปลกู ขา้ วอินทรยี ์ ศนู ยเ์ รยี นรูป้ รชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจา 45 ตาบลบวั ทอง

นายสมบรู ณ์ พนั ธศ์ รี ปราชญด์ า้ นการเล้ยี งไกพ่ นั ธไ์ุ ข่ หมทู่ ี่ 6 บา้ นหนองสรวง ตาบลบวั ทอง อ.เมือง จงั หวดั บรุ รี มั ย์ องคค์ วามร/ู้ ภมู ิปัญญาของปราชญช์ าวบา้ น - การเล้ยี งสตั วป์ ี กทกุ ชนิด ศนู ยเ์ รยี นรูป้ รชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหมป่ ระจา 46 ตาบลบวั ทอง

นางมนเทียน ใจรมั ย์ 47 ปราชญด์ า้ นการเพาะเห็ดนางฟ้ า หมทู่ ี่ 2 บา้ นไผ่ ตาบลบวั ทอง อ.เมือง จงั หวดั บรุ รี มั ย์ องคค์ วามร/ู้ ภมู ิปัญญาของปราชญช์ าวบา้ น - การเพาะเห็ดต่างๆ -การปลกู ผกั สวนครวั ปลอดสารพิษ ศนู ยเ์ รยี นรูป้ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจา ตาบลบวั ทอง

ศนู ยเ์ รียนรู้ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ เกษตรทฤษฎใี หมป่ ระจาตาบลบัวทอง น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาขบั เคลื่อน ใช้ หลกั ปรชั ญาคิดเป็น เปน็ เครือ่ งมือนาไปสู่การปฎบิ ตั เิ พื่อขายผลสู่ นักศึกษาและประชาชน เป็นกิจกรรมส่งเสริมกระบวนการเรยี นรู้ ให้ สอดคลอ้ งกบั วิถีชีวิต ของประชาชนในตาบลบัวทอง. ศนู ยเ์ รยี นรูป้ รชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หมป่ ระจา 48 ตาบลบวั ทอง

ศูนย์เรียนร้ปู รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ เกษตรทฤษฎใี หม่ประจาตาบลบัวทอง นอ้ มนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาขับเคลื่อน ใช้ หลกั ปรชั ญาคิดเป็น เป็นเครื่องมือนาไปสกู่ ารปฎบิ ตั ิเพือ่ ขายผลสู่ นกั ศกึ ษาและประชาชน เปน็ กจิ กรรมสง่ เสริมกระบวนการเรยี นรู้ ให้ สอดคล้องกับวถิ ีชวี ิต ของประชาชนในตาบลบวั ทอง. ศนู ยเ์ รยี นรูป้ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่ประจา 49 ตาบลบวั ทอง

ศนู ยเ์ รียนรู้ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ เกษตรทฤษฎใี หมป่ ระจาตาบลบวั ทอง น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาขับเคลื่อน ใช้ หลกั ปรชั ญาคิดเป็น เป็นเครือ่ งมือนาไปสู่การปฎิบัตเิ พือ่ ขายผลสู่ นักศกึ ษาและประชาชน เป็นกจิ กรรมส่งเสริมกระบวนการเรยี นรู้ ให้ สอดคลอ้ งกบั วิถีชีวิต ของประชาชนในตาบลบัวทอง. ศนู ยเ์ รียนรูป้ รชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจา 50 ตาบลบวั ทอง