Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประมวลโครงการในพระราชดำริ

ประมวลโครงการในพระราชดำริ

Published by กศน.ตำบลบัวทอง, 2022-06-27 14:01:18

Description: ประมวลโครงการในพระราชดำริ

Search

Read the Text Version

48 การแกไ้ ขปญั หานำ้ เสยี ทางการเกษตร พ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั   ทรงตระหนกั ดวี า่ อาชพี ทางการเกษตร  บางครั้งมีปัญหาที่ขัดแย้งกันอย่างเช่น  การทำนาเกลือสินเธาว์มีภาคตะวัน  ออกเฉียงเหนือมีผลกระทบต่อนาข้าว  เนื่องจากผู้ทำนาเกลือปล่อยน้ำเค็ม  จากนาเกลือหรือน้ำฝนท่ีชะล้างลาน  ตากเกลือ  ไหลลงสู่ลำน้ำสาธารณะ  ไปสู่พื้นที่ไร่นา  ทำให้ผลผลิตข้าวท่ี  ปลูกลดลงได้รับความเสียหายเป็น  อย่างมาก  นอกจากน้ีแล้วน้ำเค็มจากนาเกลือ  ยังไม่สามารถใช้ในการอุปโภคบริโภคได้  แต่การ  ทำนาเกลือก็เป็นอาชีพที่ทำรายได้ให้แก่เกษตรกรผู้ทำนาเกลือ  หากห้ามไม่ให้มีการทำจะเป็นที่  เดอื ดร้อน พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั จงึ ได้ทรงพระราชทานพระราชดำริ ถึงแนวทางการแกไ้ ขแก่  ผู้ทำนาเกลือให้สามารถดำเนินการต่อไปได้  โดยไม่มีผลกระทบต่อพื้นที่เพาะปลูกในบริเวณ  ใกลเ้ คยี ง ด้วยการให้ผู้ทำนาเกลอื จดั พน้ื ทส่ี ว่ นหนงึ่ บริเวณลานตากเกลอื ขุดเป็นสระเกบ็ น้ำสำหรบั   รองรับนำ้ เค็ม ท่ีปลอ่ ยทิ้งจากลานตากเกลอื ท้ังหมดเพ่ือรอการระเหยหรอื ไหลลงดนิ น้ำเคม็ ก็จะ  ไม่ไหลไปยังลำน้ำสาธารณะก่อความเดือดร้อนให้แก่นาข้าว  ชาวนาข้าวกับชาวนาเกลือจึงอยู่  รว่ มกนั ไดโ้ ดยไม่มปี ัญหาเกดิ ขน้ึ อีก ผทู้ ี่อาศยั อยู่ในพื้นที่ท่มี ีการทำนาเกลือก็มนี ้ำท่สี ะอาดเพอื่ การ  อุปโภคบรโิ ภคอยา่ งเพียงพอ สำหรบั ปญั หาในภาคใตโ้ ดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ พนื้ ทลี่ มุ่ นำ้ ปากพนงั ซง่ึ มปี ญั หาเกย่ี วกบั การเลยี้ ง  กุ้งกุลาดำ  ส่งผลกระทบต่อพ้ืนท่ีการเพาะปลูก  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ได้พระราชทาน  พระราชดำริในการแกไ้ ข โดยใหก้ รมชลประทานปรบั ปรงุ คลองระบายนำ้ ต่างๆ ตลอดจนขุดคลอง  ข้นึ ใหม่ ทำให้เกษตรกรที่เพาะปลูกมนี ำ้ จืดใชอ้ ยา่ งเพยี งพอขณะเดยี วกันกม็ ีการควบคมุ นำ้ จืดไม่ให ้ มีผลกระทบตอ่ คณุ ภาพน้ำเค็ม เป็นผลดตี อ่ การเลีย้ งกงุ้ และสัตวน์ ำ้ เค็ม ซึ่งปญั หาทัง้ หลายทีเ่ ปน็   ความเดือดร้อนของราษฎร  ได้รับการแก้ไขให้หมดสิ้นไปด้วยพระอัจฉริยภาพ  และพระปรีชา  สามารถในพระราชดำริแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  พระผู้ทรวงห่วงใยอาทรในความทุกข์  เดอื ดร้อนของพสกนกิ รในทกุ เรอ่ื ง

49 เครอื่ งกลเตมิ อากาศ พ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงสนพระราชหฤทัยในเร่ืองการบำบัด  นำ้ เสยี เปน็ อย่างมาก เนือ่ งจากปจั จบุ ัน  สภาพความเนา่ เสยี ของนำ้ ในคคู ลอง และ  แหล่งน้ำสาธารณะตา่ งๆ มคี วามรนุ แรง  มากยิ่งข้ึน  ส่งกล่ินเหม็นรบกวนและมี  ผลเสยี ตอ่ สขุ ภาพอนามัย จำเป็นต้องใช ้ เคร่ืองกลเติมอากาศ  เพ่ือเพ่ิมปริมาณ  ออกซเิ จน หรืออากาศลงในนำ้ เป็นการ  บรรเทาความเน่าเสียของน้ำ  จึงได้  พระราชทานรูปแบบของเครื่องกลเติมอากาศ  ซึ่งเป็นแบบประดิษฐ์ที่เรียบง่าย  ใช้งบประมาณ  ไม่มาก หน่วยงานต่างๆ สามารถนำไปประดิษฐเ์ พื่อใช้งานได้โดยสะดวก นอกจากนแ้ี ล้วพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้มูลนธิ ิชัยพฒั นา  สนับสนุนงบประมาณเพื่อการศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับสิ่งประดิษฐ์ดังกล่าว  และร่วมกับกรม  ชลประทานดำเนินการสรา้ งเคร่อื งมือบำบดั นำ้ เสยี ประเภทเครือ่ งเติมอากาศตามแนวพระราชดำร ิ ซงึ่ เปน็ ทรี่ จู้ ักกันดโี ดยทวั่ ไปว่า กงั หนั น้ำชยั พัฒนาเป็นเครือ่ งเตมิ อากาศแบบทุ่นลอย มีประสทิ ธภิ าพ  ในการถ่ายเทอากาศ สามารถลอยตวั ขึน้ ลงไดต้ ามระดบั ข้ึนลงของผิวนำ้ ในแหลง่ นำ้ เสยี และการ  โยกตัวของทุ่นลอยในขณะทำงานจะผลักดนั นำ้ ใหเ้ คล่อื นทผ่ี สมผสานออกซเิ จนเข้ากับน้ำ ในระดับ  ความลึกใตผ้ ิวน้ำไดเ้ ป็นอยา่ งดอี ีกด้วย เคร่ืองกลเติมอากาศ กงั หนั นำ้ ชัยพัฒนา อันเน่อื งมาจากพระราชดำริของ พระบาทสมเด็จ  พระเจ้าอยู่หัว น้สี ามารถใช้ในการบำบัดนำ้ เสยี จากแหลง่ ชุมชน แหลง่ อตุ สาหกรรม และแหล่ง  เกษตรกรรม เพ่ือการปรบั ปรงุ คณุ ภาพนำ้ ให้ดีขน้ึ รวมทง้ั การเพมิ่ ปรมิ าณออกซเิ จนในบ่อเพาะเลยี้ ง  สัตวน์ ้ำตา่ ง ๆ อนั เปน็ ประโยชน์ตอ่ เกษตรกร ดว้ ยเหตุน้ี กรมทรัพยส์ นิ ทางปัญญา กระทรวงพาณิชย ์ ได้รับจดทะเบียนสิทธิบัตรเลขท่ี  ๓๑๒๗  ในพระปรมาภิไธย  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  และทูลเกลา้ ฯ ถวายสิทธิบตั ร เม่ือวนั ที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๓๖ นบั เป็นสง่ิ ประดิษฐ์เครือ่ งกลเติม  อากาศเคร่อื งท่ี ๙ ของโลกท่ีได้รับสิทธิบัตร

การแกไ้ ข ปญั หาน้ำท่วม การแก้ไขปญั หาน้ำทว่ ม จ ากการทป่ี ระเทศไทยตง้ั อยใู่ นเขตมรสมุ   ทำให้มีฝนตกชุกและปริมาณน้ำฝนสูง  จนเกิด  ปัญหาน้ำท่วม  ในหลายพื้นท่ีเก็บทุกภาคเป็น  ประจำทุกปี  ก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่ผู้ท่ี  ประสบภยั นำ้ ท่วมเปน็ อยา่ งย่ิง พระบาทสมเดจ็   พระเจ้าอยู่หัว  จึงได้พระราชทานพระราชดำริ  ในการแก้ไข  ตามท่ีทรงวิเคราะห์ลักษณะทาง  กายภาพของพ้ืนทีป่ ระสบปญั หาน้ำทว่ ม ตลอดจนการเลอื กใชว้ ิธีการตา่ งๆ ที่เหมาะสมกบั สภาพ  ท้องท่ี วธิ ีแรก คือ การก่อสร้างคนั ก้นั นำ้ เพ่ือป้องกันน้ำท่วม โดยการก่อสร้างคันดินกั้นนำ้ ขนาด  ท่ีเหมาะสม  ขนานไปตามลำน้ำห่างจากขอบตล่ิงพอสมควร  เป็นการป้องกันไม่ให้น้ำล้นตล่ิงไป ท่วมพ้นื ทีต่ า่ งๆ ด้านใน นอกจากนีเ้ ปน็ การก่อสร้างทางผันน้ำ เพ่อื ใหน้ ้ำไหลไปลงลำน้ำสายอ่ืน  หรอื ระบายออกสทู่ ะเลตอ่ ไป ส่วนการกอ่ สรา้ งเขือ่ นเก็บกักนำ้ เป็นมาตรการป้องกนั นำ้ ท่วม ท่สี ำคัญอีกประการหน่งึ ซ่ึง  ปัจจุบันได้มีการสรา้ งเข่อื นและอา่ งเกบ็ นำ้ ตามพระราชดำรหิ ลายแห่ง อาทิ โครงการลมุ่ แม่ปา่ สกั   อนั เน่ืองมากจากพระราชดำริ โครงการพฒั นาพืน้ ทล่ี มุ่ แม่นำ้ ปากพนงั อนั เนือ่ งมาจากพระราชดำริ  และโครงการพัฒนาลุ่มนำ้ นครนายกตอนบน จังหวัดนครนายก โดยแตล่ ะโครงการเม่ือสรา้ งเสร็จ  นอกจากจะป้องกนั น้ำทว่ มในชว่ งน้ำหลากไดเ้ ป็นอยา่ งดแี ลว้ ยังเป็นการช่วยให้เกษตรกรมนี ำ้ เพือ่   การเพาะปลกู ในช่วงหนา้ แลง้ อกี ด้วย ซึ่งวธิ ีการหลากหลายที่พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว พระ  ราชทานพระราชดำริในการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมน้ันได้ผลเต็มที่  นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณแก่  พสกนิกรท้ังหลายเป็นอยา่ งยงิ่

51 การพฒั นาพ้ืนท่นี ำ้ ท่วม ปั ญหาน้ำท่วมพ้ืนที่จังหวัด  ต่างๆ  ทางภาคใต้ของประเทศไทย  โดยเฉพาะอย่างย่งิ จังหวัดสุราษฎร์ธานี  นครศรธี รรมราช และสงขลา เปน็ ปญั หา  ท่ีมีมานานแลว้ และหลายครง้ั ไดก้ อ่ ให ้ เกิดความสูญเสียอย่างใหญ่หลวง  ท้ัง  ชีวิตและทรัพย์สินของราษฎรตลอดจน  ส่ิ ง ส า ธ า ร ณู ป โ ภ ค เ ป็ น ผ ล เ สี ย ต่ อ  เศรษฐกิจของประเทศ  เน่ืองจาก  ปริมาณน้ำฝนที่มีมากในช่วงเกิดมรสุม  ไหลลงสทู่ ะเลไมท่ ัน เพราะไมม่ คี ลอง  ระบายนำ้ ทีเ่ พียงพอ นอกจากนแี้ ล้วยังมปี ญั หาน้ำเค็มไหลเข้าสู่พนื้ ท่ีการเกษตรอกี ด้วย เมอ่ื พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงทราบและศึกษาปญั หาท่ีเกิดข้ึน จึงไดพ้ ระราชทาน  พระราชดำริในการแกไ้ ข ด้วยการให้กรมชลประทานก่อสรา้ งเขื่อนดินปดิ กั้นลำน้ำกะทนู ทตี่ ำบล  กะทูน และปดิ กัน้ ลำนำ้ คลองดนิ แดง ตำบลเขาพระ อำเภอพปิ นู จงั หวดั นครศรีธรรมราช ซงึ่ เข่ือน  ท้ังสองสามารถกกั น้ำได้ประมาณ ๑๓๐ ล้านลูกบาศกเ์ มตร นอกจากน้ี ยงั มโี ครงการบรรเทา  อทุ กภัยบา้ นครี วี ง โครงการบรรเทาอุทกภยั แม่น้ำปากพนงั โครงการบรรเทาอุทกภัยอำเภอเมอื ง  จงั หวัดนครศรีธรรมราช โครงการบันทกึ อุทกภัยบา้ นนาสาร จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี และโครงการ  บรรเทาอุกภยั อำเภอหาดใหญ่ จงั หวัดสงขลา การแก้ไขปัญหาน้ำท่วมตามโครงการพัฒนาและฟ้ืนฟูพ้ืนท่ีภาคใต้ท่ีประสบอุทกภัย  อันเน่ืองมาจากพระราชดำริท้ัง  ๗  โครงการ  เม่ือดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้วจะช่วยบรรเทา  อทุ กภยั ที่เกิดข้นึ ในจงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี นครศรธี รรมราชและสงขลา และจงั หวัดใกล้เคียงได้เป็น  อย่างมาก เน่อื งจากสามารถระบายน้ำฝนทต่ี กลงมาสู่ทะเล ตามคลองระบายนำ้ ทีม่ ีการขุดขึน้ ใหม ่ และคลองธรรมชาติที่ขุดลอกไม่ให้ตื้นเขินได้ในเวลาอันรวดเร็ว  รวมท้ังมีอ่างเก็บกักน้ำไว้ใช้เพ่ือ  การเพาะปลูกในช่วงหน้าแล้งกว่า  ๔  แสนไร่  ทำให้ปัญหาความเดือดร้อนของราษฎรจากภาวะ  น้ำทว่ ม การขาดแคลนนำ้ เพอื่ การเพาะปลกู และปญั หาน้ำเค็มที่เกิดข้ึนหมดไป

52 แกม้ ลงิ ชุมพร จั งหวัดชุมพร  เป็นอีก  จั ง ห วั ด ห นึ่ ง ท่ี ป ร ะ ส บ ปั ญ ห า  น้ำท่วมเกือบทุกคร้ังที่มีฝนตก  หนักและการท่วมแต่ละคร้ังได้  ยังความเสียหายให้เกิดขึ้นเป็น  อ ย่ า ง ม า ก พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ  พระเจา้ อยหู่ วั ทรงหว่ งใยในความ  เดือดร้อนของราษฎร จึงทรงหา  วิธีท่จี ะแกไ้ ขและป้องกนั มใิ ห้เกดิ น้ำท่วม โดยเฉพาะไดพ้ ระราชทานพระราชดำรใิ ห้ทำเป็นแกม้ ลงิ   ด้วยการขดุ ลอกหนองใหญ่ ซง่ึ เป็นแหล่งนำ้ ธรรมชาติขนาดใหญ่ และคลองตา่ งๆ ทอี่ ยู่ใกลห้ นองใหญ ่ เพื่อระบายน้ำจากหนองใหญไ่ ปลงทะเลในชว่ งทน่ี ำ้ ทะเลลด นำ้ ก็จะไมท่ ่วมตวั เมอื งชมุ พร เพราะ  สามารถทจี่ ะระบายนำ้ ท่ที ว่ มไปเกบ็ กกั ไวท้ ี่หนองใหญ่ และนอกจากจะเป็นการปอ้ งกันน้ำท่วมแล้ว  ยังชว่ ยใหม้ นี ำ้ สำหรบั ใช้ในหนา้ แลง้ อีกดว้ ย พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว นอกจากจะพระราชทานพระราชดำริ ในการแก้ไขปัญหา  น้ำทว่ มจงั หวดั ชุมพรตามโครงการแก้มลิงแล้ว ยังพระราชทานเงนิ จากมูลนธิ ิชยั พฒั นา และมูลนธิ  ิ ราชประชานเุ คราะห์ เป็นเงินทดรองจา่ ยในการขุดลอกคลองและหนองใหญ่ จำนวน ๑๘ ลา้ นบาท  เนือ่ งจากทางราชการไมม่ ีงบประมาณสนับสนนุ และหากไม่ดำเนินการ จังหวดั ชมุ พรจะตอ้ งประสบ  กบั ปัญหานำ้ ท่วมอย่างทีไ่ ม่มที างหลีกเลย่ี ง แตเ่ มือ่ ดำเนนิ การเสรจ็ แล้ว จงั หวัดชุมพรก็ไมม่ นี ำ้ ทว่ ม  อีกเลย ดงั พระราชดำรสั พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั ท่ีพระราชทานแก่คณะบุคคลต่างๆ  ทเี่ ข้าเฝา้ ฯ ถวายชัยมงคล เน่ืองในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ิดาลยั สวนจิตรลดา  วนั ท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๔๐ ว่า “....ถ้าเราไม่ทำ เชื่อวา่ จะมนี ำ้ ทว่ มท้งั ท่ีทำการเพาะปลุูก สถานทร่ี าชการ หรอื เอกชน  ต้องเสียหายตอ้ งเสยี เงินมากกว่านน้ั มาก ฉะน้ัน การท่ลี งทนุ ๑๘ ลา้ นกวา่ นกึ วา่ คมุ้ เพราะเมื่อ  พายุเข้ามาฝนก็จะตก  แต่ว่าโดยที่ได้เอาน้ำออกจากหนองใหญ่ลงคลองท่ีขุดทะลุไปได้แล้ว  หนองใหญจ่ ึงรับนำ้ ท่ีไหลมาไปลงทะเล ไดต้ ามหน้าทขี่ องหนองใหญ่ในฐานะท่เี ปน็ แกม้ ลงิ ลงท้าย  ชุมพร ตวั เมืองชุมพร และชนบทข้าง ๆ ชมุ พร น้ำจึงไม่ท่วมแมจ้ ะมพี ายมุ าอยา่ งหนกั ก็ตาม ฉะน้นั   ใหเ้ ห็นวา่ การลงทุนน้ีคุม้ คา่ ...”

53 ทฤษฎี แกป้ ัญหาน้ำท่วม จ ากการเกิดภาวะน้ำท่วมขัง  กรุงเทพและปริมณฑล พระบาทสมเดจ็   พระเจ้าอยู่หัว  ทรงมีความห่วงใยเป็น  อย่างยิ่ง ได้ทรงศกึ ษา คน้ ควา้ เพ่ือหา  แนวทางในการแกไ้ ข และพระราชทาน  พระราชดำริให้หน่วยงานต่างๆ  ที่  เกย่ี วข้องรับไปดำเนินการ ซงึ่ ได้แก่การ  เร่งระบายน้ำท่ีท่วมขังออกสู่ทะเลโดย  รวดเร็ว การสร้างระบบป้องกนั นำ้ ท่วม  ในเขตชมุ ชนกรุงเทพมหานคร การสรา้ งสถานเี กบ็ นำ้ ตามจุดตา่ งๆ ในพน้ื ทก่ี รุงเทพมหานครเพือ่   ป้องกันนำ้ ท่วม การขยายทางนำ้ หรือเปดิ ทางน้ำ ในจดุ ทผ่ี ่านทางหลวงหรอื ทางรถไฟ และการ  จัดใหม้ พี ้นื ทส่ี เี ขียว ซึ่งสามารถแปรสภาพเปน็ ทางระบายนำ้ ได้ในคราวจำเปน็ สำหรับการเร่งระบายน้ำออกจากพ้ืนที่ท่วมขัง  ได้พระราชทานพระราชดำริให้ผันน้ำจาก  ทางตอนเหนอื และทางด้านตะวนั ออกของกรุงเทพมหานคร ลงสู่ทางทศิ ใต้ไปลงทะเลเพือ่ ป้องกัน  ไม่ให้น้ำไหลเข้ามาท่วมในเขตชุมชนและเขตเศรษฐกิจ  ส่วนการสร้างระบบป้องกันน้ำท่วม  ประกอบดว้ ยการสร้างคนั กน้ั น้ำ ใชป้ ้องกนั นำ้ ในเขตพ้ืนท่ีนอกคนั กัน้ นำ้ มใิ ห้ไหลเข้าสพู่ ้ืนท่ชี ุมชน  ภายในคันกน้ั น้ำ รวมทง้ั การสร้างอาคารบงั คบั น้ำ เพอื่ ใช้ควบคมุ นำ้ ในคลองตา่ ง ๆ โดยอาคารบังคับ  นำ้ ดังกลา่ วให้สรา้ งในคลองทกุ สาย และสร้างอาคารระบายน้ำลงสูท่ ะเลทางทศิ ใตด้ ว้ ย นอกจากนี้ โปรดใหส้ รา้ งสถานที่เก็บนำ้ ตามจดุ ต่างๆ ในพนื้ ทก่ี รุงเทพมหานคร เพื่อเปน็   การเสริมโครงการปอ้ งกันนำ้ ทว่ ม รวมถงึ การขยายทางนำ้ หรอื เปดิ ทางนำ้ ในจดุ ทผ่ี า่ นทางหลวง  หรือทางรถไฟ  การปรับปรุงขุดลอกทางน้ำตามธรรมชาติ  ให้สามารถระบายน้ำได้อย่างสะดวก  การกำจัดวัชพืชและส่ิงกีดขวางทางน้ำอื่นๆ  ที่ทำให้น้ำไหลไม่สะดวก  และการใช้เคร่ืองยนต์ติด  ใบพดั ผลกั น้ำผา่ นท่อลอด หรอื บริเวณจดุ บงั คับตามใตส้ ะพาน เพื่อใหก้ ารระบายนำ้ มปี ริมาณเพม่ิ ข้นึ จากพระอัจฉริยภาพและพระปรีชาชาญแหง่ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว ทีไ่ ดพ้ ระราชทาน  แนวทางในการป้องกันแก้ไข  ทำให้ปัญหาน้ำท่วมขังกรุงเทพมหานครน้อยลงจนเกือบจะหมด  สิ้นไป

54 โครงการแก้มลิง เ นื่องจากสภาพธรรมชาติด้ังเดิมของกรุงเทพ  มหานครมลี กั ษณะลมุ่ ต่ำ ทำใหก้ ารระบายนำ้ ท่ที ่วมขงั ออก  จากพนื้ ท่ีเป็นไปดว้ ยความลา่ ช้า ประกอบกับคคู ลองต่างๆ  ตื้นเขนิ มีวัชพชื ปกคลมุ กีดขวางทางนำ้ ไหล ซ่ึงเป็นสาเหตุ  สำคัญของการเกิดน้ำท่วมขังในกรุงเทพมหานครและเขต  ปรมิ ณฑลเปน็ เวลายาวนานโดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในปี๒๕๓๘  กอ่ ใหเ้ กดิ ความเดอื ดรอ้ นแกผ่ คู้ นทง้ั หลาย และมผี ลเสยี หาย  ต่อเศรษฐกิจของประเทศชาติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ทรงพระปริวิตก  ห่วงใยเปน็ อยา่ งยิง่ และทรงวเิ คราะห์ลักษณะทางกายภาพ  ของพ้ืนท่ีที่ประสบปัญหาน้ำท่วม  จึงได้พระราชทาน  พระราชดำริให้มีการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมกรุงเทพมหานคร  ตลอดจนปรมิ ณฑลตามโครงการแก้มลิง ดว้ ยการระบายนำ้ ออกจากพ้นื ที่ตอนบน ให้ไหลไปตาม  คลองในแนวเหนือและใต้  ลงคลองพักน้ำขนาดใหญ่ท่ีบริเวณชายทะเล  ซึ่งจะทำหน้าท่ีเป็นบ่อ  เกบ็ นำ้ ขนาดใหญ่ เม่อื ระดบั นำ้ ทะเลลดต่ำกวา่ ระดบั นำ้ ในคลอง ก็ระบายนำ้ จากคลองลงสู่ทะเล โครงการแก้มลิงอนั เนื่องมาจากพระราชดำริน้ีแบ่งออกเปน็ ๒ ส่วน คือ โครงการแกม้ ลงิ   ฝงั่ ตะวนั ออกของแม่นำ้ เจา้ พระยา ทำการรบั นำ้ ในพ้ืนที่ฝัง่ ตะวันออก ของแม่นำ้ เจา้ พระยา ตัง้ แต่  จังหวัดสระบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และกรงุ เทพมหานครตามคลองสายตา่ งๆ  โดยใชค้ ลองชายทะเลด้านจังหวัดสมุทรปราการ ทำหน้าทีเ่ ปน็ บ่อพกั น้ำ สว่ นโครงการแกม้ ลงิ   ในพ้ืนที่ฝ่งั ตะวนั ตกของแม่นำ้ เจ้าพระยา ทำหน้าท่ีรับน้ำตง้ั แตจ่ ังหวัดอ่างทอง พระนครศรีอยธุ ยา  ปทุมธานี  นครปฐม  กรุงเทพมหานคร  และสมุทรสาคร  ไปลงคลองมหาชัย  คลองสนามชัย  และแมน่ ้ำท่าจีน เพื่อระบายออกสู่ทะเลดา้ นจงั หวดั สมุทรสาคร ซง่ึ โครงการแกม้ ลิงอนั เน่อื งมาจาก  พระราชดำริของ  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ท่ีทรงพระปรีชาสามารถได้ช่วยให้พสกนิกร  ท้ังหลายท่ีอาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลพ้นจากทุกข์ภัยที่เกิดจากภาวะน้ำท่วมขัง  นบั เปน็ พระมหากรณุ าธิคณุ อันลน้ พน้

55 การป้องกนั น้ำท่วม เ มอื่ ปลายปี พ.ศ. ๒๕๔๑ หนว่ ยงาน  ตา่ งๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั นำ้ และอากาศ ไดป้ ระกาศ  เตือนให้ทราบว่า ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ ประเทศไทย  จะมีความแหง้ แล้งมาก และรอ้ นจัดทส่ี ดุ ใน  ช่วงปลายเดือนเมษายน  เนื่องจากฝนมี  ปริมาณน้อยและไม่ตกต้องตามฤดูกาล  ทำให้ขาดแคลนน้ำในการเพาะปลูกและ  อปุ โภคบริโภค แต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  กลับทรงมพี ระราชดำริว่า ในชว่ งต้นปี ๒๕๔๒ จะมีฝนตกเป็นปริมาณมากและตดิ ต่อกันก่อนท่จี ะ  เข้าสฤู่ ดฝู น จนอาจเกดิ ปัญหาน้ำทว่ มขัง โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ กรงุ เทพมหานครและปริมณฑล ซึ่งจะ  ก่อให้เกิดความเดอื ดรอ้ นแกป่ ระชาชนและเป็นผลเสยี หายต่อเศรษฐกิจของประเทศ ดังนนั้ เพอ่ื เป็นการป้องกนั ไวล้ ่วงหนา้ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู ัว จึงทรงพระราชทาน  แนวทางในการดำเนินงานคามพระราชดำริแก่ผู้บัญชาการทหารสูงสุด  และผู้บัญชาการทหาร  ทุกเหล่าทพั เมอ่ื วนั ท่ี ๑๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๑ ด้วยการปรบั ปรงุ ระบบการระบายนำ้ จากทางด้าน  ทศิ เหนอื ใหไ้ หลลงส่ทู างทิศใต้ โดยไมผ่ ่านกรงุ เทพมหานครชัน้ ใน สำหรับการดำเนินงานตามแนวพระราชดำริ ไดม้ ีการสรา้ งประตกู ้ันน้ำ คันกัน้ น้ำ การทำ  ความสะอาดท้องคลองและการกำจดั ส่งิ กีดขวางทางน้ำไหลในคลองตา่ งๆ ตง้ั แตค่ ลองรังสิตจนถงึ   คลองชายทะเล จนสามารถระบายนำ้ จากทางด้านทิศเหนือของกรุงเทพมหานคร ไปตามคลอง  ด้านตะวันออกให้ไหลลงออกสู่ทะเลได้รวดเร็วย่ิงขึ้น  ในช่วงที่เกิดฝนตกหนักติดต่อกันหลายวัน  เมื่อเดือนเมษายน และพฤษภาคม ๒๕๔๒ จากการท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ทรงพระราชดำริที่ไม่คล้องตามประกาศของ  หน่วยงานที่เก่ียวขอ้ งกบั นำ้ และอากาศ ที่เตอื นให้ประชาชนระวังความแห้งแลง้ ท่ีจะเกิดขน้ึ และ  มีพระราชกระแสรับสั่งให้กองทัพร่วมกับส่วนราชการต่างๆ  เตรียมการป้องกันและแก้ไขปัญหา  น้ำท่วมไว้ล่วงหน้า  รวมทั้งพระราชทานแนวทางในการดำเนินการตามพระราชดำริ  เพื่อนำไป  ปฏบิ ตั ติ ้งั แต่ปลายปี ๒๕๔๑ จึงทำให้ภาวะน้ำท่วมขังกรุงเทพมหานครและปริมณฑล  จากการท่ีเกิดฝนตกหนักในช่วง  เดือนเมษายนและพฤษภาคม  ๒๕๔๒  มีไม่มาก  ถ้าหากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ไม่ได้  พระราชทานแนวทางแก้ไขไว้ล่วงหน้า  กรุงเทพมหานครคงจะต้องประสบกับปัญหาน้ำท่วมขัง  อย่างแน่นอน นบั เป็นความโชคดขี องปวงชนชาวไทยท่ีมพี ระมหากษัตริย์ผูท้ รงพระปรชี าสามารถ  มีสายพระเนตรทย่ี าวไกล และทรงหยง่ั ร้สู ภาพของดินฟา้ อากาศเป็นอย่างดี

ภูมพิ ลงั แผ่นดนิ ภูมพิ ลังแผ่นดิน พ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั นอกจากจะ  ทรงทุ่มเทพระราชหฤทัยในการพัฒนาแหล่งน้ำ  เพ่ือช่วยให้เกษตรกรมีน้ำสำหรับการเพาะปลูก  อย่างเพียงพอ  ท้ังในพ้ืนที่ที่แห้งแล้งและพื้นท่ีท่ีมี  น้ำท่วมขัง  ทำให้ได้ผลผลิตตามความต้องการจน  องคก์ ารอาหารและเกษตรแหง่ สหประชาชาติ ไดข้ อ  พระบรมราชานุญาตทูลเกล้าฯ  ถวายเหรียญ  อกริคอลา  เน่ืองตากทรงเป็นพระมหากษัตริย์พระ  องค์แรกของโลก ท่ีทรงปฏิบตั พิ ระราชกรณียกจิ ใน  การรกั ษาน้ำ เพือ่ ความมัน่ คงด้านอาหารแล้ว ยงั ทรง  หว่ งใยในเรอ่ื งของดินที่ใชใ้ นการเพาะปลกู จงึ ได้ทรง  ริเร่ิมโครงการพัฒนาที่ดินตามพระราชประสงค์  เพื่อวางแผนการใช้ท่ีดินให้เกิดประโยชน์โดย  สมบรู ณ์ ท่บี ริเวณหบุ กะพง อำเภอชะอำ จังหวดั เพชรบรุ ี เป็นแหง่ แรก จากนน้ั ได้ขยายไปยังพนื้ ท่ี  ตา่ ง ๆ ทว่ั ประเทศ ทงั้ นี้ เน่ืองจากทรงมพี ระราชดำรวิ ่า การใชท้ ด่ี นิ กนั อย่างขาดความระมดั ระวัง  และไม่มกี ารบำรุงรกั ษาดิน ก่อใหเ้ กดิ การเส่ือมโทรม ถา้ หากไม่รีบแกไ้ ขยอ่ มสง่ ผลกระทบตอ่ การ  พัฒนาประเทศอยา่ งมาก ดังนั้น  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  จึงพระราชทานพระราชดำริให้จัดต้ัง  ศูนย์ศึกษา  การพฒั นาเขาหนิ ซ้อน จงั หวัดฉะเชงิ เทรา เพื่อศกึ ษาค้นควา้ เก่ยี วกับการสรา้ งระบบอนุรักษ์ดิน 

57 เป็นตัวอยา่ งในการปอ้ งกันการชะล้างพังทลายของดิน การขยายพนั ธ์ุพชื เพ่ืออนรุ ักษแ์ ละบำรงุ ดนิ   ศูนยศ์ กึ ษาการพฒั นาพกิ ลุ ทอง จงั หวัดนราธวิ าส เพอ่ื ศึกษาและพฒั นาพื้นทพ่ี รุ ซึ่งมีอย่ปู ระมาณ  ๔๐๐,๐๐๐ ไร่ ในภาคใต้ ให้สามารถนำมาใช้ประโยชน์ทางด้านการเกษตรใหไ้ ด้มากท่ีสุด นอกจากน้ี  ยังมีศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้  จังหวัดเชียงใหม่  เพ่ือศึกษาค้นคว้าเก่ียวกับรูปแบบที่  เหมาะสม ในการพฒั นาท่ดี นิ ต้นน้ำลำธารเปน็ การรกั ษาดินใหม้ ีความชุ่มชืน่ ศูนย์ศึกษาการพฒั นา  อ่างคุ้งกระเบน  จังหวัดจันทบุรี  เพ่ือพัฒนาพื้นท่ีชายฝั่งให้สามารถใช้ในการเพาะปลูก  รวมท้ัง  พระราชทานพระราชดำริในการปรบั ปรุงดนิ ท่ีเสื่อมโทรมด้วยสามเหตตุ ่างๆ ท้งั ดนิ เปร้ยี ว ดนิ เคม็   และดินทราย  เพื่อให้พ้ืนที่ทีมีปัญหาในเรื่องดินท้ังหลาย  สามารถใช้ประโยชน์ทางการเกษตรได ้ เตม็ ที่ จงึ ทรงเปน็ ภูมิพลังแผ่นดนิ อยา่ งแท้จริง การแก้ไขปัญหาเกีย่ วกบั ดนิ เพอื่ การเกษตร พ ระบาทสมเด็จพระเจ้า  อยู่หัว  ทรงห่วงใยที่ดินท่ีใช้ในการ  เกษตรเป็นอย่างย่ิง  เน่ืองจากดินที่  เหมาะสมต่อการเพาะปลูกได้ลด  น้อยลงเป็นลำดับ  จากการท่ีใช้ดิน  อย่างผิดประเภทไม่ถูกหลักวิชาการ  มีการนำเอาท่ีดินท่ีเหมาะสมกับการ  ปลูกพืชชนิดหนึ่ง  ไปปลูกพืชอีก  ชนิดหนึ่ง ทำให้ไดผ้ ลผลติ ต่ำแตต่ อ้ งลงทนุ สูง นอกจากนี้ การตดั ไมท้ ำลายป่า ทำใหด้ ินขาดความชุม่   ช้นื และหน้าดินถูกชะลา้ งพงั ทลาย ดนิ มีคุณภาพไมเ่ หมาะสม ซง่ึ มีทั้งดนิ เปร้ียว ดนิ เคม็ ดนิ ทราย  และดินพรุ ตลอดจนปัญหาเกษตรกรไร้ที่ดินทำกนิ จงึ บุกรุกป่าสงวนเพอื่ ครอบครองที่ดนิ ทำกนิ   ซง่ึ เปน็ ปัญหาต่อเศรษฐกจิ และความม่ันคงของประเทศชาติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  จึงพระราชทานแนวพระราชดำริ  ในการพัฒนาท่ีดินทาง  การเกษตรด้วยการอนุรักษ์และฟ้ืนฟูดินโดยวิถีธรรมชาติ  โดยให้กรมพัฒนาท่ีดินดำเนินการ 

58 วางแผน ในการใช้ทดี่ ินในพ้ืนทล่ี าดชันด้วยการปลกู ต้นไม้ เพอ่ื ใหผ้ ืนดินบริเวณนัน้ เกิดความชุม่ ชน้ื   ส่วนที่ดินซึ่งมีการขุดตักและไถหน้าดินจนหมดไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ทางการเกษตรได้  อยา่ งเชน่ ทด่ี นิ บริเวณเขาชะงุ้ม อำเภอโพธาราม จงั หวัดราชบรุ ี ซง่ึ ในอดตี เปน็ ดนิ ท่ีเส่ือมโทรม  ปลูกอะไรไมไ่ ด้ ปัจจบุ นั ได้รับการฟน้ื ฟูใหม้ ีความอดุ มสมบูรณข์ ้นึ ใหม่อกี ครั้งหนึ่ง โดยวธิ กี ารตาม  ธรรมชาตทิ ่มี าจากแนวพระราชดำริ นอกจากนแ้ี ลว้ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู ัว ยังมีพระราชดำริให้ทดลองปลูกหญา้ แฝก  เพื่อป้องกันการชะลา้ งพังทลายหน้าดิน เน่อื งจากหญา้ แฝกเป็นพชื ทีม่ รี ะบบรากลกึ แผก่ ระจาย  ลงไปในดินตรงๆ เป็นแผงเหมอื นกำแพงชว่ ยกรองตะกอนดนิ และรักษาหนา้ ดนิ ทำใหห้ ญ้าแฝก  มบี ทบาทสำคญั ในการอนุรกั ษ์ดนิ เปน็ อย่างมาก สว่ นดินท่ีมปี ญั หาเปรยี้ วจดั อย่างเชน่ พืน้ ทพ่ี ร ุ จงั หวดั นราธิวาส พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว มีพระราชดำรใิ ห้ศึกษาปรบั ปรุงเพอ่ื แกไ้ ขตามวธิ  ี การแกล้งดิน จนทำใหด้ นิ ท่ีเคยเปรีย้ วจนไม่สามารถปลูกพืชอะไรได้ กลับปลูกพืชเศรษฐกิจต่างๆ  ได้ผลเปน็ อยา่ งดี การอนรุ กั ษ์ดิน จ ากการท่ีประเทศไทยเป็น  ประเทศเกษตรกรรม ประชากรสว่ นใหญ ่ ของประเทศประกอบอาชพี ทางการเกษตร  และผลผลิตทางการเกษตรนำรายได้  มาสู่ประเทศไทยมากท่ีสุด  แต่การใช้  ที่ดินเพ่ือการเพาะปลูกอย่างขาดความ  ระมดั ระวงั และไม่มกี ารบำรุง กอ่ ใหเ้ กิด  ความเสื่อมโทรมทั้งทางด้านเคมีและ  กายภาพ ผลผลติ จึงลดตำ่ ลง เกษตรกร  ประสบกบั ปญั หาความยากจน ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ทรงหว่ งใยและมพี ระราชดำรใิ น  การแก้ไข โดยได้ทรงเริ่มโครงการจัดพัฒนาท่ดี ินหุบกะพงตามพระราชประสงค์ เม่ือปี ๒๕๑๑ 

59 เป็นแห่งแรก  ด้วยการให้ส่วนราชการต่างๆ  เข้าไปพลิกผืนดินท่ีแห้งแล้งขาดความอุดมสมบูรณ์  แห่งน้ี ให้สามารถเพาะปลกู พืชตา่ ง ๆ ได้ และจัดให้ราษฎรเข้าอยู่อาศัยเพ่อื ทำกนิ ตอ่ ไป หลังจากงานจัดพ้ืนที่ดินในระยะแรกนั้นแล้ว  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ทรงขยาย  ขอบเขตงานพฒั นาท่ีดนิ ด้านอน่ื ๆ ออกไป โดยทรงแนะใหเ้ กษตรกรทดลองใช้วิธกี ารต่าง ๆ เพื่อ  อนุรักษ์บำรุงรักษาดินวิธีการส่วนใหญ่เป็นวิธีการตามธรรมชาติท่ีราษฎรสามารถนำไปปฏิบัติได ้ ส่วนดนิ ท่มี สี ภาพไมเ่ หมาะแก่การเพาะปลกู ท้งั ดินเปรย้ี ว ดินเค็ม และดินพรุ พระบาทสมเด็จ  พระเจ้าอยู่หัว  ทรงมีพระราชดำริในการแก้ไข  รวมท้ังดินท่ีเสื่อมโทรมพังทลายจากการชะล้าง  ท่ีเกิดขึ้น  ด้วยการจัดตั้งศูนย์ศึกษาการพัฒนาในการทดลองวิจัยเพ่ือแก้ไขปัญหาต่างๆ  ของดิน  จึงทำให้เกษตรกรมีดิน ซ่งึ มคี ุณภาพเหมาะสมในการเพาะปลกู จากแนวพระราชดำริแห่ง  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ในด้านการพัฒนาและอนุรักษ์  ดินเพ่อื แกไ้ ขความเสอ่ื มโทรมของดินสภาพธรรมชาติของดนิ ทไี่ มเ่ หมาะสมการใชท้ ่ดี นิ ผดิ ประเภท  ตลอดจนการส่งเสริมให้มีการใช้ทรัพยากรดินอย่างเหมาะสม  เป็นผลให้เกษตรกรท่ัวประเทศมี  ความรู้ความเข้าใจ  ในการพัฒนาปรับปรุงบำรุงดินจนทำให้พื้นท่ีเก็บทุกแห่งมีความชุ่มชื้นและ  อุดมสมบรู ณ์ สามารถทำการเพาะปลกู ที่ใหผ้ ลผลติ สูง ซึ่งทำใหม้ ีรายได้และฐานะความเปน็ อยขู่ อง  เกษตรกรดีขึน้ นับเป็นพระมหากรณุ าธิคณุ อย่างย่ิง

60 หญ้าแฝก ส ภาพความเส่ือมโทรมของทรัพยากรดิน  ส่วนใหญ่เกิดจากกรณีผิวหน้าดินถูกกกัดเซาะจากฝน  ท่ีตกลงมา  และน้ำท่ีไหลบ่าหน้าดินเป็นจำนวนมาก  ทำให้หน้าดนิ สูญเสยี ความอุดมสมบรู ณ์ บางครงั้ ยงั เกดิ   ปญั หาดนิ พังทลาย ก่อใหเ้ กดิ ผลเสยี หายต่อพนื้ ทีเ่ พาะ  ปลูก ดว้ ยเหตนุ ี้ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว จึงทรงม ี พระราชดำริท่ีจะหาวิธีแก้ไขเพ่ือป้องกันการชะล้าง  พังทลายของดินที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่เกษตรกร  และทรงตระหนักว่า หญา้ แฝกซึง่ เปน็ พืชตระกลู หญ้าขน้ึ   เปน็ กอแนน่ มคี ุณสมบัติในการยดื เหนยี่ วดนิ สามารถ  ลดหรอื ปอ้ งกนั การกดั กรอ่ นของดนิ ไดเ้ ปน้ อยา่ งดีรวมทงั้   ยังเปน็ พืชทมี่ ีระบบรากลกึ แผ่กระจายลงไปในดินตรง ๆ  เป็นแผงเหมือนกำแพง ท่ีจะชว่ ยกรองตะกอนดนิ และ  รกั ษาหน้าดนิ ได้เปน็ อยา่ งดี จงึ ไดพ้ ระราชทานพระราชดำรใิ ห้กรมพฒั นาที่ดนิ ดำเนนิ การศกึ ษา  คน้ คว้าวจิ ยั รวมทงั้ การสำรวจ และเก็บตวั อย่างหญา้ แฝกทีม่ ีอย่ใู นประเทศไทยมารวบรวมจัดทำ  เป็นข้อมลู เพ่อื ทดลองปลูกและเผยแพรต่ อ่ ไป โดยเริ่มมาตง้ั แตว่ นั ท่ี ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๕ จากการท่ี หญา้ แฝก ซึ่งเปน็ พืชตระกลู หญ้าท่มี อี ยทู่ ่วั ไปในทุกภาคของประเทศไทยมาช้า  นานแล้ว  แต่ไม่มีการสนใจท่ีจะนำมาใช้ประโยชน์อย่างแท้จริง  ทั้งในด้านการอนุรักษ์ดินและน้ำ  การป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน  การเพิ่มผลผลิตในการเพาะปลูก  การป้องกันและกำจัด  ศตั รูพชื รวมทงั้ การนำมาใชส้ อยในประโยชนอ์ น่ื ๆ จนกระทง่ั พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงม ี พระราชดำรใิ ห้มีการนำหญา้ แฝกมาศึกษาและทดลองปลกู จึงทำใหก้ ารปลุกหญ้าแฝกตามหลักวิธ ี การและการใช้พนั ธุ์ โดยถูกตอ้ งตามสภาพดนิ และอากาศกระจายไปทัว่ ทุกพ้นื ทีข่ องประเทศ ก่อให ้ เกิดผลดีแก่การอนุรักษ์ดินและน้ำ  ตลอดจนประโยชน์ของการเกษตรอย่างแท้จริง  จนกระท่ัง  ธนาคารโลกได้ขอพระราชทานพระบรมราชานญุ าต ทูลเกล้าฯ ถวายแผ่นเกยี รตบิ ัตรเปน็ ภาพราก  หญ้าแฝกชุบสำริด  สดุดีพระเกียรติคุณในฐานะที่ทรงมุ่งม่ันในการพัฒนา  และส่งเสริมการใช้  หญ้าแฝกในการอนรุ ักษ์ดินและนำ้ รวมทั้งผลการดำเนินงานหญ้าแฝกในประเทศไทย ได้รบั การ  ตพี มิ พเ์ ผยแพรไ่ ปทวั่ โลก

61 ทฤษฎีแกลง้ ดนิ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ เ นื่องจากภาคใต้ของประเทศไทย  เป็นภูมิภาคท่ีมีพ้ืนท่ีน้อยกว่าทุกภาคของประเทศ  นอกจากนแี้ ล้ว พื้นทีส่ ่วนหนึ่งกว่า ๔๐๐,๐๐๐ ไร่ เปน็ พื้นทีพ่ รุ ซ่งึ มีนำ้ แช่ขงั อยู่ตลอดท้ังปี ถึงแม้จะ  มีการชักนำ้ ออกจากพ้ืนทพ่ี รุได้ แตก่ ไ็ ม่สามารถทีจ่ ะปลกู พชื อะไรได้ เน่อื งจากดินในพนื้ ทพี่ รุได ้ แปรสภาพเปน็ ดินเปรี้ยว ซึง่ เปน็ ความเดอื ดร้อนของราษฎรท่ีอาศัยอยใู่ นพ้ืนทด่ี ังกลา่ วเปน็ อยา่ งยง่ิ   ดงั น้ัน พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว จึงทรงมพี ระราชดำริท่ีจะแก้ไขโดยวธิ ีแกลง้ ดิน ดว้ ยการให ้ ศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาพิกุลทอง อันเน่อื งมาจากพระราชดำริ เป็นหน่วยงาน ดำเนนิ การในการ  ศึกษาการเปล่ยี นแปลงความเป็นกรดของดนิ กำมะถัน ตั้งแตว่ นั ที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๒๗ เรมิ่ จากวิธีการแกลง้ ดนิ ให้เปร้ียว ด้วยการทำใหด้ นิ แหง้ และเปยี กสลบั กนั เพือ่ เร่งปฏิกิริยา  ทางเคมขี องดินซงึ่ จะไปกระตนุ้ ใหส้ ารประกอบกำมะถนั ทำปฏกิ ริ ิยากับออกซเิ จนในอากาศและ  ปล่อยกดกำมะถนั ออกมา ทำใหด้ ินเป็นกรดจนถึงเปรีย้ วจัดสดุ ขดี หลงั จากนัน้ จึงหาวธิ ีการปรับปรุง  ดินดังกล่าว  ให้สามารถปลูกพืชเศรษฐกิจได้  เม่ือมีการดำเนินการสนองพระราชดำริโครงการ  แกล้งดิน  เพ่ือศึกษาการเปลี่ยนแปลงความเป็นกรดของดินแล้ว  ปรากฏว่าดินซึ่งไร้ประโยชน ์ ปลูกพืชอะไรไม่ได้น้ัน สามารถทจ่ี ะปลูกข้าว พชื ลม้ ลกุ พชื ไร่และผลไมต้ า่ งๆ ไดท้ ำให้ราษฎรใน  ภาคใต้ทปี่ ระสบความเดอื ดร้อน มที ีด่ ินทำกินและปลูกพชื ต่าง ๆ ได้เปน็ อยา่ งดี ทง้ั นี้ เน่อื งมาจาก  พระปรีชาญาณอันชาญฉลาด แหง่ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั ทีท่ รงแก้ไขปัญหาความเดอื ดร้อน  ของอาณาประชาราษฎรใ์ นทุกเรื่อง

62 พลกิ ฟื้นผืนดินท่ีเสื่อมโทรม พ ระบาทสมเด็จพระเจ้า  อยู่หัว  ทรงได้รับการน้อมเกล้าฯ  ถวายที่ดนิ จำนวน ๗๐๐ ไร่ บริเวณ  ตำบลเขาชะงุ้ม  อำเภอโพธาราม  จังหวัดราชบุรี  เป็นที่ราบเชิงเขา  ซึง่ แต่เดิมเป็นฟารม์ ปศสุ ตั ว์ มกี าร  ใ ช้ ดิ น อ ย่ า ง ผิ ด วิ ธี ท ำ ใ ห้ ห น้ า ดิ น  เสียหายจนหมด  ดินขาดความ  อุดมสมบูรณ์จนไม่สามารถปลูกต้น  ไม้ หรือพืชพันธอ์ุ ะไรได้ เกิดสภาพความแห้งแล้งโดยท่วั ไป ส่งผลกระทบตอ่ ราษฎรบรเิ วณใกลเ้ คยี ง  เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตร  จึงได้พระราชทาน  พระราชดำริในการปรับปรงุ ที่ดินเส่ือมโทรมแห่งน้ี ใหก้ ลบั มคี วามสมบรู ณ์สามารถใชใ้ นการเพาะ  ปลูกได้ รวมท้งั ทรงแนะนำให้ปลกู หญ้าแฝก เพอื่ การอนรุ ักษด์ นิ ลำนำ้ หลังจากที่ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว ไดพ้ ระราชทานพระราชดำรใิ นการปรบั ปรุงพืน้   ที่แหง่ น้ี เมื่อวันท่ี ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๒๖ หนว่ ยงานต่างๆ ไดส้ นองพระราชดำริดว้ ยการศึกษา  ทดลอง เพอ่ื หาวิธกี ารปรับปรุงดนิ ในพ้นื ที่ โครงการศกึ ษาวิธกี ารฟน้ื ฟูที่ดินเส่ือมโทรมเขาชะงมุ้   อันเนือ่ งมาจากพระราชดำริ ใหก้ ลับนำมาใช้ประโยชนใ์ นทางการเกษตรไดอ้ ีก และเป็นแนวทาง  ในการปรับปรงุ ดนิ ใหแ้ กร่ าษฎรทอ่ี ยูบ่ รเิ วณใกลเ้ คยี ง ตลอดจนเปน็ รูปแบบสำหรบั ใช้เปน็ แนวทาง  ในการพัฒนาพื้นท่ีอื่นๆ  ซึ่งมีปัญหาคล้ายๆ  กับที่ดินแห่งน้ี  และการปลูกสร้างสวนป่าบนภูเขา  ที่ถูกทำลายใหม้ คี วามสมบูรณ์ ตอ่ มาเม่อื วันท่ี ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๓๙ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว เสดจ็ พระราชดำเนิน  ไปทอดพระเนตรพื้นท่ีโครงการศึกษาวิธีการฟื้นฟูท่ีดินเสื่อมโทรมเขาชะงุ้มทรงพอพระราชหฤทัย  ท่หี น่วยงานต่างๆ ไดส้ นองพระราชดำรทิ ำใหด้ ินทเี่ คยแหง้ แล้งเพาะปลูกอะไรไม่ได้ มีความอุดม  สมบรู ณ์ชมุ่ ช้ืน เหมาะแก่การเพาะปลูกพ้ืนท่ีราบเชิงเขาและบนภูเขาเขียวชอมุ่ ด้วยไม้ใหญ่ ราษฎร  ในพ้ืนท่ีโครงการและบริเวณใกล้เคียง  ทำการเกษตรอย่างได้ผลมีฐานะความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น  ทั้งน ี้ เนื่องมาจากพระปรีชาญาณและสายพระเนตรอันกว้างไกลของ  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ในการพลิกฟืน้ ผืนดินเขาชะงมุ้ ทีเ่ สอ่ื มโทรม ใหก้ ลับมีความสมบูรณ์เหมือนดงั เดมิ

ทรัพยากรธรรมชาติ การอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ พ ระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว ทรงสน  พระราชหฤทยั ในการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติ  เป็นอยา่ งมาก ท้ังนี้ เน่ืองจากการพัฒนาประเทศ  ในช่วงระยะเวลาทผ่ี า่ นมาได้เน้นการเจริญเติบโต  ทางเศรษฐกิจมีสำคัญ  ทำให้มีการใช้ประโยชน์  จากทรัพยากรธรรมชาติกันอย่างฟุ่มเฟือย  โดย  มิได้มีการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติที่ถูกทำลาย  ให้กลับคืนสู่สภาพเดิม  จนในท่ีสุดทรัพยากร  ธรรมชาตไิ ด้เสอ่ื มโทรมลงอย่างเห็นไดช้ ัด โดย  เหตุน้ี พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ทรงเหน็ วา่   การพัฒนาเพ่ือฟนื้ ฟทู รัพยากรธรรมชาติ จะมีผล  โดยตรงตอ่ การพฒั นาการเกษตร จึงทรงมุ่งที่จะ  ให้มีการพัฒนาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ  เพื่อเป็นรากฐานของการพัฒนาประเทศใน  ระยะยาว พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู ัว ทรงทุ่มเทพระราชหฤทยั ในการทำนุบำรงุ ปรบั ปรุงสภาพ  ของทรัพยากรธรรมชาตติ ่าง ๆ ไมว่ ่าจะเป็นป่าไม้ ทีด่ ิน แหลง่ นำ้ และประมง ใหอ้ ยใู่ นสภาพทม่ี ีผล  ต่อการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการผลติ อยา่ งมากทีส่ ุดดงั นั้นจงึ ได้มีการดำเนินงานโครงการอนุรกั ษ์พน้ื ท ี่

64 ต้นน้ำลำธาร โครงการปา่ รกั น้ำ โครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธุ์สตั วป์ ่า โครงการพัฒนาที่ดิน โครงการ  หญา้ แฝก และอนื่ ๆ อีกมากมายทเ่ี ปน็ โครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดำริ เพอ่ื เป็นการฟนื้ ฟ ู ทรัพยากรธรรมชาติให้กลับคืนสู่สภาพเดิม  รวมท้ังส่งเสริมให้ราษฎรรู้จักการใช้ทรัพยากรท่ีมีอย ู่ อย่างจำกัดอยา่ งประหยัด และเกดิ ประโยชน์สูงสุดอกี ดว้ ย นอกจากนี้แล้ว  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ยังทรงห่วงใยในเร่ืองคุณภาพส่ิงแวดล้อม  โดยเฉพาะอย่างย่ิง ขยะและน้ำเสยี ในกรุงเทพมหานครและเมืองหลกั ในภมู ิภาคต่างๆ ทเ่ี กดิ จาก  โครงสร้างทางเศรษฐกิจของประเทศได้เปล่ียนไปสู่การผลิต  ที่มีภาคอุตสาหกรรมและบริการเป็น  หลัก มผี ลทำให้ชาวชนบทหนั เข้ามาทำงานในเมอื งมากข้นึ ก่อให้เกดิ ปญั หาด้านความเสื่อมโทรม  ของสภาพแวดล้อม  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ทรงมีพระราชดำริท่ีจะแก้ไขปัญหาดังกล่าว  ดังน้ัน  โครงการกำจัดน้ำเสียในกรุงเทพมหานครและจังหวัดใหญ่ๆ  รวมท้ังโครงการกำจัดขยะ  อนั เน่อื งมาจากพระราชดำริจงึ ไดเ้ กดิ ขึน้ การใช้ประโยชนจ์ ากขยะ ข ยะเป็นสิ่งที่น่ารังเกียจและก่อให้เกิดปัญหาส่ิงแวดล้อม  ท้ังในด้านมลพิษทางน้ำ  กลิ่น  การแพร่กระจายของโรค  การเกิดเพลิงไหม้จากการสะสมของแก๊สในขยะ  ตลอดจนทำลาย  ทัศนียภาพท่ีสวยงาม  ปัจจุบันเมืองใหญ่ๆ  โดยเฉพาะกรุงเทพมหานคร  จะประสบกับปัญหา  อันเนอื่ งมาจากขยะเป็นอย่างมาก เนือ่ งจากไมส่ ามารถกำจัดขยะไดห้ มดในเวลารวดเร็ว จงึ เกิด 

65 การสะสมข้ึนทกุ วนั ถึงแมจ้ ะมกี ารเรง่ รัดการเก็บและกำจดั ขยะ รวมทัง้ นำเทคโนโลยใี หม่ๆ มาใช ้ ก็ไม่ทนั การเพม่ิ ข้นึ ของจำนวนประชากร การเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกจิ และอุตสาหกรรม พระบาทสมเจพระเจ้าอยู่หัว  ทรงห่วงใยปัญหาดังกล่าวท่ีมีผลกระทบต่อประชาชนและ  สิ่งแวดลอ้ ม จึงไดพ้ ระราชทานแนวทางการศึกษา การกำจดั ขยะแบบครบวงจรตามพระราชดำร ิ ดว้ ยการแบง่ พน้ื ทฝี่ งั กลมขยะออกเป็น ๒ ส่วน โดยสว่ นแรกใหใ้ ช้แกส๊ จากขยะใหห้ มดก่อน จากนั้น  นำขยะไปร่อนแยกสว่ นประกอบ แล้วนำไปเผาเพ่ือเป็นเชื้อเพลงิ เถ้าถา่ นที่เกดิ ขึน้ นำไปผสมกับ  วัสดุท่เี หมาะสมอดั แน่นเปน็ แท่ง สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการก่อสรา้ ง สำหรับส่วนที่ ๒ ขณะ  ท่ดี ำเนินการรอ่ นแยกขยะในพนื้ ท่สี ว่ นแรก ก็ใช้ประโยชนจ์ ากแกส๊ ควบคู่กันไปกอ่ นเม่ือแกส๊ หมด  แลว้ จึงดำเนินการลักษณะเดียวกับส่วนแรก ซ่ึงจะทำให้มพี ื้นท่ีฝังกลมขยะหมุนเวียนตลอดไป นอกจากนี้แล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ไดพ้ ระราชทานเงนิ จากมูลนิธิชยั พัฒนา จดั ตัง้   เป็นกองทุนบำบัดและใช้ประโยชน์จากขยะ  เพื่อดำเนินการโครงการผลิตกระแสไฟฟ้าจากแก๊ส  หลมุ ขนาด ๖๕๐ กโิ ลวตั ต์ ศกึ ษาวิธีการคัดแยกขยะและนำขยะไปเผา ตลอดจนนำความร้อนทีไ่ ด ้ ไปใช้ประโยชน์  รวมท้ังการศึกษาวิธีการนำเถ้าขยะไปผสมกับวัสดุที่เหมาะสมบางชนิด  เพ่ือ  ประโยชน์ในการก่อสร้าง  ขณะที่มีหลายหน่วยงานได้ร่วมกันศึกษา  ค้นคว้าและจัดวางโครงการ  เพื่อใช้ประโยชน์จากขยะตามแนวพระราชดำริ  เพ่ือจะเป็นประโยชน์แก่ประเทศชาติและ  ประชาชนเปน็ อยา่ งย่ิง

66 การอนุรักษ์สิง่ แวดล้อม เ รือ่ งส่งิ แวดลอ้ มเป็นปญั หาสำคัญ ซง่ึ เกดิ จากการ  พฒั นาความเจริญก้าวหน้า เพราะการพฒั นาย่งิ ก้าวหนา้   เท่าใด  ปัญหาคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่เสื่อมโทรม  และสภาวะมลพิษจะทวีความรุนแรงมากขึ้นเท่านั้น  ประเทศไทยต้องประสบกบั ปญั หาดงั กล่าว เชน่ เดยี วกับ  ประเทศอ่ืนๆ  ท่ัวโลก  เนื่องจากการพัฒนาประเทศใน  ช่วงที่ผ่านมา  ได้ให้ความสำคัญกับอัตราการเจริญเติบโต  ทางเศรษฐกิจ  โดยการนำเอาทรัพยากรธรรมชาติ  มาใช้ประโยชน์แต่ไม่ได้มีการวางแผนการจัดการที่  เหมาะสมรองรับปัญหาท่ีจะเกิดขึ้น  ทำให้ทรัพยากร  ธรรมชาตทิ ่ีเหลอื อยู่มีสภาพเส่อื มโทรมกอ่ ใหเ้ กดิ มลพษิ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสนพระราชหฤทัย  และทรงหว่ งใย ในปญั หาสิ่งแวดล้อมทเ่ี กิดข้ึนเปน็ อย่าง  มาก ทรงเตือนทุกคนไดต้ ระหนกั ถึงอันตรายท่ีเกดิ จากส่งิ แวดลอ้ มเป็นพิษ พรอ้ มกับทรงมีพระราชดำร ิ ในการแกไ้ ข ดว้ ยการอนุรกั ษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ โดยในด้านของดิน ทรงเร่ิมโครงการ  จดั พัฒนาท่ดี นิ หบุ กะพงตามพระราชประสงค์ ต้งั แต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๑ เพ่ือพลกิ ผืนแผ่นดนิ ทแ่ี หง้ แลง้   ขาดความอดุ มสมบูรณ์ ให้สามารถเพาะปลกู พชื ตา่ งๆ ได้ จากนัน้ ทรงแนะให้เกษตรทดลองใชว้ ิธ ี การตา่ ง ๆ เพอื่ อนุรักษ์บำรงุ รกั ษาดิน สำหรับในเร่ืองของน้ำ  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ทรงเน้นการอนุรักษ์และพัฒนา  แหลง่ น้ำเป็นพเิ ศษเพ่ือใหเ้ กษตรกรมีนำ้ สำหรบั การเพาะปลกู อย่างพอเพียง โดยไม่ไปทำลายสภาพ  แวดล้อมทางธรรมชาติ  นอกจากน้ี  ปัญหาน้ำเน่าเสียก็ได้พระราชทานพระราชดำริในการแก้ไข  ส่วนป่าไม้ที่มีความสำคัญต่อการเกิดปัญหาฝนแล้งจากการทำลายป่า  ทรงมีพระราชหฤทัยมุ่งมั่น  ที่จะแก้ไขปรับปรุงและพัฒนาป่าไม้ให้อยู่ในสภาพสมบูรณ์ดังเดิม  และจากแนวพระราชดำริ  พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ทีไ่ ดก้ ลา่ วมานี้ ยอ่ มแสดงให้เห็นถงึ ความหว่ งใย ต่อสภาวะความ  เปล่ียนแปลงของสภาพแวดลอ้ มที่เลวรา้ ย ซงึ่ สง่ ผลกนะทบตอ่ พสกนกิ รทุกหมูเ่ หล่า

67 ห้วยองคต จ ากการที่พ้ืนท่ีป่าสงวนแห่งชาติ ในเขตตำบลสมเด็จเจริญ กงิ่ อำเภอหนอปรอื จังหวัดกาญจนบุรี  ซ่ึงเคยมีความอุดม สมบูรณ์ด้วยทรัพยากรธรรมชาติป่าไม้ รวมทั้งเป็นแหลง่ ตน้ น้ำลำธารท่สี ำคญั และ ท่ีอยู่อาศัยของสัตว์ป่าซึ่งหายากนานาชนิด ไดถ้ ูกบุกรกุ ทำลายทั้งจากนายทุน ตลอดจน ราษฎรทย่ี ากจนเขา้ ไปแผว้ ถางเปน็ ทอ่ี ยอู่ าศยั และทำกนั ทำใหป้ า่ แห่งนถ้ี ูกทำลายลงอยา่ ง รวดเร็ว ซง่ึ มีผลกระทบตอ่ ส่ิงแวดลอ้ มเป็นอยา่ งมาก และส่วนราชการต่าง ๆ ท่ีเก่ยี วขอ้ ง ไดพ้ ยายาม ท่จี ะแก้ปัญหาท่เี กดิ ข้ึน แตไ่ มเ่ ป็นผลสำเรจ็ เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ทรงทราบและทรงตระหนักอย่างถ่องแท้ถึงสหภาพ ปัญหา  จึงมีพระราชดำริที่จะให้ราษฎรอยู่อาศัยในป่าตามเดิม  ขณะเดียวกันก็ให้มีการอนุรักษ์ ป่าไม้นั้นให้คงสภาพในลักษณะพึ่งพาและเก้ือหนุนกัน  ไม่ทำลายซ่ึงกันและกัน  พร้อมกับได้ พระราชทานช่ือโครงการน้ีว่า  โครงการห้วยองคตอันเนื่องมาจากพระราชดำริ  โดยมีแนวทาง การพัฒนาดังน้ี สำหรบั พนื้ ที่ปา่ สงวนจำนวน ๒๐,๖๒๕ ไร่ ทร่ี าษฎรกวา่ ๘๐๐ ราย บกุ รุกเขา้ ไป ถือครองเพ่ือทำกินและอยู่อาศัย  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ได้พระราชทานพระราชทรัพย์ ส่วนพระองค์ กบั เงินจากมูลนิธชิ ยั พฒั นา จำนวน ๘๐ ลา้ นบาท สนบั สนนุ ในการจดั สรรพน้ื ที่ ทำกินและอยู่อาศัยให้แก่ราษฎรเหล่าน้ี  โดยจัดแบ่งพ้ืนท่ีอย่างเป็นระบบ  ซ่ึงมีท้ังพื้นที่อยู่อาศัย พื้นทก่ี ารเกษตร พน้ื ที่เพื่อการอนรุ ักษ์ และพน้ื ท่ีปลกู สรา้ งสวนปา่ โดยราษฎร จะไดท้ ี่ดนิ ทำกิน และอยอู่ าศยั ครอบครัวละ ๘ ไร่ นอกจากนี้ได้มีการจัดระบบชลประทาน  เพื่อการเกษตรและอุปโภคบริโภค  จัดสร้างส่ิง สาธารณปู โภค โรงเรยี น สถานอี นามัย ตลอดจนสง่ เสรมิ การประกอบอาชพี ตามความรคู้ วาม ต้องการและความสามารถของราษฎร  ซึ่งการดำเนินงานพัฒนาท่ีครบวงจรดังกล่าว  ส่งผลให้ ราษฎรมีความเป็นอยู่ที่ดี  ตลอดจนเสริมสร้างคุณภาพสิ่งแวดล้อม  และความสมดุลระหว่าง ธรรมชาตกิ บั มนษุ ย์ ใหด้ ำรงอยอู่ ยา่ งยง่ั ยนื สมดงั พระราชปณธิ านแหง่ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ที่ทรงทำทกุ อยา่ งเพอื่ ความผาสุกของอาณาประชาราษฎร์

68 เขานางพันธรุ ตั พ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั ทรงห่วงใยในธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ มเปน็ อย่างมาก เมือ่ ทรงทราบว่า เขานางพนั ธุรตั หรอื เขาเจา้ ลายใหญ่ ซึ่งเป็นภเู ขาหินปนู และหนิ ดินแดน ตั้งอยู่ที่ อำเภอชะอำ จังหวดั เพชรบุรี เปน็ เขาทม่ี ีมานานและเกี่ยวกับตำนานวรรณคดีเร่ือง สงั ข์ทอง รวมทง้ั เป็นท่ีหมายสำคัญในการเดินเรอื ทะเล ในสว่ นทเ่ี ปน็ แท่งหนิ เรียกวา่ โกศนางพนั ธุรตั ได้พังทลายมา เมื่อวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๓๗ จากการทรดุ ตัวของหนิ รวมท้งั มแี นวโนม้ ทเ่ี ขาลูกอ่นื บรเิ วณนีจ้ ะ พงั ลงมา ถ้าหากไม่มกี ารป้องกัน พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั จึงไดพ้ ระราชทานพระราชดำรใิ นการฟน้ื ฟพู ืน้ ทีบ่ รเิ วณที่มี การทรุดตัวโดยการปลกู ตน้ ไม้ เพ่อื ป้องกนั การพังทลายที่อาจจะเกดิ ขึน้ อกี ในอนาคต เน่ืองจากเปน็ สถานทที่ ี่มีความสำคัญทางประวัตศิ าสตรแ์ ละวรรณคดี ซง่ึ กองทัพภาคที่ ๑ ได้ร่วมกบั ส่วนราชการ ตา่ งๆ ทเี่ ดยี่ วข้องจัดทำโครงการอนุรกั ษแ์ ละฟ้ืนฟเู ขานางพันธรุ ัต (เขาเจา้ ลายใหญ่) อนั เนื่องมาจาก พระราชดำริ ต้งั แตป่ ี พ.ศ. ๒๕๓๙ ดว้ ยการปลูกพืชคลมุ ดนิ การนำเมลด็ พืชขน้ึ เฮลคิ อปเตอรไ์ ป โปรยในพนื้ ที่สูงๆ ตลอดจนการปลูกป่าบริเวณเขานางพนั ธุรัต นอกจากนี้ ไดม้ ีการจัดจง้ั วนอทุ ยานเขานางพันธรุ ตั และจดั ทำแผนแมบ่ ทเพ่ือใหม้ กี ารฟ้ืนฟู เขาแหง่ นเ้ี ปน็ ไปอย่างรวดเร็ว และกำหนดมาตรการในการปอ้ งกนั ผลกระทบต่อสง่ิ แวดลอ้ ม จาก พระราชดำรขิ องพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั ในการอนุรักษ์และฟน้ื ฟูเขานางพนั ธุรัต ทำให้เขา แห่งน้ีที่มีความสำคัญทางด้านวรรณคด ี เป็นสถานที่ที่ผู้คนโดยทั่วไปรู้จักกันมาช้านาน  และเป็น แหลง่ ธรรมชาตทิ สี่ วยงามดำรงอยูต่ อ่ ไป นับเปน็ พระมหากรุณาธคิ ุณอยา่ งย่ิง

69 อาหารช้างป่า พ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ทรงทราบถึงความเดือดร้อนของ  ราษฎร ซ่งึ อาศัยอย่ใู นบรเิ วณพื้นท่รี าบ  เชิงเขา  อำเภอกุยบุรี  จังหวัด  ประจวบคีรีขันธ์  โดยเฉพาะบ้าน  รวมไทย บา้ นพุบอน และบ้านยา่ นซ่อื   ทสี่ ่วนใหญท่ ำไร่ สับปะรด ไดถ้ ูกช้างปา่   ทำลายสับปะรดที่ปลูกไว้เสียหาย  เป็นจำนวนมาก  ขณะเดียวกันทรง  สลดพระราชหฤทัยต่อการเสียชีวิต  ของช้างป่า  จากการกินสารฆ่าแมลงชนิดร้ายแรงในแหล่งน้ำของราษฎร  รวมทั้งการถูกยิงด้วย  อาวุธปืน และเผาด้วยยางรถยนต์ จึงได้พระราชทานพระราชดำริในการช่วยเหลือ เพอ่ื แกไ้ ขปญั หา  ทเี่ กดิ ข้ึนใหห้ มดสน้ิ ไป สำหรับพระราชดำริที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ได้พระราชทานเก่ียวกับโครงการ  อนุรกั ษ์และฟนื้ ฟสู ภาพป่า บริเวณปา่ สงวนแห่งชาติป่ากยุ บุรี ได้แก่ การปอ้ งกันมิใหม้ กี ารบุรุกพนื้ ท ี่ ปา่ สงวนเพมิ่ ขน้ึ การพัฒนาชวี ติ ความเปน็ อยขู่ องราษฎรท่ีอาศัยอยเู่ ดิม ทัง้ ในดา้ นแหล่งนำ้ คณุ ภาพ  ของดิน สงิ่ สาธารณปู โภค สขุ ภาพอนามัย การประกอบอาชพี เสรมิ เพ่อื เป็นการเพ่ิมรายได้ ใน  ลักษณะพออยพู่ อกนิ ปลูกฝงั ทศั นคติทดี่ ีในการเมตตาต่อสตั ว์ป่า และอนรุ ักษ์ปา่ ไม้ ขณะเดียวกัน  ก็ฟ้ืนฟูสภาพป่าไม้ให้คืนสู่ความอุดมสมบูรณ์  ตลอดจนจัดหาแหล่งน้ำและปลูกพืชท่ีเป็นอาหาร  ของช้างป่า เพอ่ื ปอ้ งกันช้างป่าที่อาศยั อยใู่ นป่ากยุ บุรปี ระมาณ ๑๐๐ ตัว ซ่ึงขาดแคลนอาหารและ  นำ้ ลงมากนิ พชื ไรท่ ีร่ าษฎรปลกู ไว้ จนถูกฆ่าตายดงั กลา่ ว โครงการอนรุ กั ษ์และฟ้นื ฟสู ภาพปา่ บรเิ วณปา่ สงวนแห่งชาตกิ ยุ บุรี อันเน่ืองมาจากพระดำริ  พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั ไดแ้ ก่ การปลกู ป่าทงั้ การปลูกทางพืน้ ดิน และการโปรยเมล็ดพันธ์ุพชื   ทางอากาศ การปลูกพืชท่เี ปน็ อาหารของช้างปา่ ในพ้นื ท่ปี ระมาณ ๑,๐๐๐ ไร่ และการทำแหลง่   นำ้ ธรรมชาตเิ พ่ือใหช้ ้างป่ากินกวา่ ๕๐ แหง่ การดำเนนิ งานท้งั หมดเป็นการป้องกนั ไม่ใช้ช้างปา่ มา  ทำลายพชื ไรแ่ ละแหล่งนำ้ ของราษฎร ซง่ึ จากการดำเนนิ งานตามโครงการตั่งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๐  ปรากฏว่าราษฎรท่ีอาศัยอยใู่ นพ้นื ที่แห่งน้ี มฐี านะความเป็นอยูท่ ดี่ ีข้ึนโดยไม่มีช้างป่ามารบกวนใน  ขณะทีช่ า้ งปา่ กม็ ีอาหารและนำ้ กนิ อย่างพอเพียง ทำใหค้ นและชา้ งป่าอยู่ร่วมกนั ไดไ้ มเ่ บยี ดเบยี นกนั   นบั เป็นพระมหากรุณาธคิ ณุ อย่างยิง่

การปลกู ป่า ทฤษฎกี ารปลูกป่า พ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ทรงห่วงใยใน ปญั หาปรมิ าณป่าไมล้ ดลงเป็นอยา่ งมาก จึงทรงพยายาม ค้นหาวิธีนานาประการ  ท่ีจะเพ่ิมปริมาณของป่าไม้ใน ประเทศไทยให้มากขึ้นอย่างต่อเนื่องและถาวรโดยวิธีการ ทเ่ี รยี บงา่ ย และประหยดั ในการดำเนินงาน ตลอดจนเปน็ การส่งเสริมระบบวงจรป่าไม้ในลักษณะอันเป็นธรรมชาติ ด้ังเดิม  ซ่ึงได้พระราชพระราชดำริไว้หลายวิธีการ  อาทิ ปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูก  ด้วยการทิ้งป่าเอาไว้ไม่ต้องไป ทำอะไร ปา่ จะเจรญิ เติบโต ขึน้ มาเองตามธรรมชาติ โดย คมุ้ ครองไมใ่ หม้ กี ารตดั ไม้ทำลายปา่ นอกจากน้ี  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ได้ พระราชทานพระราชดำริให้มีการปลกู ปา่ ในท่ีสูง โดยทรง แนะนำวิธีการดังนี้คือใชไ้ มจ้ ำพวกทม่ี ีเมลด็ ทัง้ หลายขึน้ ไป ปลกู บนยอดท่ีสงู เมือ่ ไม้น้นั โตแล้วออกฝกั ออกเมลด็ กจ็ ะ ลอยตกลงมาแลว้ งอกในทต่ี ่ำตอ่ ไป เปน็ การขยายพนั ธุ์โดยธรรมชาติ รวมท้งั ทรงให้ปลกู ป่าต้นน้ำ ลำธาร โดยทรงเสนอแนวทางปฏิบตั วิ า่ ปลูกตน้ ไม้ทีข่ นึ้ อย่เู ดมิ ด้วยการศึกษาว่าพชื พนั ธ์ไุ ม้ดั้งเดิมมี อะไรบ้าง แลว้ ปลูกแซมหรือทดแทนตามรายการชนดิ ต้นไม้ท่ไี ด้ศึกษามา และให้งดปลกู ไมผ้ ดิ แผก จากถน่ิ เดมิ โดยไมน่ ำไม้แปลกปลอมตา่ งพนั ธต์ุ ่างถิน่ เขา้ มาปลกู ถ้าหากยงั ไม่ไดม้ กี ารศึกษาอย่าง แนช่ ดั เสียกอ่ น

71 สำหรับการปลูกป่าทดแทนเป็นวิธีหน่ึงท่ี  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ได้พระราชทาน แนวพระราชดำริให้นำไปปฏิบัติเพื่อความอุดมสมบูรณ์ของป่าไม้  โดยได้พระราชทานคำแนะนำ ใหม้ กี ารปลกู ป่าทดแทนตามสภาพภูมศิ าสตร์ และสภาพแวดลอ้ มของพ้ืนที่ทเ่ี หมาะสม ซ่งึ ไดแ้ ก่ การปลูกป่าทดแทนในพ้นื ทีป่ า่ ไม้ ถกู บุกรุกแผว้ ถางและพน้ื ทป่ี ่าเส่อื มโทรม การปลกู ป่าทดแทน ตามไหลเ่ ขา บริเวณตน้ นำ้ ลำธาร อา่ งเกบ็ น้ำ บนยอดเขา รวมทง้ั การปลูกป่าเพ่ือพฒั นาลมุ่ นำ้ และ แหล่งนำ้ การปลกู ป่าโดยให้ราษฎรเขา้ มามสี ว่ นรว่ มและการปลกู ปา่ โดยใหร้ าษฎรเขา้ มามีส่วนร่วม และการปลูกปา่ เสรมิ ธรรมชาติ เพื่อเป็นการเพมิ่ ทีอ่ ยอู่ าศยั แกส่ ตั วป์ า่ การปลูกปา่ ๓ อย่าง พ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว นอกจากจะทรงหว่ งใยในเร่อื งของปา่ ไม้ และมีพระราชดำริ ให้มีการพฒั นาฟน้ื ฟูป่าไมเ้ พื่อเป็นการอนรุ กั ษแ์ ล้ว ยงั ทรงห่วงใยในราษฎรท่ตี ้องใช้ไมใ้ นการดำรง

72 ชีวิต  จึงได้ทรงแนะนำการปลุกป่าในเชิง ผสมผสาน  ทงั้ ในด้านการเกษตรวนศาสตรแ์ ละ เศรษฐกิจสังคมในลกั ษณะของปา่ ๓ อย่าง โดยมี พระราชดำรสั ว่า ปา่ ไม้ท่จี ะปลูกนัน้ สมควรที่จะ ปลกู แบบปา่ ใชไ้ มห้ นง่ึ ป่าสำหรบั ใชผ้ ลหน่งึ และ ปา่ สำหรับใช้เป็นฟืนอีกอย่างหน่ึงซง่ึ การปลูกป่า ๓ อยา่ งน้ี นอกจากประโยชนใ์ นตัวเองตามชือ่ แล้ว ยังสามารถใหป้ ระโยชนอ์ ย่างที่ ๔ ซึง่ เป็น ข้อสำคัญ  คือ  สามารถช่วยอนุรักษ์ดินและ ตน้ น้ำลำธารด้วย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ได้มี พระราชดำรัสเพ่ิมเติมเก่ียวกับประโยชน์ของ การปลูกป่า ๓ อย่าง ว่า การปลกู ปา่ ถ้าจะให้ ราษฎรมีประโยชน์ให้เขาอยู่ได้และไม่ไปทำลาย ป่าไม้ ให้ใชว้ ิธีปลูกไม้ ๓ อยา่ ง แต่มีประโยชน์ ๔ อยา่ ง คือ ไม้ใชส้ อย ไมก้ นิ ได้ ไม้เศรษฐกจิ โดยปลูกรองรับการชลประทาน ปลูกรบั ซับน้ำ และปลูกอดุ ชว่ งไหลตามรอ่ งหว้ ย เพือ่ รบั นำ้ ฝน อย่างเดียว สว่ นประโยชนท์ ี่ ๔ คือ ได้ระบบอนรุ ักษด์ ินและนำ้ พร้อมกบั พระราชทานพระราชดำริว่า การปลุกปา่ สำหรบั ใช้เปน็ ฟนื ซง่ึ ราษฎรจำเปน็ ต้องใชเ้ ป็นประจำ จะต้องใช้ระบบหมุนเวียนและ มีการปลูกปา่ ทดแทน เพ่ือใหม้ ีไม้มฟี นื สำหรับใช้ตลอดไปโดยไม่ขาดแคลน พระราชดำริเพ่ืออนุรักษแ์ ละฟน้ื ฟปู ่าไม้ตามโครงการปลูกปา่ ๓ อยา่ งน้ี สว่ นราชการต่างๆ ได้ นำไปดำเนินการสนองพระราชดำริ โดยได้มกี ารปลูกพันธุ์ไมโ้ ตเรว็ สำหรบั ตดั กิ่งนำมาทำฟืนเผา ถ่าน ตลอดจนไม้สำหรบั ใช้ในการก่อสร้างและหัตถกรรม ซงึ่ การปลกู ปา่ ๓ อย่างตามพระราชดำรนิ ี้ นอกจากจะเป็นการอนุรักษ์ป่าไม้แล้วยังเป็นประโยชน์แก่ราษฎรและเป็นผลดีทางด้านเศรษฐกิจ อีกด้วย  ประปรีชาสามารถแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ยังประโยชน์สุขให้แก่อาณา ประชาราษฎรอ์ ย่างแทจ้ ริง

73 ปา่ ชายเลน ป่ าชายเลน เป็นปา่ ทเ่ี กดิ ข้นึ ตาม ชายฝง่ั ทะเลและปากแมน่ ำ้ ของประเทศไทย ปัจจุบันได้มีการบุกรุกทำลายป่าชายเลน เป็นจำนวนมากเพ่ือทำนากุ้ง  นาเกลือ แห่งอุตสาหกรรม  การเกษตรกรรม บางประเภทตลอดจนการสร้างท่าเทียบ เรอื และถนน ทำให้พนื้ ท่ีปา่ ชายเลนลดลง อยา่ งรวดเร็ว ดังนน้ั เพื่อเปน็ การอนรุ กั ษ์ ป่าชายเลน พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั จึงทรงมีพระราชดำริในการพัฒนาและฟื้นฟูป่าไม้ชายเลน  เน่ืองจากทรงเห็นว่าป่าชายเลนมี ประโยชน์ต่อระบบนิเวศน์ของพ้ืนท่ีชายฝ่ังทะเลและอ่าวไทย  รวมทั้งต้นโกงกางเป็นไม้ชายเลนท่ี แปลกและขยายพันธคุ์ อ่ นขา้ งยาก หากทำลายจะเป็นเรอ่ื งท่ีนา่ เสยี ดายเป็นอยา่ งย่ิง จากพระราชดำรขิ อง พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ดงั กล่าว จึงมีโครงการพัฒนาและฟนื้ ฟู ป่าชายเลนเกิดข้ึนหลายโครงการ  โดยโครงการแรกเป็นการปลูกป่าชายเลน  ป่าพระราชทาน มูลนิธิชัยพัฒนา  มูลนิธิแม่ฟ้าหลวงในจังหวัดสงขลาและปัตตานี  ซึ่งแบ่งเป็นโครงการย่อย  ๓ โครงการ ได้แก่ โครงการชมุ ชนพฒั นาป่าชายเลน ตำบลหัวเขา อำเภอสิงหนคร จงั หวดั สงขลา เพ่ือรักษาสภาพแวดล้อมและสนับสนุนการจัดระเบียบที่อยู่อาศัยของชุมชน  ตลอดจนส่งเสริมให้ ประชาชนมีสว่ นรว่ มในการปลกู ป่าชายเลน และหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติ สำหรบั โครงการท่ี ๒ เปน็ โครงการศูนยศ์ ึกษาธรรมชาตปิ า่ ชายเลนยะหริง่ อำเภอยะหร่งิ จังหวัดปัตตานี  โดยมีเป้าหมายท่ีจะให้ทุกฝ่ายมีความรู้ความเข้าใจ  เก่ียวกับประโยชน์ของป่า ชายเลนและร่วมมอื กัน ในการรักษาป่าชายเลนไว้ใหย้ งั่ ยนื ตลอดไป ส่วนโครงการท่ี ๓ เป็นโครงการ ศึกษาความเป็นไปได้ในการฟน้ื ฟปู ่าชายเลน อำเภอหนองจกิ จังหวัดปตั ตานี เพ่อื ศึกษาและค้นหา แนวทางในการพัฒนาฟ้ืนฟูป่าชายเลน  ให้กลับคืนสู่สภาพท่ีอุดมสมบูรณ์ทฤษฎีการพัฒนาป่า ชายเลนอันเนื่องมาจากพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  จึงเป็นหน่ึงในพระมหา กรณุ าธิคณุ ทพี่ ระราชทานเพื่อความผาสกุ แก่แผน่ ดินและพสกนิกรอยา่ งแทจ้ ริง

74 ปา่ พรุ ป่ าพรุ เปน็ ป่าไม้ทึบซึ่งเหลอื อยู่เพยี งแห่งเดยี ว ในภาคใตข้ องไทย มลี ักษณะเดน่ คอื เป็นป่าดงดิบท่มี ี น้ำท่วมขังท่ัวท้ังบริเวณตลอดท้ังปี  แต่เนื่องจากราษฎร ส่วนใหญ่ใช้ประโยชน์จากพ้ืนท่ีป่าพรุอย่างไมถ่ กู ตอ้ งตาม หลกั วชิ ากร ทำใหพ้ น้ื ทปี่ ่าพรุบางแห่งเสือ่ มโทรมจนไม่ สามารถใช้ประโยชน์ได้อีกต่อไป  ก่อให้เกิดผลกระทบ อย่างกว้างขวางแก่ราษฎรที่อาศัยอยู่รอบพื้นท่ีป่า  เพราะดินมีลักษณะเป็นดินเปรี้ยวไม่สามารถเพาะปลูก พืชอะไรได้  ถึงปลูกได้ก็ให้ผลผลิตต่ำ  นอกจากน้ีแล้ว ในหน้ามรสุมน้ำจะไหลบ่ามาท่วมพ้ืนที่อยู่อาศัย  และที่ ทำกินของราษฎร เม่ือพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ทรงทราบ ถึงความเดือดร้อนของราษฎร  และทรงระหนักว่า ป่าพรุเป็นพื้นที่ที่สำคัญต่อการกินดีอยู่ดีของราษฎรรอบพ้ืนท่ีป่าพรุ  อีกทั้งยังเป็นอ่างเก็บน้ำ ธรรมชาติที่ชะลอการไหลบ่าของน้ำจากเทือกเขาต่างๆ  ก่อนระบายลงสู่ทะเล  จึงได้พระราชทาน พระราชดำริใหส้ ่วนราชการตา่ ง ๆ ร่วมกนั ศึกษาหาแนวทางแก้ไข โดยมีศนู ย์การศกึ ษาการพฒั นา พิกลุ ทองอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เปน็ ศูนย์กลางการประสานงานในการดำเนนิ การ ซ่ึงได้มี การกำหนดเขนการใช้ที่ดินบริเวณพื้นท่ีป่าพรุในจังหวัดนราธิวาส  ที่มีป่าพรุใหญ่ท่ีสุดเป็นพ้ืนท่ี เกอื บ ๓,๐๐๐,๐๐๐ ไร่ ออกเปน็ ๓ เขต สำหรบั เขตที่ ๑ เป็นเขตสงวน เป็นเขตทดี่ ำเนินการสงวนรักษาปา่ ไม้ เพ่ือให้สภาพแวดลอ้ ม มีการเปล่ยี นแปลงน้อยทสี่ ุด ซ่งึ เขตสงวนนสี้ ว่ นใหญ่อยู่ในเขตอำเภอตากใบ สุไหง-โกลก สว่ นเขตที่ ๒ เปน็ เขตอนรุ กั ษ์ อยูใ่ นเขตอำเภอตากใบ สุไหงปาดี และสุไหง-โกลก เปน็ พืน้ ทท่ี ่ถี กู ทำลายไปแล้ว เป็นส่วนใหญ่ จึงตอ้ งมกี ารฟนื้ ฟูให้กลับเปน็ ปา่ ดังเดิม เขตท่ี ๓ เป็นเขตพัฒนา พน้ื ท่สี ่วนใหญอ่ ยูเ่ ขต อำเภอเมือง ยงี อ และบาเจาะซ่งึ สภาพดนิ เป็นดนิ เปรย้ี วและน้ำมสี ภาพความเป็นกรดจัด จงึ ตอ้ ง มีการพัฒนา  ปัจจุบันป่าพระได้มีการพัฒนาฟื้นฟูจนใช้ประโยชน์ได้อย่างอเนกประสงค์  ตาม พระราชดำริแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  พระมหากษัตริย์ผู้ทรงงานเพื่อความผาสุกของ อาณาประชาราษฎร์

75 ปา่ เปียก พ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ทรง ต ร ะ ห นั ก ถึ ง คุ ณ ค่ า อ เ น ก อ นั น ต์ ข อ ง น้ ำ เ ป็ น อย่างยงิ่ ทรงคำนงึ วา่ สรรพสง่ิ ในสภาพแวดล้อม ของมนุษย์นนั้ จะเก้ือกูลซง่ึ กันและกันได้ หาก รู้จักนำไปประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์  จึงได้มี พระราชดำริป่าเปียก  เพื่อป้องกันไฟป่าข้ึนจาก หลักการที่แสนง่าย  แต่ได้ประโยชน์มหาศาล กล่าวคือ  ยามที่เกิดไฟไหม้ป่าข้ึนคราใดผู้คน ส่วนใหญ่มักคำนึงถึงการแก้ปัญหา  ด้วยการ ระดมสรรพกำลังกันดับไฟป่าให้มอดดับอย่าง รวดเร็ว แตแ่ นวทางปอ้ งกันนน้ั ยงั ไมม่ ผี ใู้ ดคดิ จะ ทำกนั อยา่ งจริงจงั พระราชดำริ ปา่ เปยี ก เพือ่ ป้องกนั ไฟปา่ จึงเป็นแนวพระราชดำริท่ี  พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ทรงแนะนำใหศ้ นู ย์การพัฒนาอัน เนือ่ งมาจากพระราชดำริ ทำการศกึ ษาทดลองจน ไดร้ ับผลสำเร็จเป็นท่ีนา่ พอใจด้วยวิธกี ารต่างๆรวม๖ประการคือการสรา้ งระบบปอ้ งกนั ไฟไหม้ปา่ โดยใช้แนวคลองส่งน้ำและแนวพืชนานาชนิดปลูกตามแนวคลองนี้  การสร้างระบบควบคุมไฟป่า ด้วยแนวป้องกันไฟปา่ เปียก อาศัย น้ำชลประทานและน้ำฝน การปลูกตน้ ไมโ้ ตเรว็ คลุมแนวรอ่ งน้ำ เพื่อให้ความชุ่มชนื้ ค่อยๆ ทวีขึ้นและแผ่ขยายออกไป นอกจากน้ี เปน็ การสรา้ งฝายเพอื่ ปิดกั้นรอ่ งน้ำหรือลำธารขนาดเลก็ เป็นระยะๆ  เพ่อื เก็บ กักน้ำให้ความชุ่มช่ืนแก่ต้นไม้จนกลายเป็นป่าเปียก  การสูบน้ำขึ้นไปในระดับสูงแล้วปล่อยให้ไหล ลงมา  รวมท้ังการปลูกต้นกล้วยซ่ึงอุ้มน้ำได้ดีกว่าพื้นอื่น  ในพ้ืนที่ท่ีกำหนดให้เป็นช่องว่างของป่า ซงึ่ แนวพระราชดำริปา่ เปียกน้ี นบั เป็นทฤษฎกี ารอนรุ ักษฟ์ ้ืนฟูปา่ ไม้ โดยใชค้ วามชุ่มชื้นเปน็ หลกั ทำให้ป่าเขียวสดอยู่ตลอดเวลาไฟป่าจึงเกิดได้ยาก  นับเป็นพระราชดำริในการป้องกันไฟป่าท่ี เรยี บง่าย แตไ่ ดป้ ระโยชน์อยา่ งค้มุ คา่ มหาศาล

76 เคร่ืองดกั หมอก พ ระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัว ทรงพระราชดำริวา่ การปลกู ปา่ หรือการปลุกต้นไม้ในพ้ืนท่ีขาดแคลน น้ำ  หากใช้น้ำธรรมชาติท่ีเกิดจาก หมอก จะทำใหต้ ้นไม้เจริญเติบโตไดด้ ี โดยไม่ต้องเอาใจใส่ดูแลรดน้ำมากนัก จึงทรงศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ ประโยชน์จากหมอกที่ล่องเลยใน อากาศ  ทำให้ทรงทราบว่าหมอก สามารถกลายเป็นหยดน้ำ เมอ่ื หมอก ปลิวไปกระทบกอ้ นหิน แล้วจับตัวเป็นหยดนำ้ ไหลลงสู่พนื้ ดิน ซ่ึงเหมาะสำหรับภมู ิประเทศทเี่ ปน็ ภูเขาสูงจากระดบั น้ำทะเลตั้งแต่ ๕๐๐ เมตรขน้ึ ไป จึงพระราชทานพระราชดำรใิ นการทำเคร่ือง ดกั หมอก ดว้ ยการใช้วสั ดใุ นท้องถิน่ ท่ีหาได้งา่ ยและราคาถกู เป็นอุปกรณท์ ำเคร่อื งดกั หมอก สำหรับวิธทำเคร่อื งดักหมอก อันเนื่องมาจากพระราชดำริ เปน็ การสร้างแผงขงึ ดว้ ยตาข่าย ไนล่อนเสือ่ ลำแพน และวสั ดอุ น่ื ๆ ที่มีรูพรุนมาก ๆ โดยวางให้ตัง้ ฉากกบั ทิศทางลมพดั ในบางกรณี อาจสร้างขึ้นได้หลายรูปแบบตามความเหมาะสมกับสภาพท้องถ่ิน  บางแบบอาจติดบนกังหันลม เพ่อื ใหแ้ ผงดกั หมอกหนั สู้ลมตลอดเวลา เม่อื ไอน้ำจากหมอกกระทบกับผังดักหมอก จะทำให้เกดิ ลักษณะคล้ายหยดน้ำไหลลงสู่ดิน  ทำความชุ่มชื้นให้แก่ต้นไม้  นอกจากนี้แล้วแผงดักหมอกยัง สามารถช่วยบงั แดดบังลมให้กบั ต้นไม้ ระยะแรกปลูกหรือระยะทเ่ี รมิ่ เติบโตอกี ด้วย เครอ่ื งดกั หมอกตามแนวพระราชดำรนิ ี้ เป็นนวตั กรรมอกี รปู แบบหนึ่งท่ี พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวทรงคิดและนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์สุขแก่แผ่นดิน  เป็นการแก้ปัญหาการขาด แคลนน้ำ  ในการปลูกป่าและต้นไม้บริเวณพ้ืนที่ภูเขาสูง  เป็นอุปกรณ์ที่ง่ายๆ  ใช้วัสดุในท้องถ่ิน ราคา  ถูกในการทำ แต่ไม่มผี ใู้ ดคดิ เร่ืองใกลต้ วั เชน่ นี้ จงึ นบั วา่ เป็นพระปรีชาสามารถท่กี อปรด้วย พระอัจฉริยะภาพ และพระวิจารณญาณอนั สงู สง่ แห่งพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว ในการแกไ้ ข ปญั หาต่าง ๆ ทีเ่ กดิ ขน้ึ ใหห้ มดสนิ้ ไป

เพอื่ ผู้เจบ็ ปว่ ย ในชนบท แพทยพ์ ระราชทาน พ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั ทรงใหค้ วามสำคญั กบั งานสาธารณสขุ เป็นอยา่ งยงิ่ ดงั จะ เห็นได้จากโครงการต่างๆ  อันเน่ืองมาจากพระราชดำริ  ที่พระราชทานเพ่ือให้การช่วยเหลือแก่ ราษฎรในระยะแรกๆ ลว้ นแล้วแต่เปน็ โครงการด้านสาธารณสุขเกือบท้งั ส้นิ เนื่องจากทรงเหน็ ว่า การรกั ษาความสมบูรณ์แข็งแรงของรา่ งกาย เปน็ ปัจจยั ของเศรษฐกจิ ท่ดี แี ละสงั คมท่มี ัน่ คง เพราะ ร่างกายทแ่ี ข็งแรงจะนำไปสสู่ ขุ ภาพจิตที่ดี โดยท่ีราษฎรส่วนใหญใ่ นชนบทประกอบอาชพี ทางการ เกษตร  ซ่ึงต้องใช้กำลังกายในการทำงาน  ถ้าหากมีร่างกายท่ีแข็งแรงปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ  จะ สามารถตอ่ สกู้ บั งานหนกั ในการประกอบอาชพี ไดเ้ ป็นอย่างดี

78 ดังนน้ั โครงการหน่วยแพทยพ์ ระราชทาน จึงไดถ้ อื กำเนดิ ข้นึ ในปี พ.ศ. ๒๕๑๐ เพ่อื ให้การ ตรวจรักษาและแนะนำการดูแลสุขภาพแก่ผู้ยากไร้ในท้องถ่ินท่ีห่างไกลความเจริญ  เม่ือเสด็จ พระราชดำเนินเยย่ี มราษฎร ณ ทแี่ ห่งใด จะทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหค้ ณะแพทยพ์ ระราชทาน ซ่ึงประกอบด้วย แพทย์ประจำพระองค์ แพทยอ์ าสา สาขาด้านศัลยแพทย์ หู คอ จมูก โรคภูมแิ พ้ ทนั ตแพทย์ และจกั ษแุ พทย์ ทตี่ ามเสด็จให้การบำบัดรักษาราษฎรทป่ี ่วยเจบ็ ดว้ ยโรคตา่ งๆ ถ้าหาก ผู้ท่ีปว่ ยมอี าการหนกั เกนิ กว่าทจ่ี ะรักษาได้ในพืน้ ท่ี ตอ้ งสง่ ไปรับการรักษาท่โี รงพยาบาล จะทรงมี พระมหากรณุ าธิคณุ รับไว้เปน็ คนไข้ในพระบรมราชานเุ คราะห์ นอกจากนี้แลว้ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัว ทรงมพี ระราชดำรใิ หค้ ดั เลือกราษฎรอาสา สมคั รจากหมบู่ ้านต่างๆ มารับการอบรมหลักสูตร หมอหมบู่ า้ น เกย่ี วกบั สาธารณสขุ มลู ฐาน โดย เร่ิมตน้ ท่จี งั หวัดเชยี งใหมเ่ ปน็ ครั้งแรกในปี พ.ศ. ๒๕๒๕ เพือ่ ให้ราษฎรท่ีไดร้ บั การอบรมแล้ว นำ ความรทู้ ่ีได้รับกลบั ไปช่วยเหลอื ผอู้ ืน่ ตอ่ ไป โครงการแพทยพ์ ระราชทาน ซึ่งประกอบด้วยการบำบดั รักษาจากคณะแพทย์พระราชทาน  และการอบรมหมอหมู่บ้าน  ได้ช่วยเหลือแก้ไขปัญหาด้าน สุขภาพอนามัยของราษฎรที่อยู่ในพ้ืนท่ีห่างไกลและฐานะยากจนได้เป็นอย่างมาก  ทำให้สุขภาพ รา่ งกายทีแ่ ขง็ แรงสามารถประกอบอาชพี ได้ นบั เป็นพระมหากรณุ าธิคุณเปน็ อยา่ งยิง่

79 เพ่ือผูเ้ จบ็ ปว่ ยในชนบท เ มื่อคร้ังที่  พระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัว  เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยม ราษฎรท่ีบ้านปากทวาร  ตำบลหินเหล็กไฟ อำเภอหวั หนิ จงั หวัดประจวบคีรีขันธ์ ใน เดือนพฤษภาคม ๒๔๙๖ ทรงพบว่าราษฎร ท่ีมาเข้าเฝ้าเป็นไข้จับส่ันและโรคอ่ืนๆ  เป็น จำนวนมาก จงึ ทรงมีพระราชปรารภว่า ใน ท้องที่ห่างไกลท่ีการแพทย์และอนามัยสมัย ใหม่เข้าไปไม่ถึงราษฎรถูกโรคภัยเบียดเบียน ทั้งๆ  ที่เป็นโรคท่ีรักษาให้หายได้ไม่ยากนัก จึงพระราชทานยานพาหนะ อุปกรณ์ เวชภณั ฑ์ และพระราชทานพระราชทรพั ยส์ ว่ นพระองค์ ให้ กระทรวงสาธารณสุขจัดหน่วยแพทย์เคล่ือนที่เพ่ือรักษาราษฎรผู้ป่วยเจ็บ  ในท้องท่ีทุรกันดารห่าง ไกลในจังหวัดประจวบครี ขี นั ธ์ และจังหวดั ลพบุรี นอกจากน้ันได้ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯให้จัดตงั้ หนว่ ยแพทย์เคลื่อนทีพ่ ระราชทานขึน้ อีก ๒ หน่วย ทจ่ี งั หวดั ขอนแก่น และจังหวัดยะลา เพ่อื รักษาผ้เู จ็บป่ายในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ รวมทั้งหน่วยแพทยเ์ คลือ่ นท่ที างนำ้ เพื่อรักษาประชาชนทอ่ี าศัยอยรู่ มิ แมน่ ้ำลำคลอง ที่การคมนาคมจะติดตอ่ กบั โรงพยาบาลหรือสถานอี นามยั ไมส่ ะดวก โดยได้พระราชทานเรอื ยนต์ เวชพาหน์ พรอ้ มดว้ ยอปุ กรณ์และเครอ่ื งมือทางการแพทย์ เครอ่ื งมือทนั ตกรรม เวชภณั ฑ์ และทรง พระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ภากาชาดไทยกบั โรงพยาบาลจุฬาลงกรณเ์ ป็นผู้รบั ผิดชอบดำเนนิ การ ต่อมาในปี  พ.ศ.๒๕๑๖  ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ  ให้จัดตั้งหน่วยแพทย์เคลื่อนท่ี พระราชทานขน้ึ ทนี่ ิคมสรา้ งตนเองพฒั นาภาคใต้ อำเภอเวง้ จังหวัดนราธวิ าส โดยโรงพยาบาล นราธิวาสและโรงพยาบาลสุไหง-โกลก ได้สง่ แพทยอ์ าสาสมัครไปตรวจรักษาสมาชิกนิคม รวมท้ัง ราษฎรในพ้ืนท่ีใกลเ้ คยี ง เปน็ ประจำสัปดาห์ละ ๒ วนั เนือ่ งจากพน้ื ทด่ี งั กลา่ วในเวลานั้น ความเจริญ ตา่ งๆ ยังไปไมถ่ งึ ราษฎรท่ปี ่วยเจ็บส่วนใหญ่ขาดการดูแลรกั ษาซ่งึ หนว่ ยแพทยเ์ คลื่อนทพ่ี ระราชทาน ที่กำเนิดจากพระราชดำริ  และพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์  ได้ช่วยให้ราษฎรผู้ได้รับความ ทกุ ขเวทนาจากโรคภยั ไขเ้ จบ็ ในทัว่ ทกุ ภาคของประเทศมีสขุ ภาพพลานมัยดีขึน้

80 หมอหมบู่ ้าน พ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงพระราชดำริว่า  หน่วยแพทย์ พระราชทานที่ให้การรักษาผู้เจ็บป่วย ในทอ้ งถนิ่ ทรุ กนั ดารหา่ งไกล ระหวา่ ง การเสด็จพระราชดำเนินไปยงั ทตี่ า่ ง ๆ เม่ือเสด็จพระราชดำเนินกลับกรุงเทพ มหานครแล้ว  แพทย์ที่ตามเสด็จ จะต้องกลับไปปฏิบัติหน้าที่ยังหน่วย ต้นสังกัด ราษฎรเหล่านเ้ี มื่อเจบ็ ไข้ได้ ปว่ ยจะไม่มีแพทยด์ แู ลรกั ษา เพราะ อยใู่ นทอ้ งถ่ินทหี่ ่างไกล การคมนาคม ไม่สะดวก ถา้ หากมผี ูท้ ่ีมคี วามรทู้ างการแพทยข์ ้ันพ้ืนฐานในหมบู่ ้านจะช่วยในการบำบดั รกั ษาได้ ระดบั หนึง่ จึงมีพระราชดำรใิ หค้ ดั เลอื กราษฎรอาสาสมัครจากหมู่บ้านต่างๆ ทห่ี ่างไกลความเจรญิ เขา้ รบั การอบรมหลกั สตู รหมอหมู่บ้าน เพอ่ื นำความรูท้ ไี่ ดร้ บั กลบั ไปชว่ ยเหลอื ผ้ปู ว่ ยเจ็บในหม่บู ้าน ของตน สำหรับหลักสูตรการอบรมตามโครงการหมอหมู่บ้านนี้  จะเน้นการให้สุขศึกษาในการ ป้องกนั โรคต่างๆ ที่มีในพนื้ ที่นั้นๆ รวมทั้งเสรมิ สรา้ งพลานามัย การโภชนาการ เวชศาสตร์ป้องกนั อย่างง่ายๆ และการใหบ้ รกิ ารรกั ษาพยาบาลเบ้ืองต้น เพ่ือใหผ้ ู้เขา้ รบั การอบรมมีความรู้เร่อื งการ ป้องกัน การส่งเสริมสุขภาพ การปฐมพยาบาล ทำหน้าท่เี ปน็ ผ้ชู ว่ ยแพทย์ ในภาวะทข่ี าดแคลน แพทยแ์ ละพยาบาลเปน็ การชว่ ยลดอัตราการปว่ ยการตายและการระบาดของโรคตา่ งๆในหมูบ่ า้ น รวมทง้ั เปน็ การใหบ้ รกิ ารสาธารณสขุ แผนใหมก่ ระจายไปสชู่ นบท  ซง่ึ การอบรมในแตล่ ะรนุ่ จะไมเ่ กนิ ๔๐ คน ใช้เวลาในการอบรม ๑ เดอื น โดยไดเ้ ริ่มทจ่ี งั หวัดเชียงใหม่เปน็ ครง้ั แรกในปี ๒๕๒๕ โครงการหมอหมบู่ ้านตามพระราชดำริ ได้ชว่ ยใหร้ าษฎรมคี วามรเู้ ก่ียวกบั การปอ้ งกนั โรค การปฐมพยาบาล การตดิ ตอ่ กับแพทย์ในกรณที มี่ ีผเู้ จบ็ ปว่ ย มอี าการหกั เกนิ กว่าท่ีจะดูแลรกั ษาได้ ซึ่งบางคร้ังก็อาจมีการติดต่อทางวิทยุ  เพ่ือแจ้งอาการให้แพทย์ทราบและขอคำแนะนำในการ ปฏิบตั ิ เปน็ การช่วยเหลือในขัน้ ตน้ ก่อนที่จะนำสง่ ไปรักษาพยาบาล ทำให้ลดอัตราการเสยี ชวี ติ จากการเจบ็ ปว่ ยไดม้ าก นอกจากนแ้ี ลว้ เมอ่ื ราษฎรมคี วามรใู้ นการบรโิ ภคอาหารตามหลกั โภชนาการ การระวงั รักษาสุขภาพเพื่อใหพ้ น้ จากการเจ็บปว่ ย ย่อมจะทำใหร้ า่ งกายสมบูรณแ์ ขง็ แรง สามารถ ตอ่ ส้กู ับงานหนกั ในการประกอบอาชีพได้ ชีวติ ความเปน็ อยตู่ ้องดขี ้ึนอยา่ งแนน่ อน

81 แขน-ขาเทียมเคลอื่ นที่ เ ม่ือพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินเย่ียมราษฎรในชนบท ท่ีหา่ งไกล ทรงพบว่ามรี าษฎรทพี่ กิ ารแขน-ขา ด้วน เป็นจำนวนมใิ ชน่ ้อย ซง่ึ ผู้พิการเหลา่ นีม้ ี ฐานะยากจน  และไม่สามารถท่ีจะประกอบ อาชีพอะไรได้ทำให้มีสภาพการดำรงชีวิตท่ีน่า สงสาร  ต้องเป็นภาระในการเลี้ยงดูของ ครอบครัวหรอื บุคคลอ่นื และหน่วยงานทใ่ี ห้ บริการแขน-ขาเทียมหรือเคร่ืองช่วยคนพิการ มีแต่เฉพาะในกรุงเทพมหานครกับจังหวัด ใหญ่  บางจังหวัดเท่านั้น  หากได้มีการนำ แขน-ขาเทียมไปช่วยเหลือผู้พิการจนถึงที่อยู่ จะช่วยให้บคุ คลเหลา่ นส้ี ามารถช่วยเหลอื ตนเองได้โดยไม่เปน็ ภารพต่อสงั คม พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว จงึ ทรงมพี ระราชดำริในการช่วยเหลอื โดยในชน้ั แรกได้ทรง พระกรณุ าโปรดเกลา้ รบั ผ้พู กิ ารแขน-ขาด้วนไวเ้ ปน็ ผู้ปว่ ย ในพระบรมราชานุเคราะห์ และส่งมารับ การบำบดั ให้บรกิ ารแขนขาเทยี มทีโ่ รงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๒๗ มีพระราช ดำรัสให้กรมแพทยท์ หารบกจดั ชุดปฏิบตั ิการแขน-ขาเทยี มเคล่อื นที่ ไปให้บรกิ ารแก่ราษฎรผพู้ กิ าร ตามหมบู่ า้ นตา่ งๆ เพอ่ื ความสะดวกของราษฎรทไ่ี มต่ อ้ งเดนิ ทางเขา้ ไปรบั บรกิ ารในกรงุ เทพมหานคร นอกจากชุดปฏิบัติการแขน-ขาเทียมเคล่ือนท่ี  สำหรับให้บริการแก่ราษฎรผู้พิการยากจน ในท้องถิ่นต่างๆ  แล้ว  ยังได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า  ให้ช่วยเหลือผู้บาดเจ็บพิการทุพพลภาพ แขน-ขาขาดจากการปฏบิ ตั หิ นา้ ทปี่ อ้ งกนั ประเทศชาติ การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ผ้พู ิการในพ้นื ที่ ๑๗ จังหวดั ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ การชว่ ยเหลอื เด็กพกิ าร การสงเคราะหร์ าษฎรตามแนวชายแดน ทแี่ ขน-ขาขาดจากการเหยยี บกับระเบดิ จากพระราชดำริอันเป่ยี มล้นด้วยพระมหากรณุ าธคิ ุณแห่ง พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ ัว พระผ้ทู รงมีน้ำพระราชหฤทัยหว่ งใยพสกนิกรผดู้ อ้ ยโอกาส จงึ ทำให้ ผู้ทพ่ี กิ ารด้านแขนและขามชี วี ติ ความเปน็ อย่ทู ี่ดีข้ึน

82 ทนั ตกรรมพระราชทาน พ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัว ทรงทราบจากการเสดจ็ พระราชดำเนินไปทรงเย่ยี มราษฎร ในทอ้ งถนิ่ หา่ งไกลทว่ั ทกุ ภาคของประเทศวา่ ราษฎรสว่ นใหญ่ปว่ ยด้วยโรคฟนั และโรคในชอ่ งปาก ซึง่ ได้รบั ความทกุ ข์ทรมานเป็นอย่างมาก รวมท้งั ไม่มที นั ตแพทยท์ ่จี ะให้การบำบดั รักษา เน่อื งจาก ทันตแพทย์ในต่างจงั หวัด จะมีเฉพาะที่โรงพยาบาลประจำจังหวดั การท่ีจะให้ราษฎรทยี่ ากจนและ มีปัญหาเรื่องฟันเดินทางเข้าไปรับการตรวจรักษาที่ในตัวเมือง  คงเป็นได้ยาก  เพราะต้องเสียค่า ใช้จ่ายสูง และต้องหยดุ การทำไร่ทำนาทีเ่ ป็นอาชีพหลกั พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ทรงมีพระราชดำริว่า  ถ้าหากจะแก้ปัญหาด้วยการนำ ทนั ตแพทยไ์ ปให้การรกั ษาราษฎรที่มปี ญั หาเรือ่ งฟนั และโรคในช่องปากถึงท่ีอยู่ จะเป็นการช่วย บำบดั ทุกข์ใหแ้ ก่ราษฎรได้เป็นอยา่ งมาก จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ใหจ้ ัดตง้ั หน่วยทนั ตกรรม พระราชทานข้ึน โดยไดพ้ ระราชทานพระราชทรพั ยส์ ว่ นพระองคจ์ ดั ซอ้ื รถยนต์ รวมท้ังอุปกรณ์และ เครอ่ื งมอื ทำฟันเพอ่ื ใหบ้ ริการเคล่ือนทีไ่ ปสู่ราษฎร ดว้ ยการตระเวนไปตามหมบู่ า้ นต่างๆ ในชนบท ท่หี า่ งไกล ซ่ึงทันตแพทย์อาสาสมัครจากโครงการทันตแพทยพ์ ระราชทาน ได้เรมิ่ ออกปฏบิ ัตงิ าน ในปี พ.ศ. ๒๕๑๒ การปฏิบัตงิ านของทนั ตแพทยอ์ าสาสมัคร จะมีทง้ั ในดา้ นการบำบัดโรคฟนั โรคในชอ่ งปาก พร้อมทัง้ สอนการรักษาอนามยั ของปากและฟันดว้ ย ซง่ึ โครงการทันตกรรมพระราชทาน นอกจาก การปฏิบัติการทางรถยนตแ์ ล้ว พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั ยังทรงมีพระราชดำริในการให้การ บริการด้านทันตกรรมแก่ราษฎรท่ีอาศัยอยู่ริมแม่น้ำลำคลอง  โดยเรือเวชพาหน์ท่ีโปรดเกล้าฯ ให้ต่อขึ้น  แล้วพระราชทานให้สภากาชาดไทยนำไปช่วยเหลือราษฎรผู้เจ็บป่วยตามลำน้ำอีกด้วย ด้วยพระมหากรุณาธิคุณท่ีทรงมีต่อพสกนิกรท่ัวประเทศ  โครงการทันตกรรมพระราชทาน  จึงมี ส่วนช่วยใหร้ าษฎรทอ่ี ยหู่ ่างไกลแพทย์ ไดม้ โี อกาสรับการบำบดั รักษา และมสี ุขภาพในช่องปากทีด่ ี

83 เรอื เวชพาหน์ พ ระบาทสมเด็จพระเจ้า อยูห่ วั ทรงห่วงใยการเจ็บปว่ ยของ ราษฎร  ท่ีอาศัยอยู่ในท้องถิ่น ทรุ กันดาร หา่ งไกลการคมนาคม หรือขาดความสะดวกในการเดิน ทางไปรับการตรวจรักษา  เนื่อง จ า ก ไ ม่ มี ย า น พ า ห น ะ ที่ จ ะ น ำ ผู้ป่วยส่งสถานพยาบาล  ทรง ตระหนักดีว่าอาการเจ็บป่วย จะทเุ ลาหรอื หายได้ หากไดร้ ับ การตรวจรักษาทันเวลา นอกจากน้แี ลว้ ทรงเหน็ วา่ การรักษาความสมบรู ณแ์ ขง็ แรงของร่างกาย เปน็ ปัจจัยของเศรษฐกิจท่ดี ีและสงั คมทมี่ ั่นคง เพราะร่างกายที่แขง็ แรงจะอำนวยผลให้สุขภาพจติ สมบรู ณ์ เมือ่ มีสุขภาพดีทั้งร่างกายและจติ ใจแลว้ ย่อมมกี ำลงั ทำประโยชนส์ รา้ งสรรค์เศรษฐกิจ และสงั คมของบ้านเมืองได้เตม็ ท่ี ทัง้ ไมเ่ ปน็ ภาระแกส่ ังคมดว้ ย ดงั น้ัน จงึ ทรงมพี ระราชดำรใิ ห้จัดตั้งหนว่ ยแพทย์พระราชทาน ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๑๐ เพ่ือให้ การตรวจรักษาราษฎรผู้เจ็บป่วย  ซึ่งมีฐานะยากจนและอยู่ในท้องถ่ินทุรกันดารท่ัวประเทศโดย ไม่คิดมูลค่า  หากอาการป่วยเจ็บรุนแรงจำเป็นท่ีจะต้องรักษาในโรงพยาบาลท่ีมีเครื่องมือต่างๆ ทางการแพทย์พร้อมจะพระราชทานพระมหากรุณาธิคุณให้ผู้ป่วยเหล่าน้ีเป็นคนไข้ในพระราชา นุเคราะห์จนกว่าจะหายเป็นปกติ  รวมทั้งพระราชทานพระราชดำริในการคัดเลือกราษฎร อาสาสมัครจากหมู่บ้านต่างๆ  มารับการอบรมเรื่องสาธารณสุขมูลฐานตามโครงการหมอหมู่บ้าน เป็นการแกไ้ ขปัญหาด้านสขุ ภาพอนามยั ของราษฎรทีอ่ ยู่ในพ้ืนทห่ี ่างไกลแพทย์ สำหรบั ราษฎรท่ีอาศัยอย่ตู ามแมน่ ้ำลำคลอง ถึงแมก้ ารคมนาคมจะสะดวกและไม่หา่ งไกล ความเจริญแตก่ ารเดนิ ทางโดยใชเ้ รือเป็นพาหนะย่อมจะล่าชา้ อาจทำใหผ้ ปู้ ่วยเจบ็ มอี าการทรุดหนัก หรอื เสียชวี ิตได้ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว จึงทรงโปรดเกลา้ ฯ ให้ต่อเรอื ขึ้นลำหน่งึ เป็นเรอื ไม้ ๒ ชั้น ประกอบด้วยห้องตรวจโรค หอ้ งทันตกรรม ห้องผา่ ตดั เล็กน้อย พระราชทานเรือลำนวี้ ่า เวชพาหน์ แลว้ พระราชทานให้สภากาชาดไทย เมอื่ วนั ท่ี ๑๙ มกราคม ๒๔๙๘ สำหรับใชเ้ ป็น หน่วยแพทย์เคลื่อนที่รักษาพยาบาลประชานชนในท้องที่ต่างๆ  ตามลำน้ำ  ซ่ึงเรือเวชพาหน์ได้ ช่วยเหลือประชาชนตามริมนำ้ ทัง้ ในด้านการรักษาและการปอ้ งกันโรคตลอดมาจนทกุ วันนี้

สังคมสงเคราะห์ สงั คมสงเคราะห์ พ ระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ทรงตระหนกั วา่ การท่ปี ระเทศชาติ จะเจริญร่งุ เรอื งกา้ วหนา้ มีความรม่ เยน็ เป็นสขุ ได้ ตอ่ เมอ่ื ประชาชนในประเทศมีความผาสกุ ถว้ นหนา้ กัน และการท่ีจะทำให้ ประชาชรมีความสุขรวมท้ังอยรู่ ว่ มกนั ดว้ ยสนั ติ คอื การสงเคราะห์ชว่ ยเหลือกนั จึงทรงพระกรณุ า โปรดเกล้าฯ  รับสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย  ซ่ึงจัดตั้งโดยกรมประชาสงเคราะห์และ องค์กรการกุศลเอกชน  เพื่อทำหน้าท่ีเป็นศูนย์กลางประสานงานของหน่วยงานต่างๆ  ท้ังภาครัฐ และเอกชน ในการแกไ้ ขปัญหาสงั คมและการพัฒนาสงั คม ไว้ในพระบรมราชปู ถัมภ์ ตั้งแต่วันท่ี ๑๐ สิงหาคม ๒๕๐๔

85 นอกจากนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ไดพ้ ระราชทานเงนิ จำนวน ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท เป็นทนุ ริเริม่ การกอ่ สรา้ งตกึ ท่ีทำงานของสภาสังเคราะห์ และพระราชทานนามตกึ น้ีวา่ ตกึ มหดิ ล เพอื่ เทิดพระเกียรติคุณในดา้ นสังคมสงเคราะห์ ของสมเด็จพระบรมราชชนก เมื่อการก่อสร้างแลว้ เสรจ็ เรียบร้อยได้เสด็จพระราชดำเนิน ทรงประกอบพิธเี ปดิ ตึกมหิดล เมอื่ วันที่ ๕ มนี าคม ๒๕๐๘ รวมทง้ั ได้พระราชทานทรัพย์สว่ นพระองค์ เป็นคา่ เชา่ ทดี่ นิ อันเป็นที่ต้งั ของตกึ มหิดลอีกด้วย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ทรงสนพระราชหฤทยั ในงานของสภาสังคมสงเคราะหเ์ ป็น อยา่ งมาก ได้พระราชทานพระบรมราชวโรกาสใหค้ ณะกรรมการอำนวยการ สภาสังคมสงเคราะห์ เข้าเฝา้ เพ่ือรบั พระราชทานพระบรมราโชวาท เกีย่ วกบั นโยบายและการดำเนนิ งาน ซ่ึงสภาสงั คม สงเคราะห์ได้น้อมเกล้าฯ  รับพระบรมราโชวาทมาเป็นแนวทางในการปฏิบัติเก่ียวกับการแก้ไข ปัญหาสงั คมและการพัฒนาสงั คมตลอดมา ดว้ ยพระบารมีและพระมหากรณุ าธิคณุ แหง่ พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ได้ช่วยให้กิจการของสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทยขยายออกไป อยา่ งกวา้ งขวาง เป็นประโยชนแ์ กป่ ระชาชน สังคม และประเทศชาตยิ ่งิ ขน้ึ

86 มูลนธิ ิราชประชานุเคราะห์ พ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ทรงอาทรห่วงใย ในความทกุ ข์ของอาณาประชาราษฎรเ์ ป็นอย่างย่ิง ทรง พระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ให้ตง้ั มูลนิธิราชประชานุเคราะห์  ในพระบรมราชูปถัมภ์ข้ึน  เพ่ือช่วยเหลือผู้ทีประสบภัย พบิ ตั ิตา่ งๆ ทง้ั น้ี เน่ืองจากการเกดิ วาตภยั และอุทกภัย ทางภาคใต ้ เมอื่ วนั ท่ี ๒๕ ตลุ าคม ๒๕๐๕ ปรากฏวา่ ราษฎรที่อาศัยอยู่ในแหลมตะลุมพุก  จังหวัด นครศรีธรรมราช  ซ่ึงอยู่ริมทะเลได้รับภัยอย่างหนัก สูญเสียทั้งชีวิต  และทรัพย์สินเป็นจำนวนมาก  เป็น เหตุการณ์รุนแรงทางธรรมชาติท่ีไม่เคยเกิดข้ึนมาก่อน จึงไม่ได้มีการเตรียมพร้อมในการช่วยเหลือเพื่อบรรเทา ความเดอื ดรอ้ น เม่ือพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ทรงทราบข่าว  ในขณะท่ีทุกคนกำลังตกตะลึงต่อ เหตกุ ารณแ์ ละความสญู เสยี ทเ่ี กดิ ขน้ึ จงึ ไดท้ รงนำในการชว่ ยเหลอื โดยไดท้ รงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้สถานีวิทยุ อ.ส. พระราชวงั ดุสติ ประกาศชกั ชวนให้มีการบริจาคเงินและสิง่ ของ เพือ่ ชว่ ยเหลอื พี่น้องร่วมชาติที่ประสบเคราะห์กรรม  ซึ่งได้มีผู้บริจาคเงินโดยเสด็จพระราชกุศลประมาณ  ๑๑ ล้านบาท  หลังจากที่ได้พระราชทานให้กรมประชาสงเคราะห์นำไปช่วยเหลือผู้ประสบภัยแล้ว ยังคงมีเงนิ เหลอื อย่อู กี ราว ๓ ลา้ นบาท จงึ ได้ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหน้ ำไปจัดต้งั เปน็ มลู นิธิ ราชประชานุเคราะห์ หมายถึง มลู นธิ ทิ พ่ี ระมหากษตั ริย์และประชาชนรว่ มกนั จัดตง้ั ขน้ึ สำหรบั มูลนธิ ริ าชประชานุเคราะห์ มีวตั ถปุ ระสงคท์ ี่สำคญั คือ การสงเคราะห์ช่วยเหลือผทู้ ่ี ประสบสาธารณภยั โดยฉบั พลนั ท่วั ประเทศ เป็นการช่วยเฉพาะหนา้ เกยี่ วกับเครอ่ื งอปุ โภคบริโภค และส่งิ ของจำเป็นแก่การดำรงชีวิต กิจการของมลู นธิ ไิ ดเ้ จรญิ ก้าวหนา้ มาโดยลำดับ มีผู้บรจิ าคเงิน สมทบทุนมูลนิธิเป็นจำนวนมาก  ซ่ึงได้นำไปช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อนจาก สาธารณภยั หรือภัยพิบัติต่างๆ ท่ัวประเทศ รวมทง้ั ได้จัดต้ังเป็นทนุ การศึกษา สำหรบั ผู้ขาดแคลน อีกดว้ ย นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณหาท่ีสดุ มไิ ด้

87 ราชประชาสมาสยั เ มื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้า อย่หู วั เสด็จพระราชดำเนินไปทรง เยี่ยมพสกนิกรในภาคตะวันออก เฉียงเหนือปี ๒๔๙๙ ไดท้ อดพระ เนตรเห็นผู้ท่ีป่วยด้วยโรคเรื้อน  ซึ่ง ได้รับความทุกข์ทรมานทั้งทาง ร่างกายและจติ ใจจึงมีพรราชหฤทยั สงสารและทรงช่วยเหลือบุคคล เหล่านี้ ด้วยการรับโครงการควบคมุ โรคเร้ือนของกระทรวงสาธารณสุข ไวเ้ ปน็ โครงการในพระราชดำริ โดย การจดั ตง้ั สถาบนั ราชประชาสมาสัยข้ึน เพือ่ ทำหนา้ ทด่ี แู ลใหก้ ารบำบัดรักษาฟน้ื ฟู และค้นควา้ วิจัย เก่ยี วกบั โรคเร้อื น พรอ้ มกับไดพ้ ระราชทานเงนิ จากทุนอานันทมหิดล สร้างอาคาร ๔ หลงั ในบรเิ วณ สถานพยาบาลพระประแดง เพ่อื ใช้เป็นสถานศกึ ษาอบรมเจา้ หนา้ ทีใ่ นการบำบัดโรคเรอื้ น เร่ิมเปดิ ใช้งานในวันท่ี ๑๖ มกราคม ๒๕๐๓ นอกจากนี้แลว้ ไดพ้ ระราชทานเงนิ อกี จำนวนหน่งึ จัดตั้งเป็นทุนราชประชาสมาสยั เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๕๐๔ ต่อมาไดเ้ ปลี่ยนชื่อเป็นมูลนธิ ิราชประชาสมาสยั และทรงรับไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์ ซ่ึงราชประชาสมาสัยน้ี  มีความหมายถึงพระราชากับประชาชนอาศัยซ่ึงกันและกัน  ซ่ึงการ ช่วยเหลือผู้ป่วยโรคเรื้อนของ  มูลนิธราชประชาสมาสัย  และสถาบันราชประชาสมาสัย  ตาม พระราชดำริ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว มิใช่เพยี งแต่บำบดั รักษาผู้ทีเ่ ป็นโรคเรือ้ นเทา่ นนั้ แต่ยงั มีการฝึกอาชีพเพ่ือให้สามารถนำไปประกอบอาชีพภายหลังจากท่ีหายป่วยด้วยโรคเร้ือน  การรับ ครอบครัวของผู้ป่วยเข้ามาอยู่ในความดูแล  รวมท้ังมีโรงเรียนสำหรับบุตรหลานของผู้ป่วยด้วย โรคเรอื้ นอีกด้วย จากพระมหากรณุ าธคิ ุณและพระเมตตาแห่ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั จงึ ทำใหม้ ผี ปู้ ว่ ย โรคเรื้อนเข้ารบั การบำบดั รักษาเพ่ิมมากขึน้ เปน็ การสะดวกตอ่ การควบคุมโรคนี้มใิ หแ้ พรห่ ลายออก ไป ซ งึ่ จากการสำรวจในปี๒๕๐๓กอ่ นทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั จะทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ รับโครงการควบคุมโรคเรอ้ื นไว้ในพระบรมราชูปถมั ภม์ ีจำนวนผปู้ ว่ ยโรคเร้อื นเฉลีย่ ๕๐ คน ใน ๑๐,๐๐๐ คน แตใ่ นปี ๒๕๓๙ องค์การอนามัยโลก สำรวจพบผูป้ ว่ ยโรคเร้อื นในประเทศไทยเหลอื เพยี ง ๐.๕ คนต่อจำนวนประชากร ๑๐,๐๐๐ คน ซง่ึ ถือว่าประเทศไทยปลอดโรคเรอ้ื นแล้ว

88 ดา้ นการจราจร พ ระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัว  ทรงตระหนักถึงความ เดือดร้อนของประชาชน  จาก การจราจรติดขัดด้านการจราจร ในกรงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล จึงได้พระราชทานพระราชดำริ ในการแก้ไข ต้ังแต่ปีพ.ศ.๒๕๑๔ โดยรับส่ังให้รัฐบาลดำเนินการ สร้างถนนวงแหวน  แทนการ สร้างพระบรมราชานุสรณ์ที่ รฐั บาลขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตจดั สรา้ ง เน่ืองในวโรกาสท่ที รงครองราชยส์ มบัตคิ รบ ๒๕ ปี ซึ่งตอ่ มาไดม้ กี ารสร้างถนนรัชดาภเิ ษกเปน็ ถนนวงแหวนเชือ่ มการจราจรผ่านทางฝง่ั พระนคร และธนบรุ ี ทไี่ ด้ช่วยแก้ปญั หาการจราจรติดขัดในปัจจุบนั ไดเ้ ปน็ อยา่ งมาก นอกจากนแ้ี ลว้ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ไดพ้ ระราชทานพระราชทรพั ย์สว่ นพระองค์ ให้กรุงเทพมหานครนำไปดำเนนิ การก่อสรา้ งถนนเลยี บทางรถไฟสายใต้ จากสถานีบางกอกน้อยถงึ ถนนจรัลสนิทวงศ์  ปรับปรุงและขยายผิวการจราจรถนนราชดำเนินกลาง  ช่วงก่อนขึ้นสะพาน พระปิน่ เกล้า ขยายสะพานผ่านฟา้ ลีลาศ สร้างสะพาน ๒ ขา้ ง ของสะพานมัฆวานรงั สรรค์ กอ่ สรา้ ง ถนนหลังศูนย์วัฒนธรรมเชื่อมระหว่างถนนพระราม  ๙  กับถนนเทียมร่วมมิตร  สร้างทางเช่ือม ถนนศรีอยธุ ยากบั ถนนอโศก รวมทัง้ ถนนเชอื่ มระหวา่ งถนนพหลโยธนิ กบั ถนนวิภาวดีรงั สติ บรเิ วณ กองพลทหารมา้ ที่ ๒ และอื่นๆ อกี มาก โครงการพระราชดำริเกยี่ วกบั การแกป้ ญั หาจราจรติดขัดทส่ี ำคญั คอื โครงการทางยกระดับ คู่ขนานลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนี มลี ักษณะคลา้ ยกับทางยกระดบั ดอนเมอื งโทลเวย์ แต่ไม่ตอ้ งเสยี ค่าผ่านทาง ทำใหก้ ารจราจรท่ีเคยติดขัดบนถนนสายตา่ งๆ ลดน้อยลงและนอกจากจะพระราชทาน พระราชทรพั ย์ในการปรับปรงุ ถนน ตรอก ซอย สะพานคนขา้ มและสะพานขา้ มทางแยกแลว้ ยงั ได้ พระราชทานพระราชดำริในการแก้ไขปัญหาจราจรติดขัด  แก่ผู้ท่ีรับผิดชอบเพ่ือนำไปดำเนินการ จากพระอัจฉริยภาพ  พระปรีชาสามารถ  และสายพระเนตรที่ยาวไกลแห่ง  พระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยู่หวั ไดช้ ว่ ยผอ่ นคลายความเดือดรอ้ นของพสกนกิ ร จากการจราจรติดขัดเปน็ อย่างมาก นับเปน็ พระมหากรณุ าธิคษุ หาที่สดุ มิได้

89 จราจรพระราชทาน ปั ญหาการจราจรติดขัดใน กรุงเทพมหานครเป็นปัญหาที่มีมา นานแล้ว และกอ่ ให้เกิดความเดือด ร้อนแก่ทกุ คนเป็นอย่างมาก เป็นผล เสียหายต่อเศรษฐกิจและช่ือเสียง ของประเทศ ซง่ึ รัฐบาลทุกรัฐบาลได้ พยายามทจ่ี ะแก้ไขดว้ ยวิธตี า่ งๆ แต่ ปัญหายังคงมีอยู่และนับวันจะเพ่ิม มากยง่ิ ขน้ึ ดว้ ยเหตนุ ้ี พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวท่ีทรงมีความห่วงใย ในพสกนิกรของพระองค์ รวมทงั้ ได้ทรงศึกษาปญั หาทีเ่ กิดขึ้นนม้ี าเปน็ เวลานาน จงึ ไดพ้ ระราชทาน แนวพระราชดำริในการแก้ไข โดยได้พระราชทานพระราชทรพั ย์ส่วนพระองค์ จำนวน ๔ ล้านบาท และของสมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี อีก ๔ ล้านบาท รวมเปน็ ๘ ลา้ นบาท ใหแ้ กก่ อง บัญชาการตำรวจนครบาล เม่อื เดือนสงิ หาคม ๒๕๓๖ เพอ่ื นำไปซอ้ื จักรยานยนตใ์ ห้กับเจ้าหน้าที่ ตำรวจจราจร จำนวน ๑๐๐ คัน สำหรับใชใ้ นการปฏิบัติหน้าท่อี ำนวยความสะดวกด้านการจราจร นอกจากน้ี เงินพระราชทานจำนวนหนง่ึ ได้ใช้ในการอบรมเจ้าหน้าทีต่ ำรวจจราจร จำนวน ๑๕๐ นาย ท่จี ดั ตงั้ เปน็ หน่วยเคลอ่ื นทีเ่ ร็วในการแก้ไขปัญหาในจดุ ตา่ งๆ ทีม่ ีการตดิ ขัด รวมทง้ั เปน็ ค่าเบ้ยี เล้ียงและคา่ นำ้ มนั รถจกั รยานยนต์ที่ใช้ปฏิบัติงาน ซง่ึ ตำรวจจราจรชุดโครงการพระราชดำริ มีสว่ นชว่ ยในการแกไ้ ขปัญหาการจราจรติดขดั บรเิ วณถนนสายหลักได้เปน็ อย่างมาก และท่ีสำคัญ คือ  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ได้พระราชทานแนวทางการแก้ไขแก่เจ้าหน้าที่ตำรวจจราจร ในโครงการพระราชดำริ  ด้วยการให้เจ้าหน้าที่โครงการดูแลการจราจรบนถนน  ให้เคล่ือนตัวไป ดว้ ยความเรว็ เหมาะสมอยา่ ให้ตดิ ขัด หากมกี ารติดขัด ณ จุดใด จะตอ้ งรบั แกไ้ ขโดยรีบด่วน สำหรับพ้ืนที่ที่การจราจรติดขัดแบบคอขวด  เจ้าหน้าท่ีจะต้องพยายามแก้ไขจนสามารถ เคลื่อนตัวไปได้เหมือนน้ำท่ีเทออกจากขวด  รวมทั้งประชาสัมพันธ์ให้ผู้ท่ีใช้รถใช้ถนนมีระเบียบ วินัยเคารพกฎจราจรและกฎหมายอย่างเคร่งครัด  เพื่อทำให้ปัญหาการจราจรติดขัดในกรุงเทพ มหานครลดน้อยและหมดสนิ้ ไป พร้อมกนั นี้พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั พระราชทานพระราช ดำริมิให้มีการปิดก้ันรถในขณะที่มีขบวนเสด็จเป็นเวลานาน  และปล่อยให้รถท่ีแล่นบนถนนตาม ขบวนเสด็จได้ในช่วงเวลาท่ีเหมาะสม ซง่ึ จะไม่ทำให้เกิดปญั หาการจราจรติดขัด นับเป็นพระมหา กรณุ าธคิ ณุ หาท่ีสดุ มิได้

90 เส้นทางเกลือ จ ากการเสดจ็ พระราชดำเนนิ ไปทรงเย่ียมราษฎรในภูมิภาคต่างๆ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพบวา่ ปญั หาการขาดสารไอโอดนี จนเกิดเป็นโรคคอหอยพอกนั้นมีอยู่ มากมายหลายพนื้ ที่ ทรงหว่ งใยและ หาวธิ ที ีจ่ ะชว่ ยเหลอื โดยไดพ้ ระราช ทานพระราชดำริให้พิจารณาแก้ไข ปัญหาของการขาดสารไอโอดีนของ ราษฎร  ด้วยการสำรวจพื้นที่ในแต่ละพ้ืนที่ถึงปัญหาและความต้องการเกลือ  เน่ืองจากแต่ละ ท้องถิ่นจะมปี ญั หาและความต้องการไม่เหมือนกนั โดนเฉพาะต้องสำรวจเสน้ ทางเกลือว่าผลิตมาก จากแหลง่ ใด เพื่อท่จี ะนำเอาไอโอดนี ไปผสมกับแหล่งผลติ ต้นทาง ตอ่ มาในวนั ที่๙มนี าคม๒๕๓๖พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ไดพ้ ระราชทานพระราชดำรใิ ห้ กระทรวงมหาดไทย  กระทรวงศึกษาธิการ  และกระทรวงสาธารณสุข  ร่วมกับมูลนิธิชัยพัฒนา พิจารณาแก้ไขปัญหาการขาดสารไอโอดีนโดยให้เร่ิมต้นท่ีอำเภอสะเมิง  จังหวัดเชียงใหม่เป็น แห่งแรก เนอ่ื งจากเปน็ อำเภอที่มปี ญั หาในเรือ่ งนี้มากที่สดุ อำเภอหนึ่งในเขตภาคเหนือ ดว้ ยการจัด ทำโครงการนำร่องเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดสารไอโอดีน  โดยการศึกษาชนิดของเกลือที่ใช้ในการ บริโภค และสำรวจเสน้ ทางเกลือท่ีนำเข้าไปจำหนา่ ย รวมทง้ั หาวิธนี ำสารไอโอดนี ไปผสมกับเกลอื ทแ่ี หล่งผลติ ต้นทาง เส้นทางเกลือ อันเนือ่ งมาจากพระราชดำรนิ ้ี ได้เปน็ แมบ่ ทที่นำมาใช้ในการเป็นต้นแบบวธิ ี การเตมิ สารไอโอดีนจากแหลง่ ต้นทางการผลติ เกลอื ท่ัวประเทศในเวลาตอ่ มา นับว่าเปน็ การพัฒนา คุณภาพชีวิตของประชาชนในชนบทได้เป็นอย่างดี  และเป็นที่ยอมรับถึงพระปรีชาสามารถอัน ลกึ ซ้ึงของ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ทท่ี รงพระกรณุ าพระราชทานแนวพระราชดำริให้ศกึ ษา สำรวจเส้นทางเกลือ เพื่อใหพ้ สกนิกรชาวไทยทกุ หมู่เหล่าปราศจากโรคคอพอก มสี ุขภาพพลานมยั ทีส่ มบูรณแ์ ข็งแรง นับเปน็ พระมหากรุณาธคิ ุณเปน็ ลน้ พน้

การศึกษาของชาติ เพื่อการศึกษา พ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ทรงมีพระราชดำรวิ ่า ประเทศชาติ จะมคี วามม่นั คงและ เจริญก้าวหน้าได้ต้องมาจากการท่ีพลเมืองของชาติมีคุณภาพและประสิทธิภาพ  ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะมี ได้กด็ ว้ ยการศึกษา เนอื่ งจากการศึกษาเปน็ เครือ่ งมอื ท่ีสำคญั ในการพฒั นาคนใหเ้ ป็นผทู้ ม่ี คี วามรู้ ความคดิ ความประพฤติ ทัศนตชคติ ค่านิยมและคณุ ธรรมท่ีดี จงึ ทรงสนพระราชหฤทัยในเรื่อง การศึกษา โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงเยาวชน เพราะเป็นทรพั ยากรทม่ี คี ่าและเปน็ อนาคตของประเทศชาติ ดว้ ยการจัดตัง้ กองทุน นวฤกษ เพอื่ ช่วยเหลือนักเรยี นที่ขาดแคลนทุนทรพั ย์ในระดบั ประถมศึกษา และมธั ยมศกึ ษา รวมทั้งได้พระราชทานทนุ อานันทมหดิ ล และภูมิพล ในระดบั อดุ มศึกษา

92 นอกจากนี้แล้ว  ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ  ให้ทหารร่วมกับราษฎรในท้องถ่ิน  สร้าง โรงเรียนระดบั ประถมและมัธยมศึกษาในถนิ่ ทุรกันดาร พรอ้ มกับพระราชทานทรพั ย์สว่ นพระองค์ เปน็ ทนุ เริ่มต้นในการกอ่ สรา้ งและพระราชทานนามว่าโรงเรยี นร่มเกลา้ ซ่ึงโรงเรยี นรม่ เกลา้ แห่งแรก ท่ีบา้ นหนองเคน ตำบลดงหลวง อำเภอนาแก จงั หวัดนครพนม ได้มีมพี ิธีเปดิ เมอ่ื วันท่ี ๓๐ ตุลาคม ๒๕๑๖  ซึ่งเป็นช่วงท่ีสถานการณ์ก่อการร้ายมีความรุนแรง  รวมท้ังได้ทรงโปรดเกล้าฯ  ให้สร้าง โรงเรียนชายแดนสำหรับเดก็ ชาวเขา คอื โรงเรยี นเจ้าพ่อหลวงอปุ ถมั ภ์ ทำใหเ้ ด็กชาวเขามีการศึกษา และความรู้ สามารถชว่ ยในการพัฒนาบา้ นเมอื งไดเ้ ปน็ อย่างมาก สำหรับการศึกษานอกระบบโรงเรียน  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ทรงริเริ่มโครงการ พระดาบสข้ึนเมื่อเดือนสิงหาคม  ๒๕๑๘  เป็นโครงการตามพระราชดำริท่ีมุ่งสอนวิชาชีพแก่ผู้ที่ ยากจนและไม่มีวิชาความรู้อะไรสำหรับนำไปประกอบอาชีพ  โดยผู้เรียนไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งส้ิน และเพ่อื ใหเ้ ด็กยากจนทั่วไปได้มโี อกาสทางการศกึ ษา จึงทรงโปรดเกล้าฯ ใหจ้ ดั ต้ังโรงเรียน สงเคราะหเ์ ด็กยากจนขนึ้ ในวดั เป็นการใหว้ ัดและพระสงฆ์มีสว่ นช่วยเหลือสังคมทางด้านการศึกษา ซ่ึงจะทำให้เด็กยากจนมีความรู้และคุณธรรม  โดยโรงเรียนที่จัดตั้งแห่งแรก  คือ  โรงเรียนวัดศรี จันทรป์ ระดิษฐ์ อำเภอเมือง จังหวัดสมทุ รปราการ นับเป็นพระมหากรุณาธคิ ุณอยา่ งย่ิง

93 การศึกษาของเยาวชน พ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงตระหนักถึงปัญหาเยาวชนที่ไม่ได้ รับการศึกษาเพราะฐานะยากจน สถาน ศึกษาอยู่ห่างไกลหรือไม่มีสถานท่ีศึกษา  จึงทรงช่วยเหลือเก้ือกูลด้านการศึกษา ของเยาวชนมาโดยตลอดทั้งในเมือง และชนบทถน่ิ ทรุ กนั ดารหา่ งไกลคมนาคม โดยเฉพาะอย่างย่ิงเยาวชนที่ยากจน และด้อยโอกาส  เนื่องจากทรงเห็นว่า การศึกษาเป็นรากฐานของความเจริญ เป็นปัจจัยหลักที่จะสร้างบุคลากรท่ีมีคุณภาพของชาติ  ด้วยเหตุน้ีจึงทรงสนับสนุนการสร้าง โรงเรียนตา่ งๆ ขึน้ หลายแหง่ ทวั่ ประเทศ และโรงเรียนวังไกลกงั วล หวั หิน จงั หวดั ประจวบคีรขี ันธ์ เปน็ โรงเรียนแหง่ แรกท่ไี ดพ้ ระราชทานพระราชทรพั ย์ส่วนพระองคใ์ นการพฒั นาเมือ่ ปีพ.ศ.๒๔๙๖ เพือ่ เป็นสถานทเี่ รยี นของบุตรหลานราษฎรในท้องถ่ินน้นั ตอ่ มา ในปี พ.ศ. ๒๕๐๖ ไดพ้ ระราชทานพระราชทรพั ยส์ ว่ นพระองค์ แก่กองบัญชากรตำรวจ ตระเวนชายแดนเพื่อสนับสนุนการจัดต้ังโรงเรียนสำหรับชาวเขา  เป็นการช่วยให้เยาวชนชาวเขา ในถน่ิ ทรุ กนั ดารไดม้ โี อกาสเรยี นรหู้ นงั สอื ไทย  ตลอดจนขนบธรรมเนยี มประเพณแี ละวฒั นธรรมไทย ซง่ึ จะทำให้มคี วามสำนึกในความเปน็ ไทย อันมีผลต่อความมั่นคงปลอดภยั และความเจรญิ กา้ วหน้า ของประเทศ โรงเรียนเหล่านไ้ี ด้รับพระราชทานนามว่า เจา้ พ่อหลวงอปุ ถมั ภ์ นอกจากนี้ ทรงให้ การสนับสนุนทหารในการสร้างโรงเรียนสำหรับเยาวชน  ในท้องถ่ินชนบทห่างไกลท่ีมีปัญหา ความไม่สงบจากภัยตา่ งๆ ขนึ้ เป็นแห่งแรกที่อำเภอนาแก จงั หวัดนครพนม เมื่อปี พ.ศ.๒๕๑๖ และพระราชทานนามว่า โรงเรยี นรม่ เกลา้ สำหรับเยาวชนทม่ี ีฐานะยากจนในเขตชมุ ชน ไดพ้ ระราชทานความช่วยเหลือด้วยการจดั ตั้ง โรงเรียนสงเคราะห์เด็กยากจนข้ึนในวัด  รวมท้ังทรงสนับสนุนให้จัดต้ังโรงเรียนราชประชาสมาสัย เพอ่ื เป็นสถานศึกษาสำหรับเยาวชนทเี่ ป็นบุตรหลานของผปู้ ่วยโรคเร้อื น ซึง่ จะทำใหห้ มดปญั หาใน เรอื่ งปมดอ้ ย และไดร้ ับการศึกษาอยา่ งเต็มที่ นอกจากน้ยี ังส่งเสรมิ ความร้ดู ้านวิชาชีพ แก่ผู้มีฐานะ ยากจนตามโครงการพระดาบส พระมหากรุณาธิคณุ แห่งพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทท่ี รงมตี ่อ เยาวชนของชาตดิ ้านการศึกษา ทำให้เยาวชนเหลา่ น้ีได้มีโอกาสศกึ ษาเล่าเรยี นอย่างเต็มที่ และนำ ความรู้ทีได้รับไปใช้ในการประกอบอาชะ  ดำรงตนเป็นพลเมืองดีของชาติและเสริมสร้างความ ม่นั คงปลอดภัย ตลอดจนความเจริญกา้ วหนา้ ของประเทศเปน็ ส่วนรวม

94 สารานกุ รม พ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงตระหนักว่าประเทศชาติจะเจริญ ก้าวหนา้ ขน้ึ อยกู่ บั การศกึ ษาท่ีดขี องเดก็ ซ่ึงจะเป็นผู้ท่ีรับช่วงทุกส่ิงทุ่งอย่างต่อจาก ผู้ใหญ่ จงึ ทรงสนบั สนนุ ความรู้ในด้านต่างๆ แก่เดก็ ซึ่งสารานุกรมเป็นหนงั สือทที่ รง พระราชดำริให้จัดทำข้ึน  เป็นหนังสือ รวบรวมความรู้สารพัดอย่างสำหรับเด็ก  ไดเ้ รม่ิ ดำเนนิ การมาต้งั แต่วนั ที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๑๑ ผทู้ เ่ี ขียนสารานุกรมเปน็ คนไทยทเ่ี ปน็ ผูเ้ ชีย่ วชาญในแต่ละวิชา และการเขยี นนเี้ ป็นการเขียนสำหรบั คนอ่าน ๓ ระดับ คือ ระดบั เด็กเลก็ อายุ ๘ –๑๑ ปี ระดบั กลางอายุ ๑๒-๑๔ ปี และเดก็ โตอายุต้งั แต่ ๑๕ ปีขึ้นไป พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ทรงมีพระบรมราชาธิบายเก่ียวกับเร่ือง  สารานุกรม  ว่า เป็นหนังสือที่ให้ความรู้ในวิชาทุกสาขา  เพราะวิชาแต่ละวิชามีความสัมพันธ์กัน  ข้อความที่เขียน เป็นหลกั วิชาแทๆ้ ที่เป็นข้อเท็จจริงสำหรบั รูปภาพประกอบเรอ่ื งเปน็ รูปภาพทด่ี แู ลว้ เกดิ ประโยชน์ ไมใ่ ชเ่ พอื่ ความสวยงาม โดยไดท้ รงกำหนดสารานุกรมนไ้ี ว้ ๔ เล่ม เล่มหน่ึงมี ๔๐๐ หน้า ประกอบ ดว้ ยเรอ่ื งธรรมชาติวทิ ยาศาสตรป์ ระยกุ ตว์ ทิ ยาสงั คมศาสตร์และมนษุ ยศาสตร์พมิ พค์ รงั้ แรกจำนวน ๑๐,๐๐๐ เล่ม พระราชทานแกโ่ รงเรยี น หอ้ งสมดุ ตา่ ง ๆ ทัว่ ประเทศ และจำหนา่ ยใหแ้ ก่ผทู้ ่สี นใจ สารานุกรมเป็นหนงั สอื ทใี่ ห้ความรแู้ กเ่ ดก็ อย่างแท้จรงิ ทั้งเด็กเลก็ และเดก็ ทไี่ ม่มโี อกาสได้ ศกึ ษาเล่าเรียนหากได้อ่านกจ็ ะมคี วามรู้ความเขา้ ใจในสิ่งต่าง ๆ สารานุกรมทำหน้าท่เี หมอื นครูหรือ คลงั ปญั ญา หากสงสยั เรือ่ งใดเม่ืออา่ นจากสารานุกรมแลว้ จะทราบดี รวมทง้ั เปน็ หนงั สือที่มีสว่ น ชว่ ยในการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนความรู้ ขนาดแคลนครู และโรงเรียน นอกจากนแ้ี ลว้ ยงั เป็น หนังสือที่ให้ความรู้ต่อเนื่องแก่ผู้ท่ีเรียนจากโรงเรียนแล้ว  จากพระปรีชาที่ชาญฉลาดและสาย พระเนตรที่ยาวไกลแห่ง  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  เด็กไทยจึงได้มีหนังสือสารานุกรมท่ีให้ ความรอู้ ยา่ งอเนกประการ

95 มูลนิธิชว่ ยครูอาวโุ ส พ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ทรงตระหนัก พระราชหฤทัยวา่ ในการศึกษานัน้ ครูเปน็ ผู้มบี ทบาท สำคัญในการให้การศึกษาอบรมแก่เด็กจึงทรงยกย่อง ให้เกียรติและส่งเสริมครู  พร้อมทั้งพระราชทาน ข้อคิดในการอบรมส่ังสอนเด็กแก่ครู  ที่เข้าเฝ้าทูล ละอองธุลีพระบาทในโอกาสต่างๆ ตลอดจนพระราชทาน พระบรมราโชวาทแก่ผู้สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัย วิชาการศึกษา  หรือมหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒเพอ่ื เป็นแนวทางในการประพฤติปฏบิ ัติตนในหนา้ ทีข่ องครู พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว จะรับสง่ั เสมอว่า ครตู อ้ งตง้ั ตวั ในความดีอยู่ตลอดเวลา เพราะถา้ เปน็ ครู แล้วลูกศิษย์จะต้องเคารพนับถือได้  หากครูไม่ทำตัว เป็นผู้ใหญ่ท่ีดีแล้ว  เด็กจะเคารพได้อย่างไร  จึงได้ พระราชทานพระบรมราโชวาท และพระราชดำรัสทเ่ี ป็นการเตอื นสตผิ ทู้ ีเ่ ปน็ ครูตลอดเวลา เพราะ ทรงถอื ว่าเด็กจะดหี รอื ไมด่ ีอยทู่ คี่ รเู ป็นสำคัญ ถ้าเดก็ ไดร้ บั การศึกษาอบรมทด่ี ี ทงั้ ในดา้ นวชิ าการ และจริยธรรม เตมิ โตกจ็ ะเป็นพลเมืองที่ดี เป็นประโยชนแ์ ก่สงั คมและชาติบา้ นเมอื ง นอกจากนี้  เพ่ือเป็นการยกย่องเชิดชูเกียรติของครู  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงโปรดเกล้าฯ ใหจ้ ัดตง้ั มูลนิธิช่วยเหลอื ครูอาวโุ สขน้ึ โดยอยูใ่ นพระบรมราชานเุ คราะห์ และได้ พระราชทานเงนิ จำนวน ๑๐๐,๐๐๐ บาท แก่คุรุสภาเมือ่ ปี พ.ศ.๒๕๑๐  เปน็ ทุนประเดิมในการ จัดตั้งมูลนิธิในการช่วยเหลือครูอาวุโส  ท่ีได้ปฏิบัติหน้าท่ีมาด้วยดีจนครบเกษียณอาย ุ ท้ังในด้าน การเงินและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติ  เพื่อส่งเสริมให้ครูมีกำลังใจในการปฏิบัติหน้าที่  นับเป็น พระมหากรณุ าธิคุณแกค่ รทู กุ คน และการศกึ ษาของชาติเปน็ อยา่ งยิง่

96 นสิ ิตนักศึกษา พ ระบาทสมเด็จพระเจ้า อยหู่ วั ทรงตระหนกั ในพระราชหฤทยั วา่ ผ้ทู ี่จะเป็นหลกั ในการบรหิ าร ประเทศให้เจริญก้าวหน้าต่อไปใน อนาคต  คือ  นิสิตนักศึกษาใน ปัจจุบันจึงทรงบำเพ็ญพระราช กรณียกจิ ตา่ งๆ เพื่อความสามคั คี และความสำเร็จในการศกึ ษา ของ นสิ ติ นกั ศกึ ษาในระดบั มหาวทิ ยาลยั ทุกสถาบัน  ด้วยการพระราชทานความสนิทสนมการอบรมสั่งสอน  รวมท้ังทรงสนับสนุนให้นิสิต นักศึกษาทุกคน บำเพ็ญตนใหเ้ ปน็ ประโยชน์ ต่อสงั คมและประเทศชาติ โดยมไิ ด้ทรงถือพระองค์ แต่ประการใด  เมื่อเสด็จอยู่ท่ามกลางนิสิตนักศึกษา  จะทรงปฏิบัติพระองค์เหมือนดังว่านิสิต เหลา่ นั้น เปน็ พระราชโอรสและพระราชธดิ าในพระองค์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ทรงถอื การพระราชทานปริญญาบัตร เปน็ พระราชกรณยี กิจ ท่ีจะต้องทรงปฏบิ ตั ิ นับแต่เสดจ็ ขึ้นครองราชยจ์ นถึงปจั จุบนั มิได้ขาดเลย แม้บางคร้งั จะมไิ ด้เสด็จ พระราชดำเนินไปพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยต่างๆ  ด้วย พระองค์เอง จะทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ให้ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สนามมกฎุ ราชกุมาร สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี หรือสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟา้ จฬุ าภร วลัยลกั ษณ์อัครราชกมุ ารีเสดจ็ แทนพระองค์ทง้ั นี้เน่อื งจากทรงเข้าพระราชหฤทัยถงึ ความต้องการ ของผู้ที่ไดร้ บั พระราชทานปรญิ ญาบัตรเปน็ อย่างดี นอกจากนี้แล้ว  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ยังได้พระราชทานความใกล้ชิดกับนิสิต นักศึกษา  ด้วยการเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมมหาวิทยาลัยต่างๆ  และทรงดนตรีเป็นการ ส่วนพระองค์ พรอ้ มกับพระราชทานพระบรมราโชวาท เพอ่ื อบรมสั่งสอนและเตอื นสติ โดยทรงยก เหตกุ ารณ์ที่เกี่ยวขอ้ งกับมหาวทิ ยาลัยน้ัน ๆ ในช่วงก่อนทจ่ี ะเสด็จไปทรงเยย่ี มขึ้นมารับส่งั อย่างเช่น เรือ่ งการแตกความสามคั คี และการรับน้องใหมท่ ี่ไม่ถกู ตอ้ ง จากการทไ่ี ดพ้ ระราชทานพระบรมราช วโรกาสให้นสิ ิตนักศกึ ษา เขา้ เฝ้าทูละอองธลุ ีพระบาทอยา่ งใกลช้ ดิ น้ี ทำใหผ้ ทู้ ่ีสำเรจ็ การศึกษาเปน็ บณั ฑิตทุกคน ตง้ั ม่ันอยู่ในความดี มจี รยิ ธรรม เปน็ กำลังสำคัญในการพฒั นาประเทศชาตใิ ห้เจริญ ก้าวหน้าเปน็ อยา่ งมาก

97 เด็กและเยาวชน พ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ทรง สนพระราชหฤทัยในกิจกรรมท่ีเกี่ยวกับ นักเรียนไม่น้อยไปกว่านิสิตนักศึกษา  ไม่ว่า จะมีงานใดที่เกี่ยวกับนักเรียน  มิเคยทรง ขัดข้องท่ีเสด็จพระราชดำเนินตามท่ีกระทรวง ศึกษาธิการหรือสถาบันการศึกษาต่างๆ  กราบบังคมทูลอัญเชิญเสด็จ  นอกจากนี้ แล้วงานแสดงศิลปหัตถกรรมของนักเรียน งานวันลกู เสอื แห่งชาติ และงานกรีฑา ซงึ่ เปน็ งานประจำปีของนักเรียนในอดีตที่ผ่านมา  จะเสด็จพระราชดำเนินทอดพระเนตร การแสดงต่างๆ  ของนักเรียน  ด้วยความ สนพระราชหฤทยั เปน็ อยา่ งย่งิ จนท่วั บรเิ วณงาน พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู ัว ทรงพระราชดำรวิ า่ เดก็ นกั เรียนคือ กำลังของชาตใิ นอนาคต จึงทรงสง่ เสรมิ ในด้านการเรียนดว้ ยการพระราชทานรางวลั เรยี นดีและทนุ การศกึ ษาหลายประเภท เป็นต้นว่า นักเรียนที่สอบประโยคมธั ยมศกึ ษาตอนปลายสายสามัญ ของกระทรวงศกึ ษาธิการได้ คะแนนดเี ยยี่ ม จะได้รับพระราชทานทุนเลา่ เรยี นหลวงทนุ สำหรับนกั เรยี นมธั ยมและประถมที่มผี ล การเรียนและความประพฤตดิ ี ตลอดจนรางวลั สำหรับโรงเรียนทจ่ี ดั การศกึ ษาดี ทรงจดั ต้งั กองทนุ นวฤกษ์เพ่อื ชว่ ยเหลอื นกั เรียนที่ขาดแคลนทนุ ทรพั ย์ ในระดบั ประถมศึกษาและมธั ยมศึกษารวมทั้ง การพระราชทานรางวัลแก่ปอเนาะ ทจี่ ดั การศกึ ษาไดด้ ใี นจังหวัดภาคใต้ นอกจากน้ีแล้ว  ได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์แก่ตำรวจตระเวนชายแดน เพื่อสนับสนุนการจัดต้ังโรงเรียนสำหรับชาวเขา  เป็นการช่วยให้เยาวชนชาวเขาได้มีโอกาสเรียนรู้ หนังสือไทย  ทรงให้การสนับสนุนทหารในการสร้างโรงเรียนในท้องถิ่นชนบทห่างไกล  ท่ีมีปัญหา ความไม่สงบจากภัยต่างๆ  พระราชทานความช่วยเหลือในการจัดต้ังโรงเรียนสงเคราะห์เด็ก ยากจน และโรงเรยี นสำหรบั บตุ รหลานของผ้ปู ่วยโรคเรอ้ื น จากพระมหากรุณาธคิ ุณแหง่ พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ทำให้เด็กและเยาวชนมีโอกาสศึกษาเล่าเรียนเพ่ิมมากขึ้น  ดำรงตนเป็น พลเมอื งดีของสงั คม เสรมิ สรา้ งความม่ันคงและความเจริญก้าวหน้าให้ประเทศชาติ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook