Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุดที่ 3 ระบบหมุนเวียนเลือด ส่วนหน้า

ชุดที่ 3 ระบบหมุนเวียนเลือด ส่วนหน้า

Published by nipa70439, 2020-06-13 01:22:44

Description: ชุดที่ 3 ระบบหมุนเวียนเลือด ส่วนหน้า

Search

Read the Text Version

ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ วชิ าวทิ ยาศาสตร์พืน้ ฐาน ว22101 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 หนว่ ยท่ี 1 เรื่องรา่ งกายของเรา เลอื ดและองค์ประกอบของเลอื ด นางนภิ าวรรณ ลัดดาหอม ตาแหน่ง ครชู านาญการพิเศษ โรงเรยี นวีรวฒั นโ์ ยธิน อาเภอเมอื ง จังหวัดสรุ ินทร์ สานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 33

ก คานา ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์เล่มนี้ เป็นเอกสารท่ีจัดทาขึ้นเพ่ือใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ร่างกายของเรา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นชุดกิจกรรมที่ผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง จากสื่อท่ีหลากหลาย เน้นกิจกรรมการฝึกปฏิบัติดว้ ยตนเองตามกิจกรรมท่ีกาหนดไว้ ซึ่งประกอบด้วย ชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์ จานวน 8 ชดุ ดังนี้ ชดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ท่ี 1 เร่ือง การจัดระบบในรา่ งกาย ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตรท์ ี่ 2 เร่ือง ระบบย่อยอาหาร ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ท่ี 3 เรื่อง ระบบหมุนเวยี นเลือด ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ท่ี 4 เรื่อง ระบบหายใจ ชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์ที่ 5 เรื่อง ระบบขับถา่ ย ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ท่ี 6 เร่ือง ระบบประสาท ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตรท์ ี่ 7 เร่ือง ระบบสบื พนั ธ์ุ ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตรท์ ี่ 8 เร่ือง การตัง้ ครรภแ์ ละการคลอด ในการนาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์น้ีไปใช้ ผู้สอนควรมีการศึกษาคู่มือครูประกอบการใช้ ชดุ กิจกรรมในส่วนที่เป็นแผนการจดั การเรียนรู้โดยละเอียด เพื่อให้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้บรรลุ จุดประสงค์ของหลกั สูตร ซึง่ กระบวนการจดั การเรยี นรูใ้ ชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ผู้เรยี นได้ เรียนรู้จากการปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง โดยครูผู้สอนเป็นผู้ให้การช่วยเหลือและอานวยความ สะดวกในการปฏิบตั กิ จิ กรรมและประเมนิ ผลการเรยี นของผ้เู รียน หวังเป็นอย่างยิ่งว่าชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์เล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาการเรียนรู้ ของผเู้ รยี น และครสู ามารถนาไปใชใ้ นการพฒั นาการจัดการเรยี นรู้ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ นภิ าวรรณ ลดั ดาหอม

ข สารบญั เร่ือง หนา้ คานา .................................................................................................................................... ก สารบัญ ................................................................................................................................ ข ลาดับขัน้ การเรยี นโดยใชช้ ุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์............................................................... ค รายช่อื ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ ........................................................................................... ง คาช้ีแจงในการใช้ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์สาหรับนักเรียน................................................. จ จุดประสงค์การเรยี นรู้.......................................................................................................... ฉ ข้อตกลงในการใช้ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร.์ ......................................................................... ช แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ........................................................................................................ 1 ใบความรทู้ ี่ 3.1 ................................................................................................................... 4 ใบความรู้ท่ี 3.2 ................................................................................................................... 6 ใบความรู้ท่ี 3.3 ................................................................................................................... 8 ใบกจิ กรรมที่ 3.1................................................................................................................. 12 ใบกจิ กรรมท่ี 3.2................................................................................................................. 15 ใบกจิ กรรมท่ี 3.3................................................................................................................. 16 กิจกรรมพัฒนาความรู้ที่ 3.1................................................................................................ 19 กิจกรรมพัฒนาความรู้ท่ี 3.2................................................................................................ 20 กิจกรรมพัฒนาความร้ทู ่ี 3.3................................................................................................ 21 กจิ กรรมเสรมิ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ที่ 3.1 .................................................... 22 กิจกรรมเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ท่ี 3.2 .................................................... 23 กิจกรรมเสรมิ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ 3.3 .................................................... 24 แบบทดสอบหลังเรยี น......................................................................................................... 25 บรรณานุกรม ....................................................................................................................... 28

ค ลาดับขน้ั การเรยี นโดยใช้ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ อา่ นคาชี้แจง ทดสอบก่อนเรยี น กจิ กรรมการเรียนรู้ ศึกษาใบความรู้ ใบกจิ กรรม กจิ กรรมพัฒนาความรู้/กิจกรรมเสรมิ ทักษะ กิจกรรมเสรมิ ทักษะ ทดสอบหลังเรียน ผา่ นเกณฑ์ ไม่ผ่านเกณฑ์ ศกึ ษาชุดต่อไป

ง รายชอื่ ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ ชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์ที่ 1 เรื่อง การจัดระบบในร่างกาย ชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตรท์ ่ี 2 เร่ือง ระบบย่อยอาหาร ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ท่ี 3 เรอ่ื ง ระบบหมนุ เวียนเลือด ชดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตรท์ ี่ 4 เร่ือง ระบบหายใจ ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตรท์ ่ี 5 เรื่อง ระบบขับถา่ ย ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตรท์ ่ี 6 เรื่อง ระบบประสาท ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตรท์ ่ี 7 เรื่อง ระบบสืบพนั ธุ์ ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ท่ี 8 เรื่อง การตง้ั ครรภ์และการคลอด

จ คาช้ีแจงในการใช้ ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตรส์ าหรับนักเรยี น ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ชุดท่ี 3 เร่อื ง ระบบหมุนเวยี นเลือด เป็นเอกสารทใี่ ชใ้ นการจัดการเรยี นรู้วชิ าวทิ ยาศาสตรพ์ น้ื ฐาน รหัสวชิ า ว22101 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 เรื่อง รา่ งกายของเรา เนื้อหาสาระและกจิ กรรมการเรียนรใู้ นชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์ ชดุ ที่ 3 เรื่องระบบ หมุนเวียนเลือด มขี ั้นตอนในการเรียนรู้ดังต่อไปนี้ ขั้นตอนการเรยี นร้จู ากชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ ทดสอบกอ่ นเรยี น 10 ข้อ กิจกรรมการเรยี นรู้(ศกึ ษาใบความรู้ ทาใบกิจกรรม กจิ กรรม พฒั นาความรู้ กิจกรรมเสริมทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์) ทดสอบหลงั เรยี น 10 ขอ้ กจิ กรรมการเรียนรู้ (ลาดับขั้นการศกึ ษาใบกจิ กรรมและใบความรู้อาจเปลย่ี นแปลงตาม ชดุ กจิ กรรม) 1. ชุดกิจกรรมที่ 3.1 ระบบหมุนเวียนเลือด นักเรียนศึกษาใบกิจกรรม เรื่อง อัตรา การเต้นชีพจร ศกึ ษาใบความรู้ แลว้ กจิ กรรมพฒั นาความรู้ กิจกรรมเสรมิ ทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะการจัดกระทาและสอื่ ความหมายขอ้ มูล 2. ชดุ กจิ กรรมท่ีท่ี 3.2 เลือดและองคป์ ระกอบของเลือด ให้นกั เรยี นศึกษาใบความรู้ แลว้ ทาใบกิจกรรมเขยี นแผนผังความคดิ กิจกรรมพฒั นาความรู้ กิจกรรมเสริมทกั ษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะการพยากรณ์ 3. ชุดกจิ กรรมที่ท่ี 3.3 หัวใจและหลอดเลอื ด นกั เรียนศกึ ษาใบกจิ กรรม เรือ่ ง แบบจาลองการทางานของหัวใจ กิจกรรมพฒั นาความรู้ แล้วเล่นเกม ฉันสัมพนั ธ์กับ ส่ิงใด กิจกรรมเสรมิ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทกั ษะการความสัมพันธ์ ระหวา่ งเสเปสกบั สเปสและสเปสกบั เวลา

ฉ จุดประสงค์การเรยี นรู้ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายส่วนประกอบหน้าที่ของระบบหมนุ เวยี นเลือดในร่างกายของมนษุ ย์ได้ 2. ทดลองและสรุปการทางานของหัวใจโดยการจบั ชีพจรได้ 3. อธิบายองค์ประกอบของเลอื ดได้ 4. อธบิ ายโครงสร้าง หนา้ ท่ีของหวั ใจและหลอดเลือดได้ 5. เขยี นแผนผงั ความคดิ เกย่ี วกับเลือดและองคป์ ระกอบของเลือดได้ 6. ทดลองและสรปุ การทางานของหวั ใจโดยใชแ้ บบจาลองได้

ช ขอ้ ตกลงในการใชช้ ุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 1. กิจกรรมการเรยี นของนักเรยี นเน้นการปฏิบัติกจิ กรรมกลุม่ เพราะฉะนั้น นักเรยี นจะต้องแบง่ กลุ่ม ๆ ละ 4-5 คน แล้วเลือกประธานและเลขานุการประจากลมุ่ เพ่ือปฏิบัติหน้าทตี่ ามบทบาทท่กี าหนดให้ 2. การทาแบบทดสอบหรือการทาใบกิจกรรม ให้นักเรยี นใชก้ ระดาษคาตอบ ทเี่ ตรียมให้ เม่อื ตรวจคาตอบจากการเฉลยแล้วใหน้ กั เรียนบนั ทึกคะแนนทไี่ ดล้ งใน แบบบนั ทกึ สมาชกิ กล่มุ และบนั ทกึ คะแนน อย่าตอบโดยลอกคาตอบของเพ่ือนหรือ ตอบโดยไมไ่ ด้ใช้ความคดิ เพราะการปฏบิ ัติเชน่ น้ันเท่ากับนักเรียนไมม่ คี วามซ่ือสตั ย์ ตอ่ ตนเองและนกั เรียนจะไม่เกดิ การเรยี นรู้จากการใชช้ ุดกิจกรรมวิทยาศาสตรเ์ ลย 3. กรณที ่ีนกั เรยี นตอบผิด ให้นกั เรียนกลับไปศกึ ษากจิ กรรมการทดลองหรือ ใบความรู้อีกครง้ั ทาความเข้าใจใหม่ หากไม่เขา้ ใจให้สอบถามครผู สู้ อน 1. 5. ควรเร่ิมศึกษาเนื้อหาตามลาดบั เพราะจะทาใหน้ ักเรยี นมีความ เขา้ ใจจากง่าย ไปหายาก 2. 6. ผ้สู อนจะประเมนิ นักเรยี นในด้านการปฏิบัตกิ ิจกรรมกลุ่ม ความมีวินัย ในการเรยี น ประเมินผลงาน ประเมนิ คุณภาพการใช้ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ 3. นกั เรียนจึงควรเรียนด้วยความตงั้ ใจ 4.

แบบทดสอบก่อนเรียน เร่ือง ระบบหมุนเวยี นเลือด คาชแ้ี จง ข้อสอบฉบบั น้เี ป็นขอ้ สอบชนิดเลอื กตอบแบบ 4 ตัวเลือก มีทัง้ หมด 10 ขอ้ ใชเ้ วลาในการทาขอ้ สอบ 10 นาที ให้นกั เรียนเลือกคาตอบท่ีถกู ที่สดุ เพยี งข้อเดียว จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธบิ ายสว่ นประกอบหน้าทข่ี องระบบหมุนเวยี นเลอื ดในร่างกายของมนุษย์ได้ 2. อธิบายองคป์ ระกอบของเลือดได้ 3. อธิบายโครงสร้างหน้าทข่ี องหัวใจและหลอดเลอื ดได้ คาส่งั ใหน้ กั เรียนทาเคร่ืองหมายกากบาท (  ) ลงใน ตัวอักษร ก. , ข. , ค. , ง. ท่ีเปน็ คาตอบที่ถูก ทส่ี ุดเพียงคาตอบเดยี ว 1. สว่ นประกอบของเลือดทมี่ ปี ริมาณมากท่ีสดุ คอื ข้อใด ก. พลาสมา ข. เกล็ดเลือด ค. เม็ดเลอื ดขาว ง. เม็ดเลือดแดง 2. เซลล์เมด็ เลอื ดแดงประกอบด้วยสารประเภทโปรตีน X ทาหนา้ ทีล่ าเลยี งแกส๊ Y ไปยัง สว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย สารประเภทโปรตีน X และ แกส๊ Y ขอ้ ใดถกู ต้อง ก. เฮโมโกลบิน แก๊สออกซิเจน ข. โพรทรอมบิน แก๊สออกซิเจน ค. เฮโมโกลบิน แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ ง. โพรทรอมบิน แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์

3. ข้อใดคือลักษณะของเม็ดเลือดแดง ก. กลมแบน ตรงกลางเวา้ มีนิวเคลียส ข. กลมแบน ตรงกลางเวา้ ไมม่ ีนิวเคลยี ส ค. มีขนาดใหญ่กว่าเม็ดเลือดขาว ไม่มีนิวเคลียส ง. เปน็ แผ่นเล็ก ๆ ไม่มนี ิวเคลยี ส ชว่ ยนาออกซเิ จน 4. ขอ้ ใดอธิบายลักษณะของเกลด็ เลอื ดไมถ่ ูกต้อง ก. เกลด็ เลอื ดมอี ายุเพียง 4 วันเทา่ นั้น ข. เกลด็ เลือดเป็นเซลลท์ มี่ ีอยู่ในร่างกาย ค. เกลด็ เลอื ดมแี หล่งทีส่ ร้าง คอื ไขกระดูก ง. เกลด็ เลอื ดไมใ่ ช่เซลล์แตเ่ ป็นชน้ิ สว่ นของเซลล์ 5. ข้อใดอธิบายหน้าท่ขี องเซลล์เมด็ เลือดแดงได้ถูกต้องทส่ี ดุ ก. ช่วยในการแขง็ ตัวของเลือด ข. สร้างภมู ิค้มุ กันให้กบั รา่ งกาย ค. จบั แบคทเี รียและสิ่งแปลกปลอม ง. ลาเลยี งแกส๊ ออกซเิ จนไปยงั เซลล์และลาเลียงแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ออกจากเซลล์ 6. ถ้าในรา่ งกายนักเรียนมีจานวนเซลล์เม็ดเลอื ดขาวน้อยกวา่ ปกติ จะเกิดภาวะใดกบั ร่างกาย นักเรยี น ก. รา่ งกายแขง็ แรงกว่าคนปกติ ข. มสี ภาพร่างกายเหมอื นคนปกติ ค. เชื้อโรคเขา้ สู่รา่ งกายนกั เรียนไดง้ า่ ย ง. ภูมติ า้ นทานเช้อื โรคในร่างกายมมี ากขึน้ 7. ข้อใดกลา่ วถูกตอ้ ง ก. การแลกเปลีย่ นแก๊สในรา่ งกายจะเกิดขึน้ ท่ีหวั ใจ ข. อวัยวะทเ่ี กย่ี วข้องกับการหมุนเวยี นเลอื ดคือปอด ค. การหมุนเวยี นของแกส๊ จะเกดิ ควบคู่ไปกับการหมุนเวยี นเลอื ด ง. หลอดลมเป็นบรเิ วณที่มกี ารแลกเปลย่ี นแก๊สและเลอื ดมากทส่ี ุด

8. ขอ้ ใดแสดงทศิ การไหลของเลือดเม่อื เขา้ สหู่ ัวใจไปยังปอดได้ถูกต้อง ก. หวั ใจหอ้ งบนซ้าย → หัวใจห้องล่างซ้าย → ปอด ข. หัวใจห้องบนซ้าย → หัวใจห้องล่างขวา → ปอด ค. หวั ใจห้องบนขวา → หัวใจห้องลา่ งซา้ ย → ปอด ง. หวั ใจห้องบนขวา → หัวใจห้องลา่ งขวา → ปอด 9. กลา้ มเนอื้ ผนังเสน้ เลือดแดงมีลกั ษณะหนาและยืดหย่นุ ได้ดีกวา่ เสน้ เลอื ดดาเพราะเหตใุ ด ก. ปอ้ งกันการไหลกลับของเลอื ด ข. ชว่ ยการไหลของเลือดให้เร็วขึ้น ค. เลอื ดในเสน้ เลือดแดงปรมิ าณมาก ง. ตา้ นทานแรงดันเลอื ดทีม่ าจากหวั ใจ 10. การวัดชพี จรหมายถึงขอ้ ใด ก. การวัดจานวนครัง้ ท่ีหัวใจเตน้ ข. การวดั จานวนครั้งท่ีหวั ใจบบี ตวั ค. การวดั จานวนครั้งท่ีกาลงั หายใจ ง. การวดั ความดันเลือดเม่อื หัวใจบบี ตัวและคลายตวั

ใบความรู้ท่ี 3.1 เรอ่ื ง ระบบหมุนเวียนเลือด ส่วนกลาง จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ อธบิ ายส่วนประกอบหนา้ ท่ีของระบบหมุนเวียนเลอื ดในร่างกายของมนุษย์ได้ สาระสาคญั ระบบหมนุ เวียนเลอื ด เป็นระบบท่ีเลือดทาหนา้ ที่ลาเลียงสารอาหารต่าง ๆ ไปให้เซลล์และกาจดั สารต่าง ๆ ทีเ่ ซลล์ไม่ต้องการออกจากรา่ งกาย ระบบหมุนเวียน เลอื ดประกอบดว้ ยหลอดเลอื ดและหวั ใจ ระบบหมุนเวียนเลอื ด เมือ่ อาหารผา่ นการยอ่ ยจนขนาดโมเลกลุ เล็ก แลว้ ถกู ดดู ซึมผา่ นเซลล์บผุ นงั ลาไส้เขา้ สู่ หลอดเลือดฝอย เลอื ดจะลาเลียงอาหารท่ีผ่านการย่อยแล้วน้ีไปยงั อวัยวะตา่ ง ๆ ทว่ั ร่างกาย นอกจากนัน้ แล้ว เลอื ดยงั ลาเลยี งแกส๊ ของเสีย และสารอืน่ ๆ ดว้ ย โครงสร้างท่ีเกีย่ วขอ้ งกับระบบหมนุ เวยี นเลอื ดของคน ประกอบด้วย 1. หวั ใจทาหน้าท่ี ในการสบู ฉดี เลือดไปเล้ยี งส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย และสูบฉีดเลือด ไปฟอกท่ปี อด 2. เส้นเลือด ทาหนา้ ท่ี เป็นท่อลาเลยี งเลอื ดไปตามสว่ นตา่ ง ๆ ของร่างกาย 3. เลอื ด ทาหน้าที่ ลาเลียงแกส๊ และสารตา่ ง ๆไปตามส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกาย ในร่างกายเรามีเลอื ดประมาณร้อยละ 9-10 ของน้าหนกั ตัว ระบบหมนุ เวียนเลอื ดของมนุษย์ จดั เปน็ การหมนุ เวียนเลือดแบบปิด ประกอบดว้ ย เลือด หลอดเลือด และหัวใจ

ระบบปดิ เปน็ ระบบท่ีเลือดไหลไปตามเสน้ เลือดผ่านหวั ใจครบวงจร ระบบน้มี เี ส้นใยเชื่อมโยง ระหวา่ งเส้นเลือดท่พี าเลือดออกจากหัวใจกับเสน้ เลอื ดที่พาเลือดเขา้ สหู่ ัวใจ พบในไส้เดือนและ สตั ว์พวกมีกระดกู สนั หลัง เช่น ปลา สัตว์คร่งึ น้าคร่ึงบก สตั ว์ปกี และสตั วเ์ ลีย้ งลกู ดว้ ยนม เลือดไหลเวียนในรา่ งกายได้อย่างไร... มวี ธิ ีตรวจสอบไหม.. ค้นหาคาตอบกอ่ นนะ.. อ๋อเจอคาตอบแลว้ เลอื ดไหลเวยี นในร่างกายได้โดยการทางาน ของหัวใจ ...ตรวจสอบโดยการจับชีพจร ชีพจร (Pulse) คือ การหดตวั และคลายตัวของหลอดเลือดในจงั หวะเดียวกันกบั การหดตัว และคลาย ตวั ของหัวใจ ชพี จรสามารถวดั ได้จากหลอดเลือดแดงที่อยูต่ ื้น ๆ เช่น หลอดเลือดแดง ท่ขี ้อมอื ซอกคอ ขาหนบี เป็นตน้ อัตราชพี จร (Pulse rate) บอกอัตราการเต้นของหัวใจ ขึ้นอยกู่ บั เพศ วัย และกจิ กรรมทที่ า ในคนปกติชพี จรจะเตน้ แรงสม่าเสมอซึ่งอัตราการเต้น ชีพจรจะแตกต่างกนั ข้ึนอย่กู บั วยั ดงั นี้ 1. ผู้ใหญ่ประมาณ 60-80 ครัง้ ต่อนาที 2. เด็กประมาณ 90-100 ครงั้ ต่อนาที 3. ทารกแรกเกดิ ประมาณ 120-130 ครง้ั ตอ่ นาที

ใบความรู้ท่ี 3.2 เร่อื ง เลือดและองค์ประกอบของเลือด จุดประสงค์การเรียนรู้ อธบิ ายองคป์ ระกอบของเลือดได้ สาระสาคญั เลือด มสี ่วนประกอบอยู่ 2 สว่ น คือ ส่วนที่เปน็ ของเหลว เรยี กว่า น้าเลือด และสว่ นท่เี ปน็ ของแขง็ ไดแ้ กเ่ ซลลเ์ มด็ เลือด และเกลด็ เลือด สว่ นประกอบและหน้าท่ขี องเลอื ด เลือดมสี ว่ นประกอบที่สาคัญ 2 สว่ นคอื 1. สว่ นที่เป็นของเหลว ซึ่งเรยี กวา่ นา้ เลือด หรือ พลาสมา (Plasma) มอี ยูป่ ระมาณร้อยละ 55 ของปริมาณเลอื ดทัง้ หมดในร่างกาย นา้ เลือดประกอบด้วยน้ารอ้ ยละ 91 นอกจากนั้นเป็นสารอน่ื ๆ ไดแ้ ก่ สารอาหารต่าง ๆ เอนไซม์ ฮอร์โมน และแก๊ส รวมท้งั ของเสียทร่ี ่างกายไมต่ อ้ งการ เชน่ ยเู รยี แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ เป็นต้น น้าทาหน้าท่ีลาเลียงสารอาหาร เอนไซม์ ฮอรโ์ มน และ แก๊สไปเล้ยี งเซลลส์ ว่ นต่าง ๆ ของร่างกาย และลาเลยี งของเสียต่างๆ มายงั ปอดเพอ่ื ขบั ออกจาก รา่ งกาย 2. ส่วนทเ่ี ป็นของแขง็ ไดแ้ ก่ เซลลเ์ มด็ เลอื ด (Corpuscle) และเกล็ดเลอื ด (Platelet) ซึ่งมี อยู่ประมาณร้อยละ 45 ของปริมาณเลอื ดทัง้ หมด รูป แสดงองคป์ ระกอบของเลอื ด รูป แสดงเลือดของคน ท่ีมา : http://school.obec.go.th. (สบื คน้ เม่อื 13 ธนั วาคม 2551)

2.1 เซลลเ์ มด็ เลอื ด มอี ยู่ 2 ชนดิ คือ 1) เซลล์เม็ดเลือดแดง มีรูปร่างค่อนข้างกลมแบน ตรงกลางบุม๋ เข้าหากัน เม่ือโตเต็มท่ี ไม่มนี วิ เคลียส มสี ่วนประกอบสว่ นใหญ่เปน็ สารประเภทโปรตนี ทเี่ รียกว่า เฮโมโกลบนิ ซ่ึงมี เหล็กเปน็ องค์ประกอบท่ีสาคัญ เฮโมโกลบินมสี มบัติในการรวมตัวกับแกส๊ ซออกซิเจนไดด้ มี าก เซลล์เมด็ เลอื ดแดง มีหน้าที่ ลาเลยี งแก๊สออกซเิ จนไปยังเซลล์ตา่ งๆท่วั ร่างกายและลาเลยี งแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์จากเซลลก์ ลบั ไปสู่ปอดเพ่ือทาการแลกเปลีย่ นแกส๊ แหล่งท่สี รา้ งเซลลเ์ ม็ดเลือดแดง คอื ไขกระดกู เซลล์เม็ดเลอื ดแดง มีอายปุ ระมาณ 110 - 120 วัน ลงั จากน้นั กจ็ ะถูกสง่ ไปทาลายท่ี ตบั และม้าม แหล่งทสี่ รา้ งเม็ดเลอื ดขาว ไดแ้ ก่ มา้ มไขกระดูกและต่อมน้าเหลือง เซลลเ์ ม็ดเลอื ดขาวน้ี มีอายปุ ระมาณ 7 - 14 วัน กจ็ ะถูกทาลาย การบริจาคเลือด คือ แหลง่ ทส่ี ร้างเกล็ดเลือด คือไขกระดูก เกล็ดเลอื ดมอี ายุเพียง 4 วนั การสละเลอื ด กจ็ ะถกู ทาลาย สว่ นเกินทีร่ ่างกายไม่ จาเป็นตอ้ งใช้ ผู้บริจาค สามารถบริจาคได้ ทกุ ๆ 3 เดือนไขกระดกู จะสร้างเม็ดเลือดมา ทดแทนให้มีปริมาณ เทา่ เดิม ถา้ ไมไ่ ด้ บรจิ าค รา่ งกายจะขับ รปู แสดงส่วนประกอบของเลอื ด เลอื ดท่สี ลายตวั เพราะ ทีม่ า : จนิ ตนา เวชสวสั ดิ์ (2548 : 97) หมดอายุ ออกมาทาง ปสั สาวะหรอื อุจจาระ

ใบความร้ทู ี่ 3.3 เรอื่ ง หวั ใจและหลอดเลือด จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ อธบิ ายโครงสร้าง หน้าท่ีของหวั ใจและหลอดเลือดได้ สาระสาคญั หัวใจ เปน็ อวยั วะอยรู่ ะหวา่ งปอดท้งั สองข้าง ค่อนมาทางซา้ ยเลก็ น้อย ทาหน้าที่ สบู ฉดี เลอื ดไปเลย้ี งส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย การหมนุ เวยี นของเลือดจากหวั ใจไปและ กลบั จากสว่ นตา่ ง ๆ ของร่างกายนนั้ ตอ้ งอาศยั ลอดเลือด ซง่ึ มอี ยทู่ วั่ ไปทุกส่วนของ รา่ งกาย แบ่งออกเปน็ 3 ชนิด คือ หลอดเลอื ดแดง หลอดเลอื ดดา และหลอดเลือดฝอย หวั ใจ (Heart) หัวใจของคนตงั้ อยใู่ นบริเวณทรวงอก ระหว่างปอดทงั้ สองขา้ ง คอ่ นไปทางด้านซา้ ย ภายในมลี ักษณะเป็นโพรงมี 4 ห้อง โดยแบ่งเป็นห้องบน 2 หอ้ ง เรยี กว่า เอเตรยี ม (Atrium) หอ้ งล่าง 2 ห้อง เรียกวา่ เวนตรเิ คิล (Ventricle) หัวใจหอ้ งบนซ้ายและลา่ งซา้ ยมลี ้ินไบคัสพิด (Bicupid) คัน่ อย่สู ่วนห้องบนขวาและลา่ งขวามีลิ้นไตรคัสพดิ (Tricuspid)ค่ันอยู่ ซ่งึ มลี ิ้นทั้งสองน้ี ทาหน้าท่ีคอยปิด - เปิด เพ่อื ไมใ่ ห้เลอื ดไหลยอ้ นกลับ การบีบตัวและคลายตัวของกล้ามเน้ือ หัวใจเป็นจังหวะ ทาให้เลือดไหลไปตามหลอดเลือดตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย รูป แสดงตาแหน่งของหวั ใจ ท่ีมา : http://school.obec.go.th (สบื ค้นเมอื่ 13 ธันวาคม 2551)

รปู แสดงหัวใจ ท่ีมา : สสวท. (2553 : 46) หัวใจจะรับเลือดท่ีมีออกซิเจนสูงจากปอดเข้าสู่หัวใจห้องบนซ้าย ผ่านต่อมายังหัวใจ ห้อง ล่างซ้าย เพ่ือส่งออกไปยังอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย และจะรับเลือดที่มีออกซิเจนต่าจาก สว่ นตา่ ง ๆ ของร่างกายกลับเข้าสู่หัวใจทางหวั ใจห้องบนขวา และผ่านตอ่ ไปยังหัวใจห้องล่างขวา หวั ใจห้อง ล่างขวา ส่งไปยังปอด เพ่ือแลกเปลย่ี นแก๊สและกลับสู่หวั ใจอกี ครั้ง หมุนเวียนอย่างเป็น ระบบเชน่ นต้ี ลอดเวลา รปู แสดงการไหลของเลือดผา่ นหวั ใจทัง้ 4 ห้อง ที่มา : http://www.thaigoodview.com (สืบคน้ เม่ือ 24 เม.ย. 2552)

การหมุนเวยี นของเลือดจากหัวใจไปและกลบั จากสว่ นต่าง ๆ ของรา่ งกายนั้นต้องอาศยั หลอดเลอื ด ซ่งึ มีอยู่ท่วั ไปทุกสว่ นของรา่ งกาย หลอดเลือดในรา่ งกายคนเราแบ่งออกเป็น 3 ชนดิ คอื ดงั น้ี 1. หลอดเลือดแดง (Arteries) เป็นหลอดเลือดที่นาเลอื ดออกมาจากหวั ใจไปยังสว่ นต่าง ๆ ของรา่ งกาย เลอื ดทอี่ ยใู่ นหลอดเลอื ดนี้เปน็ เลอื ดแดงมปี ริมาณออกซิเจนมาก ยกเว้น เลือดท่จี ะ สง่ ไปยังปอดซงึ่ เปน็ เลอื ดดามปี ริมาณคาร์บอนไดออกไซด์มาก หลอดเลือดแดงมีผนงั หนาและ แข็งแรง เพ่อื ให้มีความทนทานตอ่ แรงดันเลือดที่ถูสบู ฉีดออกจากหัวใจ 2. หลอดเลือดดา (Veins) เป็นหลอดเลือดทีน่ าเลอื ดจากส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกายเข้าสู่ หัวใจเลอื ดทอี่ ยใู่ นหลอดเลือดนเ้ี ป็นเลือดดา มีปรมิ าณคาร์บอนไดออกไซด์มาก ยกเว้น เลือดที่นา จากปอดมายงั หัวใจจะเปน็ เลอื ดแดง และมีลนิ้ ป้องกนั เลือดไหลยอ้ นกลับ 3. หลอดเลือดฝอย (Capillaries) เป็นหลอดเลือดท่ีมีขนาดเล็กละเอียดเป็นฝอยติดอยู่ ระหว่างแขนงเล็ก ๆ ของหลอดเลือดดาและหลอดเลือดแดง หลอดเลือดฝอยน้ีมีผนังบางมาก ประกอบดว้ ย เซลลเ์ พียงช้ันเดียวหลอดเลือดฝอยมอี ยู่ท่ัวไปเกือบทุกสว่ นของรา่ งกายและมีจานวนมาก บริเวณผนังหลอดเลือดฝอย เป็นบริเวณท่ีมีการแลกเปลี่ยนสารอาหาร แก๊ส และส่ิงต่าง ๆ ระหว่าง เลอื ดและเซลลข์ องร่างกาย รปู แสดงชนิดของหลอดเลอื ด ที่มา : http://www.med.cmu.ac.th (สบื คน้ เม่ือ 24 เมษายน 2552)

ความดนั เลือด เก่ียวข้องกบั เราอยา่ งไร ความดนั เลือด คือ ความดันท่เี กิดขึ้นเนื่องจากการบบี ตวั และ คลายตวั ของหัวใจ โดยปกตผิ ใู้ หญจ่ ะมีความดันเลอื ดประมาณ 120 / 80 มิลลิเมตรของปรอท จะเห็นวา่ ความดนั เลือดท่ีมคี า่ ตัวเลข 2 ค่า คือ ตวั เลขแรก หมายถงึ คา่ ความดนั เลือดสูงที่สดุ ขณะท่ีหวั ใจบบี ตวั ให้เลอื ดออกจากหวั ใจ ตัวเลขตวั หลงั หมายถงึ ค่าความดันเลือดต่าสดุ ขณะท่ีหัวใจคลายตวั รับเลอื ดเข้าสู่หัวใจ คนปกตคิ วามดันเลือดสูงขณะทหี่ ัวใจบีบตัวให้เลือดออกจากหัวใจ มคี า่ ประมาณ 100 + อายุ สาหรับความดันเลอื ดขณะทหี่ ัวใจคลายตวั รับเลอื ดเข้าสหู่ ัวใจไม่เกนิ 90 มิลลเิ มตรของปรอท ค่าความดนั เลอื ด ของคนปกติเปลี่ยนแปลงได้ ซ่งึ จะมากหรอื น้อยข้ึนอย่กู ับ เพศ อายุ ขนาดของรา่ งกาย อารมณ์ การทางานและการออกกาลังกาย อริ ิยาบถ หลอดเลือดท่เี หมาะสาหรับวดั ความดันเลือด คือ หลอดเลอื ดแดงบรเิ วณต้นแขน เคร่ืองมือที่แพทย์ใช้วัดความดนั เลือดเรียกวา่ มาตราวดั ความดนั เลือด ซ่ึงแพทย์จะใช้ค่กู บั หฟู ังหรือ สเตทโทสโคป ควรตรวจวดั ความดนั โลหติ เปน็ ระยะๆ เพื่อ ดไู ขมันในเส้นเลอื ดอย่างน้อยปลี ะ 1 ครั้ง

ใบกจิ กรรมที่ 3.1 การทดลอง เรอ่ื ง อตั ราการเต้นของชพี จร จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ทดลองและสรปุ การทางานของหัวใจโดยการจบั ชพี จรได้ วัสดุอปุ กรณ์และสารเคมที ี่ใช้ในการทดลอง รายการ จานวน/กล่มุ 1 เรือน 1.นาฬิกา วธิ กี ารทดลอง 1. หงายมือขา้ งหนงึ่ ขึ้น แลว้ ใช้มอื อกี ขา้ งหนึ่งแตะเบา ๆ บนขอ้ มือท่ีหงายอยตู่ รงตาแหน่งที่ รสู้ กึ ว่ามีการเตน้ ดังภาพ ทา 3 ครง้ั หาคา่ เฉลยี่ และบันทึกผล 2. ทาซา้ ขอ้ 1 แต่เปล่ียนสภาพปกตเิ ป็นกระโดด และเดนิ ขึน้ ลงบันไดชัน้ 3 แล้วบนั ทกึ ผล รูป การทดลองการจับชพี จร

คาถามกอ่ นการทดลอง 1. สมมตุ ิฐานการทดลองนม้ี วี า่ อะไร ...... .................................................................................................................................................. 2. ตัวแปรตน้ คือ.............................................................................. 3. ตวั แปรตาม คือ............................................................................ 4. ตวั แปรควบคมุ คือ....................................................................... ตารางบันทกึ ผลการทดลอง สภาพร่างกาย การเต้นชพี จร(ครัง้ ต่อนาที) สภาพปกติ คร้งั ที่ 1 คร้ังท่ี 2 ครงั้ ท่ี 3 คา่ เฉลี่ย กระโดด เดินข้นึ ลง บนั ไดชัน้ 3 สรปุ ผลการทดลอง ......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................

คาถามหลังการทดลอง ลการทดลอง 1. อตั ราการเตน้ ของชีพจรโดยเฉลย่ี ของนกั เรยี นเปน็ เท่าไร ............................................................................................................................................... 2. อตั ราการเต้นของชีพจรของนกั เรยี นแตกต่างกนั หรอื ไมอ่ ยา่ งไร ..................................................................................................................................................... 3. ขณะท่รี า่ งกายอยู่ในสภาวะปกตกิ ับขณะเล่นกีฬา การเต้นของชพี จรจะแตกต่างกันหรือไม่ อยา่ งไร .....................................................................................................................................................

ใบกิจกรรมที่ 3.2 เรอื่ ง เลือดและองคป์ ระกอบของเลือด จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เขียนแผนผังความคิดเกี่ยวกบั เลือดและองคป์ ระกอบของเลือดได้ คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนทุกกลุ่มช่วยกนั วาดแผนผังความคดิ เร่ือง เลอื ดและองคป์ ระกอบ ของเลือดและสง่ ตวั แทนออกมานาเสนอหน้าชั้นเรียน แผนผังความคดิ เรื่อง เลอื ด และองค์ประกอบของเลอื ด

ใบกจิ กรรมท่ี 3.3 การทดลอง เรอ่ื ง แบบจาลองการทางานของหัวใจ จุดประสงค์การเรียนรู้ ทดลองและสรุปการทางานของหัวใจโดยใชแ้ บบจาลองได้ วัสดุอปุ กรณ์และสารเคมีท่ใี ช้ในการทดลอง รายการ จานวน/กลุ่ม 1. อุปกรณส์ าหรบั ดดู น้า 2 อัน 2. บกี เกอร์ขนาด 50 cm3 หรอื แกว้ หรือถว้ ยพลาสติกใส 2 ใบ ขนาด 500 cm3 3. นา้ ผสมสแี ดง 800 cm3 วธิ ีการทดลอง 1. ใส่นา้ สีแดงลงในภาชนะ 2 ใบ ระดับพอประมาณ จากนัน้ ใส่ทอ่ ปมั้ น้าลงในภาชนะท่ี บรรจุน้าสแี ดง ดงั ภาพ 2. บีบท่ีลูกบบี พรอ้ ม ๆ กันแต่ละครัง้ ต้องให้ปริมาตรน้าในแตล่ ะภาชนะมรี ะดับเท่าเดิมอยู่ ตลอดเวลา 3. สังเกตทิศทางการไหลของนา้ สใี นแบบจาลอง รปู แสดงการทดลองแบบจาลองการทางานของหัวใจ

คาถามกอ่ นการทดลอง 1. สมมตฐิ านของการทดลองนีค้ อื อะไร ……………………………………………………………….…….…….………………………….. 2. ตัวแปรต้น คือ ……………………………………………………………….…….…….………………………….. 3. ตัวแปรตามคือ ……………………………………………………………….…….…….………………………….. 4. ตัวแปรควบคุม คือ ……………………………………………………………….…….…….………………………….. ผลการทดลอง ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................ สรปุ ผลการทดลอง ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................

คาถามหลงั การทดลอง 1. สิง่ ใดทท่ี าใหน้ า้ สีเร่ิมไหลผา่ นท่อได้ …………..………………………………………………………………………………………… 2. น้าสีไหลเข้าสูท่ ่อป๊ัมน้าเสน้ ใด .…………..………………………………………………………………………………………… 3. เมื่อคลายมือจากลูกบีบ ส่งิ ใดทีท่ าใหน้ ้าสีในท่อไมไ่ หลกลับไปตามท่อเดมิ … ………..………………………………………………………………………………………… 4. นกั เรยี นคิดว่าเสยี งที่ได้ยินขณะบบี ลูกบบี เกดิ จากสิ่งใด .… ………..………………………………………………………………………………………… 5. แบบจาลองการทางานของหวั ใจมีส่งิ ใดที่เหมือนและสิง่ ทแี่ ตกตา่ งจากการทางานของ หวั ใจมนุษยอ์ ย่างไร ….………..………………………………………………………………………………………… … …………..………………………………………………………………………………………

กิจกรรมพฒั นาความรูท้ ่ี 3.1 เรือ่ ง ระบบหมุนเวียนเลือด จุดประสงค์การเรียนรู้ อธบิ ายส่วนประกอบหน้าทข่ี องระบบหมุนเวยี นเลือดในรา่ งกายของมนุษย์ได้ คาช้ีแจง จงเตมิ ข้อความลงในชอ่ งว่างใหไ้ ดใ้ จความสมบรู ณแ์ ละถูกตอ้ ง 1. ระบบหมุนเวยี นเลอื ดของมนษุ ยป์ ระกอบดว้ ย ............................................................................................................................................. 2. ระบบปิด คอื ............................................................................................................................................. 3. จงยกตัวอย่างสง่ิ มชี วี ิตชนิดใดท่มี ีระบบหมนุ เวียนแบบปิด (ยกตวั อยา่ งมา 3 ชนดิ ............................................................................................................................................. 4. ในคนปกติชีพจรมีการเต้นเปน็ อย่างไร ............................................................................................................................................. 5. อตั ราการเตน้ ของชีพจรของคนเท่ากนั หรอื ไม่ อยา่ งไร .............................................................................................................................................

กิจกรรมพฒั นาความรู้ที่ 3.1 เรอ่ื ง ระบบหมนุ เวยี นเลือด จุดประสงค์การเรียนรู้ อธิบายส่วนประกอบหนา้ ทขี่ องระบบหมุนเวียนเลือดในร่างกายของมนษุ ย์ได้ คาชี้แจง จงเตมิ ข้อความลงในชอ่ งวา่ งให้ได้ใจความสมบรู ณ์และถูกต้อง 1. ระบบหมนุ เวียนเลือดของมนุษยป์ ระกอบด้วย หวั ใจ หลอดเลือด และเลอื ด 2. ระบบปดิ คือ เป็นระบบท่ีเลอื ดไหลไปตามเส้นเลือดผ่านหวั ใจครบวงจร ระบบนีม้ ี เส้นใยเชือ่ มโยง ระหวา่ งเส้นเลอื ดท่พี าเลือดออกจากหวั ใจกบั เสน้ เลอื ดที่พาเลือดเขา้ สู่ หวั ใจ 3. จงยกตัวอย่างส่งิ มชี วี ิตชนิดใดที่มรี ะบบหมนุ เวยี นแบบปิด (ยกตัวอย่างมา 3 ชนิดปลา สัตว์ครง่ึ น้าครึ่งบก สัตว์ปกี และสตั วเ์ ล้ียงลกู ดว้ ยนม 4. ในคนปกติชีพจรมีการเต้นเป็นอยา่ งไร ชีพจรจะเตน้ สม่าเสมอ 5. อตั ราการเตน้ ของชีพจรของคนเท่ากันหรือไม่ อย่างไรไม่เท่ากนั ขน้ึ อยกู่ บั วยั และ กิจกรรมทที่ า

กจิ กรรมพัฒนาความรทู้ ่ี 3.2 เร่อื ง เลอื ด และองค์ประกอบของเลือด จุดประสงค์การเรียนรู้ อธิบายองค์ประกอบของเลอื ดได้ คาช้ีแจง ใหน้ ักเรยี นทกุ คนเติมข้อความลงในช่องวา่ งให้ถกู ตอ้ ง เลอื ด ประกอบดว้ ย สว่ นทเี่ ป็นของแขง็ ได้แก่ ได้แก่ น้าเลอื ดหรือพลาสมา ประกอบดว้ ย เกลด็ เลือด มลี ักษณะ มีลกั ษณะ เมด็ เลือดขาว ของเหลวเกอื บใส มลี กั ษณะ มีลกั ษณะ ทาหน้าที่ แผ่นแบนไม่มีนิวเคลยี ส ทาหนา้ ท่ี ลาเลียง O2และ CO2 ทาหนา้ ท่ี ทาหนา้ ที่ ทาลายเช้ือโรคและ สิง่ แปลกปลอม มอี ายุ มอี ายุ มีอายุ

กจิ กรรมพฒั นาความรทู้ ่ี 3.3 เรื่อง หัวใจและหลอดเลือด จุดประสงค์การเรียนรู้ อธิบายโครงสรา้ ง หน้าที่ของหัวใจและหลอดเลือดได้ คาชี้แจง จงเติมข้อความลงในชอ่ งว่างใหไ้ ดใ้ จความสมบูรณแ์ ละถกู ต้อง 1. หลอดเลือดแดงและหลอดเลอื ดดามลี กั ษณะแตกต่างกนั อยา่ งไร ......................................................................................................................................................... 2. หลอดเลอื ดมหี นา้ ทส่ี าคญั อย่างไร ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... 3. จงอธิบายลักษณะของหลอดเลอื ดฝอย ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... 4. ความดันเลือด 120/80 มลิ ลเิ มตรปรอท หมายความว่าอย่างไร ........................................................................................................................................................ ......................................................................................................................................................... 5. ปัจจัยที่ทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงความดันเลอื ดไดแ้ ก่อะไรบ้าง ......................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................

กจิ กรรมเสริมทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ที่ 3.1 เร่อื ง การหมุนเวยี นเลือด กจิ กรรมฝึกทักษะการจดั กระทาและสอื่ ความหมายขอ้ มูล การจดั กระทาและส่อื ความหมายข้อมลู เป็นการนาข้อมลู ที่ได้จากการสงั เกต การวัด การทดลองและจากแหล่งอน่ื ๆ มาเปลี่ยนแปลงใหอ้ ยใู่ นรปู ใหมใ่ ห้เขา้ ใจดีย่งิ ขนึ้ เพื่อความ ชัดเจนรัดกมุ สะดวกรวดเร็ว เช่น อาจแสดงในรปู การเขยี นแผนภาพ แผนท่ตี าราง กราฟ ตลอดจนสร้างสง่ิ อื่น ๆ เพื่อประกอบการพดู หรือการเขียน เพือ่ ให้ผูอ้ ่ืนเข้าใจในสงิ่ ท่ีต้องการ การใช้ภาษาเป็นคาพูดหรอื การเขียนด้วยข้อความที่ง่าย ๆ ส่อื ความหมายชัดเจนให้ คาชแี้ จง ให้นกั เรียนศึกษาข้อมูลต่อไปนี้แลว้ ฝกึ ใช้ทกั ษะการจดั กระทาและ ส่ือความหมายข้อมูล การไหลเวยี นของเลือดผา่ นหวั ใจจะเริม่ จากส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกาย ซึง่ เปน็ เลอื ดดา หรอื เลือดทมี่ ีออกซิเจนต่า ไหลกลับสู่หัวใจห้องบนขวา (Right atrium) เมื่อหัวใจบีบตวั เลอื ดจะไหลจากหวั ใจหอ้ งบนขวาผ่านล้นิ หัวใจลงห้องล่างขวา (Right ventricle) และห้องล่างขวา บบี ตัว เลือดจะไหลเข้าสู่หลอดเลอื ดไปยังปอดซ่ึงเป็นบริเวณที่มกี ารแลกเปลี่ยนแก๊ส โดยปล่อย แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์และรบั แก๊สออกซิเจน เลอื ดทมี่ ีออกซิเจนสูงนีจ้ ะไหลกลบั สู่หัวใจ โดยเข้าสู่หวั ใจห้องบนซ้าย (Left atrium) เม่ือหอ้ งบนซ้ายบีบตัวเลือดจะผา่ นลิ้นหัวใจเขา้ สู่ หอ้ งลา่ งซ้าย (Left ventricle) แลว้ ห้องล่างซา้ ยบบี ตวั ดันเลอื ดให้ไหลผา่ นล้นิ เอออร์ติก เซมลิ นู าร์ เข้าส่หู ลอดเลือดแดงขนาดใหญ่ คือ เอออร์ตา ซ่ึงจะมีหลอดเลือดแตกแขนงไปยงั สว่ นต่าง ๆ ของรา่ งกาย เปลย่ี นเป็นเลือดท่มี ีออกซิเจนต่า ไหลกลับสหู่ วั ใจ อีกครงั้ ซึง่ เป็นเช่นนเี้ ร่ือย ๆ (นกั เรยี นสามารถจัดกระทาข้อมูลและสือ่ ความหมายขอ้ มลู ได้ตามความคดิ ของนักเรยี น)

กิจกรรมเสริมทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ที่ 3.2 เรอื่ ง เลอื ดและสว่ นประกอบของเลือด กจิ กรรมฝึกทกั ษะการพยากรณ์ การพยากรณ์ คือ การทานาย หมายถึง การคาดคะเนสง่ิ ท่จี ะเกิดข้ึนลว่ งหน้าโดย อาศัยประสบการณท์ ่ีเกดิ ขึ้นซ้า ๆ หลักการ กฎ หรือทฤษฎใี นเรอ่ื งน้นั ๆ มาชว่ ย การทานายมี 2 แบบ คือ การทานายในขอบเขตข้อมลู และการทานายนอกขอบเขตข้อมลู การทานายหรือ การพยากรณ์จะมคี วามเท่ียงตรงแมน่ ยาไดก้ ็ต่อเม่ือมกี ารสงั เกตอย่างละเอียดรอบคอบและ ระมัดระวัง การพยากรณ์ท่ไี ดผ้ ลคอื การพยากรณ์ที่ตัวแปรอน่ื ๆ ถกู ควบคุมหมด และมีการ เปลีย่ นแปลงเฉพาะตัวแปรท่เี ราต้องการทดลองเท่าน้ัน การพยากรณ์ภายในขอบเขตขอ้ มลู นา่ เชื่อถือมากกวา่ ภายนอกขอบเขตขอ้ มูล คาชแ้ี จง ให้นกั เรียนศกึ ษาขอ้ มลู ตอ่ ไปน้ีแล้วฝกึ ใช้ทกั ษะการพยากรณ์ พยากรณ์ เหตุการณ์ตอ่ ไปน้ี การนับจานวนเซลลเ์ มด็ เลือดแดง เซลล์เม็ดเลือดขาว และเกล็ดเลอื ด เป็นวิธีการหน่งึ ทแี่ พทย์ใชใ้ นการวินิจฉัยโรคตา่ ง ๆ อย่างกวา้ ง ๆ เชน่ ถา้ เม็ดเลือดขาวมากผิดปกติแสดงว่า คนน้นั กาลงั ปว่ ยเปน็ ไข้ ถ้ามเี ม็ดเลือดแดงน้อย จะทาให้เปน็ โรคโลหิตจาง ซึ่งจะต้องกิน อาหารที่มีธาตุเหลก็ เปน็ องค์ประกอบ เช่น เคร่ืองในสตั ว์ ส่วนเกล็ดเลอื ดมีหนา้ ที่ชว่ ยเรื่อง การแข็งตัวของเลือดกรณเี กิดบาดแผลจะช่วยให้เลอื ดหยดุ ไหลซ่งึ เป็นการลดการเสยี เลือด ถา้ ชายผหู้ นึง่ ตรวจร่างกายพบว่ามเี กลด็ เลือดต่า เวลาเกิดบาดแผลเขาจะเป็นอยา่ งไร

กจิ กรรมเสรมิ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ท่ี 3.3 เร่อื ง หัวใจและหลอดเลือด กิจกรรมฝึกทกั ษะการหาความสมั พนั ธ์ระหว่างสเปสกบั สเปสและสเปสกับเวลา การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกบั เวลา สเปส หมายถงึ ทวี่ ่าง สเปส กับวตั ถุ ทวี่ า่ งที่วัตถุน้นั ครองทหี่ รือกนิ ทีอ่ ยู่ เช่น สเปสกบั กอ้ นอิฐ คือทว่ี า่ งก้อนอิฐนนั้ ครองอยู่ ซ่งึ มีรปู รา่ งเหมอื นก้อนอฐิ นน้ั คอื มคี วามกวา้ ง ความยาว ความสงู ทกั ษะการหาความสัมพนั ธ์ เก่ียวกับสเปส หมายถึง ความชานาญในการจาแนกรูปมติ ขิ องวัตถุ ความเกยี่ วข้องของวตั ถุ และเหตุการณก์ ับรูปร่างบอกความสัมพันธ์ของมิตแิ ละบอกการเปลี่ยนแปลงสัมพนั ธ์กับเวลา ความสัมพนั ธ์ระหว่างสเปสกบั เวลา หมายถงึ ความสมั พันธร์ ะหว่าง การเปลีย่ นตาแหนง่ ของ วัตถกุ ับเวลา หรือความสัมพนั ธ์ระหว่างตาแหน่งของวัตถทุ ี่เปลยี่ นไปกบั เวลาทใ่ี ช้ ประโยชน์ ของความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสเปสกบั สเปสและเสปสกบั เวลาทาใหท้ ราบ ความสัมพันธ์ระหวา่ ง ปรากฎการณ์ตา่ ง ๆ ท่ีเกดิ ขน้ึ กับเวลาท่เี ปลย่ี นไป การวางสิ่งของตา่ ง ๆ ใหเ้ หมาะสมสวยงาม คาช้แี จง ให้นักเรยี นศกึ ษาข้อมลู ต่อไปน้แี ล้วฝึกใช้ทกั ษะการหาความสมั พันธ์ ระหวา่ งสเปสกบั สเปสและสเปสกับเวลา ชายคนหน่ึงไปตรวจวัดความดันเลือดปรากฏผลการตรวจวัดความดันเลือดแพทย์ วนิ ิจฉัยวา่ เป็นโรคความดันเลอื ดสงู ไขมนั ในเลือดสูง แพทย์แนะนาใหด้ แู ลรกั ษาสุขภาพ ดงั นี้ หลกี เลีย่ งอาหารทีม่ ีไขมนั สงู งดอาหารรสเคม็ งดสบู บุหรี่ ออกกาลงั กายสม่าเสมอ ควบคุม ความดันเลือด และทาจิตใจใหผ้ อ่ งใส ถา้ ชายผู้นีไ้ มป่ ฏิบตั ติ นตามแพทย์แนะนาในปีหน้า ความดนั เลือดจะเป็นอย่างไร

แบบทดสอบหลังเรียน เร่อื ง ระบบหมุนเวยี นเลือด คาชี้แจง ขอ้ สอบฉบับนีเ้ ปน็ ข้อสอบชนิดเลอื กตอบแบบ 4 ตวั เลอื ก มีทั้งหมด 10 ขอ้ ใชเ้ วลาในการทาข้อสอบ 10 นาที ให้นกั เรียนเลอื กคาตอบทถี่ กู ท่ีสดุ เพียงขอ้ เดยี ว จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธบิ ายสว่ นประกอบหน้าท่ขี องระบบหมุนเวียนเลอื ดในร่างกายของมนุษยไ์ ด้ 2. อธิบายองค์ประกอบของเลือดได้ 3. อธิบายโครงสร้างหน้าท่ีของหัวใจและหลอดเลอื ดได้ คาสงั่ ให้นักเรียนทาเครื่องหมายกากบาท (  ) ลงใน ตัวอกั ษร ก. , ข. , ค. , ง. ทเ่ี ป็นคาตอบทถี่ กู ทส่ี ดุ เพยี งคาตอบเดยี ว 1. ส่วนประกอบของเลอื ดทีม่ ปี รมิ าณมากท่ีสดุ คอื ข้อใด ก. พลาสมา ข. เกล็ดเลือด ค. เม็ดเลอื ดขาว ง. เม็ดเลอื ดแดง 2. เซลล์เม็ดเลือดแดงประกอบด้วยสารประเภทโปรตีน X ทาหนา้ ทล่ี าเลยี งแก๊ส Y ไปยงั ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย สารประเภทโปรตีน X และ แกส๊ Y ขอ้ ใดถกู ตอ้ ง ก. เฮโมโกลบิน แก๊สออกซเิ จน ข. โพรทรอมบิน แกส๊ ออกซเิ จน ค. เฮโมโกลบิน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ง. โพรทรอมบิน แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์

3. ขอ้ ใดคอื ลกั ษณะของเม็ดเลอื ดแดง ก. กลมแบน ตรงกลางเวา้ มีนิวเคลียส ข. กลมแบน ตรงกลางเว้า ไมม่ ีนวิ เคลียส ค. มขี นาดใหญก่ ว่าเม็ดเลือดขาว ไมม่ ีนิวเคลยี ส ง. เปน็ แผ่นเลก็ ๆ ไม่มนี ิวเคลียส ชว่ ยนาออกซิเจน 4. ข้อใดอธบิ ายลกั ษณะของเกลด็ เลอื ดไม่ถูกต้อง ก. เกล็ดเลอื ดมีอายเุ พยี ง 4 วนั เทา่ น้ัน ข. เกลด็ เลือดเป็นเซลลท์ ่ีมีอยู่ในร่างกาย ค. เกลด็ เลือดมีแหล่งทีส่ ร้าง คอื ไขกระดกู ง. เกลด็ เลือดไมใ่ ช่เซลล์แต่เป็นช้ินส่วนของเซลล์ 5. ข้อใดอธิบายหน้าที่ของเซลลเ์ มด็ เลือดแดงไดถ้ ูกต้องทสี่ ุด ก. ชว่ ยในการแขง็ ตวั ของเลือด ข. สรา้ งภูมคิ ้มุ กนั ให้กับร่างกาย ค. จบั แบคทเี รยี และสงิ่ แปลกปลอม ง. ลาเลียงแก๊สออกซเิ จนไปยงั เซลลแ์ ละลาเลยี งแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ออกจากเซลล์ 6. ถ้าในรา่ งกายนักเรียนมีจานวนเซลลเ์ มด็ เลือดขาวน้อยกวา่ ปกติ จะเกิดภาวะใดกบั รา่ งกาย นกั เรยี น ก. รา่ งกายแขง็ แรงกว่าคนปกติ ข. มีสภาพร่างกายเหมือนคนปกติ ค. เชอ้ื โรคเข้าสรู่ ่างกายนักเรยี นไดง้ ่าย ง. ภมู ิต้านทานเชอ้ื โรคในร่างกายมีมากขึ้น 7. ข้อใดกล่าวถูกต้อง ก. การแลกเปลี่ยนแกส๊ ในร่างกายจะเกิดขึ้นทีห่ ัวใจ ข. อวัยวะทเ่ี กี่ยวข้องกับการหมนุ เวยี นเลือดคือปอด ค. การหมุนเวยี นของแก๊สจะเกดิ ควบคไู่ ปกบั การหมุนเวียนเลอื ด ง. หลอดลมเป็นบริเวณทีม่ ีการแลกเปลีย่ นแกส๊ และเลือดมากท่สี ุด

8. ข้อใดแสดงทศิ การไหลของเลอื ดเมอ่ื เข้าสหู่ ัวใจไปยังปอดไดถ้ ูกตอ้ ง ก. หวั ใจหอ้ งบนซ้าย → หัวใจห้องล่างซ้าย → ปอด ข. หัวใจห้องบนซ้าย → หัวใจห้องลา่ งขวา → ปอด ค. หวั ใจห้องบนขวา → หัวใจห้องลา่ งซ้าย → ปอด ง. หวั ใจห้องบนขวา → หวั ใจห้องลา่ งขวา → ปอด 9. กลา้ มเน้ือผนงั เสน้ เลือดแดงมลี ักษณะหนาและยดื หย่นุ ได้ดีกวา่ เส้นเลือดดาเพราะเหตใุ ด ก. ป้องกันการไหลกลับของเลอื ด ข. ชว่ ยการไหลของเลือดให้เร็วขึ้น ค. เลือดในเสน้ เลือดแดงปรมิ าณมาก ง. ตา้ นทานแรงดันเลอื ดที่มาจากหวั ใจ 10. การวัดชีพจรหมายถึงข้อใด ก. การวดั จานวนคร้งั ที่หวั ใจเตน้ ข. การวัดจานวนครัง้ ทห่ี ัวใจบีบตวั ค. การวัดจานวนคร้ังที่กาลงั หายใจ ง. การวดั ความดันเลือดเมื่อหัวใจบีบตัวและคลายตวั

บรรณานุกรม กณุ ฑรี เพ็ชรทวีพรเดช ธาริกา สรยิ าภรณ์ และสรุ ยิ า บังใบ. กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ สาระพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 คู่มอื ครู และแผนการจัดการเรียนรู้. กรงุ เทพมหานคร : ไทยรม่ เกล้า จากดั , ม.ป.ป.. ถนดั ศรบี ุญเรอื ง กนษิ ฐา อุ่นอนันต์ และปิน่ ศักดิ์ ชุมเกษียน. ส่อื สาระการเรียนรู้พน้ื ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ สัมฤทธมิ์ าตรฐาน วิทยาศาสตร์ ม. 2 เล่ม 1. กรุงเทพมหานคร : อกั ษรเจริญทัศน์, 2548. ประดบั นาคแกว้ และดาวลั ย์ เสรมิ บญุ สขุ . หนังสอื เรียนเสรมิ มาตรฐานแมค็ วิทยาศาสตร์ ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร : หจก. พ.ี เอ็น.เค. แอนด์ สกายพริ้นตงิ้ จากดั , 2551. ________. หนังสอื เรียน รายวชิ าพืน้ ฐาน กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551. กรงุ เทพมหานคร : สานักพิมพ์แมค็ จากัด, 2554. ยพุ า วรยศ และคณะ. หนังสือเรียน รายวิชาพน้ื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : บริษัท อกั ษรเจริญทัศน์ อจท. จากดั , 2554. ________. หนงั สอื เรยี น รายวิชาพ้นื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 เล่ม 2 คมู่ ือคร.ู กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ทั อักษรเจริญทศั น์ อจท. จากดั , 2554. วชั รพงศ์ โกมทุ ธรรมวิบลู ย์ และคณะ. แผนการจดั การเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1. กรุงเทพมหานคร : สานกั พมิ พพ์ ัฒนาศกึ ษา, 2548. สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี คูม่ ือครู รายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ 4 ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 2 เลม่ 2 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพร้าวจากดั , 2554. ________. หนงั สอื เรียน รายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ 4 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 เล่ม 2 กล่มุ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพรา้ วจากดั , 2553. แสดงส่วนประกอบของเลอื ด. ทมี่ า : http://school.obec.go.th. (สืบค้นเม่ือ13 ธันวาคม 2551).

แสดงการไหลของเลือดผา่ นหัวใจ. ทมี่ า : http://www.thaigoodview.com (สืบค้นเมือ่ 24 เม.ย. 2552). แสดงชนดิ ของหลอดเลือด. ทมี่ า : http://www.med.cmu.ac.th (สืบค้นเมื่อ 24 เมษายน 2552).


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook