รายงานการศกึ ษา เร่ือง การป้องกันและระงับสาธารณภัยในอาคารสูงและอาคารที่มี ผู้อาศัยหนาแน่น กรณีศกึ ษา : แนวทางการตรวจสอบอาคารตาม พระราชบัญญตั ปิ ้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ จัดทาโดย สณั ฐติ ิ ธรรมใจ รหัสประจาตัวนกั ศกึ ษา ๓๗ เอกสารฉบบั นี้เปน็ ส่วนหนึง่ ในการศึกษาอบรม หลกั สตู ร นกั บริหารงานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั (นบ.ปภ.) ร่นุ ที่ ๑๐ ระหวา่ งวนั ท่ี ๗ มกราคม – ๑๐ เมษายน ๒๕๕๗ วทิ ยาลยั ปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั
คาํ นํา รายงานการศึกษาวจิ ัยฉบับนี้เปน็ ส่วนหนึ่งของการศกึ ษาอบรมหลกั สูตรนกั บริหารงานป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นที่ ๑๐ ของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ซ่ึงผู้ศึกษาได้ ทําการศึกษาวิจัยเร่ืองการป้องกันและระงับสาธารณภัยในอาคารสูงและอาคารท่ีมีผู้อาศัยหนาแน่น กรณีศึกษา : แนวทางการตรวจสอบอาคารตามพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ อันเป็นการศึกษาวิจัยคุณภาพแบบการวิจัยเอกสาร (Documentary Research) โดยทําการ ค้นหาวิธีการป้องกันและแก้ไขปัญหาและลดความเสียหายในชีวิตและทรัพย์สินอันเน่ืองมาจากการเกิด สาธารณภัยในอาคารสูงและอาคารที่มีผู้อยู่อาศัยหนาแน่นโดยใช้วิธีการทางกฎหมาย ด้วยการหาแนวทาง และแนวคิดในการปรับปรุงพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ เพ่ือใช้เป็น เครื่องมือในการตรวจสอบและควบคุมการจัดการและการระงับสาธารณภัยในอาคารดังกล่าวเพื่อเสริม กับพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ ซ่ึงถือเป็นเครื่องมือทางกฎหมายที่สําคัญในการป้องกัน และลดผลกระทบจากสาธารณภัยในอาคารท่ียงั คงใช้บังคบั อยใู่ นปจั จบุ ัน ผู้ศึกษาขอขอบพระคุณ อาจารย์ที่ปรึกษา คณะกรรมการตลอดจนคณะผู้บริหารวิทยาลัย ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ผู้อํานวยการและคณะเจ้าหน้าที่โครงการนักบริหารงานป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย รุ่นที่ ๑๐ ที่กรุณาประสิทธิประสาทความรู้ ให้คําแนะนํา อํานวยความสะดวก และ ให้ความช่วยเหลือประการต่างๆ จนรายงานการศึกษาวิจัยสําเร็จลุล่วงไปด้วยดี หากมีข้อบกพร่อง ประการใดปรากฏในรายงานการศึกษาวิจัยฉบับนี้ผู้ศึกษายินดีน้อมรับนําไปปรับปรุงแก้ไขในโอกาส ต่อไป ด้วยความเคารพ สัณฐิติ ธรรมใจ มนี าคม ๒๕๕๗
ข กิตติกรรมประกาศ รายงานการศึกษาวิจยั ในหลกั สูตรนักบรหิ ารงานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั (นบ.ปภ.) รุ่นท่ี ๑๐ ฉบบั น้ี มอิ าจสาํ เรจ็ ลลุ ่วงไปได้เลยหากไม่มีบุคคล ๔ กลมุ่ ดงั ตอ่ ไปนี้ ๑) กลุ่มผู้ให้ความช่วยเหลือด้านวิชาการ ซึ่งประกอบด้วยท่านอาจารย์วรชพร เพชรสุวรรณ และอาจารย์ ดร.ปิยวัตร์ ขนิษฐาบุตร อาจารย์ท่ีปรึกษารายงานการศึกษาวิจัยและคณะกรรมการ ผทู้ รงคุณวุฒิ ท่ีกรุณาสละเวลาอันมีค่าประสิทธิประสาทวิชาความรู้ จุดประกายความคิด ตลอดจนแนะนํา แก้ไขรายงานการศึกษาวจิ ัยน้ใี หเ้ ปน็ รายงานการศึกษาวิจัยทส่ี มบรู ณข์ ้ึนมาได้ ๒) กลุ่มผูใ้ หค้ วามสะดวกด้านอํานวยการ ไดแ้ กท่ ่านลกั ขณา มนิมนากร ผู้อํานวยการวิทยาลัย ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ท่าน ดร.วิจารณ์ เหล่าธรรมย่ิงยง รองผู้อํานวยการวิทยาลัยป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัยในฐานะผู้อํานวยการหลักสูตร และเจ้าหน้าที่ประจําหลักสูตรทุกท่านท่ีให้ความ ช่วยเหลือในการดําเนินการ ติดต่อประสานงาน ให้การจัดทําและการจัดทํารายงานการศึกษาวิจัยฉบับน้ี สําเร็จข้ึนมาได้ ๓) กลุ่มผู้ให้ความช่วยเหลือด้านโอกาส ได้แก่ ท่านผู้บริหารกรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยและผู้บริหารต้นสังกัดของผู้ศึกษาท่ีได้เมตตาให้ผู้ศึกษาได้มีโอกาสเข้ามาฝึกฝนเพิ่มความรู้ ความสามารถในหลักสูตรนักบริหารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นท่ี ๑๐ และได้มี โอกาสผลิตรายงานการศกึ ษาวจิ ัยฉบบั น้ขี ้นึ มา ๔) กลุ่มผู้ให้ความช่วยเหลือด้านเวลาและจิตใจ ประกอบด้วย พี่ๆ เพ่ือนๆ ร่วมรุ่น นบ.ปภ. รุ่นที่ ๑๐ ทุกท่าน บิดามารดา ตลอดจนครอบครัว ที่ให้การสนับสนุนให้กําลังใจ ให้เวลาในการทุ่มเททํา รายงานการศึกษาวจิ ัยฉบบั นี้ ขออํานาจคุณพระศรีรัตนตรัยและสิ่งท่ีท่านเหล่าน้ีเคารพนับถือจงช่วยดลบันดาลให้ส่ิงท่ีท่าน ทัง้ หลายช่วยเหลอื ผู้ศึกษาในครงั้ น้ยี ้อนกลบั ไปเป็นคุณแกท่ า่ นเปน็ รอ้ ยเท่าพันทวี อนึ่ง รายงานการศึกษาวิจัยฉบับน้ีหากจะเป็นประโยชน์ในวงวิชาการหรืองานป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัยของประเทศไทยไม่ว่ามากหรือน้อย ขอให้ประโยชน์ที่ได้น้ันส่งผลประโยชน์ต่อเน่ืองไป ยังความกา้ วหน้าทางวิชาการและความผาสกุ ของสงั คมไทยด้วยเทอญ หากมขี ้อบกพร่องและผดิ พลาดประการใด ผู้ศกึ ษาขอน้อมรับแตเ่ พียงผเู้ ดียว สัณฐติ ิ ธรรมใจ มีนาคม ๒๕๕๗
ค บทสรปุ ผู้บรหิ าร การศึกษาวิจัย เร่ืองการป้องกันและระงับสาธารณภัยในอาคารสูงและอาคารท่ีมีผู้อาศัยหนาแน่น กรณีศึกษา : แนวทางการตรวจสอบอาคารตามพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการวิจัยเอกสาร (Documentary Research) เนื่องจาก พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ ซึ่งถือเป็นเคร่ืองมือทางกฎหมายที่ใช้ในการ บริหารจัดการสาธารณภัยของประเทศไทยฉบับใหม่ได้มีผลใช้บังคับเมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๐ แทนกฎหมายฉบับ เดิมที่ได้ยกเลิกไป ๒ ฉบับ คือ พระราชบัญญัติป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน พ.ศ. ๒๕๒๒ และพระราชบัญญัติ ป้องกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ. ๒๕๔๒ ซ่ึงเป็นกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและระงับอัคคีภัยโดยตรงได้ถูก ยกเลิกไปด้วย ดังนั้นกฎหมายที่ใช้ในการป้องกันและลดผลกระทบจากสาธารณภัยในอาคารจึงเหลือเพียง พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ เท่านั้น แต่อย่างไรก็ตามยังพบว่าอาคารสูงและอาคารที่มีผู้ อาศยั หนาแน่น เชน่ ห้างสรรพสนิ คา้ โรงภาพยนตร์ เปน็ ตน้ เกิดเพลิงไหม้หรือถล่มอยู่บ่อยคร้ัง สร้างความ เสียหายในชีวิตและทรัพย์สินอย่างมากมาย ผู้ศึกษาจึงมีข้อสงสัยว่ากฎหมายที่ใช้บังคับในประเทศไทยอยู่ ในปัจจุบันเพียงพอในการทําให้การป้องกันและลดผลกระทบจากสาธารณภัยในอาคารดังกล่าวหรือไม่ จงึ เกิดคาํ ถามสาํ หรับการวจิ ัยจํานวน ๒ ข้อ กล่าวคือ ๑) จะมีแนวทางในการปรับแก้ไขหรือแนวทางในการ ใช้พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ ในการควบคุมและตรวจสอบอาคารเพ่ือ ป้องกันและระงับสาธารณภัยในอาคารสูงหรืออาคารที่มีผู้อาศัยหนาแน่นอย่างไร ๒) จะนําแนวคิดการ ตรวจสอบถว่ งดลุ หรือแนวคิด ทฤษฎีทีเ่ กย่ี วข้อง มาช่วยเสรมิ ประสิทธิภาพการควบคมุ อาคารได้อยา่ งไร จากสภาพปัญหาอาคารสูงและอาคารที่มีผู้อยู่อาศัยหนาแน่นเกิดเหตุสาธารณภัยบ่อยครั้ง โดยเฉพาะเหตุเพลิงไหม้สร้างความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนจํานวนมาก ท้ังที่มี พระราชบัญญตั คิ วบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ บังคับใช้อยู่ อย่างไรก็ตามปัจจุบันพระราชบัญญัติป้องกันและ ระงับอัคคภี ยั พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึง่ เป็นกฎหมายทกี่ าํ หนดวธิ กี ารปอ้ งกันและระงับอคั คีภยั ในอาคารได้ถูกยกเลิก ไปโดยพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ ประกอบกับมีงานวิจัยบางฉบับและ สถิติของอาคารท่ีมีความเส่ียงต่อการเกิดสาธารณภัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินบางแห่งระบุชัดว่า ปัญหาการขาดความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าท่ีท้องถ่ิน การมีเจ้าหน้าท่ีกํากับดูแล ตรวจสอบอาคารของ องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ ไมเ่ พยี งพออาจเป็นสาเหตุของปัญหาดังกล่าว นอกจากนี้จากการวิเคราะห์จาก แนวคิดทฤษฎีต่างๆ ตลอดจนกรณีตัวอย่างจากต่างประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา ฟิลิปปินส์ และนิวซีแลนด์ ยังพบว่าการตรวจสอบถ่วงดุลในการใช้อํานาจเดียวกันโดยเจ้าหน้าท่ีหลายหน่วยงานเป็นส่ิงที่สามารถ กระทําได้ ดังน้ันจึงพบว่าการตรวจสอบถ่วงดุลการใช้อํานาจการอนุญาตก่อสร้างและควบคุมการใช้อาคาร ของเจ้าหนา้ ทสี่ ว่ นทอ้ งถิ่นโดยใหม้ เี จ้าหน้าท่ีจากหน่วยงานอื่นโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่จากส่วนกลางโดยเข้าไป มีอํานาจในการตรวจสอบอาคารเพ่ือป้องกัน ลดความเส่ียงและลดผลกระทบจากสาธารณภัยโดยใช้ กระบวนการทางกฎหมายด้วยการปรับปรุงแก้ไขมาตรา ๔๐ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ บัญญัติให้เจ้าหน้าท่ีจากกรมป้องกันและบรรเทาสาธารภัยหรือเจ้าหน้าท่ีจาก หน่วยงานอ่ืนเปน็ นายตรวจมีอํานาจตรวจอาคารสูงหรืออาคารท่ีมีผู้อยู่อาศัยหนาแน่นได้โดยอาศัยแนวทาง ตามพระราชบัญญัติป้องกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ. ๒๕๔๒ และพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม จะเป็นการช่วยตรวจสอบถ่วงดุล (Check and Balance) อํานาจของ เจ้าพนักงานท้องถ่ิน เป็นไปตามหลักทฤษฎีท่ีหน่วยงานสามารถตรวจสอบได้ (Accountability) เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อคนจํานวนมากท่ีสุดตามแนวทางของหลักอรรถประโยชน์นิยม (Utilitarianism) ได้ โดยมเี นือ้ ความท่ีเสนอปรับปรุงแกไ้ ขมาตรา ๔๐ ดงั นี้
ง “มาตรา ๔๐ เพ่ือเป็นการป้องกัน ลดความเสี่ยงและลดผลกระทบจากสาธารณภัยในอาคารใน ระยะเวลาก่อนเกิดภัย ให้นายตรวจมีอํานาจเข้าไปในอาคารหรือสถานที่บางประเภทในระหว่างเวลาพระ อาทิตย์ข้ึนจนถึงพระอาทิตย์ตก เพ่ือตรวจสอบความม่ันคงแข็งแรงของอาคาร ตรวจสภาพท่ีอาจก่อให้เกิด สาธารณภัยได้โดยง่ายหรือมีวัสดุหรือส่ิงของใดในอาคารหรือสถานที่ใดท่ีอาจก่อให้เกิดสาธารณภัยได้ ตลอดจนตรวจสอบมาตรการอ่นื ใดในการป้องกนั ลดความเสี่ยงและลดผลกระทบจากสาธารณภัย ให้ผูอ้ าํ นวยการกลางแตง่ ต้ังขา้ ราชการสังกัดกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย หรือข้าราชการ พลเรอื นสามัญจากหนว่ ยงานอื่นท่ีดํารงตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการหรือเทียบเท่าข้ึนไปเป็น นายตรวจตามวรรคหนึ่ง โดยให้นายตรวจเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา และเป็นพนักงาน ฝ่ายปกครองหรือตํารวจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มีหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อย ของประชาชนตามวรรคหนง่ึ ให้รัฐมนตรีมีอํานาจออกกฎกระทรวงกําหนดประเภทอาคารหรือสถานที่ท่ีนายตรวจมีอํานาจ ดําเนินการตามวรรคหน่งึ อาํ นาจหน้าท่ีของนายตรวจ กาํ หนดหลกั เกณฑ์ วิธีการ แนวทางการตรวจอาคาร หรอื สถานท่ี และมอี ํานาจกาํ หนดรูปแบบและเง่ือนไขเก่ียวกับบตั รประจําตวั นายตรวจได้ รัฐมนตรีมีอํานาจออกกฎกระทรวงข้อกําหนดมาตรฐานอาคารหรือสถานท่ีให้เป็นไปตาม กฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคารหรืออาจออกกฎกระทรวงกําหนดเพิ่มเติมหรือแตกต่างไปจากกฎหมาย ควบคมุ อาคารได้เท่าที่ไมข่ ัดหรือแยง้ กับกฎหมายว่าด้วยการควบคมุ อาคารกไ็ ด้ เจ้าของ ผู้ครอบครองหรือผู้ใช้อาคารผู้ใดฝ่าฝืนข้อกําหนดมาตรฐานตามวรรคสี่ต้องระวางโทษ จําคุกไม่เกินส่ีปีปรับไม่เกินแปดหม่ืนบาทหรือท้ังจําท้ังปรับ หากการฝ่าฝืนตามวรรคนี้เป็นเหตุให้ผู้ใดได้รับ อันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกปีปรับไม่เกินหน่ึงแสนสองหมื่นบาทหรือท้ังจําท้ังปรับ และ หากการฝ่าฝืนตามวรรคน้ีเป็นเหตุให้ผู้อ่ืนเสียชีวิต ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินย่ีสิบปีปรับไม่เกินส่ีแสนบาท หรอื ทง้ั จาํ ทั้งปรบั ใหน้ ายตรวจมีอาํ นาจส่ังให้เจ้าของ ผู้ครอบครองหรือผู้ใช้อาคารแก้ไขอาคารหรือสถานท่ีให้เป็นไป ตามข้อกําหนดภายในระยะเวลาที่กําหนด หากเจ้าของ ผู้ครอบครองหรือผู้ใช้อาคารไม่ดําเนินการภายใน ระยะเวลาที่กําหนด ให้ดําเนินมาตรการทางปกครองโดยอนุโลมตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร หรือมีอํานาจในการเสนอเร่ืองให้ผู้อํานวยการกลางส่ังปิดและห้ามใช้อาคารหรือสถานท่ีโดยมีกําหนด ระยะเวลาได้ หลักเกณฑ์ ข้ันตอนและวิธีการดําเนินการส่ังปิดและห้ามใช้อาคารหรือสถานท่ีให้ออกเป็น กฎกระทรวง ทั้งนีเ้ มื่อได้มกี ารดําเนนิ การใดหรือแกไ้ ขอาคารหรอื สถานท่ีใหเ้ ป็นไปตามขอ้ กําหนดในวรรคน้ี แล้วไม่เปน็ ผลให้คดอี าญาสนิ้ สดุ ลงแต่อย่างใด ใหจ้ ดั ทําแผนการตรวจอาคารและสถานท่ตี ามวรรคหนึ่งเปน็ ประจําทุกปี และให้สํานักงบประมาณ อํานวยความสะดวกและจัดให้มีการจัดสรรงบประมาณในการดําเนินการตามวรรคหนึ่งให้เพียงพอ โดยให้ ดาํ เนนิ การตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ และให้สํานักงานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรือนและ สาํ นกั งานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการใหก้ ารสนับสนนุ ด้านการจัดบคุ คลากรให้เพยี งพอ” และเสนอใหม้ ีการออกกฎกระทรวงตามมาตรา ๔๐ วรรคสาม ท่ีแก้ไขใหม่ข้างต้นกําหนดประเภท ของอาคารที่นายตรวจสามารถเข้าไปตรวจสอบได้ ได้แก่ (๑) “อาคารสูง” ซ่ึงหมายถึง อาคารสูงหรือ อาคารขนาดใหญ่พิเศษตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ (๒) “อาคารท่ีมีผู้อยู่อาศัย หนาแน่น” ซ่ึงหมายถึง อาคารชุมนุมคนตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ และอาคารทุก ขนาดและทุกประเภท ที่มีวัตถุประสงค์ในการใช้อาคารหรือส่วนใดของอาคารที่บุคคลอาจเข้าไปภายใน เพอ่ื ใชป้ ระโยชนใ์ นการใช้เปน็ โรงแรม อาคารพักอาศยั รวม สถานบริการ และโรงมหรสพ
จ สารบัญ หน้า คํานํา ...................................................................................................................... ก กิตตกิ รรมประกาศ ………………………………………………………………………………………. ข บทสรุปผบู้ รหิ าร ..................................................................................................... ค บทท่ี ๑ บทนํา ........................................................................................................ ๑ ๑.๑ ความเปน็ มาของเร่อื งและสถานการณ์ปจั จุบนั ........................................................... ๑ ๑.๒ เหตุผลและความจําเปน็ ในการศกึ ษาและคาํ ถามในการวิจัย ....................................... ๒ ๑.๓ วตั ถปุ ระสงคข์ องการศกึ ษา ......................................................................................... ๒ ๑.๔ ขอบเขตของการศกึ ษา ............................................................................................... ๒ ๑.๕ ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะได้รบั ........................................................................................... ๓ ๑.๖ นิยามศพั ท์ ................................................................................................................... ๓ บทท่ี ๒ แนวคดิ ทฤษฎี ระเบยี บกฎหมาย และงานวิจยั ท่เี กยี่ วข้อง ……………………….. ๔ ๒.๑ แนวความคดิ การใช้อาํ นาจรัฐในการป้องกนั และลดผลกระทบจากสาธารณภยั ในอาคารสูงและอาคารทมี่ ผี อู้ าศยั หนาแน่น ................................................................ ๔ ๒.๑.๑ แนวความคิดการคุ้มครองสทิ ธกิ ารมีชวี ิตอยูข่ องประชาชน ............................. ๔ ๒.๑.๒ แนวความคดิ หลักสามารถตรวจสอบได้ (Accountability) และแนวความคิด การตรวจสอบถว่ งดลุ (Check and Balance) ………………………………………… ๕ ๒.๑.๓ แนวคดิ อรรถประโยชนน์ ยิ ม (Utilitarianism) ................................................ ๕ ๒.๒ กฎหมายที่เกีย่ วข้องกับการป้องกันและลดผลกระทบจากสาธารณภยั ในอาคาร สงู และอาคารที่มผี อู้ าศยั หนาแน่น …………………………………………………………………… ๖ ๒.๒.๑ พระราชบัญญัติปอ้ งกันและระงับอัคคีภยั พ.ศ. ๒๕๔๒ ................................. ๖ ๒.๒.๒ พระราชบญั ญัตคิ วบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ ………………………………………….. ๙ ๒.๒.๓ พระราชบัญญตั ปิ ้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ …………………. ๑๖ ๒.๒.๔ ประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณาความอาญา .................................................... ๑๗ ๒.๒.๕ พระราชบัญญัตติ าํ รวจแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗ ………………………………………... ๑๘ ๒.๒.๖ พระราชบัญญัตกิ ารสอบสวนคดพี เิ ศษ พ.ศ. ๒๕๔๗ …………………………….... ๑๙ ๒.๓ กฎหมายและวธิ กี ารเกี่ยวกับการตรวจสอบถว่ งดลุ การใช้อาํ นาจของ เจา้ หนา้ ที่รัฐจากต่างประเทศ …………………………………………………………………………… ๒๔ ๒.๓.๑ กฎหมายเกีย่ วกบั การตรวจสอบถ่วงดุลการใชอ้ าํ นาจของเจา้ หน้าท่ีรัฐ ในประเทศสหรฐั อเมรกิ า ……………………………………………………………………… ๒๔ ๒.๓.๒ กฎหมายเกีย่ วกับการตรวจสอบถ่วงดุลการใช้อาํ นาจของเจ้าหน้าท่รี ัฐ ในประเทศฟิลิปปินส์ …………………………………………………………………………… ๒๕ ๒.๓.๓ กฎหมายเกยี่ วกบั การตรวจสอบถ่วงดุลการใชอ้ าํ นาจของเจา้ หนา้ ที่รฐั ในประเทศนิวซีแลนด์ ………………………………………………………………………… ๒๖
ฉ สารบัญ (ต่อ) หน้า ๒.๔ งานวจิ ัยที่เกยี่ วข้องกับการตรวจสอบถว่ งดลุ อํานาจของเจา้ หน้าทร่ี ัฐและการป้องกนั และลดผลกระทบจากสาธารณภัยในอาคาร …………………………………………………………. ๒๙ ๒.๔.๑ งานวจิ ยั ท่เี กย่ี วข้องกบั การตรวจสอบถ่วงดุลอาํ นาจของเจ้าหนา้ ทรี่ ัฐ …………….. ๒๙ ๒.๔.๒ งานวิจยั ที่เก่ียวข้องกับการปอ้ งกันและลดผลกระทบจากสาธารณภยั ในอาคาร... ๒๙ บทที่ ๓ วิธีดาํ เนินการวิจยั ……………………………………………………………………………………. ๓๐ ๓.๑ ประชากรและตัวอย่าง …………………………………………………………………………………… ๓๐ ๓.๒ ขอบเขตและพ้ืนที่การศึกษา ……………………………………………………………………………. ๓๐ ๓.๓ ขั้นตอนการเก็บรวบรวมขอ้ มูล และเคร่อื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษา .................................. ๓๐ ๓.๔ วธิ กี ารวิเคราะหข์ อ้ มลู …………………………………………………………………………………….. ๓๑ บทที่ ๔ การวิเคราะหข์ อ้ มูล ……………………………………………………………………………….. ๓๒ ๔.๑ การนาํ แนวคดิ การตรวจสอบถว่ งดลุ หรือแนวคิด ทฤษฎีที่เก่ยี วข้อง และระเบยี บ กฎหมายทงั้ ในประเทศไทยและต่างประเทศมาเป็นเครอ่ื งมอื ในการเพ่ิมประสิทธภิ าพ การควบคมุ อาคาร …………………………………….....................................................….. ๓๒ ๔.๒ แนวทางในการแกไ้ ขพระราชบญั ญตั ปิ ้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ ในการควบคมุ และตรวจสอบอาคารเพอื่ ปอ้ งกันและระงับ สาธารณภยั ในอาคารสูงและอาคารทีม่ ีผู้อาศยั หนาแนน่ …………………………………… ๓๗ บทท่ี ๕ สรุป อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ ........................................................................... ๔๒ ๕.๑ สรปุ ผลการศกึ ษาและอภปิ รายผล ............................................................................... ๔๒ ๕.๒ ข้อเสนอแนะสําหรบั การนาํ ผลไปใช้ ………………………………………………………………….. ๔๓ ๕.๓ ข้อเสนอแนะสาํ หรบั การวิจัยครงั้ ต่อไป ........................................................................ ๔๔ บรรณานกุ รม …………………………………………………………………………………………………………………... ๔๕ ภาคผนวก แบบการเสนอโครงรา่ งการศกึ ษาวิจยั สว่ นบคุ คล (Proposal) ........................ ๔๖ ประวตั ผิ ู้ศึกษาวิจัย ........................................................................................................................ ๕๐
บทท่ี ๑ บทนำ ๑.๑ ควำมเปน็ มำของเร่อื งและสถำนกำรณป์ จั จุบนั พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ ซ่ึงถือเป็นเคร่ืองมือทางกฎหมายที่ ใช้ในการบริหารจัดการสาธารณภัยของประเทศไทยฉบับใหม่ได้มีผลใช้บังคับเม่ือวันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ แทนกฎหมายฉบับเดิมท่ีได้ยกเลิกไป ๒ ฉบับ คือ พระราชบัญญัติป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน พ.ศ. ๒๕๒๒ และพระราชบัญญัติป้องกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ. ๒๕๔๒ ซ่ึงเป็นกฎหมายว่าด้วยการ ป้องกันและระงับอัคคีภัยโดยตรงได้ถูกยกเลิกไปด้วย ดังนั้นเคร่ืองมือทางกฎหมายท่ีใช้ในการการป้องกัน และระงับ สาธารณภยั ในอาคารจงึ เหลือเพียงพระราชบญั ญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ เท่านั้นท่ีใช้เป็น กฎหมายหลักและเป็นเครื่องมือของเจ้าหน้าท่ีรัฐในการควบคุมป้องกันและลดผลกระทบจากการเกิด สาธารณภยั ในอาคาร อย่างไรก็ตามยงั ปรากฏภาพข่าวตามส่ือมวลชนแขนงต่างๆ อยู่ตลอดเวลาว่าอาคารสูงและอาคาร ท่ีมีผู้อาศัยหนาแน่น เช่น ห้างสรรพสินค้า โรงภาพยนตร์ เป็นต้น เกิดเพลิงไหม้หรือถล่มอยู่บ่อยครั้งสร้าง ความเสียหายในชีวติ และทรัพย์สนิ อย่างมากมาย เช่น เหตเุ พลงิ ไหมโ้ รงแรมแกรนด์ พาร์ค อเวนิว ซึ่งต้ังอยู่ ท่ีซอยสุขุมวิท ๒๒ ถนนสุขุมวิท เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร เม่ือวันที่ ๘ มีนาคม ๒๕๕๕ จนทาให้มี ผู้เสียชีวิต ๒ รายและสาลักควันอีก ๒๐ กว่าราย มีรายงานข่าวว่าโรงแรมดังกล่าวได้ลักลอบดัดแปลง ลานจอดรถไปทาเป็นห้องจัดเล้ียงโดยมิชอบด้วยกฎหมาย (www.kapook.com, 2012) หรือปรากฏ ข่าวสารว่าเมื่อวันที่ ๗ มิถุนายน ๒๕๕๖ ได้เกิดเหตุไฟไหม้โรงแรมท่ีไม่ได้รับอนุญาตตามกฎหมายควบคุม อาคารและกฎหมายว่าด้วยโรงแรมช่ือซัคเซสอินน์ ซ่ึงต้ังอยู่ท่ีซอยพหลโยธิน ๒๖ เขตจตุจักร กรงุ เทพมหานคร จนทาให้มีผเู้ สียชีวิต ๑ รายและได้รับบาดเจ็บจานวน (VoiveTV, 2013) นอกจากน้ีจาก สถิติของสานักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (สปภ.) กรุงเทพมหานคร ระบุว่าในปี ๒๕๕๔ พบว่ามีเหตุ อัคคีภยั สูงถึง ๑,๕๒๔ ครัง้ ในจานวนนีเ้ ป็นเหตุทีเ่ กดิ ในกรุงเทพมหานครซ่ึงเป็นเมืองที่มีอาคารสูงมากที่สุด ๒๙๐ ครั้ง นอกจากนี้ยังพบว่าเฉพาะในกรุงเทพมหานครมีอาคารท่ีเสี่ยงต่อการเกิดสาธารณภัยถึง ๑๒,๐๐๐ แห่ง และที่น่าห่วงที่สุดคืออาคารท่ีมีความสูงในกรุงเทพมหานครท่ีสูงเกินระยะรถกระเช้า ดับเพลิงของกรุงเทพมหานคร (Projectalliance, 2013) จากข้อมูลตามข่าวที่ปรากฏตามสื่อต่างๆ หลาย คร้ังกลบั พบวา่ อาคารท่เี กดิ อัคคภี ัยหรือสาธารณภัยต่างๆ นั้นมักเกิดจากการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วย การควบคุมอาคาร เช่น การดัดแปลงอาคารโดยไม่ได้รับอนุญาต การนาที่จอดรถไปทาเป็นห้องพักหรือ ห้องจดั เลี้ยง เปน็ ต้น กรณีนีจ้ ึงมีข้อสงสัยว่าแม้พระราชบญั ญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ จะมีบทบัญญัติ เพ่ือป้องกันสาธารณภยั เกดิ กบั อาคารสงู หรืออาคารทม่ี ีผอู้ าศัยหนาแน่นท่ีเคร่งครัดและรัดกุมแล้วก็ตาม แต่ ยังพบวา่ มีการฝ่าฝืนกฎหมายดังกล่าวจนนาไปสู่ความสูญเสียบ่อยคร้ัง โดยเฉพาะเกิดข้ึนกับอาคารสูงและ อาคารที่มีผู้อาศัยหนาแน่นที่ผู้สูญเสียมักไม่ใช่ผู้ท่ีสร้างหรือผู้ก่อให้เกิดปัญหาเองแต่อย่างใด ซ่ึงเป็นการไม่ เป็นธรรมกับผู้สูญเสียเหล่าน้ัน ไม่ว่าสาเหตุของปัญหาจะเกิดจากตัวเนื้อหากฎหมายเองหรือผู้ใช้กฎหมาย หรือกระบวนการใช้กฎหมาย หรือขั้นตอนใดของกฎหมายควบคุมอาคารก็ตาม เป็นส่ิงที่จะต้องแก้ไขกัน ต่อไปตามขั้นตอนของกฎหมายควบคุมอาคารซึ่งมีกรมโยธาธิการเป็นเจ้าของเรื่อง แต่ความสูญเสียในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชนจากสาธารณภัยซึ่งเป็นอานาจหน้าท่ีของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย น้ันเป็นส่ิงท่ีรอไม่ได้ ในเม่ือกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยมีพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ เป็นเคร่ืองมือ จึงควรศึกษาหาแนวทางในการนากฎหมายน้ีไปใช้ในการป้องกัน
๒ และระงับสาธารณภยั ทีอ่ าจเกดิ ข้ึนในอาคารสงู หรืออาคารท่มี ีผอู้ าศยั หนาแน่นอันเป็นการตรวจสอบถ่วงดุล กับการใช้อานาจการควบคุมอาคารของเจา้ พนักงานทอ้ งถิน่ ตามกฎหมายควบคุมอาคารได้ จึงจาเป็นต้องมี การศึกษาวิเคราะห์และปรับแก้ไขกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยน้ีเพื่อให้เหมาะสม กบั การนาไปใช้ให้เกดิ ผลสมั ฤทธต์ิ ่อไป ดังน้ัน จึงมีความจาเป็นที่จะต้องทาการศึกษาค้นคว้าว่า จะมีแนวทางในการปรับแก้ไขหรือมี แนวทางในการใช้พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ ในการตรวจสอบอาคาร เพ่ือป้องกันและระงับสาธารณภัยในอาคารสูงหรืออาคารที่มีผู้อาศัยหนาแน่น อันเป็นการช่วยเสริม ประสทิ ธิภาพการควบคุมอาคารและชว่ ยในการตรวจสอบถ่วงดลุ อานาจของเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วย การควบคมุ อาคารได้อยา่ งไร ๑.๒ เหตผุ ลและควำมจำเป็นในกำรศึกษำและคำถำมในกำรวจิ ยั งานวจิ ยั ฉบับนีเ้ ปน็ การศึกษาค้นคว้าเพอ่ื หาคาตอบว่าจะมแี นวทางในการปรับแก้ไขหรือมีแนวทาง ในการใช้พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ ในการตรวจสอบอาคารอาคารสูง หรืออาคารที่มีผู้อาศัยหนาแน่นเพ่ือป้องกันและระงับสาธารณภัย อันเป็นการช่วยเสริมประสิทธิภาพการ ควบคุมอาคารและช่วยในการตรวจสอบถ่วงดุลอานาจของเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม อาคารไดอ้ ยา่ งไร ๑.๓ วัตถปุ ระสงคข์ องกำรศกึ ษำ ๑.๓.๑ เพือ่ ศกึ ษาระเบยี บกฎหมายและทฤษฎกี ารจดั การป้องกันและระงับสาธารณภัยในอาคารสูงและ อาคารที่มผี อู้ ย่อู าศัยหนาแนน่ ของประเทศไทยและตา่ งประเทศบางประเทศ พร้อมทั้งผลการใช้บังคับ ข้อดี ขอ้ เสีย รวมทง้ั รูปแบบการตรวจสอบถว่ งดุลการใชอ้ านาจรัฐเพอ่ื คมุ้ ครองสทิ ธใิ หก้ บั ประชาชน ๑.๓.๒ เพ่อื ศกึ ษาหาแนวทางการปรบั ปรงุ ระเบียบกฎหมายการจัดการป้องกันและระงับสาธารณภัยใน อาคารสงู และอาคารท่ีมผี ู้อยอู่ าศยั หนาแน่นของประเทศไทยใหใ้ ชไ้ ด้ผลอย่างจริงจัง ๑.๔ ขอบเขตของกำรศึกษำ การศกึ ษาครง้ั น้ี ผู้ศึกษาได้กาหนดขอบเขตของการศกึ ษาดังน้ี ๑.๔.๑ วิธกี ำรศกึ ษำ เปน็ การวจิ ัยเชงิ คณุ ภาพ ทาการวจิ ัยเอกสาร (Documentary Research) ๑.๔.๒ ขอบเขตกำรศึกษำ ทาการศึกษาค้นคว้าระเบียบกฎหมายและทฤษฎีการจัดการป้องกันและ ระงับสาธารณภัยในอาคารสูงและอาคารท่ีมีผู้อยู่อาศัยหนาแน่นของประเทศไทยและต่างประเทศท่ีใช้อยู่ ในปัจจบุ ัน พร้อมท้ังผลการใชบ้ ังคบั ขอ้ ดี ขอ้ เสยี ๑.๔.๓ กรอบแนวคิดในกำรศึกษำ นาข้อมูลจากข้อ ๑.๔.๒ มาวิเคราะห์และหาแนวทางในการ ปรับแก้ไขหรือแนวทางในการใช้พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ ในการ ควบคุมและตรวจสอบอาคารเพ่อื ป้องกนั และระงับสาธารณภัยในอาคารสูงหรืออาคารที่มีผู้อาศัยหนาแน่น อันเป็นการถว่ งดลุ อานาจของเจ้าหนา้ ทต่ี ามกฎหมายวา่ ด้วยการควบคุมอาคารได้ ๑.๔.๔ คำถำมกำรวจิ ยั ๑) จะมีแนวทางในการปรับแก้ไขหรือแนวทางในการใช้พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ ในการควบคุมและตรวจสอบอาคารเพ่ือป้องกันและระงับสาธารณภัยในอาคาร สงู หรอื อาคารทมี่ ผี ู้อาศยั หนาแนน่ อย่างไร ๒) จะนาแนวคดิ การตรวจสอบถ่วงดลุ หรอื แนวคิด ทฤษฎที เ่ี กย่ี วข้อง มาชว่ ยเสริมประสิทธิภาพ การควบคมุ อาคารไดอ้ ย่างไร
๓ ๑.๕ ประโยชน์ท่ีคำดว่ำจะไดร้ ับ นาเสนอแนวทางการแก้ไขหรือแนวทางในการใช้พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ ในการควบคมุ และตรวจสอบอาคารเพอ่ื ป้องกันและระงับสาธารณภัยในอาคารสูงหรืออาคาร ที่มีผู้อาศัยหนาแน่น ต่อผู้บริหารกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเพ่ือประกอบการตัดสินใจกาหนด นโยบายตอ่ ไป ๑.๖ นิยำมศพั ท์ ๑.๖.๑ “อาคารสูง” หมายถึง อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษตามพระราชบัญญัติควบคุม อาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ ๑.๖.๒ “อาคารทีม่ ีผ้อู ย่อู าศยั หนาแน่น” หมายถึง อาคารชมุ นุมคนตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ และอาคารทุกขนาดและทุกประเภท ท่ีมีวัตถุประสงค์ในการใช้อาคารหรือส่วนใดของอาคาร ที่บุคคลอาจเข้าไปภายในเพื่อใช้ประโยชน์ในการใช้เป็น โรงแรม อาคารพักอาศัยรวม สถานบริการ และ โรงมหรสพ
บทท่ี ๒ แนวคิด ทฤษฎี ระเบียบกฎหมาย และงานวจิ ยั ที่เก่ยี วข้อง รายงานการศึกษาวิจัยเร่ือง การป้องกันและระงับสาธารณภัยในอาคารสูงและอาคารที่มีผู้อาศัย หนาแนน่ กรณศี ึกษา : แนวทางการตรวจสอบอาคารตามพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ นม้ี แี นวคดิ ทฤษฎี และระเบียบกฎหมายที่ใชใ้ นการศึกษาและงานวจิ ัยที่เกย่ี วข้อง ดงั น้ี ๒.๑ แนวความคิดการใช้อานาจรัฐในการปอ้ งกันและลดผลกระทบจากสาธารณภยั ใน อาคารสูงและอาคารทมี่ ผี อู้ าศัยหนาแนน่ ๒.๑.๑ แนวความคิดการคุ้มครองสิทธกิ ารมชี วี ติ อยู่ของประชาชน สทิ ธกิ ารมชี ีวติ อยขู่ องประชาชนหรอื สทิ ธใิ นชีวติ (Right to Life) ถือเป็นสิทธิมนุษยชนข้ันพ้ืนฐาน มนุษย์สามารถมีชีวิตอยู่ได้และได้รับการคุ้มครองให้ปลอดภัยได้รับการตอบสนองตามความต้องการข้ัน พ้ืนฐานของชีวิต ได้แก่ อาหาร เครื่องนุ่มห่ม ยารักษาโรค และท่ีอยู่อาศัย ทุกชีวิตล้วนมีคุณค่าด้วยกัน ท้งั สิ้น ไม่วาจะเป็นบุคคลท่ีต้องการความช่วยเหลือเพื่อการดารงชีวิตอยู่เป็นพิเศษจากผู้อ่ืน เช่น คนพิการ คนชรา ฯลฯ ดงั นัน้ ทกุ คนควรปฏิบตั ติ อ่ บุคคลด้อยโอกาส ให้ความสาคัญ ให้โอกาสและให้ความช่วยเหลือ ตามสมควร เพื่อให้ทุกชีวิตมีความเท่าเทียมกันมากท่ีสุด (รัชชานนท์ ลีวสุธร, ๒๕๕๖) น่ันหมายความว่า สิทธิของประชาชนในการมีชีวิตโดยปราศจากการถูกทาร้ายหรือถูกกระทาไม่ว่าจากมนุษย์ สัตว์หรือ ธรรมชาติ ย่อมได้รบั การคมุ้ ครองจากรัฐ ในการนี้ย่อมรวมถึงการท่ีมนุษย์เข้าไปอยู่หรืออาศัยในอาคารใดๆ เขาย่อมพกเอาสิทธิในชีวิตไปด้วย เจ้าของอาคารหรือรัฐย่อมต้องเคารพและรักษาสิทธิของเขาด้วยการไม่ กระทาการใดๆ ทีท่ าใหอ้ าคารเกิดสาธารณภัยจนสร้างความเสียหายต่อชีวิตของผู้เข้าไปอยู่อาศัยในบริเวณ ดงั กลา่ วด้วย รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทยฉบบั ปจั จบุ ันได้บญั ญัติคุ้มครองสิทธิในชีวิตของประชาชนไว้ ดงั น้ี “มาตรา ๓๒ บุคคลย่อมมีสทิ ธิเสรภี าพในชีวติ และร่างกาย การทรมาน ทารณุ กรรม หรอื การลงโทษด้วยวิธกี ารโหดร้ายหรอื ไร้มนษุ ยธรรม จะกระทามิได้แต่ การลงโทษตามคาพพิ ากษาของศาลหรือตามที่กฎหมายบัญญตั ิไม่ถือวา่ เป็นการลงโทษดว้ ยวิธกี ารโหดร้าย หรอื ไร้มนุษยธรรมตามความในวรรคนี้ การจับและการคมุ ขงั บุคคล จะกระทามิได้ เว้นแต่มีคาสง่ั หรือหมายของศาลหรอื มเี หตุอย่างอน่ื ตามที่กฎหมายบญั ญัติ การคน้ ตวั บุคคลหรือการกระทาใดอันกระทบต่อสทิ ธิและเสรภี าพตามวรรคหนงึ่ จะกระทามิได้ เว้นแต่มเี หตุตามท่กี ฎหมายบัญญตั ิ ในกรณที ี่มกี ารกระทาซึง่ กระทบต่อสทิ ธแิ ละเสรีภาพตามวรรคหนง่ึ ผูเ้ สียหาย พนักงานอยั การ หรือบุคคลอืน่ ใดเพือ่ ประโยชนข์ องผเู้ สียหาย มีสิทธิรอ้ งตอ่ ศาลเพ่ือให้ส่ังระงบั หรอื เพิกถอนการกระทา เช่น วา่ นน้ั รวมทั้งจะกาหนดวธิ ีการตามสมควรหรือการเยียวยาความเสยี หายท่ีเกิดขึ้นด้วยก็ได้” “มาตรา ๓๓ บคุ คลย่อมมีเสรีภาพในเคหสถาน บุคคลยอ่ มไดร้ ับความคุม้ ครองในการทจี่ ะอยูอ่ าศัยและครอบครองเคหสถานโดยปกตสิ ุข การเขา้ ไปในเคหสถานโดยปราศจากความยนิ ยอมของผคู้ รอบครอง หรือการตรวจคน้ เคหสถาน หรือในท่รี โหฐาน จะกระทามิได้ เวน้ แตม่ คี าส่งั หรือหมายของศาล หรือมีเหตุอย่างอ่นื ตามท่ีกฎหมาย บญั ญตั ”ิ
๕ กรณีน้ีจะเห็นได้ว่ารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยได้เห็นความสาคัญของสิทธิการมีชีวิตอยู่ ของประชาชนจนนามาบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ โดยท่ีจะเป็นได้เป็นชัดในวรรคแรกของมาตรา ๓๒ และ วรรคแรกของมาตรา ๓๓ ของรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทยที่คุ้มครองสทิ ธใิ นการมีชีวิตอยู่และสิทธิใน การอยอู่ าศัยของประชาชนซ่งึ รัฐมหี น้าทใ่ี นการคุ้มครองและรักษาการมีอยู่ของสิทธิดังกล่าวของประชาชน อยเู่ สมอ ๒.๑.๒ แนวความคิดหลักสามารถตรวจสอบได้ (Accountability) และแนวความคิดการ ตรวจสอบถ่วงดลุ (Check and Balance) การใช้อานาจหน้าที่ของเจ้าหน้าท่ีของรัฐไม่ว่าหน่วยงานใดมีความจาเป็นต้องมีกลไกตรวจสอบ การใช้อานาจของเจ้าหน้าที่เพ่ือให้เกิดความโปร่งใสและความชอบด้วยกฎหมายในการทางาน อานาจใด ก็ตามหากดาเนินการโดยขาดการตรวจสอบได้แล้วจะมีแนวโน้มในการใช้อานาจไปในทางที่มิชอบและไม่ เป็นธรรม (คณิต ณ นคร, ๒๕๕๑, หน้า ๔๙) คาว่า Accountability หมายถึงความพร้อมท่ีจะถูก ตรวจสอบ สามารถตรวจสอบได้ ภาระความรับผิดชอบในการเปิดเผยข้อมูลแก่อีกบุคคลหน่ึงหรือหลายๆ คน และอาจแปลความได้วา่ เป็นการตรวจสอบถ่วงดลุ หรืออาจมองในแง่ของการควบคุมการใช้อานาจโดย วธิ กี ารทางการสร้างระเบียบกฎเกณฑ์ต่างๆ ซ่ึงการตรวจสอบนั้นอาจเป็นการตรวจสอบภายในคือ ภายใน องค์กรเองหรือจะเป็นการตรวจสอบจากภายนอกองค์กรก็ได้ สาหรับการตรวจสอบโดยบุคคลหรือ หนว่ ยงานอน่ื นีเ้ ป็นการนาแนวคดิ การตรวจสอบถว่ งดลุ (Check and Balance) มาใช้เพ่ือให้การใช้อานาจ รัฐในทางอาญาเกิดความโปรง่ ใส (Transparency) (สรุ ศกั ด์ิ ลิขสทิ ธว์ิ ัฒนกลุ , ๒๕๕๒, หน้า ๑๘๗) และการ ตรวจสอบน้ีอาจแบ่งได้เป็นการควบคุมก่อนการดาเนินการหรือควบคุมหลังการดาเนินการก็ได้ ตัวอย่าง ของหลักสามารถตรวจสอบได้ เช่น การจัดซ้ือจัดจ้างของภาครัฐ ประชาชนสามารถขอเข้าตรวจดูการ ดาเนินการได้ท่ีศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการในแต่ละองค์กรของรัฐ นอกจากนี้ผู้บังคับบัญชาของ เจ้าหนา้ ที่รฐั ผทู้ าการจดั ซือ้ จัดจ้างก็สามารถเข้าตรวจสอบการดาเนินการของเจ้าหน้าท่ีได้ สาหรับตัวอย่าง ในกฎหมายที่ใกล้เคียงกับหลักดังกล่าว เป็นต้น สาหรับเร่ืองของกระบวนการยุติธรรมแล้วหลักสามารถ ตรวจสอบได้มักจะมีการกล่าวถึงในเรื่องของกลไกการตรวจสอบอานาจการดาเนินการของเจ้าหน้าท่ีรัฐที่ ดาเนินการตามกฎหมาย เช่น การอนุญาต อนุมัติ ตามอานาจหน้าที่ที่มีตามกฎหมายต่างๆ อาจมีการ ตรวจสอบโดยหน่วยงานเดียวกันหรือหน่วยงานอื่นหรือประชาชนและภาคประชาสังคม เพ่ือเป็นการ ประกนั ความยุติธรรมในกระบวนการดังกล่าวให้มากขึ้น เช่น ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ของไทยกาหนดใหพ้ นักงานอัยการต้องส่งสานวนสง่ั ไมฟ่ ้องไปให้ผู้วา่ ราชการจังหวัดหรือผู้บัญชาการตารวจ แห่งชาติทาการตรวจสอบ หรือในกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาของประเทศสาธารณรัฐฝร่ังเศส กาหนดใหม้ ี ผ้พู พิ ากษาไต่สวนหรือผ้พู ิพากษาสอบสวนเป็นผู้ตรวจสอบถ่วงดุลกับพนักงานสอบสวนในการ แสวงหาข้อเท็จจริงในการให้เสรีภาพและการส่งั กกั ขัง เป็นตน้ ๒.๑.๓ แนวคดิ อรรถประโยชน์นยิ ม (Utilitarianism) แนวคิดน้ีเป็นแนวคิดสาคัญแนวคิดหน่ึงในทางนิติศาสตร์จนถูกเรียกว่าเป็นสานักความคิด สานัก อรรถประโยชน์นิยม (Utilitarianism) โดยท่ีเจ้าของแนวคิดคนสาคัญคือ Jeremy Bentham ปรัชญาเมธี ชาวอังกฤษ โดยท่ีแนวคิดน้ีเชื่อว่าหลักช้ีความดีความชั่วของการใดนั้นขึ้นอยู่กับว่าการนั้นก่อให้เกิด ผลประโยชน์อย่างใดบ้าง กล่าวคือ ธรรมชาติกาหนดให้มนุษย์อยู่ในกฎเกณฑ์ของความสุขและความทุกข์ โดยธรรมชาติมนุษย์จะแสวงหาและต้องการความสุขหลีกเล่ียงและไม่ชอบความทุกข์ ส่ิงใดก่อให้เกิด ความสขุ เรามักยดึ ถอื วา่ สิ่งนนั้ เปน็ สงิ่ ดมี ปี ระโยชน์ สงิ่ ใดทก่ี อ่ ให้เกิดความทุกข์มกั เรยี กสิ่งน้ันว่าเป็นความชั่ว และเป็นส่ิงไร้ประโยชน์ สิ่งใดการกระทาใดจะดีหรือไม่ดีวัดได้จากส่ิงนั้นก่อให้เกิดประโยชน์อย่างไร
๖ เพียงใด ซงึ่ เน้นท่ีผลไม่ได้เน้นท่ีการกระทา เมื่อนาแนวคิดดังกล่าวมาปรับใช้กับกฎหมายแล้วแนวคิดน้ีเช่ือ ว่ากฎหมายย่อมจะถูกบัญญัติขึ้นมาเพื่อให้เกิดประโยชน์มากที่สุดแก่คนจานวนมากท่ีสุด (Greatest Happiness for the Greatest Number) (ปรีดี เกษมทรัพย์, ๒๕๕๐, หน้า ๖๐) แนวคิดนี้ถือเป็นแนวคิด ท่ีสนับสนุนและเป็นพื้นฐานของการบัญญัติกฎหมายหลายฉบับและเป็นพื้นฐานของการปฏิบัติหน้าท่ีของ เจา้ หน้าที่รฐั ที่ต้องมุ่งกระทาการเพอื่ ก่อใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุดต่อคนจานวนมากท่ีสุดนั่นเอง หลีกเลี่ยงและ ให้ใช้การทาความเข้าใจอะลุ้มอล่วยแทนซ่ึงตรงกับแนวทางของการไกลเกล่ียคดีอาญาอันเป็นแนวทางใน การหันเหคดอี อกจากกระแสหลกั (Diversion) ตามท่ีไดก้ ลา่ วมาแลว้ ๒.๒ กฎหมายที่เกย่ี วขอ้ งกับการปอ้ งกนั และลดผลกระทบจากสาธารณภยั ในอาคาร สูงและอาคารท่ีมผี อู้ าศยั หนาแน่น ๒.๒.๑ พระราชบัญญัตปิ อ้ งกนั และระงบั อัคคีภยั พ.ศ. ๒๕๔๒ กฎหมายน้ปี ัจจบุ ันถูกยกเลกิ โดยพระราชบญั ญตั ปิ ้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ แต่ มีบทบัญญัติหลายประการท่ีเป็นหลักพ้ืนฐานแนวคิดการป้องกันและระงับสาธารณภัยประเภทอัคคีภัยใน อาคารที่ดี ดงั นี้ “มาตรา ๔ ในพระราชบญั ญตั ิน้ี “ป้องกันอัคคีภยั ” หมายความว่า การดาเนินการเพอ่ื มิให้เกดิ เพลิงไหม้ และใหห้ มายความรวมถงึ การเตรียมการเพอ่ื รองรับเหตกุ ารณ์เมื่อเกิดเพลิงไหม้ดว้ ย “ระงับอัคคีภยั ” หมายความว่า การดับเพลงิ และการลดการสญู เสยี ชวี ิต ร่างกายและทรัพยส์ นิ อนั เนอ่ื งมาจากการเกดิ เพลิงไหม้ “ส่ิงทีท่ าใหเ้ กิดอคั คีภยั ได้งา่ ย” หมายความว่า เชอื้ เพลิง สารเคมี หรือวตั ถุอนื่ ใดไม่ว่าจะมสี ถานะ เปน็ ของแข็ง ของเหลวหรือกา๊ ซ ท่อี ยใู่ นภาวะพร้อมจะเกิดการสนั ดาปจากการจุดติดใด ๆ หรอื การสนั ดาป เอง ท้งั น้ี ตามทีร่ ฐั มนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา “เจ้าพนกั งานทอ้ งถน่ิ ” หมายความว่า (๑) ผู้ว่าราชการกรงุ เทพมหานคร สาหรับในเขตกรุงเทพมหานคร (๒) นายกองค์การบรหิ ารส่วนจังหวัด สาหรับในเขตองคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวดั (๓) นายกเทศมนตรี สาหรบั ในเขตเทศบาล (๔) ปลดั เมืองพัทยา สาหรับในเขตเมอื งพัทยา (๕) ประธานกรรมการสขุ าภิบาล สาหรับในเขตสุขาภิบาล (๖) ประธานกรรมการบริหารองค์การบริหารส่วนตาบล สาหรบั ในเขตองค์การบรหิ ารสว่ นตาบล (๗) หวั หน้าผ้บู รหิ ารท้องถ่นิ ขององค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ อื่นที่กฎหมายกาหนดให้เป็นราชการ สว่ นทอ้ งถน่ิ สาหรับในเขตราชการสว่ นท้องถนิ่ ในท้องถ่นิ ท่มี คี วามจาเปน็ รฐั มนตรีจะแตง่ ต้งั บุคคลซงึ่ เห็นสมควรให้เปน็ เจ้าพนกั งานท้องถ่ินได้โดย ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา “ผู้อานวยการดับเพลิงประจาท้องถ่ิน” หมายความว่า ผู้อานวยการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนเขต ท้องที่ตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน หรือผู้ซ่ึงรัฐมนตรีแต่งตั้งโดยประกาศในราชกิจจา นุเบกษาให้มหี น้าทอี่ านวยการปอ้ งกันอคั คีภยั ระงบั อัคคีภยั และซอ้ มระงบั อคั คีภยั “พนักงานดับเพลิง” หมายความว่า ผู้ซ่ึงเจ้าพนักงานท้องถิ่นแต่งต้ังให้ทาหน้าที่ช่วยเหลือ พนกั งานดบั เพลงิ ในการปอ้ งกนั อคั คภี ัยและระงับอัคคภี ยั ”
๗ “มาตรา ๕ ในการป้องกันอัคคีภัยและระงับอัคคีภัยให้ผู้อานวยการดับเพลิงประจาท้องถิ่นและ เจา้ พนักงานท้องถนิ่ มอี านาจหนา้ ที่ ดังตอ่ ไปนี้ (๑) จัดให้มีเครื่องดับเพลิง วัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ เครื่องใช้ และยานพาหนะสาหรับป้องกัน อคั คีภยั และระงับอัคคภี ยั (๒) จัดให้มีสถานท่ีสาหรับเก็บรักษาส่ิงของดังกล่าวใน (๑) โดยแยกเป็นหน่วยตามความจาเป็น เพื่อใชป้ ้องกนั อคั คภี ัยและระงับอคั คภี ยั ได้ทันทว่ งที (๓) จดั ให้มีอาณัตสิ ญั ญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (๔) จัดการบรรเทาทุกข์ และจดั การรักษาความสงบเรียบรอ้ ยเม่ือเกิดเพลงิ ไหม้ ตามระเบยี บที่ รัฐมนตรกี าหนด (๕) จดั ให้มีการอบรมและดาเนนิ การฝกึ ซ้อมปอ้ งกนั อคั คภี ัยและระงบั อคั คีภยั (๖) กาหนดระเบียบเกี่ยวกบั หลกั สตู รการฝกึ อบรม และขอ้ ปฏิบตั ิของอาสาดับเพลิง (๗) แต่งตง้ั พนกั งานดบั เพลิงและอาสาดบั เพลิงตามระเบียบที่รฐั มนตรกี าหนด (๘) ปฏบิ ัติการอนื่ ใดตามทก่ี าหนดไวใ้ นพระราชบัญญัตนิ ้ี” “มาตรา ๖ ใหร้ ัฐมนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอานาจ ออกกฎกระทรวงกาหนด (๑) เง่ือนไขในการใช้ การเก็บรกั ษาและการมีไวใ้ นครอบครองซึง่ ส่งิ ทท่ี าใหเ้ กดิ อัคคีภัยไดง้ ่าย (๒) กิจการอันอาจทาให้เกิดอัคคีภัยได้ง่าย และกาหนดให้ผู้ประกอบกิจการดังกล่าวมีไว้ซึ่งบุคคล และสิ่งจาเปน็ ในการปอ้ งกนั อคั คีภัยและระงับอัคคีภยั ตามสมควรแก่สภาพแห่งอาคารหรอื กิจการนัน้ (๓) อาณตั ิสญั ญาณหรอื เคร่อื งหมายเกยี่ วกับการป้องกันอัคคภี ัยและระงบั อคั คีภัย (๔) เคร่อื งหมายของผู้อานวยการดับเพลิงประจาทอ้ งถ่ิน เจ้าพนักงานท้องถ่นิ นายตรวจ พนักงาน ดับเพลิงและอาสาดบั เพลงิ (๕) เคร่ืองแบบและบัตรประจาตัวของนายตรวจ พนักงานดับเพลิงและอาสาดับเพลิง กฎกระทรวงน้ัน เม่ือได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้ และให้รัฐมนตรีมีอานาจออก ระเบียบและประกาศเพอ่ื ปฏิบัตกิ ารตามพระราชบัญญตั ิน้ี” “มาตรา ๗ ผู้อานวยการดับเพลิงประจาท้องถิ่น หรือเจ้าพนักงานท้องถ่ินมีอานาจแต่งต้ัง เทศมนตรี กรรมการสุขาภิบาล ข้าราชการพลเรือน ข้าราชการส่วนท้องถ่ิน หรือพนักงานส่วนท้องถิ่น ต้ังแต่ระดับสามข้ึนไปหรือข้าราชการตารวจซึ่งมียศต้ังแต่ร้อยตารวจตรีขึ้นไปให้เป็นนายตรวจ เพ่ือให้ ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ภี ายในเขตราชการส่วนทอ้ งถิ่นน้นั ” “มาตรา ๘ เพ่ือประโยชน์ในการป้องกันอัคคีภัยตามหมวดนี้ ให้นายตรวจมีอานาจและหน้าที่ ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) ตรวจตราสิ่งทีท่ าให้เกิดอัคคภี ัยไดง้ ่ายหรอื สงิ่ ทอ่ี ยูใ่ นภาวะอนั อาจทาให้เกดิ อัคคภี ัยได้ง่าย (๒) ตรวจตราบุคคลผู้มีหน้าท่ีในการป้องกันอัคคีภัยและระงับอัคคีภัยที่บัญญัติไว้ใน พระราชบญั ญัติน้ี ว่าปฏบิ ัตหิ น้าที่โดยถกู ต้องหรือไม่ (๓) เขา้ ไปในอาคารหรือสถานท่ี ในเวลาระหว่างพระอาทิตย์ข้ึนถึงพระอาทิตย์ตก หรือในเวลาทา การของสถานท่ีน้ัน เพื่อตรวจตราการเก็บรักษาส่ิงท่ีทาให้เกิดอัคคีภัยได้ง่าย หรือในเวลาอ่ืนกรณีมีเหตุ ฉกุ เฉนิ อยา่ งยิ่งทีแ่ สดงใหเ้ ห็นว่าสถานที่นนั้ อยู่ในภาวะท่ีจะเกดิ อัคคีภัย (๔) ให้คาแนะนาแก่เจ้าของหรือผู้ครอบครองอาคารหรือสถานท่ีให้ขนย้าย ทาลาย เปล่ียนแปลง หรือแก้ไขสิ่งท่ีทาให้เกดิ อคั คีภัยไดง้ ่ายหรอื สิ่งทีอ่ ย่ใู นภาวะอนั อาจทาใหเ้ กิดอัคคภี ัยไดง้ ่าย
๘ (๕) เคลื่อนย้ายหรือทาลายส่ิงท่ีทาให้เกิดอัคคีภัยได้ง่ายหรือส่ิงท่ีอยู่ในภาวะอันอาจทาให้เกิด อัคคีภัยได้ง่าย กรณีมีเหตุฉุกเฉินอย่างยิ่งให้นายตรวจรายงานต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่นทุกครั้งเม่ือได้ ปฏบิ ัตกิ ารตามความในวรรคหนง่ึ ” “มาตรา ๙ เม่ือได้รับรายงานจากนายตรวจว่าเจ้าของหรือผู้ครอบครองอาคารหรือสถานท่ีไม่ ปฏบิ ัติตามคาแนะนาของนายตรวจตามมาตรา ๘ (๔) หรือเจ้าพนักงานท้องถิ่นตรวจพบด้วยตนเองว่ามีสิ่ง ที่ทาให้เกิดอัคคีภัยได้ง่าย สิ่งท่ีอยู่ในภาวะอันอาจทาให้เกิดอัคคีภัยได้ง่าย หรือการกระทาท่ีอาจทาให้เกิด อัคคีภัยได้ง่าย ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นมีอานาจสั่งให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองอาคารหรือสถานที่แก้ไข ปรบั ปรงุ หรอื ปฏิบัติใหถ้ กู ต้องหรือเหมาะสมได้ คาสั่งของเจ้าพนักงานท้องถ่ินตามวรรคหนึ่งให้ทาเป็นหนังสือและกาหนดระยะเวลาท่ีจะต้อง ปฏิบัติให้แล้วเสร็จตามคาสั่งไว้ตามสมควร แต่ต้องไม่เกินสามสิบวัน เว้นแต่เป็นกรณีท่ีมีเหตุอันสมควร เจ้าพนกั งานท้องถนิ่ จะขยายเวลาออกไปได้ไมเ่ กินสองคร้งั คร้ังละไม่เกินสิบห้าวันการส่งคาส่ังตามมาตรานี้ ให้นาส่ง ณ ภูมิลาเนาหรอื อาคารหรือสถานทข่ี องบุคคลซึง่ ระบไุ ว้ในคาส่ังในเวลาระหว่างพระอาทิตย์ข้ึนถึง พระอาทติ ย์ตก หรอื จะสง่ โดยทางไปรษณยี ์ลงทะเบยี นตอบรบั ก็ได้ ในกรณีทีน่ าสง่ แลว้ แต่บคุ คลซ่ึงระบุไว้ในคาสงั่ ปฏิเสธไม่ยอมรบั คาสั่ง ใหผ้ ู้นาสง่ ขอให้พนักงานฝ่าย ปกครองหรือตารวจไปเป็นพยานเพื่อวางคาสั่ง ณ ที่น้ัน แต่ถ้าไม่พบบุคคลซึ่งระบุไว้ในคาสั่ง จะส่งให้กับ บุคคลใดซ่ึงบรรลุนิติภาวะแล้วซึ่งอยู่ในอาคารหรือสถานท่ีน้ันก็ได้ และถ้าไม่พบบุคคลใดหรือพบแต่ไม่มี บคุ คลใดยอมรับไว้แทน ให้ปิดคาสงั่ น้ันไวใ้ นที่ที่เห็นง่ายต่อหนา้ พนักงานฝา่ ยปกครองหรอื ตารวจทีไ่ ป เป็นพยาน เม่ือได้ดาเนินการตามวรรคสามหรือวรรคส่ีแล้ว ให้ถือว่าบุคคลซ่ึงระบุไว้ในคาสั่งได้รับคาส่ังนั้น แล้ว แต่ถ้าเป็นการส่งโดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับหรือโดยการปิดคาสั่ง ให้ถือว่าได้รับคาส่ังน้ัน เมอ่ื ครบกาหนดเจด็ วนั นับแต่วนั ทีพ่ นกั งานไปรษณยี ์ไดส้ ง่ หรอื วนั ทีไ่ ดป้ ิดคาสั่งนั้นไว้ แลว้ แตก่ รณี” “มาตรา ๑๑ ภายใต้บังคับมาตรา ๑๐ ถ้าไม่มีการปฏิบัติตามคาส่ังของรัฐมนตรีหรือไม่มีการ ปฏิบัติตามคาส่ังของเจ้าพนักงานท้องถ่ิน ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นมีอานาจดาเนินการหรือจัดให้มีการ ดาเนินการเพ่ือให้เป็นไปตามคาสั่งนั้นได้ เจ้าของหรือผู้ครอบครองอาคาร หรือสถานท่ีต้องเป็นผู้เสีย ค่าใชจ้ ่ายในการจัดการนั้นตามจานวนทีจ่ ่ายจริงรวมกบั เบ้ียปรับในอตั รารอ้ ยละย่สี บิ ห้าต่อปีของเงินจานวน ดงั กล่าว” “มาตรา ๑๒ ในการปฏิบัติหน้าที่ ให้นายตรวจติดเครื่องหมายและให้แสดงบัตรประจาตัวเมื่อ บุคคลทีเ่ กย่ี วขอ้ งร้องขอ พรอ้ มทัง้ ชีแ้ จงเหตผุ ลในการเขา้ ไปในอาคารหรอื สถานท่ี” “มาตรา ๑๓ เพื่อประโยชน์ในการป้องกันอัคคีภัย ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นมีอานาจหน้าท่ี เช่นเดียวกับนายตรวจตามมาตรา ๘ ด้วยการเข้าไปในอาคารหรือสถานท่ีให้นาความในมาตรา ๑๒ มาใช้ บังคับโดยอนุโลม” “มาตรา ๒๗ ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎกระทรวงน้ันออกตามมาตรา ๖(๑) หรือ (๒) ต้อง ระวางโทษจาคุกไม่เกินหน่งึ ปี หรอื ปรบั ไม่เกินสองหมืน่ บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ” “มาตรา ๒๘ ผู้ใดขัดขวางไม่ยอมให้นายตรวจ หรือเจ้าพนักงานท้องถ่ินเข้าไปในอาคารหรือ สถานทีต่ ามมาตรา ๘ (๓) ตอ้ งระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหน่ึงหม่ืนบาทหรือท้ังจาท้ัง ปรบั ”
๙ “มาตรา ๒๙ ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามคาส่ังของเจ้าพนักงานท้องถ่ินตามมาตรา ๙ วรรคหน่ึง หรือฝ่าฝนื หรอื ไม่ปฏิบัตติ ามคาสง่ั ของรัฐมนตรีตามมาตรา ๑๐ วรรคสาม ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่ง ปหี รอื ปรบั ไมเ่ กินสองหมนื่ บาทหรือทัง้ จาท้ังปรบั ” ตามมาตราท่ียกมาข้างต้นเป็นเป็นการบริหารจัดการป้องกันสาธารณภัยประเภทอัคคีภัยที่มี เน้อื หาสาระท่สี าคัญคอื การใหอ้ านาจผอู้ านวยการดับเพลงิ ประจาท้องถ่ินหรือเจ้าพนักงานท้องถ่ินมีอานาจ แต่งตั้งนายตรวจให้มีอานาจตรวจบุคคล สถานท่ี หรืออาคารเพื่อป้องกันสาธารณภัยประเภทอัคคีภัยได้ ตามกฎหมายควบคู่ไปกับนายตรวจตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคารแต่อานาจจะกว้างขวางกว่า กล่าวคือนายตรวจตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคารจะตรวจได้เฉพาะอาคาร แต่นายตรวจตาม กฎหมายนี้สามารถตรวจได้ทั้งบุคคล อาคาร สถานที่ อีกท้ังยังให้อานาจรัฐมนตรีการออกกฎกระทรวงที่ เก่ียวข้องกับการป้องกันและระงับสาธารณภัยประเทศอัคคีภัยออกใช้บังคับอีกด้วย แต่น่าเสียดายท่ี กฎหมายฉบับน้ีถกู ยกเลกิ ไปแล้วโดยพระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ โดยท่ีใน ชั้นของการพิจารณาโดยคณะกรรมการกฤษฎีกาที่ประชุมมีความเห็นในทานองว่าการให้อานาจหลาย หนว่ ยงานไปตรวจสอบอาคารตามกฎหมายหลายฉบับจะเป็นการสร้างภาระให้ประชาชนเกินสมควรจึงให้ เหลือผู้มีหน้าท่ีในการตรวจสอบอาคารตามกฎหมายควบคุมอาคารเท่านั้น (วัชรวิทย์ สุขวัฒนาภิรมย์, สมั ภาษณ์, ๙ มีนาคม ๒๕๕๗) ๒.๒.๒ พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ “มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ \"อาคาร\" หมายความวา่ ตึก บา้ น เรือน โรง ร้าน แพ คลังสินค้า สานักงานและสิ่งท่ีสร้างข้ึนอย่าง อืน่ ซ่ึงบคุ คลอาจเขา้ อยู่หรือเข้าใชส้ อยได้และหมายความรวมถงึ (๑) อฒั จนั ทรห์ รือส่งิ ที่สร้างขน้ึ อยา่ งอนื่ เพ่อื ใชเ้ ป็นทีช่ มุ ชุมของ ประชาชน (๒) เขื่อน สะพาน อุโมงค์ ทาง หรือท่อระบายนา้ อู่เรือ คานเรือ ท่าน้า ท่าจอดเรือ ร้วั กาแพง หรือประตูทส่ี ร้างขึน้ ติดต่อหรือใกลเ้ คยี งกบั ท่สี าธารณะหรือส่ิงทสี่ รา้ งข้ึนใหบ้ ุคคลทวั่ ไปใชส้ อย (๓) ปา้ ยหรือสง่ิ ท่ีสร้างขึ้นสาหรับติดหรือต้งั ปา้ ย (ก) ท่ีตดิ หรือต้งั ไวเ้ หนอื ท่สี าธารณะและมีขนาดเกนิ หน่งึ ตารางเมตร หรือมีนา้ หนักรวมทงั้ โครงสรา้ งเกนิ สิบกโิ ลกรมั (ข) ทตี่ ดิ หรอื ต้งั ไวใ้ นระยะห่างจากทส่ี าธารณะ ซง่ึ เมอื่ วดั ในทางราบแล้ว ระยะห่างจากท่ี สาธารณะมนี ้อยกว่าความสงู ของปา้ ยนั้นเมอ่ื วดั จากพืน้ ดินและมขี นาดหรือมนี า้ หนกั เกนิ กว่าท่กี าหนดใน กฎกระทรวง (๔) พ้ืนท่หี รือสิ่งที่สร้างขน้ึ ใช้เป็นทจี่ อดรถ ที่กลบั รถ และทางเข้าออกของรถสาหรบั อาคารที่ กาหนดตามมาตรา ๘ (๙) (๕) สงิ่ ทส่ี ร้างขึ้นอย่างอืน่ ตามทีก่ าหนดในกฎกระทรวง ทัง้ น้ี ให้หมายความรวมถึงส่วนต่างๆ ของ อาคารดว้ ย \"อาคารสูง\" หมายความว่า อาคารทีบ่ คุ คลอาจเขา้ อยู่หรือเข้าใช้สอยได้ที่มีความสูงตั้งแต่ยี่สิบสาม เมตรขนึ้ ไป การวดั ความสงู ของอาคารให้วัดจากระดบั พนื้ ดินทีก่ อ่ สร้างถงึ พื้นดาดฟ้า สาหรบั อาคารทรงจ่ัว หรือปนั้ หยาให้วดั จากระดับพ้ืนดนิ ท่ีก่อสรา้ งถงึ ยอดผนังของช้นั สูงสดุ \"อาคารขนาดใหญ่พเิ ศษ\" หมายความว่า อาคารทก่ี ่อสรา้ งข้ึนเพ่อื ใชพ้ ื้นท่ีอาคารหรือส่วนใดของ อาคารที่เป็นอยู่อาศัยหรือประกอบกิจการประเภทเดียวหรือหลายประเภทโดยมีพ้ืนท่ีรวมกันทุกชนั้ ในหลัง เดยี วกันตง้ั แต่หน่ึงหม่ืนตารางเมตรขน้ึ ไป
๑๐ \"อาคารชุมนุมคน\" หมายความวา่ อาคารหรือส่วนใดของอาคาร ท่บี คุ คลอาจเข้าไปภายในเพ่ือ ประโยชน์ในการชมุ นมุ คนที่มีพน้ื ทตี่ ้ังแต่หนงึ่ พนั ตารางเมตรขน้ึ ไป หรือชุมนุมคนได้ตั้งแต่ห้าร้อยคนข้ึนไป \"โรงมหรสพ\" หมายความวา่ อาคารหรือสว่ นใดของอาคารที่ใช้ เปน็ สถานทสี่ าหรับฉายภาพยนตร์ แสดงละคร แสดงดนตรี หรอื การแสดงรื่นเริงอ่นื ใดและมวี ัตถปุ ระสงค์เพ่ือเปดิ ให้สาธารณชนเข้าชม การแสดงนั้นเป็นปกติธรุ ะ โดยจะมคี า่ ตอบแทนหรือไม่ก็ตาม \"ทสี่ าธารณะ\" หมายความว่า ทซี่ ่ึงเปดิ หรอื ยนิ ยอมให้ประชาชนเข้าไป หรอื ใชเ้ ป็นทางสญั จรได้ ทง้ั น้ี ไม่ว่าจะมกี ารเรียกเกบ็ คา่ ตอบแทนหรอื ไม่ \"แผนผงั บริเวณ\" หมายความวา่ แผนท่ีแสดงลักษณะ ท่ตี ้งั และขอบเขตของท่ีดนิ และอาคารที่ กอ่ สรา้ ง ดดั แปลง ร้ือถอน เคล่ือนยา้ ย ใช้หรอื เปล่ียน การใช้ รวมทง้ั แสดงลักษณะและขอบเขตของที่ สาธารณะ และอาคารในบริเวณท่ดี นิ ท่ีติดตอ่ โดยสังเขปดว้ ย \"แบบแปลน\" หมายความวา่ แบบเพื่อประโยชนใ์ นการกอ่ สรา้ ง ดัดแปลง รือ้ ถอน เคลื่อนยา้ ย ใช้ หรือเปล่ยี นการใช้อาคาร โดยมรี ปู แสดงรายละเอียดสว่ นสาคญั ขนาดเครือ่ งหมายวสั ดุและการใชส้ อย ตา่ ง ๆ ของอาคารอย่างชดั เจนพอที่จะใชใ้ นการดาเนนิ การได้ \"รายการประกอบแบบแปลน\" หมายความว่าข้อความชี้แจงรายละเอยี ดเกยี่ วกับคุณภาพและชนดิ ของวัสดุ ตลอดจนวธิ ปี ฏิบตั ิหรอื วิธีการสาหรับการก่อสรา้ ง ดดั แปลง รอ้ื ถอน เคลื่อนย้าย ใช้ หรือเปล่ียน การใชอ้ าคารเพื่อใหเ้ ป็นไปตามแบบแปลน \"รายการคานวณ\" หมายความวา่ รายการแสดงวธิ กี ารคานวณกาลงั ของวัสดุการรบั น้าหนกั และ กาลงั ตา้ นทานของสว่ นต่าง ๆ ของอาคาร \"ก่อสร้าง\" หมายความวา่ สร้างอาคารขึ้นใหม่ท้ังหมดไม่วา่ จะเปน็ การสร้างข้ึนแทนของเดิมหรอื ไม่ \"ดดั แปลง\" หมายความวา่ เปลี่ยนแปลงตอ่ เติม เพิ่ม ลด หรือขยายซ่งึ ลักษณะขอบเขต แบบ รูปทรง สดั สว่ น น้าหนัก เนื้อท่ี ของโครงสร้างของอาคารหรอื ส่วนต่าง ๆ ของอาคารซงึ่ ไดก้ อ่ สร้างไว้แล้วให้ ผิดไปจากเดิมและมใิ ชก่ ารซ่อมแซมหรือการดดั แปลงท่ีกาหนดในกฎกระทรวง \"ซอ่ มแซม\" หมายความว่า ซ่อมหรือเปลี่ยนสว่ นตา่ ง ๆ ของอาคารให้คงสภาพเดิม \"รอ้ื ถอน\" หมายความวา่ รื้อส่วนอันเปน็ โครงสร้างของอาคารออกไป เชน่ เสา คาน ตง หรือสว่ นอื่น ของโครงสร้างตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง \"เขตเพลิงไหม้\" หมายความวา่ บริเวณทีเ่ กิดเพลิงไหม้อาคารต้ังแต่สามสบิ หลังคาเรือนขน้ึ ไป หรอื มี เนอ้ื ท่ีต้ังแต่หนึง่ ไร่ข้นึ ไปรวมท้ังบรเิ วณที่อยตู่ ิดต่อภายในระยะสามสบิ เมตรโดยรอบบริเวณที่เกิดเพลิงไหม้ ด้วย \"ผู้ควบคุมงาน\" หมายความว่า ผู้ซึ่งรบั ผดิ ชอบในการอานวยการหรอื ควบคมุ ดแู ลการก่อสรา้ ง ดัดแปลง รื้อถอนหรอื เคล่ือนย้ายอาคาร \"ผดู้ าเนินการ\" หมายความวา่ เจ้าของหรือผู้ครอบครองอาคารซึ่งกระทาการก่อสร้าง ดัดแปลง รอื้ ถอน หรือเคล่ือนย้ายอาคารด้วยตนเองและหมายความรวมถงึ ผู้ซึง่ ตกลงรบั กระทาการดังกลา่ วไมว่ ่าจะมี ค่าตอบแทนหรอื ไม่ก็ตามและผรู้ ับจ้างชว่ ง \"ผ้คู รอบครองอาคาร\" หมายความรวมถงึ ผ้จู ัดการของนติ ิบุคคลอาคารชดุ สาหรบั ทรัพย์ส่วนกลาง ตามกฎหมายว่าดว้ ยอาคารชุดดว้ ย \"ผ้ตู รวจสอบ\" หมายความว่า ผู้ซงึ่ ไดร้ ับใบอนญุ าตประกอบวชิ าชีพวิศวกรรมควบคมุ หรอื ผู้ซงึ่ ไดร้ บั ใบอนุญาตประกอบวิชาชพี สถาปตั ยกรรมควบคุมตามกฎหมายว่าด้วยการนั้นแล้วแตก่ รณี ซึ่งได้ข้ึน ทะเบียนไว้ตามพระราชบัญญัตินี้
๑๑ \"นายตรวจ\" หมายความวา่ ผซู้ ่งึ เจ้าพนักงานท้องถนิ่ แต่งตัง้ ให้เปน็ นายตรวจ \"นายชา่ ง\" หมายความวา่ ข้าราชการหรือพนักงานของราชการสว่ นทอ้ งถิน่ ซึง่ เจ้าพนักงานท้องถน่ิ แต่งตง้ั ใหเ้ ปน็ นายชา่ ง หรือวิศวกร หรอื สถาปนกิ ซ่ึงอธบิ ดีกรมโยธาธิการแตง่ ตั้งให้เปน็ นายช่าง \"ราชการสว่ นทอ้ งถน่ิ \" หมายความวา่ เทศบาล สขุ าภบิ าล องค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั กรงุ เทพมหานคร เมืองพัทยา และองคก์ ารปกครองสว่ นท้องถน่ิ ทีร่ ฐั มนตรีประกาศกาหนดใหเ้ ป็นราชการ ส่วนท้องถิ่นตามพระราชบญั ญตั ิ น้ี \"ขอ้ บญั ญัติทอ้ งถ่ิน\" หมายความวา่ กฎซ่งึ ออกโดยอาศัยอานาจนติ บิ ญั ญตั ิของราชการสว่ นทอ้ งถ่นิ เชน่ เทศบัญญัติ ข้อบังคับสุขาภบิ าล ข้อบัญญตั ิจงั หวดั ข้อบัญญัติกรงุ เทพมหานคร หรือข้อบญั ญัติเมือง พัทยา เป็นต้น \"เจ้าพนักงานทอ้ งถ่ิน\" หมายความวา่ (๑) นายกเทศมนตรี สาหรับในเขตเทศบาล (๒) นายกองค์การบริหารส่วนจงั หวัด สาหรับในเขตขององค์การบริหารส่วนจังหวดั (๓) ประธานกรรมการบริหารองค์การบริหารสว่ นตาบล สาหรับในเขตองค์การบริหารส่วน ตาบล (๔) ผ้วู า่ ราชการกรุงเทพมหานคร สาหรบั ในเขตกรุงเทพมหานคร (๕) นายกเมืองพทั ยา สาหรบั ในเขตเมืองพทั ยา (๖) ผ้บู รหิ ารท้องถ่ินขององค์กรปกครองท้องถ่นิ อน่ื ท่ีรัฐมนตรีประกาศกาหนดสาหรับในเขต องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินน้ัน “รัฐมนตรี\" หมายความวา่ รัฐมนตรผี รู้ กั ษาการตามพระราชบัญญัตินี้” “มาตรา ๕ ให้รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทยรกั ษาการตามพระราชบญั ญตั ิน้ีและให้มีอานาจ ออกกฎกระทรวง (๑) กาหนดค่าธรรมเนยี มไม่เกนิ อัตราทา้ ยพระราชบญั ญตั นิ ี้ หรือยกเว้นคา่ ธรรมเนยี ม (๒) กาหนดแบบคาขออนุญาต ใบอนญุ าต ใบรบั รอง ใบแทนตลอดจนแบบของคาสัง่ หรือแบบ อืน่ ใดท่ีจะใชใ้ นการปฏิบตั ิตามพระราชบญั ญตั นิ ี้ (๓) กาหนดกจิ การอ่นื เพ่ือปฏบิ ตั ิการตามพระราชบัญญตั นิ ี้ กฎกระทรวงน้นั เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว้ ให้ใช้บังคับได้ “มาตรา ๗ ใหร้ ฐั มนตรมี อี านาจออกกฎกระทรวงยกเว้น ผ่อนผนั หรอื กาหนดเงื่อนไขในการ ปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตินี้ไมว่ ่าทัง้ หมด หรือบางส่วนเกย่ี วกบั อาคารดังต่อไปน้ี (๑) อาคารของกระทรวง ทบวง กรมทใ่ี ช้ในราชการ หรอื ใชเ้ พื่อสาธารณประโยชน์ (๒) อาคารของราชการสว่ นทอ้ งถน่ิ ทใ่ี ชใ้ นราชการหรือใช้เพื่อสาธารณประโยชน์ (๓) อาคารขององคก์ ารของรัฐทจี่ ัดต้ังขนึ้ ตามกฎหมาย ทใี่ ช้ในกจิ การขององค์การหรือใชเ้ พ่ือ สาธารณประโยชน์ (๔) โบราณสถาน วัดวาอารามหรืออาคารต่าง ๆ ท่ใี ช้เพือ่ การศาสนาซ่งึ มีกฎหมายควบคมุ การ ก่อสร้างไว้แล้วโดยเฉพาะ (๕) อาคารทท่ี าการขององค์การระหวา่ งประเทศ หรอื อาคารท่ีทาการของหน่วยงานทีต่ ้งั ขน้ึ ตามความตกลงระหวา่ งรฐั บาลไทยกับรัฐบาลต่างประเทศ (๖) อาคารที่ทาการสถานทตู หรือสถานกงสุลต่างประเทศ
๑๒ (๗) อาคารชั่วคราวเพอื่ ใช้ประโยชนใ์ นการก่อสร้างอาคารถาวร หรืออาคารเพ่ือใชป้ ระโยชน์ เปน็ การชั่วคราวท่มี ีกาหนดเวลาการรอ้ื ถอน” “มาตรา ๘ เพ่ือประโยชนแ์ หง่ ความม่นั คงแข็งแรง ความปลอดภัย การป้องกนั อัคคภี ัย การสาธารณสขุ การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม การผังเมือง การสถาปัตยกรรม และการอานวยความ สะดวกแก่การจราจรตลอดจนการอ่ืนที่จาเป็นเพ่ือปฏบิ ตั ิตามพระราชบญั ญตั ิน้ี ให้รัฐมนตรีโดยคาแนะนา ของคณะกรรมการควบคุมอาคารมีอานาจออกกฎกระทรวงกาหนด (๑) ประเภท ลกั ษณะ แบบ รปู ทรง สัดส่วน ขนาดเน้อื ที่และทต่ี ้งั ของอาคาร (๒) การรับน้าหนัก ความตา้ นทาน ความคงทน ตลอดจนลักษณะและ คุณสมบัตขิ องวสั ดุ ท่ใี ช้ (๓) การรับน้าหนัก ความตา้ นทาน ความคงทนของอาคาร และพืน้ ดนิ ท่รี องรบั อาคาร (๔) แบบและวธิ กี ารเกี่ยวกบั การตดิ ตงั้ ระบบประปา ก๊าซ ไฟฟ้า เครอ่ื งกล ความปลอดภยั เกยี่ วกับอัคคภี ัยหรอื ภยั พบิ ตั อิ ย่างอน่ื และการป้องกนั อันตรายเม่ือมีเหตุชุลมุนวนุ่ วาย (๕) แบบและจานวนของห้องนา้ และห้องส้วม (๖) ระบบการจัดการเกย่ี วกบั สภาพแวดล้อมของอาคาร เชน่ ระบบการจัดการแสงสวา่ ง การระบายอากาศ การปรับอากาศ การฟอกอากาศ การระบายนา้ การบาบดั น้าเสยี และการกาจดั ขยะ มูลฝอยและส่ิงปฏกิ ูล (๗) ลกั ษณะ ระดับ เนือ้ ท่ีของท่ีวา่ งภายนอกอาคารหรอื แนวอาคาร (๘) ระยะหรือระดับระหวา่ งอาคารกบั อาคารหรือเขตท่ดี ินของผูอ้ ่นื หรือระหวา่ งอาคารกบั ถนน ตรอก ซอย ทางเท้า ทางหรือท่สี าธารณะ (๙) พ้นื ที่หรือสิ่งที่สร้างขึ้นเพ่ือใช้เปน็ ทีจ่ อดรถ ท่ีกลับรถ และทางเข้า ออกของรถสาหรับ อาคารบางชนิด หรอื บางประเภท ตลอดจนลักษณะและขนาดของพ้นื ทีห่ รือสงิ่ ทสี่ ร้างขึ้นดังกลา่ ว (๑๐) บรเิ วณหา้ มก่อสร้าง ดัดแปลง ร้ือถอน เคล่ือนย้าย และใช้หรือเปลี่ยนการใชอ้ าคาร ชนดิ ใดหรือประเภทใด (๑๑) หลักเกณฑว์ ิธกี ารและเง่ือนไขในการก่อสรา้ ง ดดั แปลง รอื้ ถอน เคลอื่ นย้าย ใช้หรือ เปลย่ี นการใชอ้ าคาร (๑๒) หลกั เกณฑ์ วิธีการและเงือ่ นไขในการขออนุญาต การอนุญาต การต่ออายใุ น ใบอนญุ าต การโอนใบอนญุ าต การออกใบรับรอง และการออกใบแทนตามพระราชบญั ญัตินี้ (๑๓) หน้าท่ีและความรบั ผดิ ชอบของผู้ออกแบบ ผ้คู วบคมุ งาน ผู้ดาเนนิ การผู้ครอบครอง อาคารและเจา้ ของอาคาร (๑๔) คุณสมบัติเฉพาะและลกั ษณะต้องหา้ มของผู้ตรวจสอบ ตลอดจนหลักเกณฑ์ วธิ กี าร และเง่ือนไขในการขอขน้ึ ทะเบียนและการ เพิกถอนการข้ึนทะเบียนเป็นผตู้ รวจสอบ (๑๕) หลักเกณฑ์ วธิ กี าร และเงือ่ นไขในการตรวจสอบอาคาร ติดตั้งและตรวจสอบอุปกรณ์ ประกอบของอาคาร (๑๖) ชนดิ หรือประเภทของอาคารที่เจา้ ของอาคารหรอื ผู้ครอบครองอาคารหรอื ผู้ดาเนนิ การตอ้ งทาการประกันภัยความรบั ผิดตามกฎหมายต่อชีวติ ร่างกาย และทรัพย์สินของ บคุ คลภายนอก” “มาตรา ๘ ทวิ เพือ่ ประโยชน์แห่งความปลอดภัยของประชาชน ให้รฐั มนตรโี ดยคาแนะนา ของคณะกรรมการควบคุมอาคารมีอานาจออกกฎกระทรวงกาหนดประเภทหรือลกั ษณะของสง่ิ ทีส่ ร้าง
๑๓ ขึน้ เพ่ือใชใ้ นการขนสง่ บคุ คลในบรเิ วณใดในลกั ษณะกระเชา้ ไฟฟา้ หรอื สง่ิ อื่นใด ทีส่ ร้างขึ้นโดยมี วตั ถุประสงค์อย่างเดยี วกัน หรอื ออกกฎกระทรวงกาหนดประเภทหรือลักษณะของสิ่งท่ีสรา้ งขึ้นเพื่อใช้ เปน็ เครอ่ื งเลน่ ในสวนสนุกหรือในสถานที่อนื่ ใดเพื่อประโยชน์ในลักษณะเดียวกนั เป็นอาคารตาม พระราชบญั ญัตินี้ กฎกระทรวงตามวรรคหน่ึงต้องกาหนดหลักเกณฑ์ วธิ ีการ และเงื่อนไขในการก่อสร้าง การอนญุ าต ใหใ้ ชก้ ารตรวจสอบมาตรฐานการรบั น้าหนกั ความปลอดภยั และคุณสมบัติของวสั ดุ หรอื อปุ กรณ์ทีจ่ าเป็นเกีย่ วเนือ่ งกบั ส่งิ น้นั ทั้งนี้ตามความเหมาะสมของส่งิ ท่ีสร้างขึ้นแตล่ ะประเภทหรือแตล่ ะ ลักษณะโดยอาจกาหนดใหแ้ ตกต่างจากบทบญั ญัติของพระราชบัญญัติได้” “มาตรา ๙ ในกรณที ่ีได้มีการออกกฎกระทรวงกาหนดเร่อื งใดตาม มาตรา ๘ แล้วให้ ราชการส่วนท้องถิน่ ถือปฏบิ ัติตามกฎกระทรวงนั้น เวน้ แต่เปน็ กรณีตามมาตรา ๑๐ ในกรณที ี่ยงั มไิ ดม้ ีการออกกฎกระทรวงกาหนดเร่อื งใดตามมาตรา ๘ ให้ราชการส่วน ทอ้ งถิ่นมอี านาจออกข้อบัญญัตทิ อ้ งถน่ิ กาหนดเร่ืองนั้นได้ ในกรณที ไ่ี ด้มีการออกข้อบัญญัติท้องถนิ่ กาหนดเรือ่ งใดตามวรรคสองแล้ว ถา้ ต่อมามีการ ออกกฎกระทรวงกาหนดเรอื่ งน้ันใหข้ อ้ กาหนดของข้อบัญญัตทิ ้องถิ่นในส่วนทข่ี ดั หรือแยง้ กับ กฎกระทรวงเป็นอันยกเลิก และใหข้ ้อกาหนดของข้อบัญญัติสว่ นทอ้ งถ่ินท่ีไม่ขัดหรือแยง้ กบั กฎกระทรวง ยงั คงใชบ้ ังคบั ต่อไปได้จนกว่าจะมีการออกข้อบัญญัตทิ ้องถิ่นใหมต่ ามมาตรา ๑๐ แตต่ ้องไม่เกนิ หนึ่งปี นบั แต่วันท่ีกฎกระทรวงนนั้ ใช้บงั คบั การยกเลิกข้อบัญญัติท้องถิ่นตามวรรคสามย่อมไม่กระทบกระเทอื นต่อการดาเนินการท่ีได้ กระทาไปแลว้ โดยถกู ต้องตามขอ้ บัญญัติท้องถิน่ นน้ั ” “มาตรา ๑๐ ในกรณที ี่ไดม้ ีการออกกฎกระทรวงกาหนดเรอ่ื งใดตามมาตรา ๘ แล้ว ใหร้ าชการส่วนท้องถ่ินมีอานาจออกข้อบญั ญตั ิทอ้ งถิน่ ในเร่ืองนน้ั ได้ในกรณีดังต่อไปนี้ (๑) เปน็ การออกข้อบญั ญตั ิท้องถ่ินกาหนดรายละเอยี ดในเรอ่ื งนน้ั เพ่ิมเติมจากที่กาหนดไว้ ในกฎกระทรวงโดยไม่ขดั หรอื แย้งกบั กฎกระทรวงดังกลา่ ว (๒) เป็นการออกข้อบัญญัติท้องถน่ิ กาหนดเร่อื งน้นั ขัดหรือแย้งกับกฎกระทรวงดังกล่าว เน่ืองจากมคี วามจาเปน็ หรือมีเหตผุ ลพเิ ศษเฉพาะท้องถ่นิ การออกข้อบัญญตั ิท้องถิน่ ตาม (๒) ให้มผี ลใช้บงั คับไดเ้ ม่ือไดร้ บั ความเหน็ ชอบจาก คณะกรรมการควบคุมอาคารและไดร้ บั อนุมัติจากรฐั มนตรี คณะกรรมการควบคุมอาคารจะต้องพิจารณาใหค้ วามเห็นชอบหรือไมใ่ ห้ความเห็นชอบใน ข้อบญั ญัติท้องถนิ่ ตาม (๒) ใหเ้ สรจ็ ภายในหกสบิ วันนบั แตว่ นั ทไี่ ดร้ บั ข้อบญั ญัติท้องถ่ินนั้น ถา้ ไม่ให้ ความเหน็ ชอบให้แจ้งเหตผุ ลใหร้ าชการส่วนท้องถ่ินน้นั ทราบด้วย ถา้ คณะกรรมการควบคมุ อาคารพจิ ารณาขอ้ บญั ญัติท้องถ่ินนนั้ ไมเ่ สรจ็ ภายในกาหนดเวลา ตามวรรคสาม ให้ถือว่าคณะกรรมการควบคุมอาคารไดใ้ หค้ วามเห็นชอบในข้อบญั ญัติทอ้ งถิ่นนนั้ แลว้ และให้ราชการสว่ นท้องถน่ิ เสนอรฐั มนตรีเพื่อส่งั การตอ่ ไป ถา้ รัฐมนตรีไม่สงั่ การภายในสามสบิ วันนับแต่ วนั ทไ่ี ดร้ บั ข้อบญั ญตั ิทอ้ งถิ่นน้ัน ให้ถือว่ารัฐมนตรีได้อนุมัติตามวรรคสอง” “มาตรา ๒๑ ผู้ใดจะก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเคล่อื นย้ายอาคารต้องได้รบั ใบอนุญาตจาก เจา้ พนกั งานทอ้ งถิ่นหรือแจ้งต่อเจา้ พนักงานท้องถ่ินและดาเนนิ การตามมาตรา ๓๙ ทวิ” “มาตรา ๓๙ จตั วา การก่อสร้าง ดัดแปลง เคล่ือนย้าย รอื้ ถอน หรอื ตรวจสอบอาคารทีใ่ ช้ เพอ่ื ประกอบกจิ การโรงมหรสพ ต้องดาเนินการให้เป็นไปตามบทบัญญตั ิแหง่ พระราชบญั ญตั ินด้ี ้วย”
๑๔ “มาตรา ๔๐ ในกรณที มี่ ีการก่อสรา้ ง ดัดแปลง รื้อถอน หรอื เคลื่อนย้ายอาคารโดยฝ่าฝนื บทบัญญตั ิแห่งพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวง หรอื ข้อบัญญัติทอ้ งถนิ่ ท่ีออกตามพระราชบัญญตั นิ ้ี หรอื กฎหมายอืน่ ท่ีเกี่ยวข้อง ให้เจ้าพนกั งานท้องถน่ิ มีอานาจดาเนินการ ดังน้ี” (๑) มคี าสั่งให้เจ้าของหรอื ผู้ครอบครองอาคาร ผู้ควบคุมงาน ผู้ดาเนินการ ลกู จา้ งหรอื บริวารของบุคคลดงั กลา่ ว ระงับการกระทาดังกลา่ ว (๒) มีคาสั่งห้ามมิใหบ้ ุคคลใดใช้หรอื เขา้ ไปในสว่ นใดๆ ของอาคาร หรือบรเิ วณที่มีการ กระทาดงั กลา่ ว และจดั ใหม้ เี คร่ืองหมายแสดงการหา้ มนั้นไว้ในทเี่ ปิดเผยและเห็นได้ง่าย ณ อาคารหรอื บริเวณดังกลา่ ว และ (๓) พิจารณามคี าส่ังตามมาตรา ๔๑ หรือมาตรา ๔๒ แลว้ แต่กรณีภายในสามสิบวันนับแต่ วนั ทไ่ี ด้มีคาสง่ั ตาม (๑) “มาตรา ๔๑ ถ้าการกระทาตามมาตรา ๔๐ เปน็ กรณที ีส่ ามารถแกไ้ ขเปลย่ี นแปลงให้ ถูกต้องได้ใหเ้ จ้าพนักงานทอ้ งถน่ิ มอี านาจส่งั ใหเ้ จ้าของอาคารยืน่ คาขออนุญาตหรอื ดาเนินการแจง้ ตาม มาตรา ๓๙ ทวิ หรอื ดาเนนิ การแก้ไขเปล่ยี นแปลงให้ถูกต้องภายในระยะเวลาที่กาหนดแต่ตอ้ งไม่น้อย กว่าสามสบิ วัน ในกรณีท่ีมีเหตอุ นั สมควรเจา้ พนกั งานท้องถ่นิ จะขยายระยะเวลาดังกลา่ วออกไปอกี ก็ได้ และให้นามาตรา ๒๗ มาใช้บงั คับโดยอนุโลม” “มาตรา ๔๒ ถ้าการกระทาตามมาตรา ๔๐ เป็นกรณที ่ีไม่สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงให้ ถกู ต้องไดห้ รือเจ้าของอาคารมิได้ปฏบิ ตั ติ ามคาส่ังของเจ้าพนกั งานท้องถนิ่ ตามมาตรา ๔๑ ให้ เจ้าพนกั งานท้องถิน่ มีอานาจส่ังใหเ้ จา้ ของหรือผ้คู รอบครองอาคาร ผคู้ วบคุมงาน หรอื ผดู้ าเนินการ รื้อถอนอาคารนน้ั ทั้งหมด หรือบางส่วนไดภ้ ายในระยะเวลาทก่ี าหนด แตต่ ้องไมน่ ้อยกว่าสามสบิ วัน โดยให้ดาเนินการรอ้ื ถอนตามหลกั เกณฑ์ วิธกี าร และเง่ือนไขที่กาหนดในกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๘ (๑๑) หรอื ข้อบัญญัติท้องถ่ินทอี่ อกตามมาตรา ๙ หรอื มาตรา ๑๐” “มาตรา ๔๓ ถา้ ไม่มกี ารร้ือถอนอาคารตามคาส่งั ของเจา้ พนักงานทอ้ งถนิ่ ตามมาตรา ๔๒ ใหเ้ จ้าพนักงานท้องถน่ิ มีอานาจดังตอ่ ไปน้ี (๑) ย่ืนคาขอฝา่ ยเดยี วโดยทาเปน็ คารอ้ งขอต่อศาล นับแต่ระยะเวลาท่ีกาหนดไวต้ าม มาตรา ๔๒ ได้ล่วงพ้นไป ขอให้ศาลมคี าสง่ั จับกมุ และกักขงั บคุ คลซึ่งมิไดป้ ฏบิ ตั ิการตามคาส่ังของ เจา้ พนักงานทอ้ งถนิ่ ตามมาตรา ๔๒ โดยให้นาประมวลกฎหมายวธิ พี ิจารณาความแพ่งมาใชบ้ งั คบั โดย อนโุ ลม (๒) ดาเนนิ การหรือจัดให้มีการรื้อถอนอาคารดงั กล่าวไดเ้ องโดยจะตอ้ งปิดประกาศ กาหนดการร้ือถอนไว้ในบริเวณนนั้ แล้วเปน็ เวลาไมน่ ้อยกว่าเจ็ดวัน และเจา้ ของหรอื ผ้คู รอบครองอาคาร ผรู้ บั ผิดชอบงานออกแบบอาคาร ผรู้ บั ผิดชอบงานออกแบบและคานวณอาคารผ้คู วบคุมงาน และ ผดู้ าเนินการจะต้องรว่ มกันเสยี คา่ ใช้จ่ายในการนั้นเว้นแต่บุคคลดงั กลา่ วจะพสิ จู นไ์ ดว้ ่าตนมไิ ดเ้ ปน็ ผู้กระทาหรือมีส่วนร่วมในการกระทาทเี่ ป็นการฝ่าฝืนกฎหมาย ในการดาเนนิ การรอื้ ถอนอาคารตามวรรคหน่ึง เม่ือเจา้ พนักงานทอ้ งถน่ิ หรือผซู้ ่งึ ดาเนนิ การแทนเจา้ พนักงานท้องถ่ินไดใ้ ชค้ วามระมัดระวังตามสมควรแก่พฤติการณ์แลว้ บุคคลตามวรรค หนึง่ จะเรยี กร้องคา่ เสียหายจากเจา้ พนักงานท้องถ่ินหรอื ผซู้ ึ่งดาเนนิ การแทนเจา้ พนักงานท้องถน่ิ ไม่ได้ วสั ดกุ อ่ สร้างทีถ่ ูกร้ือถอนและส่ิงของที่ขนออกจากอาคาร ส่วนทมี่ กี ารรื้อถอนให้ เจ้าพนักงานทอ้ งถ่ินมีอานาจยึดและเก็บรักษาไวห้ รือขายและถือเงินไวแ้ ทนได้ ทง้ั น้ตี ามหลักเกณฑ์ วธิ ีการและเงื่อนไขท่ีกาหนดในกฎกระทรวง และถา้ เจ้าของมิไดเ้ รียกเอาทรัพย์สนิ หรือเงนิ นัน้ คืนภายใน
๑๕ สามสิบวนั นบั แต่วนั ทีม่ ีการร้ือถอน ให้ทรัพยส์ ินหรือเงนิ นั้นตกเป็นของราชการส่วนท้องถิ่นนน้ั เพื่อนามา เปน็ คา่ ใช้จ่ายในการรอ้ื ถอนอามาตรา ๔๓ ถ้าไม่มีการร้ือถอนอาคารตามคาสัง่ ของเจ้าพนักงานท้องถิ่น ตามมาตรา ๔๒ ให้เจ้าพนกั งานทอ้ งถน่ิ มีอานาจดงั ต่อไปน้ี (๑) ยนื่ คาขอฝ่ายเดยี วโดยทาเป็นคาร้องขอต่อศาลนับแตร่ ะยะเวลาทกี่ าหนดไว้ตาม มาตรา ๔๒ ได้ล่วงพน้ ไป ขอให้ศาลมคี าสง่ั จับกุมและกักขงั บคุ คลซึ่งมิได้ปฏบิ ัติการตามคาสงั่ ของ เจ้าพนักงานท้องถิ่นตามมาตรา ๔๒ โดยให้นาประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณาความแพ่งมาใช้บงั คับ โดยอนุโลม (๒) ดาเนินการหรือจัดใหม้ ีการรอ้ื ถอนอาคารดงั กลา่ วไดเ้ องโดยจะต้องปดิ ประกาศ กาหนดการร้ือถอนไวใ้ นบริเวณน้นั แล้วเป็นเวลาไม่นอ้ ยกว่าเจ็ดวัน และเจ้าของหรอื ผคู้ รอบครองอาคาร ผ้รู ับผดิ ชอบงานออกแบบอาคาร ผ้รู ับผิดชอบงานออกแบบและคานวณอาคาร ผ้คู วบคุมงาน และ ผู้ดาเนนิ การจะต้องร่วมกนั เสยี คา่ ใชจ้ ่ายในการนั้นเว้นแตบ่ ุคคลดงั กลา่ วจะพิสูจน์ไดว้ า่ ตนมไิ ด้เปน็ ผ้กู ระทาหรือมีส่วนรว่ มในการกระทาที่เปน็ การฝา่ ฝนื กฎหมาย ในการดาเนินการรือ้ ถอนอาคารตามวรรคหนึ่ง เมือ่ เจา้ พนกั งานทอ้ งถ่นิ หรือผซู้ ่ึง ดาเนนิ การแทนเจา้ พนักงานท้องถ่ินได้ใชค้ วามระมัดระวงั ตามสมควรแก่พฤติการณ์แล้วบคุ คลตามวรรค หน่งึ จะเรียกร้องคา่ เสียหายจากเจา้ พนักงานท้องถนิ่ หรอื ผู้ซึง่ ดาเนินการแทนเจา้ พนักงานท้องถนิ่ ไม่ได้ วสั ดกุ อ่ สรา้ งทถี่ ูกรอื้ ถอน และสิง่ ของทขี่ นออกจากอาคาร ส่วนท่ีมีการรอ้ื ถอนให้ เจา้ พนกั งานทอ้ งถน่ิ มีอานาจยึดและเกบ็ รักษาไวห้ รอื ขายและถือเงนิ ไว้แทนได้ ท้ังนต้ี ามหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเง่อื นไขทกี่ าหนดในกฎกระทรวง และถา้ เจ้าของมิไดเ้ รยี กเอาทรพั ยส์ นิ หรอื เงินน้ันคืนภายใน สามสิบวนั นับแต่วนั ทีม่ ีการรื้อถอน ใหท้ รัพยส์ ินหรอื เงินน้นั ตกเป็นของราชการสว่ นท้องถิ่นน้นั เพอ่ื นามา เป็นคา่ ใชจ้ ่ายในการร้อื ถอนอาคารตามพระราชบญั ญตั ิน้ี” “มาตรา ๕๓ ใหน้ ายชา่ ง หรอื นายตรวจมอี านาจเขา้ ไปในบรเิ วณทมี่ ีการก่อสร้าง ดดั แปลง รือ้ ถอน หรือเคลื่อนย้ายอาคาร เพ่ือตรวจสอบวา่ ได้มกี ารฝ่าฝืน หรอื ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามพระราชบัญญตั ินี้ หรอื ไม่ และเพื่อการนใ้ี ห้มีอานาจสอบถามขอ้ เท็จจริง หรือสั่งใหแ้ สดงเอกสารหรือหลกั ฐานอน่ื ที่ เกีย่ วขอ้ งจากบคุ คลท่ีอยู่หรอื ทางานในสถานท่นี ้นั ” “มาตรา ๕๔ เม่อื มีเหตุอนั ควรสงสัยวา่ อาคารใดซง่ึ ได้กอ่ สรา้ ง ดดั แปลง รื้อถอน หรือ เคล่ือนย้ายเสร็จแล้วนัน้ ได้กระทาข้ึนโดยฝา่ ฝนื หรอื ไม่ปฏิบัติตามพระราชบญั ญัติหรือมเี หตอุ นั ควรสงสัย วา่ อาคารใดมีการใช้หรือเปลีย่ นการใช้โดยฝ่าฝืนหรอื ไมป่ ฏบิ ัตติ ามมาตรา ๓๒ มาตรา ๓๓ หรือมาตรา ๓๔ หรอื อาคารใดมีลกั ษณะตามมาตรา ๔๖ ให้นายชา่ งมีอานาจเข้าไปตรวจอาคารและบรเิ วณทีต่ ้งั อาคารน้ันได้ และเพื่อการนีใ้ ห้มอี านาจสอบถามขอ้ เท็จจรงิ หรือสั่งให้แสดงเอกสาร หรอื หลักฐานอนื่ ท่ี เกยี่ วข้องจากบคุ คลท่ีอยู่หรอื ทางานในสถานท่นี ้ัน” “มาตรา ๕๖ ในการปฏบิ ตั ิการตามมาตรา ๕๓ หรือมาตรา ๕๔ นายช่างหรอื นายตรวจ ต้องกระทาการในเวลาระหว่างพระอาทิตยข์ ้ึนถึงพระอาทิตยต์ ก หรอื ในเวลาทาการของสถานทนี่ น้ั และ ในการนีใ้ ห้นายช่าง หรือนายตรวจแสดงบัตรประจาตัวเม่ือบคุ คลที่เกี่ยวขอ้ งร้องขอ บัตรประจาตัวให้เป็นไปตามแบบทีก่ าหนดในกฎกระทรวง” “มาตรา ๖๕ ผู้ใดฝา่ ฝนื หรือไม่ปฏิบัตติ ามมาตรา ๒๑ มาตรา ๒๒ มาตรา ๓๑ มาตรา ๓๒ มาตรา ๓๓ มาตรา ๓๔ มาตรา ๕๒ วรรคหก มาตรา ๕๗ หรือ มาตรา ๖๐ ตอ้ งระวางโทษจาคุกไม่เกิน สามเดือนหรือปรบั ไม่เกนิ หกหมื่นบาทหรือทั้งจาท้ังปรับ นอกจากต้องระวางโทษตามวรรคหน่ึงแลว้ ผู้ฝา่ ฝืนหรือไม่ปฏบิ ตั ิตามมาตรา ๒๑ มาตรา
๑๖ ๓๑ มาตรา ๓๒ มาตรา ๓๔ หรอื มาตรา ๕๗ ยังต้องระ วางโทษปรับอีกวันละไมเ่ กนิ หน่ึงหม่นื บาท ตลอดเวลาทยี่ งั ฝา่ ฝนื หรอื จนกว่าจะได้ปฏิบัติใหถ้ ูกตอ้ ง” “มาตรา ๖๗ ผู้ใดฝ่าฝนื มาตรา ๓๐ วรรคสองหรือฝ่าฝนื คาสง่ั ของเจ้าพนักงานท้องถิ่นตาม มาตรา ๔๐ มาตรา ๔๔ หรือมาตรา ๔๕ ตอ้ งระวางโทษจาคกุ ไมเ่ กนิ หกเดือนหรือปรบั ไม่เกนิ หนึ่งแสน บาทหรือท้ังจาทั้งปรับ นอกจากต้องระวางโทษตามวรรคหนึ่งแล้วผูฝ้ ่าฝนื ยังต้องระวางโทษปรับอีกวันละไมเ่ กิน สามหมืน่ บาทตลอดเวลาทีย่ งั ฝ่าฝืนหรือจนกว่าจะไดป้ ฏิบัติใหถ้ กู ต้อง” บทบัญญัติของพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ นี้ได้ให้อานาจเจ้าหน้าท่ีรัฐ โดยเฉพาะเจ้าพนักงานในสังกัดราชการบริหารส่วนท้องถิ่นจานวนมากให้การตรวจสอบ กากับดูแลการ ก่อสร้างและการใช้อาคารไม่ว่าจะเป็นเจ้าพนักงานท้องถิ่น นายตรวจ นายช่าง อีกท้ังยังให้อานาจ รฐั มนตรีออกกฎกระทรวงเพื่อดาเนินการควบคุมอาคารให้มีลักษณะปลอดภัย นอกจากนี้ยังบัญญัติโทษ สาหรบั ผู้ท่ฝี า่ ฝืนคาส่ังของเจา้ พนักงานและฝ่าฝืนบทบัญญัติการควบคมุ อาคารดว้ ย ๒.๒.๓ พระราชบญั ญตั ิป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. ๒๕๕๐ “มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตนิ ้ี “สาธารณภัย” หมายความว่า อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ภัยแล้ง โรคระบาดในมนุษย์โรคระบาด สัตว์ โรคระบาดสัตว์น้า การระบาดของศัตรูพืช ตลอดจนภัยอื่น ๆ อันมีผลกระทบต่อสาธารณชน ไม่ว่า เกิดจากธรรมชาติ มีผู้ทาให้เกิดขึ้น อุบัติเหตุ หรือเหตุอื่นใด ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายแก่ชีวิตร่างกายของ ประชาชน หรือความเสียหายแก่ทรัพย์สินของประชาชนหรือของรัฐ และให้หมายความรวมถึงภัยทาง อากาศและการกอ่ วินาศกรรมด้วย “ภยั ทางอากาศ” หมายความวา่ ภยั อันเกิดจากการโจมตีทางอากาศ “การก่อวินาศกรรม” หมายความว่า การกระทาใดๆ อันเป็นการมุ่งทาลายทรัพย์สินของ ประชาชนหรือของรัฐหรือสิ่งอันเป็นสาธารณูปโภคหรือการรบกวนขัดขวางหน่วงเหน่ียวระบบการ ปฏิบัติงานใดๆ ตลอดจนการประทุษร้ายต่อบุคคลอันเป็นการก่อให้เกิดความปั่นป่วนทางการเมืองการ เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ โดยมุง่ หมายทจ่ี ะกอ่ ใหเ้ กิดความเสียหายต่อความมั่นคงของรฐั “หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชนและหน่วยงานอ่ืน ของรฐั แตไ่ มห่ มายความรวมถงึ องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” หมายความว่า องค์การบริหารสว่ นตาบล เทศบาล องค์การบริหาร สว่ นจงั หวดั เมอื งพทั ยา กรงุ เทพมหานคร และองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ อ่ืนท่มี ีกฎหมายจดั ตัง้ “องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ แหง่ พนื้ ท่ี” หมายความวา่ องค์การบรหิ ารส่วนตาบล เทศบาล เมอื งพทั ยาและองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ อน่ื ที่มีกฎหมายจัดตง้ั แตไ่ มห่ มายความรวมถึงองค์การบริหาร สว่ นจงั หวัด และกรุงเทพมหานคร “จังหวัด” ไมห่ มายความรวมถงึ กรงุ เทพมหานคร “อาเภอ” หมายความรวมถึงกิ่งอาเภอ แต่ไมห่ มายความรวมถึงเขตในกรุงเทพมหานคร “นายอาเภอ” หมายความรวมถงึ ปลดั อาเภอผูเ้ ป็นหวั หน้าประจาก่งิ อาเภอ “ผูบ้ รหิ ารท้องถน่ิ ” หมายความวา่ นายกองค์การบริหารสว่ นตาบล นายกเทศมนตรี นายกเมือง พทั ยา และหวั หน้าผบู้ รหิ ารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งพนื้ ท่ีอื่น “ผ้บู ญั ชาการ” หมายความว่า ผู้บญั ชาการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ
๑๗ “ผู้อานวยการ” หมายความวา่ ผูอ้ านวยการกลาง ผอู้ านวยการจงั หวัด ผู้อานวยการอาเภอ ผอู้ านวยการท้องถิน่ และผู้อานวยการกรงุ เทพมหานคร “เจ้าพนักงาน” หมายความว่า ผ้ซู งึ่ ได้รบั แต่งตง้ั ใหป้ ฏิบัตหิ น้าทใ่ี นการปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณภัยในพน้ื ท่ตี า่ ง ๆ ตามพระราชบัญญัตินี้ “อาสาสมัคร” หมายความวา่ อาสาสมคั รป้องกันภัยฝา่ ยพลเรอื นตามพระราชบัญญตั ิน้ี “อธิบดี” หมายความว่า อธบิ ดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย “รฐั มนตรี” หมายความวา่ รฐั มนตรีผูร้ ักษาการตามพระราชบัญญตั ินี้” “มาตรา ๕ ใหร้ ฐั มนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทยรกั ษาการตามพระราชบัญญัติน้แี ละให้มีอานาจ ออกกฎกระทรวง ระเบียบ ข้อบังคับและประกาศเพ่ือปฏิบัตกิ ารตามพระราชบัญญัติน้ี กฎกระทรวงนน้ั เมือ่ ไดป้ ระกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใชบ้ ังคับได้” “มาตรา ๓๙ ใหผ้ ู้อานวยการมีอานาจแตง่ ตั้งเจา้ พนักงานเพ่ือปฏิบัตหิ น้าท่ีดงั ต่อไปนี้ (๑) ผอู้ านวยการกลาง มีอานาจแตง่ ต้ังเจ้าพนักงานให้ปฏบิ ัติหนา้ ท่ีได้ทวั่ ราชอาณาจักร (๒) ผอู้ านวยการจงั หวัด มีอานาจแตง่ ต้ังเจ้าพนกั งานใหป้ ฏิบตั ิหน้าทไี่ ด้ในเขตจังหวดั (๓) ผอู้ านวยการอาเภอ มอี านาจแต่งตั้งเจา้ พนกั งานใหป้ ฏิบัติหน้าทไ่ี ด้ในเขตอาเภอ (๔) ผอู้ านวยการท้องถิ่น มีอานาจแตง่ ตัง้ เจ้าพนกั งานใหป้ ฏิบัตหิ นา้ ที่ได้ในเขตองค์กร ปกครองส่วนทอ้ งถิ่นแหง่ พืน้ ที่ (๕) ผ้อู านวยการกรุงเทพมหานคร มอี านาจแต่งตง้ั เจ้าพนักงานใหป้ ฏิบัติหนา้ ทีไ่ ด้ในเขต กรุงเทพมหานคร หลกั เกณฑ์การแต่งตัง้ และการปฏบิ ตั ิหนา้ ทข่ี องเจ้าพนักงานให้เป็นไปตามระเบยี บท่ี กระทรวงมหาดไทยกาหนด” “มาตรา ๔๐ ในกรณีท่ีผูอ้ านวยการหรือเจา้ พนกั งานพบเหน็ วา่ อาคารหรือสถานท่ใี ดมีสภาพ ทอี่ าจก่อใหเ้ กดิ สาธารณภยั ได้โดยง่ายหรอื มวี ัสดหุ รือส่ิงของใดในอาคารหรอื สถานท่ใี ดท่อี าจก่อใหเ้ กดิ สาธารณภยั ได้ ใหแ้ จ้งพนักงานเจ้าหนา้ ทต่ี ามกฎหมายวา่ ด้วยการน้ันทราบเพื่อตรวจสอบตามอานาจ หนา้ ทตี่ ่อไป” “มาตรา ๔๑ ให้ผ้อู านวยการจดั ใหม้ อี าสาสมัครในพ้นื ท่ีทีร่ ับผดิ ชอบ เพอื่ ปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ ดังต่อไปนี้ (๑) ใหค้ วามช่วยเหลอื เจ้าพนักงานในการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั (๒) ปฏบิ ัตหิ น้าท่อี น่ื ตามทีผ่ ู้อานวยการมอบหมายและตามระเบยี บท่ีกระทรวงมหาดไทย กาหนดการบริหารและกากับดแู ลอาสาสมคั ร การคัดเลือกการฝกึ อบรม สิทธิ หนา้ ทแ่ี ละวนิ ัยของ อาสาสมัคร ให้เป็นไปตามระเบยี บท่กี ระทรวงมหาดไทยกาหนด” บทบญั ญัตติ ามพระราชบญั ญัติปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ น้ีเนน้ ทก่ี ารจัดให้มี แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั และการจดั การขณะเกดิ ภัยตลอดจนการฟื้นฟูหลังเกดิ ภัย ๒.๒.๔ ประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณาความอาญา “มาตรา ๒ ในประมวลกฎหมายนี้ ... (๖) “พนักงานสอบสวน” หมายความถึงเจ้าพนักงานซง่ึ กฎหมายให้มีอานาจและ หน้าทที่ าการสอบสวน ...
๑๘ (๑๐) “การสืบสวน” หมายความถึงการแสวงหาขอ้ เท็จจรงิ และหลักฐานซ่ึงพนักงานฝา่ ยปกครอง หรือตารวจได้ปฏิบตั ิไปตามอานาจและหนา้ ที่ เพื่อรักษาความสงบเรยี บร้อยของประชาชน และเพ่ือที่จะ ทราบรายละเอียดแห่งความผิด (๑๑) “การสอบสวน” หมายความถึงการรวบรวมพยานหลกั ฐานและการดาเนินการ ท้ังหลายอ่นื ตามบทบญั ญตั ิแห่งประมวลกฎหมายนี้ ซึง่ พนักงานสอบสวนไดท้ าไปเกี่ยวกบั ความผดิ ทีก่ ล่าวหา เพ่ือที่จะทราบข้อเท็จจริงหรอื พิสูจน์ความผิดและเพื่อจะเอาตวั ผู้กระทาผดิ มาฟอ้ งลงโทษ (๑๖) “พนกั งานฝา่ ยปกครองหรือตารวจ” หมายความถึงเจ้าพนักงานซึ่งกฎหมายให้มีอานาจและ หน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน ให้รวมท้ังพัศดี เจ้าพนักงานกรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมเจ้าท่า พนักงานตรวจคนเข้าเมือง และเจ้าพนักงานอ่ืนๆ ในเมื่อทาการอันเก่ียวกับการจับกุม ปราบปรามผูก้ ระทาผิดกฎหมาย ซง่ึ ตนมีหน้าทีต่ อ้ งจับกมุ หรอื ปราบปราม ...” “มาตรา ๑๗ พนกั งานฝา่ ยปกครองหรือตารวจมอี านาจทาการสบื สวนคดอี าญาได้” “มาตรา ๑๘ ในจังหวัดอ่ืนนอกจากจังหวัดพระนครและจังหวัดธนบุรี พนักงานฝ่ายปกครองหรือ ตารวจช้ันผู้ใหญ่ ปลัดอาเภอ และข้าราชการตารวจซ่ึงมียศตั้งแต่ช้ันนายร้อยตารวจตรีหรือเทียบเท่า นายร้อยตารวจตรีขึ้นไปมีอานาจสอบสวนความผิดอาญาซึ่งได้เกิดหรืออ้างหรือเช่ือว่าได้เกิดภายในเขต อานาจของตนหรอื ผ้ตู อ้ งหามีทอ่ี ยูห่ รือถูกจบั ภายในเขตอานาจของตนได้ สาหรับในจังหวัดพระนครและจังหวัดธนบุรี ให้ข้าราชการตารวจซึ่งมียศตั้งแต่ชั้นนายร้อย ตารวจตรีหรือเทียบเท่านายร้อยตารวจตรีข้ึนไป มีอานาจสอบสวนความผิดอาญาซึ่งได้เกิดหรืออ้างหรือ เชื่อว่าไดเ้ กดิ ภายในเขตอานาจของตนหรอื ผตู้ ้องหามที อ่ี ยู่หรอื ถกู จบั ภายในเขตอานาจของตนได้ ภายใตบ้ งั คบั แหง่ บทบญั ญตั ิในมาตรา ๑๙ มาตรา ๒๐ และมาตรา ๒๑ ความผิดอาญาได้เกดิ ใน เขตอานาจพนกั งานสอบสวนคนใด โดยปกติใหเ้ ปน็ หน้าท่ีพนกั งานสอบสวนผู้นัน้ เปน็ ผู้รับผดิ ชอบในการ สอบสวนความผดิ นัน้ ๆ เพ่ือดาเนนิ คดี เวน้ แต่เมื่อมเี หตจุ าเป็นหรือเพื่อความสะดวกจงึ ให้พนักงานสอบสวน แห่งทอ้ งที่ทีผ่ ู้ต้องหามีที่อยูห่ รือถูกจบั เป็นผู้รบั ผิดชอบดาเนินการสอบสวน ในเขตทอ้ งทใี่ ดมีพนักงานสอบสวนหลายคน การดาเนนิ การสอบสวนให้อยู่ในความรับผิดชอบ ของพนักงานสอบสวนผู้เป็นหัวหน้าในทอ้ งที่นั้นหรือผูร้ ักษาการแทน” ประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญานเี้ ป็นกฎหมายกลางและเป็นกฎหมายทั่วไปท่ีกาหนดใน เรอื่ งของอานาจในการสืบสวนสอบสวนของเจ้าหน้าท่ี ซ่ึงจะเห็นได้ว่าอานาจในการสืบสวนอันเป็นอานาจ ในการจับกุมผู้กระทาความผิดซ่ึงเป็นของพนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจนั้น เจ้าหน้าที่หลายฝ่ายต่างมี อานาจในการสบื สวนจบั กุมด้วยกันท้ังสิ้น ไม่ว่าจะเป็นตารวจ ปลัดอาเภอ กานัน ผู้ใหญ่บ้าน เจ้าพนักงาน ศุลกากร เจ้าพนักงานป่าไม้ เป็นต้น อีกทั้งอานาจการสอบสวนคดีอาญาก็ให้อานาจทั้งปลัดอาเภอและ นายตารวจซึ่งอยู่ตา่ งหนว่ ยงานกันสามารถทาการใช้อานาจดังกล่าวได้ ๒.๒.๕ พระราชบญั ญตั ิตารวจแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗ “มาตรา ๔ ในพระราชบญั ญตั นิ ี้ “ข้าราชการตารวจ” หมายความวา่ บุคคลซึง่ ได้รับการบรรจแุ ละแตง่ ต้ังตามพระราชบัญญัตินี้โดย ได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณหมวดเงินเดือนในสานักงานตารวจแห่งชาติ และให้หมายความรวมถึง ข้าราชการในสานักงานตารวจแห่งชาติซึ่งสานักงานตารวจแห่งชาติแต่งต้ังหรือส่ังให้ปฏิบัติหน้าท่ีราชการ ตารวจโดยได้รับเงนิ เดือนจากส่วนราชการ รัฐวิสาหกจิ หรอื หนว่ ยงานอนื่ ของรฐั ด้วย “ประธานกรรมการ” หมายความว่า ประธานกรรมการนโยบายตารวจแห่งชาติ
๑๙ “กรรมการ” หมายความวา่ กรรมการนโยบายตารวจแหง่ ชาติ “กองทุน” หมายความว่า กองทนุ เพือ่ การสืบสวนและสอบสวนคดอี าญา “กองบัญชาการ” หมายความรวมถึง ส่วนราชการท่ีเรียกชื่ออย่างอื่นท่ีมีฐานะเทียบ กองบญั ชาการด้วย “กองบังคับการ” หมายความรวมถึง ส่วนราชการท่ีเรียกช่ืออย่างอ่ืนท่ีมีฐานะเทียบกองบังคับ การด้วย” “มาตรา ๖ สานักงานตารวจแห่งชาติเปน็ สว่ นราชการมีฐานะเป็นนิติบุคคลอยู่ในบังคับบัญชาของ นายกรัฐมนตรี และมีอานาจหน้าท่ีดังตอ่ ไปน้ี (๑) รักษาความปลอดภัยสาหรับองค์พระมหากษัตริย์ พระราชินี พระรัชทายาท ผู้สาเร็จราชการ แทนพระองค์ พระบรมวงศานุวงศ์ ผู้แทนพระองค์ และพระราชอาคันตกุ ะ (๒) ดูแลควบคุมและกากับการปฏิบัติงานของข้าราชการตารวจซึ่งปฏิบัติการตามประมวล กฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา (๓) ป้องกนั และปราบปรามการกระทาความผดิ ทางอาญา (๔) รักษาความสงบเรยี บรอ้ ย ความปลอดภยั ของประชาชนและความม่ันคงของราชอาณาจักร (๕) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจหน้าที่ของข้าราชการตารวจหรือ สานักงานตารวจแห่งชาติ (๖) ชว่ ยเหลอื การพัฒนาประเทศตามที่นายกรฐั มนตรมี อบหมาย (๗) ปฏิบัติการอื่นใดเพ่ือส่งเสริมและสนับสนุนให้การปฏิบัติการตามอานาจหน้าท่ีตาม (๑) (๒) (๓) (๔) หรือ (๕) เปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ ในกรณีที่มกี ฎหมายกาหนดความผิดทางอาญาข้ึนสาหรับการกระทาใดเป็นการเฉพาะ และตกอยู่ ภายใตอ้ านาจหนา้ ที่ของข้าราชการตารวจหรือสานกั งานตารวจแห่งชาตติ าม (๓) (๔) หรือ (๕) จะตราพระ ราชกฤษฎีกาโอนอานาจหน้าท่ีตาม (๓) (๔) หรือ (๕) เฉพาะในส่วนที่เก่ียวกับความผิดทางอาญาดังกล่าว ท้ังหมดหรือบางส่วน ให้เป็นอานาจหน้าที่ของหน่วยงานหรือพนักงานเจ้าหน้าท่ีอื่นใดก็ได้ ในกรณีเช่นนั้น ให้ข้าราชการตารวจและสานักงานตารวจแห่งชาติพ้นจากอานาจหน้าท่ีดังกล่าวท้ังหมดหรือบางส่วน และ ให้ถือว่าพนักงานเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานตามท่ีกาหนดในพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวเป็นพนักงานฝ่าย ปกครองหรือตารวจ พนักงานสอบสวน หรือพนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจช้ันผู้ใหญ่ตามประมวล กฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญาแล้วแต่กรณี ทัง้ นี้ตามทก่ี าหนดในพระราชกฤษฎกี าดังกลา่ ว” ตามบทบัญญัติของพระราชบัญญัติตารวจแห่งชาติน้ีย่อมแสดงให้เห็นว่าตารวจ นั้นกฎหมายให้มี อานาจในการสืบสวนสอบสวนคดีอาญา และได้ยอมรับการให้อานาจตามกฎหมายอ่ืนหรือหน่วยงานอื่นมี อานาจดังกลา่ วนีด้ ว้ ยดงั จะเหน็ ไดใ้ นบทบัญญตั ิของมาตรา ๖ วรรคสองของกฎหมายดงั กล่าว ๒.๒.๖ พระราชบัญญตั กิ ารสอบสวนคดพี เิ ศษ พ.ศ. ๒๕๔๗ “มาตรา ๓ ในพระราชบญั ญัตนิ ี้ “คดพี ิเศษ” หมายความวา่ คดคี วามผดิ ทางอาญาตามที่กาหนดไวใ้ นมาตรา ๒๑ “พนักงานสอบสวนคดีพเิ ศษ” หมายความว่า อธบิ ดี รองอธิบดี และผซู้ ึง่ ไดร้ บั การแตง่ ต้ังให้มี อานาจและหน้าทส่ี บื สวนและสอบสวนคดีพเิ ศษตามทก่ี าหนดไว้ในพระราชบญั ญตั นิ ี้ “เจ้าหนา้ ทค่ี ดีพิเศษ” หมายความว่า ผ้ซู ึ่งได้รับการแต่งต้ังใหช้ ว่ ยเหลอื พนักงานสอบสวนคดพี เิ ศษ ในการสบื สวนและสอบสวนคดพี ิเศษตามท่ีกาหนดไว้ในพระราชบัญญัตนิ ี้ “อธิบดี” หมายความว่า อธบิ ดกี รมสอบสวนคดีพิเศษ
๒๐ “รองอธบิ ดี” หมายความวา่ รองอธบิ ดีกรมสอบสวนคดพี ิเศษ “รัฐมนตรี” หมายความวา่ รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตนิ ้ี” “มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงยุตธิ รรมรักษาการตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี และให้มีอานาจ ออกกฎกระทรวงและระเบยี บ เพ่อื ปฏิบตั กิ ารตามพระราชบัญญตั ินี้ กฎกระทรวงและระเบยี บนั้น เมอ่ื ไดป้ ระกาศในราชกิจจานเุ บกษาแล้วให้ใช้บังคบั ได้” “มาตรา ๕ ใหม้ คี ณะกรรมการคดีพเิ ศษ เรียกโดยย่อวา่ “กคพ.” ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรีเป็น ประธานกรรมการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมเป็นรองประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงยุติธรรม ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงพาณิชย์ อัยการสูงสุด ผู้บัญชาการตารวจ แห่งชาติ เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา เจ้ากรมพระธรรมนูญ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย นายกสภาทนายความ และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซ่ึงคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจานวนเก้าคน และในจานวนน้ี ต้องมีบุคคลซ่ึงมีความรู้ความเช่ียวชาญในด้านเศรษฐศาสตร์ การเงินการธนาคาร เทคโนโลยีสารสนเทศ หรอื กฎหมายอย่างนอ้ ยด้านละหนึ่งคนเป็นกรรมการ ให้อธิบดีเป็นกรรมการและเลขานุการ และให้อธิบดีแต่งต้ังข้าราชการในกรมสอบสวนคดีพิเศษ จานวนไม่เกนิ สองคนเป็นผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร” “มาตรา ๑๐ ให้ กคพ. มอี านาจหนา้ ทด่ี งั ตอ่ ไปน้ี (๑) เสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีในการออกกฎกระทรวงกาหนดคดีพิเศษตามมาตรา ๒๑ วรรค หนึ่ง (๑) (๒) กาหนดรายละเอยี ดของลักษณะของการกระทาความผดิ ตามมาตรา ๒๑ วรรคหน่งึ (๑) (๓) มีมตเิ ก่ยี วกบั คดคี วามผดิ ทางอาญาอืน่ ตามมาตรา ๒๑ วรรคหนึ่ง (๒) (๔) กาหนดขอ้ บงั คับหรือหลักเกณฑ์ตามที่มบี ทบัญญัตกิ าหนดใหเ้ ป็นอานาจหน้าท่ขี อง กคพ. (๕) ติดตามและประเมนิ ผลการปฏิบตั ิตามพระราชบัญญตั นิ ี้ (๖) ให้ความเห็นชอบหลักสูตรสอบสวนคดพี เิ ศษ (๗) ปฏิบตั ิหนา้ ที่อื่นตามพระราชบัญญัตินี้ หรือตามที่มีกฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจหน้าที่ของ กคพ. รายละเอียดของลักษณะของการกระทาความผิดตามวรรคหนึ่ง (๒) มติตามวรรคหนึ่ง (๓) และ ข้อบังคับหรือหลักเกณฑต์ ามวรรคหนึง่ (๔) ให้ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา” “มาตรา ๑๔ ให้กรมสอบสวนคดีพิเศษ มีพนักงานสอบสวนคดีพิเศษและเจ้าหน้าที่คดีพิเศษเพ่ือ ทาหนา้ ทด่ี าเนินการเกีย่ วกับคดพี เิ ศษตามทกี่ าหนดในพระราชบญั ญัตนิ ี้” “มาตรา ๑๖ เจ้าหน้าท่ีคดีพิเศษเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ โดยต้องมีคุณสมบัติตามกฎหมาย วา่ ดว้ ยระเบยี บข้าราชการพลเรือน ...” “มาตรา ๒๑ คดีพิเศษท่ีจะต้องดาเนินการสืบสวนและสอบสวนตามพระราชบัญญัติน้ี ได้แก่คดี ความผดิ ทางอาญาดังต่อไปนี้ (๑) คดีความผดิ ทางอาญาตามกฎหมายที่กาหนดไว้ในบัญชีท้ายพระราชบญั ญัตินี้ และที่กาหนด ในกฎกระทรวงโดยการเสนอแนะของ กคพ. โดยคดีความผดิ ทางอาญาตามกฎหมายดังกลา่ ว จะต้องมี ลักษณะอย่างหน่ึงอย่างใดดงั ตอ่ ไปน้ี (ก) คดีความผิดทางอาญาทีม่ ีความซบั ซ้อน จาเป็นต้องใช้วิธกี ารสืบสวนสอบสวนและรวบรวม พยานหลกั ฐานเป็นพเิ ศษ
๒๑ (ข) คดคี วามผดิ ทางอาญาทีม่ ีหรอื อาจมีผลกระทบอย่างรุนแรงตอ่ ความสงบเรยี บร้อยและศลี ธรรม อันดขี องประชาชน ความม่ันคงของประเทศ ความสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศหรอื ระบบเศรษฐกจิ หรือการ คลังของประเทศ (ค) คดีความผิดทางอาญาท่ีมีลกั ษณะเป็นการกระทาความผดิ ข้ามชาติท่สี าคัญหรอื เป็นการ กระทาขององค์กรอาชญากรรม (ง) คดคี วามผิดทางอาญาที่มีผทู้ รงอิทธพิ ลทสี่ าคญั เป็นตวั การ ผใู้ ช้หรือผูส้ นบั สนนุ (จ) คดคี วามผดิ ทางอาญาทีม่ ีพนักงานฝา่ ยปกครองหรือตารวจช้ันผ้ใู หญซ่ ึง่ มใิ ชพ่ นกั งานสอบสวน คดพี เิ ศษหรอื เจ้าหนา้ ทคี่ ดีพเิ ศษเปน็ ผูต้ ้องสงสยั เมื่อมีหลกั ฐานตามสมควรวา่ น่าจะได้กระทาความผิดอาญา หรอื เป็นผู้ถกู กลา่ วหาหรอื ผูต้ ้องหา ทั้งนี้ ตามรายละเอยี ดของลักษณะของการกระทาความผดิ ท่ี กคพ. กาหนด (๒) คดคี วามผิดทางอาญาอ่นื นอกจาก (๑) ตามที่ กคพ. มีมติดว้ ยคะแนนเสียงไม่นอ้ ยกว่าสองใน สามของกรรมการทงั้ หมดเทา่ ทมี่ ีอยู่ ในคดีที่มีการกระทาอันเป็นกรรมเดียวผิดต่อกฎหมายหลายบท และบทใดบทหน่ึงจะต้อง ดาเนนิ การโดยพนกั งานสอบสวนคดีพิเศษตามพระราชบัญญัติน้ี หรือคดีที่มีการกระทาความผิดหลายเรื่อง ต่อเน่ืองหรือเกี่ยวพันกัน และความผิดเร่ืองใดเรื่องหนึ่งจะต้องดาเนินการโดยพนักงานสอบสวนคดีพิเศษ ตามพระราชบัญญัติน้ี ให้พนักงานสอบสวนคดีพิเศษมีอานาจสืบสวนสอบสวนสาหรับความผิดบทอื่นหรือ เร่ืองอ่ืนดว้ ย และให้ถอื ว่าคดีดังกล่าวเปน็ คดีพิเศษ บรรดาคดีใดที่ได้ทาการสอบสวนเสร็จแล้วโดยพนักงานสอบสวนคดีพิเศษ ให้ถือว่าการสอบสวน นัน้ เปน็ การสอบสวนในคดพี ิเศษตามพระราชบญั ญัตนิ แี้ ลว้ บทบัญญัติในมาตราน้ีให้ใช้บังคับกับบุคคลที่เป็นตัวการ ผู้ใช้ หรือผู้สนับสนุนการกระทาความผิด ดว้ ย ในกรณีท่ีมีข้อโต้แย้งหรือข้อสงสัยว่าการกระทาความผิดใดเป็นคดีพิเศษตามที่กาหนดไว้ในวรรค หนง่ึ (๑) หรือไม่ ให้ กคพ. เปน็ ผชู้ ขี้ าด” “มาตรา ๒๑/๑ ในกรณีที่ผู้กระทาความผิดอันเป็นคดีพิเศษตามพระราชบัญญัติน้ีเป็นเจ้าหน้าที่ ของรัฐซ่ึงมิได้เป็นบุคคลตามมาตรา ๖๖ แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและ ปราบปรามการทุจรติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และอย่ใู นอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการ ทจุ ริตแห่งชาติ ให้พนกั งานสอบสวนคดพี เิ ศษส่งเรอ่ื งไปยังคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต แห่งชาตภิ ายในสามสบิ วนั นับแต่วนั ทม่ี ีการร้องทกุ ข์หรอื กลา่ วโทษ ในระหว่างการพิจารณาของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ หาก คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติยังมิได้มีมติอย่างใดอย่างหนึ่งให้พนักงาน สอบสวนคดีพิเศษมีอานาจทาการสอบสวนไปพลางกอ่ นได้ ในกรณที ่คี ณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติมีมติรับคดีพิเศษตามวรรคหนึ่ง ไว้ดาเนินการตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ให้พนักงาน สอบสวนคดีพิเศษส่งสานวนการสอบสวนและพยานหลักฐานที่ได้มาจากการสอบสวนตามวรรคสองไปยัง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ในการนี้คณะกรรมการป้องกันและปราบปราม การทจุ ริตแหง่ ชาติอาจถือสานวนการสอบสวนของพนกั งานสอบสวนคดีพิเศษเป็นส่วนหน่ึงของการไต่สวน ข้อเทจ็ จรงิ ได้
๒๒ ในกรณีที่คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติพิจารณาแล้วเห็นสมควรส่ง เรอื่ งให้พนักงานสอบสวนคดีพิเศษเป็นผดู้ าเนินการ ให้พนกั งานสอบสวนคดีพิเศษดาเนินการตามกฎหมาย ตอ่ ไป” “มาตรา ๒๒ เพ่ือประโยชน์ในการประสานการปฏิบัติงานป้องกันและปราบปรามการกระทา ความผดิ เกี่ยวกบั คดพี เิ ศษ ให้ กคพ. มีอานาจออกข้อบังคับการปฏิบัติหน้าท่ีในคดีพิเศษระหว่างหน่วยงาน ของรัฐทเี่ กีย่ วขอ้ งดงั ต่อไปน้ี (๑) วิธีปฏิบัติระหว่างหน่วยงานเกี่ยวกับการรับคาร้องทุกข์หรือคากล่าวโทษ การดาเนินการ เก่ียวกับหมายเรียกและหมายอาญา การจับ การควบคุม การขัง การค้น หรือการปล่อยชั่วคราว การ สืบสวน การสอบสวน การเปรียบเทยี บปรับ การส่งมอบคดีพิเศษ และการดาเนินการอ่ืนเกี่ยวกับคดีอาญา ในระหวา่ งหน่วยงานของรฐั ทมี่ ีอานาจหน้าทป่ี ้องกนั และปราบปรามการกระทาความผิดอาญา (๒) ขอบเขตความรับผิดชอบของพนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจ เจ้าพนักงานอ่ืนของรัฐ พนักงานสอบสวนคดีพิเศษ และเจ้าหน้าที่คดีพิเศษ ในการสืบสวนและสอบสวนคดีพิเศษ ท้ังนี้เพื่อให้ เหมาะสมกับลักษณะการปฏิบัติหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐแต่ละแห่ง ความเช่ียวชาญเฉพาะด้าน ผลกระทบของการกระทาความผิด และประสิทธิภาพในการป้องกันและปราบปรามการกระทาความผิด อาญาได้อย่างท่ัวถึง ในการน้ีอาจกาหนดให้กรณีใดต้องดาเนินการร่วมกันระหว่างหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ดว้ ยก็ได้ (๓) การแลกเปล่ียนขอ้ มูลท่ีเก่ยี วข้องกบั การป้องกนั และปราบปรามคดพี ิเศษ (๔) การสนับสนุนของหน่วยงานของรัฐ และเจ้าหน้าท่ีของรัฐในการปฏิบัติหน้าที่ที่เก่ียวข้องกับ การสืบสวนและสอบสวนคดพี เิ ศษ เม่ือมีขอ้ บงั คับตามวรรคหนง่ึ แลว้ ให้หน่วยงานของรัฐมีหน้าที่ปฏิบัติตามข้อบังคับท่ีกาหนดน้ันถ้า ข้อบังคับดังกล่าวเป็นการกาหนดหน้าที่ในระหว่างเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เป็นเจ้าพนักงานฝ่า ยปกครองหรือ ตารวจ หรอื พนักงานสอบสวนในการปฏิบัติหน้าท่ีให้เป็นไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ให้ถือว่าการดาเนินการของเจ้าหน้าที่ของรัฐดังกล่าวในส่วนที่เก่ียวข้องเป็นการดาเนินการของผู้มีอานาจ หน้าท่สี ืบสวนและสอบสวนตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา ในระหว่างที่ยังไม่มีข้อบังคับตามวรรคหนึ่ง สาหรับคดีพิเศษในเรื่องใด ให้การปฏิบัติหน้าท่ีของ เจ้าหน้าที่ของรัฐเพ่ือให้เป็นไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาเกี่ยวกับการสืบสวนและ สอบสวนคดีพิเศษในเร่ืองนั้นเป็นไปตามท่ีกรมสอบสวนคดีพิเศษและหน่วยงานของรัฐที่เก่ียวข้อง จะตกลง กัน เว้นแต่ กคพ. จะมีมติเป็นอยา่ งอน่ื ในกรณีที่พนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาได้ทาการสอบสวน คดีอาญาเรื่องใดไปแล้ว แต่ต่อมาปรากฏว่าคดีนั้นเป็นคดีพิเศษ เม่ือพนักงานสอบสวนส่งมอบสานวนการ สอบสวนคดดี ังกล่าวใหพ้ นักงานสอบสวนคดพี ิเศษตามวธิ ีปฏบิ ัตใิ นวรรคหน่ึง (๑) แล้ว ให้ถือว่าสานวนการ สอบสวนทส่ี ง่ มอบนั้นเป็นส่วนหน่งึ ของสานวนการสอบสวนคดีพิเศษ” “มาตรา ๒๒/๑ ในการปฏิบัติงานป้องกันและปราบปรามการกระทาความผิดเกี่ยวกับคดีพิเศษ กรมสอบสวนคดีพเิ ศษอาจขอใหห้ นว่ ยงานของรัฐหรอื เจ้าหนา้ ท่อี ื่นของรฐั ใหค้ วามชว่ ยเหลือ สนับสนุนหรือ เขา้ รว่ มปฏิบัตหิ นา้ ทไี่ ด้ตามความเหมาะสม ให้หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐตามวรรคหนึ่งให้ความช่วยเหลือ สนับสนุน หรือเข้าร่วม ปฏิบัติหน้าท่ีตามสมควรแก่กรณี โดยได้รับค่าใช้จ่ายหรือค่าตอบแทนอ่ืนใดที่จาเป็นในการช่วยเหลือ
๒๓ สนับสนุน หรือเข้าร่วมปฏิบัติหน้าที่เพ่ือให้การดาเนินงานตามพระราชบัญญัติน้ีเป็นไปอย่างมี ประสทิ ธภิ าพ” “มาตรา ๒๓ ในการปฏบิ ัติหน้าที่เก่ียวกบั คดีพิเศษ ให้พนักงานสอบสวนคดีพิเศษมีอานาจสืบสวน และสอบสวนคดีพิเศษ และเป็นพนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจช้ันผู้ใหญ่ หรือพนักงานสอบสวน ตาม ประมวลกฎหมายวธิ ีพิจารณาความอาญา แลว้ แต่กรณี ให้เจา้ หนา้ ท่คี ดีพเิ ศษมหี น้าทช่ี ่วยเหลือพนักงานสอบสวนคดีพิเศษในการปฏิบัติหน้าที่เก่ียวกับคดี พเิ ศษ เพยี งเท่าท่ีพนักงานสอบสวนคดีพิเศษมอบหมาย ในการปฏิบัติหน้าท่ีดังกล่าวให้เจ้าหน้าที่คดีพิเศษ เปน็ พนกั งานฝา่ ยปกครองหรอื ตารวจ หรอื พนกั งานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา ในกรณีจาเป็นอธิบดีจะสั่งให้ข้าราชการหรือลูกจ้างกรมสอบสวนคดีพิเศษผู้หน่ึงผู้ใดท่ีมิใช่ พนกั งานสอบสวนคดพี เิ ศษ หรอื เจา้ หนา้ ที่คดพี เิ ศษปฏิบตั ิหนา้ ทีเ่ ปน็ ผูช้ ่วยเหลือพนักงานสอบสวนคดีพิเศษ หรือเจ้าหนา้ ที่คดพี ิเศษเพื่อปฏบิ ตั ิงานเร่อื งหนึง่ เรอื่ งใดท่เี กีย่ วกบั การสืบสวนเป็นการเฉพาะก็ได้ ในการปฏิบัติงานเฉพาะเร่ืองที่ได้รับมอบหมายตามวรรคสาม ให้ผู้น้ันเป็นเจ้าพนักงานตาม ประมวลกฎหมายอาญา และให้มีอานาจหน้าที่เช่นเดียวกับเจ้าหน้าที่คดีพิเศษเฉพาะเรื่องที่ได้รับ มอบหมายเท่านน้ั หลักเกณฑ์ วิธีการมอบหมาย และการปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรานี้ ให้เป็นไปตามข้อบังคับท่ี กคพ. กาหนด” “มาตรา ๒๓/๑ ในกรณีที่มีเหตุอันควรสงสัยว่าคดีความผิดทางอาญาใดเป็นคดีพิเศษตามมาตรา ๒๑ วรรคหนงึ่ (๑) ให้พนักงานสอบสวนคดีพเิ ศษมีอานาจสบื สวนคดีดังกลา่ วได้ ในกรณีที่อธิบดีเห็นสมควรเสนอให้ กคพ. มีมติให้คดีความผิดทางอาญาใดเป็นคดีพิเศษตาม มาตรา ๒๑ วรรคหน่ึง (๒) อธิบดีจะส่ังให้พนักงานสอบสวนคดีพิเศษแสวงหาพยานหลักฐานเบื้องต้น เพื่อ นาเสนอ กคพ. ก็ได้ ในการนี้ให้พนักงานสอบสวนคดีพิเศษมีอานาจสืบสวนคดีนั้นตามระเบียบท่ี กคพ. กาหนด” “มาตรา ๒๔ เพ่ือประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัติน้ี ให้พนักงานสอบสวน คดพี เิ ศษมอี านาจดังตอ่ ไปนี้ดว้ ย (๑) เข้าไปในเคหสถาน หรือสถานท่ีใดๆ เพ่ือตรวจค้น เม่ือมีเหตุสงสัยตามสมควรว่ามีบุคคลที่มี เหตุสงสัยว่ากระทาความผิดท่ีเป็นคดีพิเศษหลบซ่อนอยู่ หรือมีทรัพย์สินซึ่งมีไว้เป็นความผิดหรือได้มาโดย การกระทาความผิด หรือได้ใช้หรือจะใช้ในการกระทาความผิดท่ีเป็นคดีพิเศษ หรือซึ่งอาจใช้เป็น พยานหลักฐานได้ ประกอบกับมีเหตุอันควรเชื่อว่าเน่ืองจากการเนิ่นช้ากว่าจะเอาหมายค้นมาได้บุคคลน้ัน จะหลบหนไี ป หรือทรพั ยส์ นิ น้นั จะถูกโยกย้าย ซุกซ่อน ทาลาย หรือทาใหเ้ ปล่ยี นสภาพไปจากเดมิ (๒) ค้นบุคคล หรือยานพาหนะที่มีเหตุสงสัยตามสมควรว่ามีทรัพย์สินซ่ึงมีไว้เป็นความผิดหรือ ได้มาโดยการกระทาความผิด หรือได้ใช้หรือจะใช้ในการกระทาความผิดท่ีเป็นคดีพิเศษ หรือซึ่งอาจใช้เป็น พยานหลกั ฐานได้ (๓) มีหนังสือสอบถามหรือเรียกให้สถาบันการเงิน ส่วนราชการ องค์การ หรือหน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ ส่งเจ้าหน้าที่ท่ีเกี่ยวข้องมาเพื่อให้ถ้อยคา ส่งคาชี้แจงเป็นหนังสือ หรือส่งบัญชีเอกสาร หรือหลักฐานใด ๆ มาเพ่ือตรวจสอบ หรือเพื่อประกอบการพจิ ารณา (๔) มหี นังสอื สอบถาม หรือเรียกบุคคลใดๆ มาเพื่อให้ถ้อยคา ส่งคาชี้แจงเป็นหนังสือหรือส่งบัญชี เอกสาร หรือหลักฐานใด ๆ มาเพื่อตรวจสอบ หรอื เพอ่ื ประกอบการพจิ ารณา (๕) ยดึ หรืออายัดทรัพย์สินทีค่ ้นพบ หรอื ท่ีส่งมาดังกลา่ วไวใ้ น (๑) (๒) (๓) และ (๔)
๒๔ การใชอ้ านาจตามวรรคหนึ่ง ให้พนกั งานสอบสวนคดพี เิ ศษปฏบิ ัติตามข้อบังคับที่ กคพ. กาหนด เฉพาะการใช้อานาจตามวรรคหนึ่ง (๑) นอกจากพนักงานสอบสวนคดีพิเศษต้องดาเนินการ เกี่ยวกับวิธีการค้นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาแล้ว ให้พนักงานสอบสวนคดีพิเศษแสดง ความบริสุทธ์ิก่อนการเข้าค้น รายงานเหตุผลและผลการตรวจค้นเป็นหนังสือต่อผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป และบันทึกเหตุสงสัยตามสมควรและเหตุอันควรเช่ือที่ทาให้สามารถเข้าค้นได้เป็นหนังสือให้ไว้แก่ ผู้ครอบครองเคหสถานหรือสถานที่ค้น แต่ถ้าไม่มีผู้ครอบครองอยู่ ณ ท่ีนั้น ให้พนักงานสอบสวนคดีพิเศษ ส่งมอบสาเนาหนังสือน้ันให้แก่ผู้ครอบครองดังกล่าวในทันทีท่ีกระทาได้ และหากเป็นการเข้าค้นในเวลา กลางคนื ภายหลังพระอาทติ ย์ตก พนกั งานสอบสวนคดีพเิ ศษผู้เป็นหัวหน้าในการเข้าค้นต้องเป็นข้าราชการ พลเรอื นตาแหน่งตั้งแต่ระดบั ๗ ขึน้ ไปด้วย ใหพ้ นักงานสอบสวนคดีพิเศษผเู้ ป็นหวั หนา้ ในการเข้าคน้ สง่ สาเนาบันทึกเหตุสงสัยตามสมควรและ เหตอุ นั ควรเชอ่ื ตามวรรคสาม และสาเนาบันทึกการตรวจค้นและบัญชีทรัพย์ที่ยึดหรืออายัดต่อศาลจังหวัด ท่ีมีอานาจเหนือท้องท่ีที่ทาการค้น หรือศาลอาญาในเขตกรุงเทพมหานครภายในส่ีสิบแปดชั่วโมงหลังจาก ส้นิ สดุ การตรวจค้น เพื่อเปน็ หลกั ฐาน พนักงานสอบสวนคดีพิเศษระดับใดจะมีอานาจหน้าที่ตามท่ีได้กาหนดไว้ตามวรรคหน่ึงท้ังหมด หรือแต่บางส่วน หรือจะต้องได้รับอนุมัติจากบุคคลใดก่อนดาเนินการให้เป็นไปตามท่ีอธิบดีกาหนดโดยทา เอกสารให้ไว้ประจาตัวพนักงานสอบสวนคดีพิเศษผู้ได้รับอนุมัตินั้นและพนักงานสอบสวนคดีพิเศษผู้น้ัน ตอ้ งแสดงเอกสารดังกลา่ วตอ่ บุคคลที่เกี่ยวขอ้ งทกุ คร้ัง” “มาตรา ๔๑ ผู้ใดไม่ให้ความสะดวก หรือไม่ให้ถ้อยคา หรือไม่ส่งบัญชีเอกสารหรือหลักฐานใดแก่ พนักงานสอบสวนคดีพิเศษตามมาตรา ๒๔ วรรคหนึ่ง (๓) หรือ (๔) แล้วแต่กรณี ต้องระวางโทษจาคุก ไม่เกนิ หนึง่ ปี หรอื ปรบั ไมเ่ กินสองหมนื่ บาท หรอื ท้งั จาทั้งปรบั ” จากบทบัญญัติของพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ. ๒๕๔๗ น้ันระบุว่าผู้มีอานาจใน การสืบสวนจับกุม และการสอบสวนความผิดทางอาญา นอกจากจะมีตารวจ ปลัดอาเภอ และพนักงาน ฝ่ายปกครองหรอื ตารวจหน่วยอ่ืนๆ เช่น ศุลกากร ป่าไม้ แล้ว พนักงานสอบสวนคดีพิเศษก็เป็นอีกผู้หนึ่งท่ี มีอานาจดังกล่าว โดยที่มีบทบัญญัติเรื่องการจัดสรรและจัดแบ่งหน้าที่และอานาจดังกล่าวออกมาจาก พนักงานสอบสวนและพนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา อย่างเป็นระบบ ๒.๓ กฎหมายและวธิ กี ารเก่ียวกับการตรวจสอบถ่วงดุลการใช้อานาจของเจ้าหน้าทีร่ ฐั จาก ต่างประเทศ ๒.๓.๑ กฎหมายเกยี่ วกับการตรวจสอบถ่วงดุลการใช้อานาจของเจ้าหน้าที่รัฐในประเทศ สหรฐั อเมรกิ า ในประเทศสหรัฐอเมริกาซึ่งปกครองในระบบรัฐรวมนอกจากจะระบบการเมืองจะมีระบบการ ตรวจสอบถ่วงดุลแบบประธานาธิบดีถ่วงดุลกับรัฐสภาและศาลสูงสุดแล้ว ในเรื่องการให้อานาจของ เจ้ าห น้ า ที่รั ฐ ใ น เ ร่ื อ งเ ดีย ว กั น ก็ อา จ มี ห ล าย ห น่ ว ย งา น ห รื อ ห ล าย ตา แห น่ ง ใช้ อา น า จ ใ น เ รื่ อ งเ ดีย ว กั น ยกตัวอย่างเช่น ผู้มีหน้าที่ปราบปรามผู้กระทาความผิดทางอาญานอกจากจะมีตารวจ (Police) เป็น ผู้ดาเนินการแล้วก็ยังมีนายอาเภอหรือ Sheriff ที่ทาหน้าท่ีปราบปรามผู้ร้ายทาหน้าที่กากับดูแลองค์กร ปกครองสว่ นความสงบเรียบรอ้ ยในเมืองทเี่ รียกว่า County อีกด้วยอีกด้วย และถือเป็นหน่วยงานบังคับใช้ กฎหมาย (Law Enforcement Agencies) หน่วยงานหนึ่งในหลายๆ หน่วยงานในประเทศสหรัฐอเมริกา (Bryan A. Garner, 2001, p.1381) โดยที่ในข้ันตอนของการสืบสวนจับกุมน้ันผู้ท่ีทาหน้าที่ดังกล่าว
๒๕ นอกจากตารวจ (Police) แล้วยังมี Sheriff ซึ่งทาหน้าที่ในการปราบปรามผู้กระทาความผิดเหมือนตารวจ แต่ในประเทศสหรัฐอเมริกาได้แบ่งแยกความรับผิดชอบในการทาหน้าท่ีเดียวกันระหว่าง Police และ Sheriff คือแยกตามลักษณะพ้ืนท่ี กล่าวคือ Sheriff จะทาหน้าที่ในเมืองเล็กหรือในเมืองชนบทท่ีเรียกว่า County ส่วน Police จะทาหน้าที่ในเมืองท่ีเรียกว่า City และ Town และทาหน้าที่บังคับใช้และ ดาเนินคดีอาญาและคดีจราจรที่เกิดขึ้นภายในพื้นท่ีรับผิดชอบของตน เช่น City Police ส่วนในพื้นที่ของ County จะมี County Sheriff ทาหน้าที่บังคับใช้และดาเนินคดีอาญาท่ัวไป ในบางกรณี Sheriff ก็จะทา หน้าทีเ่ กย่ี วกบั คดีโดยสนับสนุนการทาหน้าที่ของศาลโดยดาเนินคดีอาญาและคดีแพ่งทุกประเภทที่เกิดขึ้น ระหว่างท้องท่ีแต่ละ County (Garamchai, 1999) เช่น ในมลรัฐเซาท์แคโรไลนา เป็นต้น (The South Carolina Department of Juvenile Justice, 2010) ๒.๓.๒ กฎหมายเกี่ยวกับการตรวจสอบถ่วงดุลการใชอ้ านาจของเจา้ หนา้ ทร่ี ัฐในประเทศฟิลปิ ปนิ ส์ ตัวอย่างของการถ่วงดุลการใช้อานาจของเจ้าหน้าที่รัฐในประเทศฟิลิปปินส์น้ันน่าสนใจมากคือ เรอ่ื งบารังไกย์ ซ่ึงมใี นขัน้ ตอนการพจิ ารณาความผดิ ทางอาญาซ่ึงปกติจะทาโดยเจ้าหน้าที่รัฐเพราะประเทศ สาธารณรัฐฟิลิปปินส์น้ันได้รับอิทธิพลจากประเทศสเปนและประเทศสหรัฐอเมริกาซ่ึงเป็นประเทศเจ้า อาณานิคมจึงมีลักษณะโครงสร้างและรูปแบบคล้ายกับทั้งสองประเทศนี้กล่าวคือ มีกฎหมายรัฐธรรมนูญ คล้ายคลึงกับประเทศสหรัฐอเมริกา มีศาลสูงและศาลในระดับล่างคือ ศาลช้ันต้นและศาลอุทธรณ์ และมี ศาลชานัญพิเศษตา่ งๆ เช่น ศาลภาษอี ากร เป็นต้น นอกจากนย้ี ังมีศาลจังหวดั และศาลแขวงอีกด้วย ในการ พิจารณาความผิดที่มีโทษทางอาญา นอกจากน้ันยังมีการตรวจสอบถ่วงดุลการใช้อานาจของเจ้าหน้าที่รัฐ ดังกลา่ วในการจดั การกบั คดโี ดยฟิลิปปินส์ให้โอกาสกับองค์กรอ่ืนในการร่วมตรวจสอบการใช้อานาจรัฐน่ัน คือจดั ให้มีรปู แบบของการไกล่เกล่ียคดีในหมู่บ้านหรือท่ีเรียกว่าบารังไกย์ (Barangay) ซ่ึงเป็นระบบเฉพาะ ของประเทศสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ กฎหมายของประเทศสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ คือการนาแนวทางในการ ตัดสินคดีก่อนมาใช้เป็นหลักในการตัดสินคดีที่มีพฤติการณ์แห่งคดีคล้ายคลึงกัน ซึ่งเป็นแนวทางเพ่ิมเติม จากแนวทางการบริหารจัดการคดีท่ีมีเพียงเจ้าหน้าที่รัฐเท่าน้ัน การจัดให้มีระบบการจัดการความผิดทาง อาญาให้ส้ินสุดภายในแต่ละหมู่บ้านหรือบารังไกย์ท่ีเรียกว่า Lupong Tagapayapor ซ่ึงเป็นการปรับปรุง ระบบการไกล่เกล่ียข้อพิพาทในบางรังไกย์ในรูปแบบเดิมในประวัติศาสตร์ให้ทันสมัยข้ึน เม่ือวันท่ี ๑๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๒๑ ประธานาธิบดี เฟอร์ดินาน อี มากอส ได้มีคาส่ังก่อต้ังระบบการระงับข้อพิพาทใน ระดับหมู่บ้านหรือบารังไกย์ (Lupong Tagapayapor) ขึ้น เป็นการนาจารีตประเพณีและค่านิยมการ ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในระดับหมู่บ้านระหว่างบุคคลในครอบครัวโดยผู้นาหมู่บ้านและผู้อาวุโสในหมู่บ้านที่มี อิทธิพลและเข้มแข็ง ซ่ึงเป็นจารีตประเพณีเดิมมาใช้บังคับเพื่อระงับข้อพิพาทระหว่างคู่กรณีภายใน ครอบครวั และหมบู่ า้ นได้อยา่ งเหมาะสมโดยไมจ่ าตอ้ งนาคดีขึ้นสูศ่ าลเป็นการเสรมิ สร้างความสงบเรียบร้อย และความปรองดองสมานฉันท์ในสังคมชุมชนฟิลิปปินส์และช่วยลดปริมาณคดีท่ีข้ึนสู่ศาล Lupong Tagapayapor ประกอบด้วยผู้นาหมู่บ้านและสมาชิกจานวน ๑๐ – ๒๐ คน มาจากการเลือกตั้งของคนใน หมู่บ้าน มีวาระการดารงตาแหน่งในทุก ๒ ปี มีคุณสมบัติคือ เป็นผู้มีภูมิเนาที่แท้จริงหรือมีสถานท่ีทางาน ในหมู่บ้านนั้นและมีความประพฤติเหมาะสมกับการเป็นผู้ไกล่เกล่ียข้อพิพาท เป็นผู้ไม่ถูกตัดสิทธิการรับ ราชการตามกฎหมาย และต้องเป็นผู้สมัครใจเป็น Lupong ด้วย ผู้นาหมู่บ้านหรือบารังไกย์เป็นประธาน Lupong Tagapayapor โดยตาแหน่ง เมอื่ เกดิ ขอ้ พพิ าทข้ึนในหมู่บ้านผู้นาหมู่บ้านจะทาการไกล่เกล่ียก่อน หากไม่สามารถยุติได้ ข้อพิพาทก็จะเข้าสู่ Lupong Tagapayapor ในการนี้สมาชิกของ Lupong Tagapayapor ท้ังหมดจะเลือกผู้ทาหน้าที่ในการไกล่เกล่ียข้อพิพาทจานวน ๓ คน เป็นองค์คณะเรียกว่า Pangkat ทาหน้าที่ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทการทางานของ Pangkat จะอยู่ภายใต้การดูแลของ Lupong
๒๖ Tagapayapor ในการนี้ Lupong Tagapayapor จะมีการประชุมกันเดือนละ ๑ ครั้งเพ่ือแลกเปล่ียน ความคิดเห็นระหว่างสมาชิกและ Lupong Tagapayapor น้ีจะอยู่ภายใต้การกากับดูแลของ นายกเทศมนตรีของเมืองท่ีหมู่บ้านน้ันตั้งอยู่ ท้ังน้ีรูปแบบการไกล่เกล่ียท่ีกล่าวมาน้ีเป็นรูปแบบท่ีมีลักษณะ เฉพาะทมี่ ใี นสังคมสาธารณรัฐฟลิ ปิ ปินส์เทา่ น้นั (Renato Bautista, Jr., 2010) ๒.๓.๓ กฎหมายเก่ียวกับการตรวจสอบถ่วงดุลการใช้อานาจของเจ้าหน้าที่รัฐในประเทศ นิวซีแลนด์ ในประเทศนิวซีแลนด์ซ่ึงเป็นประเทศที่มีความเส่ียงในภัยพิบัติหรือสาธารณภัยสูง จึงมีกฎหมายที่ เกยี่ วข้องกบั การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารภัยหลายฉบับด้วยกัน โดยเฉพาะการป้องกันและลดผลกระทบ จากสารณภัยในอาคารน้ันมีกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่หลายฉบับด้วยกันโดยท่ีหลักๆ จะประกอบ ด้วย พระราชบัญญัติอาคาร ค.ศ. ๒๐๐๔ (Building Act 2004) พระราชบัญญัติป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ค.ศ. ๒๐๐๒ (Civil Defence Emergency Management Act 2002) และพระราชบัญญัติจัดการ อัคคีภัย ค.ศ. ๑๙๗๕ (Fire Service Act 1975) ในประเทศนิวซีแลนด์มีพระราชบัญญัติป้องกันภัยฝ่าย พลเรือน ค.ศ. ๒๐๐๒ เป็นกฎหมายหลักท่ีใช้ในการตอบโต้สาธารณภัยและเป็นกฎหมายกลาง และยังมี กฎหมายจดั การสาธารณภัยอ่นื โดยเฉพาะอนื่ ๆ อีก เช่นดา้ นแผ่นดนิ ไหวจะมีพระราชบัญญัติบัญชาการเหตุ แผน่ ดินไหว ค.ศ. ๑๙๙๓ (Earthquake Commission Act 1993)(http://www.civildefence.govt.nz, 2005) กรณีสาธารณภัยในการอาคารมีพระราชบัญญัติอาคารของประเทศนิวซีแลนด์น้ันได้บัญญัติถึง วธิ กี ารควบคุมอาคารให้ได้มาตรฐานความปลอดภัยการจัดให้มีเจ้าหน้าท่ีไปดาเนินการตรวจอาคารได้ตาม กฎหมายอาคารน้ันอยู่แล้ว อย่างไรก็ตามบรรดาสาธารณภัยท่ีเกิดขึ้นในอาคารน้ัน ภัยด้านอัคคีภัยน้ันเป็น ภัยที่มีความรุนแรงและสร้างความเสียหายในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนเป็นจานวนมากประเทศ นิวซีแลนด์จึงได้มีกฎหมายป้องกันอัคคีภัยโดยเฉพาะโดยบัญญัติให้มี พระราชบัญญัติจัดการอัคคีภัย ค.ศ. ๑๙๗๕ (Fire Service Act 1975) ใช้บังคับข้ึนอีกโดยที่กฎหมายฉบับน้ีได้บัญญัติให้อาคาร บางประเภททตี่ อ้ งจัดทาแผนอพยพและตอ้ งเสนอแผนอพยพเพ่ือให้เจ้าหน้าที่รัฐอนุมัติทุกครั้ง เช่น อาคาร หรือส่วนหน่ึงส่วนใดของอาคารที่มีวัตถุประสงค์การใช้ทุกประเภทที่มีผู้อยู่อาศัย ๑๐๐ คนขึ้นไป อาคาร หรือส่วนหน่ึงส่วนใดของอาคารท่ีใช้พักอาศัยตั้งแต่ ๕ คนขึ้นไป อาคารหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของอาคารที่ ให้บริการเด็กอ่อน เป็นต้น ซ่ึงรายละเอียดมีบัญญัติไว้ในมาตรา ๒๑เอ ของพระราชบัญญัติดังกล่าว ดังน้ี (www.legislation.govt.nz, n.d.) “21A Relevant building defined for purposes of sections 21B to 21H (1) In sections 21B to 21H, relevant building means a building or part of a building used for 1 or more of the following purposes: (a) the gathering together, for any purpose, of 100 or more persons: (b) providing employment facilities for 10 or more persons: (c) providing accommodation for more than 5 persons (other than in 3 or fewer household units): (d) a place where hazardous substances are present in quantities exceeding the prescribed minimum amounts, whatever the purpose for which the building is used: (e) providing early childhood facilities (other than in a household unit): (f) providing nursing, medical, or geriatric care (other than in a household unit):
๒๗ (g) providing specialised care for persons with disabilities (other than in a household unit): (h) providing accommodation for persons under lawful detention (not being persons serving a sentence of home detention, or community detention, or serving a sentence of imprisonment on home detention, or on parole subject to residential restrictions imposed under section 15 of the Parole Act 2002). (2) However, in sections 21B to 21H, relevant building does not include— (a) a Crown building, or class of Crown building, that is specified by the Minister by notice in the Gazette; or (b) premises of the mission (as defined in Schedule 1 of the Diplomatic Privileges and Immunities Act 1968).” สง่ิ สาคญั ในพระราชบัญญัติน้ีคือ การบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมเมื่อปี ค.ศ. ๒๐๐๕ ให้มีหน่วยงานหรือ เจ้าหน้าที่รัฐนอกจากกฎหมายอาคาร ได้มีอานาจเข้าไปในอาคารเพื่อทาการตรวจสอบอาคารว่าได้มีการ ดาเนนิ การตามแผนอพยพด้านอคั คภี ยั หรือไม่ โดยกาหนดขั้นตอนและวิธีการตรวจของเจ้าหน้าที่ท่ีเรียกว่า นายตรวจหรือพนักงานงานเจ้าหน้าที่ก็ได้ซ่ึงตามตัวบทของกฎหมายนี้ใช้คาว่า National Commander ซึ่งมาตรา ๑๗เอ็ม แห่งพระราชบัญญตั ิน้บี ัญญตั ไิ ว้วา่ คือผู้ซง่ึ เป็นผู้เช่ียวชาญทางด้านการป้องกันและระงับ อัคคีภัยและได้รับการแต่งต้ังจากผู้อานวยการ (Chief executive) ให้ปฏิบัติงานด้านป้องกันและระงับ อัคคีภัย ไปทาการตรวจโดยนายตรวจต้องแจ้งให้เจ้าของอาคารทราบล่วงหน้าก่อนตรวจอย่างน้อย ๒๔ ช่ัวโมง ต้องแสดงตนด้วยในขณะตรวจหรือเม่ือมีการร้องขอให้แสดงตนหรือในเวลาใดๆ ถ้าไปแล้วไม่พบ เจ้าของอาคารกฎหมายก็กาหนดให้ประกาศข้อความติดไว้ให้เห็นเด่นชัดบริเวณอาคารหลังการตรวจ ประกอบด้วยวัน เวลาที่เข้าตรวจ ชื่อและตาแหน่งผู้ตรวจ เหตุผลท่ีตรวจ และท่ีอยู่ผู้ตรวจไว้ด้วย และให้ แจ้งข้อความนี้กับเจ้าของหรือผู้ครอบครองอาคารทราบด้วย โดยมีการบัญญัติไว้ในมาตรา ๒๑เอฟ ของพระราชบญั ญตั ิจัดการอคั คีภยั ค.ศ. ๑๙๗๕ ดังนี้ “21F Powers of entry of National Commander (1) The National Commander may enter a relevant building for the purposes of ascertaining whether, or to what extent, the owner of the building is complying with the requirements of section 21B. (2) The National Commander must— (a) give at least 24 hours’ written notice to the owner and occupier of the building before entering the building; And (b) identify himself or herself when entering the building and, if requested, at any later time (3) If the owner or occupier of the building is not present at the time the National Commander enters and inspects the building, the National Commander must— (a) leave in a prominent location on or in the building a written statement that includes the following information: (i) the time and date of the entry; and
๒๘ (ii) the name of the National Commander (and fact of his or her status); and (iii) the reasons for the entry; and (iv) the address of the National Commander to which enquiries should be made; and (b) take all other reasonable steps to give the information in paragraph (a) to the owner or occupier of the building. (4) In this section and section 21G, National Commander includes any person authorised in writing by the National Commander. Section 21F: inserted, on 1 October 2006, by section 8 of the Fire Service Amendment Act 2005 (2005 No 52). กรณบี ทบัญญตั ิของพระราชบญั ญตั ิจดั การอคั คีภัย ค.ศ. ๑๙๗๕ ที่กล่าวมาข้างต้นน้ันแสดงให้เห็น ได้อย่างแจ้งชัดว่าการป้องกัน ลดความเส่ียงและลดผลกระทบจากสาธารณภัยในอาคารของประเทศ นิวซีแลนด์นั้นให้มีเจ้าหน้าท่ีรัฐจากหลายหน่วยงานตามกฎหมายหลายฉบับเข้าไปตรวจสอบอาคาร เดียวกันได้ เป็นการตรวจสอบถ่วงดุลการใช้อานาจตรวจสอบอาคารซ่ึงกันและกันของเจ้าหน้าท่ีจาก หนว่ ยงานต่างเพื่อผลในการเพิ่มประสทิ ธภิ าพการป้องกัน ลดความเส่ียงและลดผลกระทบจากสาธารณภัย ในอาคารนน่ั เอง ในพระราชบัญญัติจัดการอคั คภี ยั ค.ศ. ๑๙๗๕ ยังให้อานาจในการสง่ั ปดิ อาคารกรณีที่เจ้าของหรือ ผู้ครอบครองอาคารไม่สามารถดาเนินการจัดให้มีแผนการอพยพเมื่อเกิดเพลิงไหม้ที่ได้รับการอนุมัติหรือ เห็นชอบจากหน่วยงานรัฐได้โดยกาหนดให้นายตรวจหรือ National Commander เสนอเร่ืองต่อศาล แขวงเพื่อทาการปิดอาคารดังกล่าวจนกระท่ังดาเนินการให้เป็นไปตามเง่ือนไขท่ีกาหนด โดยกาหนดให้ นายตรวจแจ้งให้เจ้าของอาคารหรือผู้เก่ียวข้องทราบก่อนการเสนอเรื่องต่อศาลอย่างน้อย ๑๐ วัน ทั้งน้ี ก่อนท่ีศาลจะมีคาส่ังประการใดกาหนดให้ศาลต้องรับฟังถ้อยคาทั้งเจ้าของอาคารและนายตรวจและทาให้ แน่ใจว่าเจ้าของอาคารไม่สามารถดาเนินการตามเง่ือนไขที่กาหนดได้จริงจึงจะสั่งปิดอาคาร โดยได้บัญญัติ ไว้ในมาตรา ๒๑จี แห่งพระราชบัญญตั ิจัดการอคั คภี ยั ค.ศ. ๑๙๗๕ ซึ่งมเี นื้อความ ดงั นี้ “21G District Court order closing relevant building (1) If the owner of a relevant building has failed to comply with the requirements of section 21B, the National Commander may apply to a District Court Judge for an order that the building be closed until those requirements are met. (2) The National Commander must give the owner concerned at least 10 days' written notice before applying for an order. (3) Before making an order, the District Court Judge must— (a) conduct a hearing, and give the National Commander and the owner of the building an opportunity to be heard; and (b) be satisfied that the owner has failed to comply with the requirements of section 21B.” Section 21G: inserted, on 1 October 2006, by section 8 of the Fire Service Amendment Act 2005 (2005 No 52).
๒๙ ๒.๔ งานวจิ ยั ทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั การตรวจสอบถว่ งดลุ อานาจของเจ้าหนา้ ทรี่ ฐั และการป้องกนั และลดผลกระทบจากสาธารณภัยในอาคาร ๒.๔.๑ งานวจิ ัยทเ่ี กย่ี วข้องกับการตรวจสอบถ่วงดลุ อานาจของเจ้าหนา้ ทีร่ ัฐ สัณฐิติ ธรรมใจ นักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชานิติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรุ กจิ บัณฑิตย์ ไดท้ าวิทยานิพนธ์ศึกษาวจิ ัยการตรวจสอบถว่ งดุลและการร่วมในการใช้อานาจ ของเจา้ หน้าที่รัฐในเร่อื งเดียวกันหรือเร่ืองเกี่ยวข้องกันโดยหน่วยงานหลายหน่วยงานหรือจากเจ้าหน้าที่รัฐ จากหลายหน่วยงาน โดยได้ศึกษาวิจัยในเรื่องการไกล่เกลี่ยคดีอาญา : ศึกษาเฉพาะการยุติคดีอาญาโดย นายอาเภอ โดยทาการศึกษาว่าการท่ีนายอาเภอเข้าไปมีส่วนร่วมในการยุติคดีอาญาเพ่ิมเติมจากเดิมซึ่งมี เพยี งพนักงานสอบสวนฝ่ายตารวจจากสถานีตารวจแห่งท้องท่ีเท่าน้ันท่ีมีอานาจดาเนินการจัดการคดีก่อน นาคดีขึ้นสู่ศาลโดยผ่านพนักงานอัยการ ซึ่งผลการศึกษาในสาระสาคัญพบว่าการให้หน่วยงานอื่นๆ ต่าง หนว่ ยงานเขา้ ไปมบี ทบาทและมีส่วนร่วมในการจัดการในเรื่องเดียวกันจะเป็นการเพ่ิมประสิทธิภาพในการ ทางาน กล่าวคือนอกจากจะเป็นการช่วยแบ่งเบาภาระงานในหน้าท่ีของหน่วยงานหลักหรือหน่วยงานเดิม แล้วยังไม่การช่วยตรวจสอบถ่วงดุลให้การใช้อานาจของหน่วยงานรัฐในเรื่องเดียวกันน้ันมีประสิทธิภาพ ซึ่งในวิทยานิพนธ์ฉบับดังกล่าวพบว่าสามารถช่วยลดจานวนคดีขึ้นสู่ศาลได้เป็นจานวนมากในแต่ละปี (สณั ฐติ ิ ธรรมใจ, ๒๕๕๓) ๒.๔.๒ งานวจิ ยั ทีเ่ ก่ียวข้องกับการป้องกนั และลดผลกระทบจากสาธารณภัยในอาคาร นายณัฐวุฒิ สติใหม่ นักศึกษาหลักสูตรปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต การบริหารงาน ก่อสร้างและสาธารณูปโภค สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา สานักวิชาวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี สุรนารี ได้ทาการศึกษาวิจัยเรื่อง ปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ พน้ื ที่ศึกษาเขตองค์การบริหารส่วนตาบลสีมุม อาเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา โดยได้ศกึ ษาปัญหาและอุปสรรค ความต้องการและข้อเสนอแนะ ในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติควบคุม อาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ พ้ืนท่ีศึกษาองค์การบริหารส่วนตาบลสีมุม อาเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัด นครราชสีมา เพอื่ นาผลการศกึ ษาทไ่ี ด้ ใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงและเพ่มิ ประสิทธิภาพในการบังคับใช้ กฎหมาย ของเจ้าหน้าทีร่ ัฐผู้บังคับใช้กฎหมาย และเป็นแนวทางในการลดปัญหา อุปสรรค การปฏิบัติตาม กฎหมายของประชาชน โดยทาการศึกษาจากเจ้าหน้าท่ีรัฐและประชาชนในพ้ืนที่ศึกษา จานวนรวม ๑๗๓ ตัวอย่าง ในประเด็นความรู้พื้นฐานพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ ระดับการปฏิบัติ ระดับ ความตอ้ งการและข้อเสนอแนะในการปฏบิ ัตติ ามพระราชบัญญตั คิ วบคมุ อาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ ผลการศึกษา สามารถสรุปได้ว่า เจ้าหน้าที่รัฐมีความรู้ไม่เพียงพอในการบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุม อาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่มีการประชาสัมพันธ์กฎหมาย ขั้นตอน บทลงโทษ วิธีการ ปฏิบัติที่ชัดเจน ผู้ศึกษามีข้อเสนอแนะว่าควรส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่ศึกษากฎหมายให้เกิดความเข้าใจอย่าง แทจ้ ริง รวมทั้งการประชาสัมพันธ์กฎหมาย ข้ันตอน บทลงโทษ วิธีการปฏิบัติที่ชัดเจนและต่อเนื่อง จะทา ให้ประชาชนสามารถปฏิบัติตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ ได้อย่างถูกต้อง (ณัฐวุฒิ สติใหม่, ๒๕๕๖)
บทที่ ๓ วธิ ดี ำเนนิ กำรวจิ ัย ในการศึกษาวิจัยคร้ังนี้ เป็นการศึกษาเร่ืองการป้องกันและระงับสาธารณภัยในอาคารสูงและ อาคารท่ีมีผู้อาศัยหนาแน่น กรณีศึกษา : แนวทางการตรวจสอบอาคารตามพระราชบัญญัติป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการวิจัยเอกสาร (Documentary Research) โดยมรี ายละเอียด ดงั นี้ ๓.๑ ประชำกรและตัวอยำ่ ง เป็นการศึกษาเป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการวิจัยเอกสาร (Documentary Research) เพื่อศึกษากฎหมายและการบังคับใช้กฎหมายท่ีเก่ียวกับการป้องกันและระงับสาธารณภัยในอาคารโดย ศึกษาจากประชากร คือ เจ้าพนักงานหรือเจ้าหน้าที่ส่วนราชการการบริหารการปกครองส่วนท้องถ่ิน ประเภทองคก์ ารบริหารส่วนตาบล เทศบาลทุกประเภท เมืองพัทยา กรุงเทพมหานคร กรมโยธาธิการและ ผังเมือง และกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ท่ัวประเทศไทย ส่วนกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาวิจัยน้ัน เนื่องจากการศึกษาวิจัยนี้เป็นการศึกษาวิจัยทางกฎหมายโดยศึกษาบทบัญญัติทางกฎหมายจากเอกสาร ต่างๆ จึงไมไ่ ด้เนน้ หรอื กาหนดกลุ่มตัวอยา่ งของประชากรแตอ่ ยา่ งใด ๓.๒ ขอบเขตและพน้ื ทก่ี ำรศกึ ษำ ทาการศกึ ษาแนวคดิ ทฤษฎีและระเบียบกฎหมายทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับการปอ้ งกันและระงับสาธารณภัย ในอาคารในประเทศไทยตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน และทาการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี ระเบียบกฎหมาย ตลอดจนแนวทางและวธิ กี ารปอ้ งกันและระงับสาธารณภัยในต่างประเทศบางประเทศ เพ่ือนามาวิเคราะห์ เป็นแนวทาง และเป็นตัวอย่างในการเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับการ ปอ้ งกันและระงับสาธารณภัยในประเทศไทย ๓.๓ ข้ันตอนกำรเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู และเครอื่ งมือท่ีใชใ้ นกำรศกึ ษำ ๓.๓.๑ ทาการศึกษาค้นคว้ายังห้องสมุด หนังสือคู่มือการปฏิบัติงานของข้าราชการกรมป้องกันและ บรรเทาสาธารณภยั และสอ่ื อิเล็คทรอนคิ ส์ ดงั น้ี ๑) แนวความคิดและทฤษฎีการใช้อานาจรัฐในการปอ้ งกนั และลดผลกระทบจากสาธารณภยั ในอาคารสงู และอาคารท่ีมผี ู้อาศัยหนาแน่น ประกอบด้วยแนวความคิดการคุ้มครองสทิ ธิการมีชีวติ อยขู่ อง ประชาชน หลักสามารถตรวจสอบได้ แนวความคดิ การตรวจสอบถ่วงดลุ และแนวคิดอรรถประโยชน์นยิ ม ๒) ระเบียบกฎหมายในประเทศไทยที่นามาศึกษาวิจัย ดังต่อไปนี้คือ พระราชบัญญัติป้องกัน และระงับอัคคีภัย พ.ศ. ๒๕๔๒ พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ พระราชบัญญัติป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พระราชบัญญัติตารวจ แหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗ และพระราชบัญญตั ิการสอบสวนคดพี เิ ศษ พ.ศ. ๒๕๔๗ ๓) กฎหมายและวิธีการเก่ียวกับการตรวจสอบถ่วงดุลการใช้อานาจของเจ้าหน้าที่รัฐจาก ต่างประเทศท่ีนามาศึกษาวิจัย จานวน ๒ ประเทศ คือ ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศฟิลิปปินส์ และประเทศนวิ ซีแลนด์ ๔) งานวิจัยท่เี ก่ยี วข้องกับการตรวจสอบถ่วงดุลอานาจของเจ้าหน้าท่ีรัฐและงานวิจัยเก่ียวกับ การป้องกันและลดผลกระทบจากสาธารณภัยในอาคาร
๓๑ ๓.๓.๒ สรปุ สาระสาคญั ของแนวคิดสิทธิการมีชีวิต หลักสามารถตรวจสอบได้ แนวคิดการตรวจสอบ ถว่ งดลุ และแนวคดิ อรรถประโยชนน์ ิยม ๓.๓.๓ นาระเบียบกฎหมายท่คี น้ คว้ามาได้ มาคดั เลือกบทบัญญตั ิมาตราท่ีเกีย่ วขอ้ งและจาเป็นในการ วิเคราะห์มารวบรวม ๓.๓.๔ สรุปสาระสาคัญของแนวทางการตรวจสอบถ่วงดุลการใช้อานาจของเจ้าหน้าที่รัฐในประเทศ สหรัฐอเมริกา ประเทศฟลิ ปิ ปนิ ส์ และประเทศนิวซีแลนด์ ๓.๓.๕ สรุปสาระสาคัญผลงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการตรวจสอบถ่วงดุลอานาจของเจ้าหน้าท่ีรัฐและ งานวิจยั เก่ยี วกับการป้องกันและลดผลกระทบจากสาธารณภัยในอาคาร ๓.๓.๖ นาสรปุ สาระสาคญั และระเบียบกฎหมายทเ่ี ก่ียวข้องนาเสนอลงในบทท่ี ๒ ของงานวิจยั ฉบับนี้ ๓.๓.๗ ทาการวิเคราะห์ปัญหาและสถานการณ์ปัจจุบันพร้อมด้วยแนวคิดและระเบียบกฎหมายที่ เก่ยี วขอ้ งเพ่อื ตอบคาถามสาหรบั งานวจิ ยั ซ่ึงจะกลา่ วในขอ้ ๓.๔ ๓.๓.๘ สรปุ ผลทีไ่ ดจ้ ากการวิจัยนาเสนอในบทที่ ๕ ของงานวจิ ยั ฉบบั นี้ ๓.๔ วิธีกำรวิเครำะห์ขอ้ มูล ผู้ศึกษาวิจัยนาข้อมูลท่ีได้จากการรวบรวม แยกแยะ จัดเรียง สรุปและนาเสนอในบทท่ี ๑ ซ่ึงเป็น เร่ืองปัญหาและสถานการณ์ท่ีเป็นอยู่ในปัจจุบันและบทท่ี ๒ ซ่ึงเป็นเร่ืองของแนวคิด ทฤษฎี ระเบียบ กฎหมาย กรณศี กึ ษาจากตา่ งประเทศ ตลอดจนงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง มาเป็นข้อมูลในการวิเคราะห์เพ่ือตอบ คาถามสาหรับงานวจิ ัย วา่ จะมีแนวทางในการปรับแก้ไขหรือแนวทางในการใช้พระราชบัญญัติป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ ในการควบคุมและตรวจสอบอาคารเพ่ือป้องกันและระงับสาธารณภัยใน อาคารสูงหรืออาคารท่ีมีผู้อาศัยหนาแน่นอย่างไร และจะนาแนวคิดการตรวจสอบถ่วงดุลหรือแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง มาช่วยเสริมประสิทธิภาพการควบคุมอาคารได้อย่างไร โดยนาเสนอในบทท่ี ๔ และ สรปุ ผลที่ไดจ้ ากการศกึ ษาวจิ ัยในบทที่ ๕ ของรายงานศกึ ษาวจิ ัยฉบับน้ี
บทที่ ๔ การวิเคราะห์ข้อมลู การป้องกันและลดผลกระทบจากสาธารณภัยในอาคารสูงหรืออาคารที่มีผู้อยู่อาศัยหนาแน่น ด้วย วธิ ีการทางกฎหมายน้ันถอื เป็นการดาเนินการในขั้นตอนของการจัดการก่อนเกิดภัยในเรื่องของการป้องกัน (Prevention) ในนโยบายการจัดการสาธารณภัย 2P2R ของรัฐบาล กระทรวง และกรมป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย ซ่ึงหมายถึง P1 : Prevention การป้องกัน P2 : Preparedness การเตรียมความ พร้อม R1 : Response การรับมือ และ R2 : Recovery การฟืน้ ฟนู ัน่ เอง ทั้งนี้หากสามารถจัดการป้องกัน ได้ดีย่อมส่งผลทาให้หลีกเลี่ยงการเกดิ ภัย หลกี เลย่ี งหรือลดความสูญเสยี ชวี ิตและทรัพย์สินของประชาชนได้ ซ่ึงวิธีการทาง กฎหมายนั้นถือวิธีการหลักวิ ธีการหนึ่งใน แ นวทางและข้ันตอน การลดความเส่ียงจา ก สาธารณภัย (Disaster Risk Reduction) ท้ังในระดับระหว่างประเทศ คือ กรอบการดาเนินงานเฮียวโกะ (Hyogo Framework for Action, HFA) ซึ่งดาเนินการโดยสานักงานเพ่ือการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ แห่งสหประชาชาติ (United Nations Office for Disaster Risk Reduction, UNISDR) และระดับ ภูมิภาค ซึ่งได้แก่ ความตกลงอาเซียนว่าด้วยการจัดการสาธารณภัยและการตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉิน ( ASEAN Agreement on Disaster Management and Emergency Response, AADMER) (กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย, ๒๕๕๖, น. ๖) ดงั นัน้ การป้องกันและลดผลกระทบจากสาธารณภัย ด้วยวิธกี ารทางกฎหมายจึงนา่ จะเป็นวิธกี ารทสี่ าคัญมากวธิ กี ารหน่งึ ท่ีจะมีส่วนทาให้การจัดการสาธารณภัย มปี ระสทิ ธิภาพได้ รายงานการศกึ ษาวจิ ัยฉบับนี้สามารถตอบคาถามของรายงานการศึกษาวิจัยฉบับน้ีได้อย่างชัดเจน ว่าสามารถนาแนวคิดการตรวจสอบถ่วงดุลหรือแนวคิด ทฤษฎีที่เก่ียวข้อง มาช่วยเสริมประสิทธิภาพการ ควบคุมอาคารได้ด้วยวิธีการแก้ไขกฎหมายให้หน่วยงานอื่นมีอานาจตรวจสอบอาคารได้นอกจาก เจ้าพนักงานท้องถ่ินตามกฎหมายควบคุมอาคาร โดยมีแนวทางในการปรับแก้ไขหรือแนวทางในการใช้ พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ ในการควบคุมและตรวจสอบอาคารเพื่อ ป้องกันและระงับสาธารณภัยในอาคารสูงหรืออาคารที่มีผู้อาศัยหนาแน่น จะนาเสนอแนวทางการแก้ไข กฎหมายว่าด้วยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเพื่อช่วยป้องกันลดความเส่ียง และลดผลกระทบจาก สาธารณภัยในอาคารสงู หรอื อาคารท่ีมีผูอ้ ยูอ่ าศยั หนาแนน่ โดยมรี ายละเอียด ดงั น้ี ๔.๑ การนาแนวคดิ การตรวจสอบถว่ งดุลหรอื แนวคดิ ทฤษฎีทเ่ี กย่ี วข้อง และระเบยี บ กฎหมายท้งั ในประเทศไทยและตา่ งประเทศมาเปน็ เครอ่ื งมือในการเพมิ่ ประสิทธิภาพ การควบคุมอาคาร การรวมตัวกันอยู่ในสังคมทกุ สังคมโดยเฉพาะสงั คมอารยะที่มีการจดั รูปแบบเป็นรัฐแล้วน้ัน ทุกคน จะได้มีสิทธิพื้นฐานส่ิงหนึ่งที่ถือว่าเป็นสิทธิท่ีสาคัญมาก นั่นคือสิทธิการมีชีวิตอยู่ (Right to Life) ในสังคม ท่มี คี วามเจริญทางด้านวัตถุ และมีผู้คนอยู่หนาแน่นย่อมหลีกเล่ียงไม่ได้ที่จะไม่มีการก่อสร้างอาคารสูงหรือ อาคารท่ีมีไว้ทากิจกรรมต่างๆ ร่วมกันของคนหมู่มาก อาคารที่ใช้รองรับการทากิจกรรมหรืออยู่อาศัยของ ผู้คนเหล่านี้จึงต้องมั่นคงแข็งแรงรองรับการทากิจกรรมของคนเหล่าน้ีได้อย่างปลอดภัย แม้ความ รับผิดชอบในการจัดให้มีอาคารท่ีม่ันคงแข็งแรงจะตกอยู่กับผู้ก่อสร้าง ผู้ออกแบบ ผู้ควบคุมงาน เจ้าของ ผู้ครอบครองหรือผู้ใช้อาคารเป็นหลัก เม่ืออาคารถล่มหรือเกิดเพลิงไหม้บุคคลเหล่าน้ีก็อาจต้องรับผิดตาม กฎหมายควบคุมอาคาร แต่เม่ือมองในมุมของประชาชนผู้เข้าไปใช้อาคารเหล่าน้ันกลับเป็นคนท่ีไม่มีส่วน รู้เหน็ กับผู้ก่อสร้างหรือผู้ใช้อาคารสูงหรืออาคารท่ีมีผู้อยู่อาศัยหนาแน่นท่ีก่อสร้างผิดแบบหรือผิดกฎหมาย
๓๓ เหล่านั้น แต่พวกเขากลับต้องมาเส่ียงต่อสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินจากการท่ีเข้าไปใช้อาคารที่ไม่ม่ันคง แข็งแรงนั้น ซ่ึงเป็นการไม่เป็นธรรมต่อผู้เข้าไปใช้อาคารดังกล่าว เป็นการฝ่าฝืนและเป็นการไม่ได้คุ้มครอง สิทธกิ ารมีชีวติ อยขู่ องผคู้ นทเี่ ข้าไปอย่หู รอื เขา้ ไปใช้อาคารอย่างรุนแรง รัฐต้องตระหนักถึงการมีอยู่ของสิทธิ การท่ีบุคคลจะมีชีวิตอยู่นี้ให้มาก บุคคลในรัฐย่อมมีสิทธิท่ีจะอยู่หรืออาศัยหรือร่วมกิจกรรมใดๆ ในอาคาร หรือสถานท่ีท่ีมีความมั่นคงปลอดภัยปราศจากความสั่งต่อการเกิดภัยต่างๆ อันเน่ืองมาจากอาคาร เช่น อาคารถลม่ ไฟไหม้ เปน็ ตน้ การทรี่ ฐั จะออกกฎหมายใดๆ เพื่อคุ้มครองสิทธิพ้ืนฐานที่สาคัญนี้ย่อมเป็นสิ่งท่ี ควรกระทาอย่างยิ่ง ในการน้ีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยก็ได้บัญญัติให้รัฐต้องคุ้มครองสิทธิการมี ชีวิตอยขู่ องประชาชนไวห้ ลายมาตราดว้ ยกัน โดยเฉพาะมาตรา ๓๒ ทรี่ ะบุถงึ การมสี ิทธิเสรีภาพในชีวิตและ ร่างกายของบุคคล และมาตรา ๓๓ ท่ีบัญญัติให้รัฐยอมรับการมีเสรีภาพของบุคคลท่ีจะอยู่ในเคหสถาน อย่างปกติสุข กรณีเป็นส่ิงที่บ่งบอกได้ว่าการจัดให้มีการคุ้มครองชีวิตคนให้ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน เป็นแนวนโยบายของรัฐทจ่ี าตอ้ งดาเนนิ การ ปจั จุบันมกี ฎหมายท่กี าหนดเปน็ กติกาควบคุมการกอ่ สร้างและการใช้อาคารสูงหรืออาคารท่ีมีผู้อยู่ อ า ศั ย ห น า แ น่ น เ พื่ อ ล ด ค ว า ม เ ส่ี ย ง จ า ก ก า ร เ กิ ด ส า ธ า ร ณ ภั ย มี เ พี ย ง พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ค ว บ คุ ม อ า ค า ร พ.ศ. ๒๕๒๒ และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม ส่วนพระราชบัญญัติป้องกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งเป็น กฎหมายอีกฉบับหน่ึงที่ให้อานาจเจ้าหน้าที่รัฐเข้าไปตรวจสอบอาคารเพื่อป้องกันอัคคีภัยได้ถูกยกเลิกไป โดยพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ ซ่ึงในขณะยกร่างกฎหมายเพ่ือยกเลิก พระราชบัญญัติป้องกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ. ๒๕๔๒ ในชั้นการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา ได้ให้เหตุผลของการยกเลิกในทานองว่ามีหน่วยงานที่ไปตรวจสอบอาคารหลายหน่วยงานท้ังท่ีเป็น หนว่ ยงานตามกฎหมายควบคุมอาคารซงึ่ เป็นหน่วยงานด้านโยธา และหน่วยงานตามกฎหมายป้องกันและ ระงับอัคคีภัยซึ่งเป็นหน่วยงานด้านป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยไปตรวจสอบ ซึ่งอาจเป็นการซ้าซ้อน ทางภารกิจและเป็นการสร้างภาระให้กับประชาชนเกินสมควร การยกเลิกพระราชบัญญัติป้องกันและ ระงับอัคคีภัย พ.ศ. ๒๕๔๒ ส่งผลให้มีหน่วยงานท่ีใช้อานาจทางปกครองในการควบคุมและตรวจสอบการ ก่อสร้างและการใช้อาคารเพียงแค่หน่วยงานทางโยธาของท้องถ่ินเพียงอย่างเดียว (ยกเว้นโรงมหรสพท่ีให้ อานาจส่วนกลาง คือกรมโยธาธิการและผังเมืองโดยอธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมืองเป็นผู้ใช้อานาจ) ซ่ึงตามกฎหมายควบคุมอาคารระบุไว้ว่าอานาจในการอนุญาตให้ก่อสร้างอาคารเป็นอานาจของ เจ้าพนักงานท้องถิ่น ซึ่งหมายถึงผู้บริหารท้องถ่ิน เช่น ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นายกเทศมนตรี นายกองค์การบริหารส่วนตาบล เป็นต้น และให้มีนายตรวจ ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ส่วนท้องถ่ินท่ีมักจะเป็นงาน ด้านโยธา ไปทาการตรวจสอบการก่อสรา้ งและการใช้อาคาร ดว้ ยความที่มีเพียงหน่วยงานเดียวที่ใช้อานาจ ในทางปกครอง ทาให้ขาดการตรวจสอบจากหน่วยงานอ่ืนๆ ท้ังก่อน ขณะ และหลังการก่อสร้างอาคาร อาจเป็นเหตุให้ผู้ใช้อานาจทางปกครองในด้านการอนุญาตให้ก่อสร้างและให้ใช้อาคารขาดความรอบคอบ และระมดั ระวังในการใช้อานาจ และมแี นวโนม้ ในการปล่อยปละละเลยไมใ่ ส่ใจในการตรวจสอบอาคารหลัง การก่อสร้างและระหว่างการใช้อาคาร ทาให้ผู้ประกอบการบางรายท่ีไม่รับผิดชอบต่อสังคม ทาการ ดัดแปลงอาคารโดยผิดกฎหมายนาไปสู่ความเส่ียงในการเกิดสาธารณภัย เช่น การดัดแปลงอาคารที่พัก อาศยั ไปทาเปน็ สถานบริการโดยไม่ได้รับอนญุ าตและจดั การเรอื่ งทางหนไี ฟและการระบายอากาศไม่เป็นไป ตามกฎหมาย นาส่วนของท่ีจอดรถในอาคารทุบทาเป็นห้องโถงจัดเล้ียง เป็นต้น เม่ือเกิดไฟไหม้ในอาคารที่ ไม่จัดให้เป็นไปตามกฎหมายดังกล่าวอาจเป็นเหตุให้เกิดความสูญเสียท้ังชีวิตและทรัพย์สินของคนท่ีเข้าไป อาศัยอยู่ในอาคารดังกล่าว โดยท่ีปรากฏข่าวสารอยู่บ่อยคร้ังที่มีเหตุเพลิงไหม้ในอาคารสูงหรืออาคาร โรงแรมทาใหค้ นเสียชวี ติ และได้รับบาดเจบ็ ดังท่ีได้นาเสนอมาแล้วในบทที่ ๑ กรณีน้ีสาเหตุส่วนหน่ึงมาจาก
๓๔ การที่เจ้าหน้าท่ีส่วนท้องถิ่นท่ีมีหน้าท่ีใช้อานาจทางปกครองในการอนุญาตก่อสร้างและควบคุมการใช้ อาคารมีจานวนไม่เพียงพอต่อการตรวจตราอาคารซ่ึงมีเป็นจานวนมาก ดังจะเห็นได้จากจากสถิติของ กรุงเทพมหานครที่พบว่าเฉพาะในเขตกรุงเทพมหานคร มีอาคารที่เส่ียงต่อการเกิดสารณภัยถึง ๑๒,๐๐๐ แห่ง ซ่ึงถือว่ามีจานวนมากและยากท่ีเจ้าหน้าที่ส่วนท้องถ่ินเพียงลาพังจะทาการตรวจตราควบคุมได้อย่าง ท่ัวถึง อีกทั้งการศึกษาวิจัยบางฉบับ เช่น งานวิจัยของนายณัฐวุฒิ สติใหม่ นักศึกษาหลักสูตรปริญญา วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต การบริหารงานก่อสร้างและสาธารณูปโภค สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา สานักวชิ าวิศวกรรมศาสตร์มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยสี รุ นารี ทาการศกึ ษาพบว่าเจ้าหนา้ ทีส่ ่วนท้องถ่ินจานวน มากไมม่ คี วามรคู้ วามเข้าใจในการบังคับใชพ้ ระราชบัญญตั คิ วบคมุ อาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม นอกจากนี้ยังพบว่าแม้ประเทศนิวซีแลนด์ซึ่งเป็นอารยประเทศนอกจากจะมีกฎหมายอาคาร กฎหมาย ป้องกนั ภยั ฝา่ ยพลเรือนแลว้ กย็ งั ไมย่ กเลกิ กฎหมายจัดการอัคคีภัยซ่ึงเป็นกฎหมายหลักอีกฉบับหน่ึงท่ีใช้ใน การควบคุมอาคารเพ่ือป้องกันเหตุอัคคีภัยและบัญญัติให้มีนายตรวจไปตรวจอาคารได้ โดยที่ไม่ได้ยกเลิก เหมือนกฎหมายป้องกันและระงับอัคคีภัยในประเทศไทยแต่อย่างใด ซ่ึงกฎหมายจัดการอัคคีภัยที่กล่าวนี้ คือ Fire Service Act 1975 หรือถ้าเทียบแล้วกฎหมายนี้ประเทศนิวซีแลนด์ใช้บังคับมาต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๘ ซึง่ ถือว่าเป็นกฎหมายใชบ้ ังคับมานานแลว้ กต็ ามแตป่ ระเทศนิวซีแลนด์ยังเห็นความสาคัญของ กฎหมายฉบับน้ีในการช่วยให้การป้องกันอัคคีภัยในอาคารมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยไม่ยกเลิกไปเหมือน พระราชบัญญตั ิป้องกนั และระงบั อัคคภี ัย พ.ศ. ๒๕๔๒ ของประเทศไทยแตอ่ ยา่ งใด ปัญหาการขาดความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าท่ีท้องถิ่น การมีเจ้าหน้าที่กากับดูแล ตรวจสอบ อาคารขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินไม่เพียงพอ และการขาดการตรวจสอบการใช้อานาจการอนุญาต กอ่ สรา้ งและควบคุมการใช้อาคารของเจ้าหน้าท่ีส่วนท้องถ่ิน ทั้ง ๓ ประการนี้ ถือว่าเป็นสาเหตุสาคัญที่ทา ให้มีการกระทาผิดกฎหมายควบคุมอาคารจานวนมาก ทาให้อาคารมีความเสี่ยงต่อการเกิดเพลิงไหม้และ สาธารณภยั อน่ื ๆ ส่งผลโดยตรงให้ประสทิ ธิภาพในการปอ้ งกนั และลดผลกระทบจากการเกิดสาธารณภัยใน อาคารโดยเฉพาะอาคารสงู และอาคารท่มี ีผอู้ ย่อู าศัยหนาแนน่ ดว้ ยการใชม้ าตรการทางกฎหมายอยู่ในระดับ ตา่ อย่างไรก็ตามกรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยซึ่งเป็นหน่วยงานกลางในภารกิจป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย ไม่ได้มอี านาจในการบังคบั ใชพ้ ระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม การท่ีจะเป็นผู้ริเร่ิมในการแก้ไขกฎหมายดังกล่าวน้ีจึงเป็นสิ่งที่เกิดข้ึนได้ยาก แต่การคุ้มครองชีวิตของ ประชาชนตามสิทธิขั้นพ้ืนฐาน ที่จะไม่ถูกไฟครอกเสียชีวิตจากการเข้าไปเที่ยวสถานบริการหรือเข้าพัก อาศัยในโรงแรมท่ีดัดแปลงผิดกฎหมายควบคุมอาคารโดยที่เขาไม่ได้เป็นผู้ก่อให้เกิดข้ึน จึงเป็นภารกิจ เร่งด่วนที่มิอาจรอได้ จึงเห็นควรหาแนวทางแก้ไขกฎหมายท่ีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยถืออยู่ นั่นคือพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ ให้มีผลบังคับในเชิงให้อานาจ เจ้าหน้าที่จากส่วนกลางมีอานาจเข้าไปตรวจสอบและดาเนินคดีอาญา จากความผิดในการใช้อาคาร หลังจากท่ีเจ้าพนักงานส่วนท้องถ่ินอนุญาตให้ก่อสร้างอาคาร เพ่ือเป็นการป้องกัน ลดความเสี่ยงและลด ผลกระทบจากการเกดิ สาธารณภัยในอาคารได้ โดยเน้นท่ีการตรวจสอบอาคารสูงและอาคารท่ีมีผู้อยู่อาศัย หนาแน่น เช่น สถานบริการ โรงภาพยนตร์ อาคารแสดงสินค้า เป็นต้น เพราะอาคารเหล่าน้ีมักจะมี ประชาชนที่ไม่ทราบข้อเท็จจริงถึงความเสี่ยงท่ีเกิดข้ึนในอาคารเข้าไปใช้บริการหรืออยู่อาศัยจานวนมาก หากเกิดเหตุสาธารณภัยในอาคารดังกล่าวจะทาให้เกิดความสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน จานวนมากกว่าอาคารประเภทอ่ืนๆ อีกทั้งยังเป็นการจากัดอานาจเจ้าหน้าที่จากส่วนกลางท่ีให้มีอานาจ ดา เ นิน ก าร ต รว จ ส อ บ เฉ พ าะ อ าค า รท่ี จ าเ ป็ นใ น กา ร คุ้ม ค รอ ง ชี วิ ต ขอ ง ปร ะ ช า ช นโ ด ยทั่ ว ไป เ ท่า นั้ น
๓๕ มิได้ประสงค์จะก้าวล่วงเข้าไปตรวจสอบการใช้อานาจของเจ้าพนักงานท้องถ่ินท้ังหมดจนสูญเสียหลักการ กระจายอานาจสทู่ อ้ งถ่ินแต่อย่างใด สาหรับประเดน็ ท่เี คยมกี ารกลา่ วในชั้นการพิจารณากฎหมายของคณะกรรมการกฤษฎีกาท่ีว่า การ มเี จา้ หนา้ ท่ีรฐั หลายหนว่ ยงานเขา้ ไปตรวจสอบอาคารอันเป็นการสร้างภาระให้กับประชาชนเกินสมควรนั้น ผู้ศึกษาเห็นว่าเป็นการให้ความเห็นท่ีไม่รอบด้าน กล่าวคือ จริงอยู่ท่ีการตรวจอาคารหลายครั้งโดยหลาย หน่วยงานจะทาใหเ้ จา้ ของอาคารมคี วามย่งุ ยากบ้าง แต่เมื่อเทียบความยุ่งยากดังกล่าวของเจ้าของหรือผู้ใช้ อาคารโดยเฉพาะอาคารสถานบริการ อาคารโรงแรม อาคารศูนย์ประชุม กับความสูญเสียชีวิตของ ประชาชนจานวนมากที่เข้าไปอยู่ในอาคารดังกล่าวเน่ืองจากเพลิงไหม้หรืออาคารถล่มอันเนื่องมาจากการ ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามกฎหมายดา้ นการควบคุมอาคารและป้องกันอัคคีภัยและสาธารณภัยประเภทอ่ืนน้ันเทียบกัน ไม่ได้เลย เพื่อประโยชน์และความปลอดภัยของคนหมู่มากในสังคม เจ้าของหรือผู้ใช้อาคารประเภท ดังกล่าวอาจต้องเสียสละความสุขสบายและถูกกระทบสิทธิบ้างในกรณีท่ีมีผู้ตรวจสอบจากกหลาย หน่วยงานไปตรวจสอบอาคารของตนหลายคร้ังดังที่คณะกรรมการกฤษฎีกาห่วงใย แต่เพ่ือผลประโยชน์ หลักของผ้คู นส่วนใหญ่ในสังคม นั่นคือก่อให้เกิดความผาสุกและเกิดความสงบเรียบร้อยและปลอดภัยของ คนในสังคมซ่ึงเป็นผู้ใช้หรือเอาชีวิตไปอาศัยในอาคารของตนจานวนมาก ซ่ึงเป็นไปตามหลักการแห่ง แนวคิดอรรถประโยชน์นิยม (Utilitarianism) ท่ีมองว่ากฎหมายต่างๆ ย่อมจะถูกบัญญัติขึ้นมาเพื่อให้เกิด ประโยชน์มากท่ีสุดแก่คนจานวนมากที่สุด (Greatest Happiness for the Greatest Number) ดังนั้น การท่ีมีกฎหมายหลายฉบับให้อานาจเจ้าหน้าท่ีรัฐในการตรวจสอบอาคารเพ่ือป้องกัน ลดความเส่ียงและ ลดผลกระทบจากสาธารณภัยที่จะเกิดกบั ประชาชนส่วนใหญ่ จึงมิใช่เรื่องเสียหายแต่อย่างใดหากกฎหมาย เหล่านั้นจะช่วยก่อให้เกิดความสงบเรียบร้อยและความปลอดภัยของประชาชน อีกท้ังการมีผู้ตรวจสอบ อาคารจากหน่วยงานอื่นนอกเหนือจากเจ้าหน้าท่ีจากองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิ นแล้วยังคือเป็นการ ตรวจสอบถ่วงดุลการใช้อานาจทางปกครองของเจ้าหน้าทร่ี ฐั มิใหใ้ ช้อานาจไปในทางอาเภอใจที่ผิดกฎหมาย และคอยตรวจสอบมิให้มีการรับผลประโยชน์ที่มิชอบเพื่อแลกกับการปล่อยปละละเลยให้มีการกระทาผิด กฎหมายเก่ียวกับการป้องกันและลดผลกระทบจากสาธารณภัยในอาคาร อันเป็นสาเหตุหลักของการเกิด ความสูญเสยี จากสาธารณภัย จะทาให้ผู้ใช้อานาจมีความรอบคอบ ระมัดระวังการใช้อานาจมากข้ึน จะทา ให้อัตราการกระทาผิดกฎหมายควบคุมอาคารและกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและลดผลกระทบจาก สาธารภัยในอาคารลดลง เป็นไปตามหลักการของแนวคิดการตรวจสอบถ่วงดุล (Check and Balance) ที่เชื่อว่าการใช้อานาจรัฐท่ีมีการตรวจสอบและถ่วงดุลจะทาให้การใช้อานาจมีประสิทธิภาพและเกิด ประโยชน์ต่อชาติและประชาชนมากข้ึน ซ่ึงสอดคล้องกับแนวความคิดท่ีว่าการปฏิบัติหน้าที่ไม่ว่าหน้าท่ีใด ต้องสามารถตรวจสอบได้ (Accountability) เสมอเพราะการเปิดโอกาสให้ตรวจสอบเป็นการช่วยลดความ ผดิ พลาดในการใชอ้ านาจของเจ้าหน้าที่ด้วย เพราะเพ่ือพบความผิดพลาด เช่น พบว่าการตรวจอาคารยังมี ขอ้ บกพร่องของเจา้ พนักงานส่วนท้องถิ่น ไม่ว่าจะด้วยความเผอเรอหรือจงใจ เมื่อเจ้าหน้าที่จากหน่วยงาน อ่ืนพบความผิดพลาดซึ่งอาจเป็นความผิดพลาดที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดสาธารณภัยสูงก็สามารถสั่งให้ แก้ไขให้ถูกต้องก่อนที่จะเกิดสาธารณภัยข้ึนได้ อย่างไรก็ตามหลักการตรวจสอบถ่วงดุลและหลักสามารถ ตรวจสอบได้กล่าวมาแล้วนั้น มิได้ขัดหรือแย้งกับหลักการกระจายอานาจแต่อย่างใด ซึ่งหมายความว่า “การกระจายอานาจท่ีดี ย่อมกระจายไปพร้อมกับการมีการตรวจสอบถ่วงดุลและการเปิดโอกาสให้มีการ ตรวจสอบได”้ ตัวอย่างทเ่ี หน็ ไดช้ ดั เจนท่ีเกิดขึ้นในประเทศไทยทีแ่ สดงใหเ้ หน็ ว่าการเปิดโอกาสให้มีการตรวจสอบ ถ่วงดุลการใช้อานาจของเจ้าหน้าที่รัฐด้วยการให้อานาจเจ้าหน้าที่รัฐหลายหน่วยงานใช้อานาจรัฐอย่าง
๓๖ เดียวกัน และสามารถตรวจสอบการทาการกันได้ ทาให้เกิดผลดีต่อประชาชนมากขึ้น คือ อานาจการ สอบสวนคดอี าญาซึ่งถือว่าเป็นอานาจท่ีส่งผลกระทบต่อสิทธิเสรีภาพของประชาชนอย่างรุนแรงอย่างหน่ึง และเป็นอานาจเดียว แต่มีผู้ใช้อานาจหลายหน่วยงานด้วยกัน เพ่ือผลในทางการตรวจสอบถ่วงดุลรักษา สิทธิเสรีภาพของประชาชนไม่ให้ถูกละเมิดอย่างไม่ถูกต้อง กล่าวคือในระดับพื้นที่อื่นนอกจาก กรุงเทพมหานครนอกจากจะมีตารวจยศร้อยตารวจตรีหรือเทียบเท่าข้ึนไปมีอานาจสอบสวนแล้ว มาตรา ๑๘ แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญายังให้อานาจฝ่ายปกครองคือปลัดอาเภอ นายอาเภอ ผู้ว่าราชการจังหวัด จากกระทรวงมหาดไทย ทาการสอบสวนได้อีกด้วย นอกจากน้ีอานาจสอบสวน คดีอาญาดังกล่าวหากเป็นคดีที่มีความซับซ้อน คดีใหญ่ และมีเหตุพิเศษต่างๆ มาตรา ๒๑ แห่ง พระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ. ๒๕๔๗ ก็ให้อานาจพนักงานสอบสวนคดีพิเศษ ของกรม สอบสวนคดีพิเศษมีอานาจสอบสวนได้อีกด้วย นอกจากนี้การสืบสวนคดีอาญาก็เช่นกัน มีกฎหมายหลาย ฉบับท่ีให้อานาจเจ้าหน้าท่ีเหล่าน้ีทาการสืบสวนได้เช่นกัน ไม่ว่าจะเป็น พระราชบัญญัติตารวจแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ. ๒๕๔๗ กรณีนีเ้ ป็นสิ่งยนื ยันไดอ้ ย่างแน่ชดั ว่าการใชอ้ านาจของเจ้าหน้าที่รัฐแม้กระท่ังเป็นอานาจที่กระทบ สทิ ธิเสรีภาพของประชาชนสูงน้ันต้องเปิดโอกาสให้มีการใช้อานาจโดยเจ้าหน้าท่ีรัฐหลายหน่วยงานได้เพื่อ เป็นการตรวจสอบถ่วงดุลการใช้อานาจและเป็นการเปิดโอกาสให้มีการตรวจสอบการใช้อานาจได้ ดังนั้น อานาจรัฐในการตรวจสอบและดาเนินคดกี บั เจา้ ของหรือผคู้ รอบครองหรือผู้ใช้อาคารสูงและอาคารที่มีผู้อยู่ อาศัยหนาแน่นเพื่อผลในการป้องกัน ลดความเส่ียงและลดผลกระทบจากสาธารภัยในอาคารนั้น โดย หน่วยงานของรัฐหลายๆ หน่วยงานย่อมเป็นสิ่งที่สามารถทาได้เช่นเดียวกับการใช้อานาจสืบสวนสอบสวน อย่างไรก็ตามในต่างประเทศ เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกายังยอมให้มีการใช้อานาจรัฐในเรื่องเดียวกันโดย หลายหน่วยงาน ดังเช่น การสืบสวนจับกุมการกระทาความผิดทางอาญายังให้อานาจท้ังตารวจ (Police) และฝ่ายปกครอง (Sheriff) ดาเนินการโดยอาจมีการแบ่งแยกขอบเขตหน้าที่กันบ้างเพื่อความชัดเจนใน การทางาน หรือในประเทศฟิลิปปินส์ท่ีเปิดโอกาสให้ชาวบ้านเข้าใช้อานาจทางศาลในการตัดสินคดีใน รูปแบบของศาลหมู่บ้านหรือบารังไกย์แทนศาลอันเป็นตัวอย่างของการแบ่งดุลอานาจของเจ้าหน้าที่รัฐ ซ่ึงใช้ได้ผลเป็นอย่างดี และที่สาคัญกรณีศึกษาแนวทางป้องกันและระงับอัคคีภัยในประเทศนิวซีแลนด์ยัง พบว่านอกจากมีกฎหมายอาคารคอยควบคุมแล้วยังมีกฎหมายจัดการอัคคีภัยใช้บังคับอีกด้วยและ กาหนดให้มีนายตรวจตามกฎหมายจัดการอัคคีภัยมีหน้าท่ีตรวจสอบอาคารอีกหน่วยงานหน่ึงและให้มี อานาจในการเสนอต่อศาลเพื่อส่ังปิดอาคารที่ไม่ดาเนินการตามเง่ือนไขการป้องกัน และระงับอัคคีภัยอีก ด้วย นอกจากน้ีงานวจิ ยั ของสัณฐติ ิ ธรรมใจ ทศี่ กึ ษาเรือ่ งการไกล่เกล่ียคดอี าญา และศกึ ษาการยุติคดีอาญา โดยนายอาเภอ ซ่ึงโดยปกติแล้วอานาจในการยุติคดีอาญากระแสหลักจะอยู่ที่ศาล ยังพบว่าการให้โอกาส หน่วยงานอ่ืนนอกจากศาลมีอานาจทาการยุติคดีอาญาได้ด้วยนั้นก่อให้เกิดผลดีต่อทางราชการมากขึ้นนั้น สิ่งเหล่าน้ีเป็นการตอกย้าแนวคิดในการเสนอให้หน่วยงานอื่นๆ นอกจากเจ้าหน้าที่ส่วนท้องถ่ินเข้าไปมี อานาจในการตรวจสอบอาคารเพื่อป้องกนั ลดความเสีย่ งและลดผลกระทบจากสาธารภัยในอาคาร เป็นส่ิง จ า เ ป็ น ต้ อ ง ท า ใ ห้ เ กิ ด ขึ้ น จ ริ ง โ ด ย เ ร็ ว เ พื่ อ ผ ล ใ น ก า ร รั ก ษ า ค ว า ม ส ง บ เ รี ย บ ร้ อ ย แ ล ะ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ของประชาชนไทยโดยท่ัวกันโดยการใช้มาตรการในการแก้ไขกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั ซ่ึงจะได้กลา่ วรายละเอียดในหัวข้อต่อไป
๓๗ ๔.๒ แนวทางในการแก้ไขพระราชบัญญัตปิ ้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ ในการควบคุมและตรวจสอบอาคารเพอ่ื ปอ้ งกันและระงบั สาธารณภัยในอาคารสูง และอาคารทมี่ ผี ูอ้ าศยั หนาแนน่ หากนาแนวคิด ทฤษฎีที่นาเสนอมาในหัวข้อก่อนหน้าน้ีเป็นแนวทางในการปรับปรุงแก้ไข พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ ให้เกิดผลสาเร็จในประสิทธิภาพของการ ป้องกัน ลดความเสี่ยงและลดผลกระทบจากสาธารณภัยในอาคารสูงหรืออาคารท่ีมีผู้อาศัยหนาแน่นนั้น ควรมีการแก้ไขโดยนาแนวทางตามบทบัญญัติของพระราชบัญญัติป้องกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ. ๒๕๔๒ ซ่ึงมีการยกเลิกไปแล้ว โดยเฉพาะอานาจหน้าท่ีของนายตรวจตามมาตรา ๘ ของพระราชบัญญัติดังกล่าว และพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม ดังท่ีได้เสนอมาแล้วในบทที่ ๒ มาประกอบการพิจารณาด้วย โดยมรี ายละเอยี ดข้อควรปรับปรุงแกไ้ ข ดังน้ี ๑) ควรแกไ้ ขมาตรา ๔๐ แหง่ พระราชบญั ญตั ิน้ที ่บี ัญญัติไว้ในปัจจุบันว่า “ในกรณีที่ผู้อานวยการหรือ เจ้าพนักงานพบเห็นว่าอาคารหรือสถานที่ใดมีสภาพท่ีอาจก่อให้เกิดสาธารณภัยได้โดยง่ายหรือมีวัสดุหรือ ส่งิ ของใดในอาคารหรือสถานทีใ่ ดที่อาจก่อให้เกิดสาธารณภัยได้ ให้แจ้งพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายว่า ด้วยการนน้ั ทราบเพื่อตรวจสอบตามอานาจหน้าที่ตอ่ ไป” ควรแก้ไขเป็น ดังน้ี “มาตรา ๔๐ เพื่อเป็นการป้องกัน ลดความเส่ียงและลดผลกระทบจากสาธารณภัยในอาคารใน ระยะเวลาก่อนเกิดภัย ให้นายตรวจมีอานาจเข้าไปในอาคารหรือสถานท่ีบางประเภทในระหว่างเวลาพระ อาทิตย์ข้นึ จนถงึ พระอาทิตย์ตก เพ่ือตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร ตรวจสภาพท่ีอาจก่อให้เกิด สาธารณภัยได้โดยง่ายหรือมีวัสดุหรือสิ่งของใดในอาคารหรือสถานท่ีใดที่อาจก่อให้เกิดสาธารณภัยได้ ตลอดจนตรวจสอบมาตรการอ่ืนใดในการปอ้ งกัน ลดความเสีย่ งและลดผลกระทบจากสาธารณภัย ให้ผู้อานวยการกลางแต่งตั้งข้าราชการสังกัดกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย หรือ ข้าราชการพลเรือนสามัญจากหน่วยงานอ่ืนที่ดารงตาแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการหรือ เทยี บเทา่ ขน้ึ ไปเป็นนายตรวจตามวรรคหนึง่ โดยใหน้ ายตรวจเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา และเป็นพนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มีหน้าที่รักษา ความสงบเรียบรอ้ ยของประชาชนตามวรรคหนึ่ง ให้รัฐมนตรีมีอานาจออกกฎกระทรวงกาหนดประเภทอาคารหรือสถานที่ท่ีนายตรวจมีอานาจ ดาเนนิ การตามวรรคหนึง่ อานาจหนา้ ทีข่ องนายตรวจ กาหนดหลกั เกณฑ์ วธิ ีการ แนวทางการตรวจอาคาร หรอื สถานท่ี และมอี านาจกาหนดรปู แบบและเงือ่ นไขเก่ยี วกบั บตั รประจาตัวนายตรวจได้ รัฐมนตรีมีอานาจออกกฎกระทรวงข้อกาหนดมาตรฐานอาคารหรือสถานที่ให้เป็นไปตาม กฎหมายว่าดว้ ยการควบคุมอาคารหรืออาจออกกฎกระทรวงกาหนดเพิ่มเติมหรือแตกต่างไปจากกฎหมาย ควบคมุ อาคารได้เทา่ ทไี่ มข่ ดั หรอื แย้งกับกฎหมายว่าดว้ ยการควบคุมอาคารกไ็ ด้ เจ้าของ ผู้ครอบครองหรือผู้ใช้อาคารผู้ใดฝ่าฝืนข้อกาหนดมาตรฐานตามวรรคส่ีต้องระวางโทษ จาคกุ ไม่เกนิ สี่ปปี รบั ไมเ่ กินแปดหม่ืนบาทหรือท้ังจาท้ังปรับ หากการฝ่าฝืนตามวรรคนี้เป็นเหตุให้ผู้ใดได้รับ อันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกปีปรับไม่เกินหนึ่งแสนสองหม่ืนบาทหรือท้ังจาทั้งปรับ และ หากการฝา่ ฝืนตามวรรคนเ้ี ปน็ เหตใุ หผ้ ู้อ่ืนเสียชวี ติ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินยี่สิบปีปรับไม่เกินสี่แสนบาท หรือทั้งจาทงั้ ปรับ ให้นายตรวจมีอานาจส่ังให้เจ้าของ ผู้ครอบครองหรือผู้ใช้อาคารแก้ไขอาคารหรือสถานท่ีให้ เป็นไปตามข้อกาหนดภายในระยะเวลาท่ีกาหนด หากเจ้าของ ผู้ครอบครองหรือผู้ใช้อาคารไม่ดาเนินการ ภายในระยะเวลาท่ีกาหนด ให้ดาเนินมาตรการทางปกครองโดยอนุโลมตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม
๓๘ อาคารหรือมีอานาจในการเสนอเร่ืองให้ผู้อานวยการกลางสั่งปิดแล ะห้ามใช้อาคารหรือสถานที่โดยมี กาหนดระยะเวลาได้ หลักเกณฑ์ ข้ันตอนและวิธีการดาเนินการส่ังปิดและห้ามใช้อาคารหรือสถานที่ให้ ออกเป็นกฎกระทรวง ทัง้ นเี้ มอื่ ได้มีการดาเนินการใดหรือแก้ไขอาคารหรือสถานท่ีให้เป็นไปตามข้อกาหนด ในวรรคน้ีแล้วไม่เป็นผลให้คดีอาญาส้ินสดุ ลงแต่อย่างใด ให้จัดทาแผนการตรวจอาคารและสถานท่ีตามวรรคหนึ่งเป็นประจาทุกปี และให้สานัก งบประมาณอานวยความสะดวกและจัดให้มีการจัดสรรงบประมาณในการดาเนินการตามวรรคหน่ึงให้ เพียงพอ โดยให้ดาเนินการตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ และให้สานักงานคณะกรรมการ ข้าร าช การ พล เ รื อน แล ะส านั กง าน คณะกร ร มกา ร พัฒ น าร ะบบร า ช การ ให้ การ ส นั บส นุ น ด้าน การ จั ด บคุ คลากรให้เพียงพอ” โดยที่สาเหตุที่เสนอให้แก้ไขมาตรา ๔๐ ข้างต้นนั้น เพราะการที่ให้อานาจนายตรวจจากกรม ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยเป็นบคุ คลทมี่ ีอานาจเขา้ ไปในอาคารหรือสถานท่ีบางประเภท เพื่อเป็นการ ป้องกัน ลดความเส่ียงและลดผลกระทบจากสาธารณภัยในอาคารในระยะเวลาก่อนเกิดภัย ทาการตรวจ สภาพที่อาจก่อให้เกิดสาธารณภัยได้โดยง่ายหรือมีวัสดุหรือส่ิงของใดในอาคารหรือสถานที่ใดท่ีอาจ ก่อใหเ้ กิดสาธารณภยั ไดต้ ลอดจนตรวจสอบมาตรการอ่ืนใดในการป้องกัน ลดความเส่ียงและลดผลกระทบ จากสาธารณภัยได้นั้น นอกจากจะเป็นการให้อานาจเจ้าหน้าที่ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจาก ส่วนกลางที่มีส่วนได้เสียในท้องถิ่นน้อยเข้าไปมีอานาจตรวจอาคารหรือสถานที่ได้นอกเหนือจาก เจ้าพนักงานท้องถิ่นและนายตรวจตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม ได้อีกนั้น ถือเป็นการตรวจสอบถ่วงดุลการทางานของเจ้าหน้าที่ส่วนท้องถิ่นโดยเจ้าหน้าที่จากส่วนกลาง เพื่อผลในการยังประโยชน์สูงสุดต่อหมู่คนจานวนมากท่ีสุดตามทฤษฎีอรรถประโยชน์นิยม น่ันก็คือความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในสังคมนั่นเอง กรณีนี้ยังเป็นการดาเนินการตามแนวทาง กฎหมายของประเทศนิวซีแลนด์ซ่ึงเป็นอารยประเทศตามพระราชบัญญัติจัดการอัคคีภัย ค.ศ. ๑๙๗๕ (Fire Service Act 1975) มาตรา ๒๑เอฟ ท่ีกล่าวถึงเร่ืองการตรวจอาคารได้ตามกฎหมายจัดการอัคคีภัย อกี ด้วย มาตรา ๔๐ วรรคสอง ได้กาหนดให้ผู้อานวยการกลางซึ่งก็คืออธิบดีกรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย แต่งตั้งข้าราชการสังกัดกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย หรือข้าราชการพลเรือนสามัญ จากหนว่ ยงานอืน่ ทดี่ ารงตาแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการหรือเทียบเท่าข้ึนไปเป็นนายตรวจ นั้น เป็นการให้อานาจอธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารภัย ซ่ึงเป็นผู้รับผิดชอบกาลังพลในการ ในการ คัดเลือกบุคคลากรของกรมไปปฏิบัติหน้าท่ีนายตรวจด้วยตัวเองเพราะอธิบดีกรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยย่อมทราบดีว่าบุคลากรของหน่วยงานคนใดจะสามารถปฏิบัติหน้าที่เป็นนายตรวจได้ ซึ่ง ใกล้เคียงกับแนวทางกับการแต่งต้ังนายตรวจหรือ National Commander ของประเทศนิวซีแลนด์ตาม พระราชบัญญัติจัดการอัคคีภัย ค.ศ. ๑๙๗๕ (Fire Service Act 1975) มาตรา ๑๗เอ็ม ท่ีได้กล่าวมาแล้ว ในบทท่ี ๒ โดยในการนี้ได้กาหนดให้นายตรวจเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา และเป็น พนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มีหน้าที่รักษาความสงบ เรียบร้อยของประชาชน เพราะจะทาให้นายตรวจซ่ึงเป็นข้าราชการกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย หรือข้าราชการพลเรือนสามัญหน่วยอ่ืนที่ได้รับแต่งตั้งมีเกราะป้องกันตัวจากความเป็นเจ้าพนักงานท่ีมี กฎหมายห้ามมิใหม้ กี ารต่อสูห้ รือขัดขวางเจ้าพนักงาน และการให้นายตรวจเป็นพนักงานฝ่ายปกครองหรือ ตารวจนั้นเน่ืองจากประสงค์จะให้นายตรวจทาการจับกุมผู้กระทาความผิดในขณะน้ันได้ ซึ่งหน้าและ
๓๙ สามารถนาตัวผู้กระทาผดิ ไปมอบใหก้ ับพนักงานสอบสวนแห่งพนื้ ท่ีดาเนินการต่อไป นอกจากนี้นายตรวจท่ี ปฏบิ ตั หิ นา้ ทย่ี ่อมสามารถพาอาวุธปนื ในการปฏิบตั หิ นา้ ท่ีในพน้ื ท่ีได้ วรรคสามของมาตรา ๔๐ ท่ีกาหนดให้รัฐมนตรีมีอานาจออกกฎกระทรวงกาหนดประเภทอาคาร หรือสถานท่ีท่ีนายตรวจมีอานาจดาเนินการตรวจได้น้ันเป็นการกาหนดกรอบกว้างๆ ให้ผู้เก่ียวข้องไป ร่วมกันพิจารณาว่าอาคารประเภทใดบ้างที่จาเป็นจะต้องมีการตร วจสอบถ่วงดุลโดยนายตรวจจากกรม ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยและหน่วยงานอ่ืนท่ีไม่ใช่ท้องถิ่น โดยกาหนดเป็นกฎกระทรวงเม่ือ สถานการณ์เปล่ียนแปลงไปประเภทของอาคารและสถานท่ีที่จาเป็นต้องมีการตรวจสอบถ่วงดุลอาจอาจ เปลย่ี นแปลงไปก็สามารถปรับปรุงแก้ไขได้โดยทาเป็นกฎกระทรวง หากไปกาหนดประเภทของอาคารและ สถานทท่ี ีจ่ าเป็นตอ้ งตรวจสอบไวใ้ นพระราชบญั ญตั ิจะทาใหแ้ กไ้ ขได้ยากหากสถานการณ์เปลี่ยนแปลงไปใน อนาคต สาหรับประเภทของอาคารและสถานที่ใดท่ีควรตรวจสอบในเวลาน้ีได้กาหนดรายละเอียดไว้ใน หวั ขอ้ ตอ่ ไปแลว้ นอกจากนีก้ ารให้รฐั มนตรีมีอานาจกาหนดอานาจหน้าท่ีของนายตรวจ หลักเกณฑ์ วิธีการ แนวทางการตรวจอาคารหรือสถานท่ี และมีอานาจกาหนดรูปแบบและเง่ือนไขเก่ียวกับบัตรประจาตัว นายตรวจ ก็เพื่อจะให้มีแนวทางในการดาเนินการที่มีกฎหมายรองรับ เป็นการประกันและคุ้มครองสิทธิ เสรภี าพของประชาชนในถูกเจ้าหน้าท่ีที่เป็นนายตรวจตามกฎหมายน้ีว่าเจ้าหน้าที่จะต้องดาเนินการตรวจ ตามหลักเกณฑ์และข้ันตอนท่ีเหมาะสม (Due Process of Law) ต้องมีการแจ้งให้ทราบล่วงหน้า มีการ แสดงตนและแสดงบตั รก่อนเข้าตรวจสอบอาคารหรือสถานที่ เปน็ ตน้ วรรคส่ีของมาตรา ๔๐ ท่ีให้รัฐมนตรีมีอานาจออกกฎกระทรวงข้อกาหนดมาตรฐานอาคารหรือ สถานที่ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคารหรืออาจออกกฎกระทรวงกาหนดเพ่ิมเติมหรือ แตกต่างไปจากกฎหมายควบคุมอาคารได้เท่าท่ีไม่ขัดหรือแย้งกับกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคารได้ก็ เพ่ือให้มีการกาหนดมาตรฐานอาคารหรือสถานที่ให้มีสภาพและลักษณะท่ีสามารถป้องกัน ลดความเสี่ยง และลดผลกระทบจากสาธารณภัยโดยท่ีมาตรฐานน้ีอาจกาหนดตามที่ได้บัญญัติไว้ในกฎหมายควบคุม อาคารก็ได้ ส่วนพ้ืนท่ีอื่นๆ ท่ีไม่ใช่อาคาร เช่น บริเวณโดยรอบอาคาร นอกรั้วอาคาร ก็ให้ออกเป็น กฎกระทรวงเพ่ิมเติมโดยท่ีไม่ให้ขัดกับกฎหมายควบคุมอาคารได้ เพ่ือให้เจ้าของ ผู้ครอบครอง หรือผู้ใช้ อาคารดาเนินการปรับปรุงแก้ไขอาคารหรือสถานท่ีให้เป็นไปตามข้อกาหนดดังกล่าวและให้นายตรวจมี เคร่ืองมือทางกฎหมายเขา้ ไปตรวจสอบอาคารหรือสถานทดี่ งั กล่าวได้ วรรคห้าของมาตรา ๔๐ ท่ีกาหนดโทษให้เจ้าของ ผู้ครอบครองหรือผู้ใช้อาคารผู้ใดฝ่าฝืน ขอ้ กาหนดมาตรฐานตามวรรคส่ีต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสี่ปีปรับไม่เกินแปดหมื่นบาทหรือท้ังจาท้ังปรับ หากการฝ่าฝืนตามวรรคน้ีเป็นเหตุให้ผู้ใดได้รับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกปีปรับไม่เกิน หนงึ่ แสนสองหม่นื บาทหรอื ทั้งจาท้งั ปรบั และหากการฝ่าฝืนตามวรรคน้เี ป็นเหตุให้ผู้อ่ืนเสียชีวิต ต้องระวาง โทษจาคุกไม่เกินย่ีสิบปีปรับไม่เกินส่ีแสนบาทหรือทั้งจาท้ังปรับ ซ่ึงจะเห็นได้ว่าเป็นโทษที่กาหนดไว้หนัก และรนุ แรงเพราะต้องการให้มีผลใชบ้ งั คบั ในการจัดการอาคารและสถานท่ใี ห้ปลอดภัยจากสาธารณภัยเป็น ส่ิงท่ีเจ้าของ ผู้ครอบครองหรือผู้ใช้อาคารต้องตระหนักในหน้าท่ีอย่างเคร่งครัดเพ่ือเป็นการคุ้มครองชีวิต และทรัพย์สินของประชาชนซ่ึงเป็นส่ิงที่มีค่าอย่างยิ่ง ท้ังนี้หากไม่กาหนดโทษทางอาญาสาหรับผู้ฝ่าฝืนแล้ว การบังคบั ใชม้ าตรฐานของอาคารหรือสถานที่อาจไม่มผี เู้ กรงกลัว และไม่บรรลุวตั ถปุ ระสงค์ของการป้องกัน ลดความเสยี่ งและลดผลกระทบจากสาธารณภัยข้ึนในอาคารสงู และอาคารทม่ี ีผู้อยอู่ าศัยหนาแนน่ ได้ วรรคหกของมาตรา ๔๐ บัญญัติอานาจให้นายตรวจมีอานาจสั่งให้เจ้าของ ผู้ครอบครองหรือผู้ใช้ อาคารแก้ไขอาคารหรือสถานท่ีให้เป็นไปตามข้อกาหนดภายในระยะเวลาท่ีกาหนด หากเจ้าของ ผู้ครอบครองหรือผู้ใช้อาคารไม่ดาเนินการภายในระยะเวลาท่ีกาหนด ให้ดาเนินมาตรการทางปกครองโดย
๔๐ อนุโลมตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคารหรือมีอานาจในการเสนอเร่ืองให้ผู้อานวยการกลางส่ังปิด และห้ามใช้อาคารหรือสถานที่โดยมีกาหนดระยะเวลาได้ หลักเกณฑ์ ข้ันตอนและวิธีการดาเนินการสั่งปิด และหา้ มใช้อาคารหรอื สถานท่ีใหอ้ อกเป็นกฎกระทรวง ทั้งนีเ้ มอ่ื ได้มกี ารดาเนินการใดหรือแก้ไขอาคารหรือ สถานที่ให้เป็นไปตามข้อกาหนดในวรรคนี้แล้วไม่เป็นผลให้คดีอาญาส้ินสุดลงแต่อย่างใด เป็นการกาหนด มาตรการหรือแนวทางทางปกครองที่มีวัตถุประสงค์ให้มีการแก้ไขสภาพอาค ารหรือสถานท่ีท่ีไม่ปลอดภัย ให้มีความมั่นคงปลอดภัย โดยให้ทางเลือกเจ้าหน้าที่โดยอาจยึดหลักแนวทางและวิธีการตามกฎหมาย ควบคุมอาคารซงึ่ บัญญตั ิไวเ้ หมาะสมแลว้ หรอื อาจใชแ้ นวทางใกล้เคียงกับแนวคิดท่ีได้จากมาตรา ๒๑จี ของ พระราชบัญญตั จิ ัดการอคั คภี ัย ค.ศ. ๑๙๗๕ (Fire Service Act 1975) แหง่ ประเทศนิวซีแลนด์ที่บัญญัติให้ มีการเสนอต่อศาลแขวงให้ปิดอาคารจนกว่าจะมีการปฏิบัติให้ถูกต้องได้ ด้วยการนาเสนอต่อผู้อานวยการ กลางทาการสั่งปิดและห้ามใช้อาคารก็ได้ ทั้งนี้เพ่ือเพ่ิมทางเลือกให้เจ้าหน้าท่ีมีเคร่ืองมือหรือมาตรการ บงั คบั ให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองอาคารทาการแก้ไขสภาพการณ์ต่างๆ ของตัวอาคารให้มีความปลอดภัย ตอ่ ผใู้ ชม้ ากขึ้น และสาเหตทุ ่ีต้องบัญญตั ิมาตรการทางปกครองไวใ้ นกฎหมายน้ีอกี เพราะต้องการอุดช่องว่าง กรณีเจ้าพนักงานท้องถ่ินไม่ดาเนินการทางปกครองกับอาคารตามกฎหมายควบคุมอาคาร ไม่ว่าจะเป็น เพราะเหตุผลใดๆ ก็สามารถใช้อานาจนายตรวจและผู้อานวยการกลางตามกฎหมายนี้ดาเนินการทาง ปกครองกับอาคารเส่ียงภัยดงั กลา่ วได้ ทั้งนี้เมื่อได้มีการแก้ไขอาคารให้เป็นไปตามข้อกาหนดแล้วไม่เป็นผล ให้คดีอาญาสิ้นสุดลงแต่อย่างใด โดยที่การบัญญัติเช่นน้ีเพราะมีความประสงค์ในเชิงป้องกันมิให้มีผู้ปล่อย ปละละเลยใหอ้ าคารหรือสถานที่เกิดความเสีย่ งตอ่ การเกดิ สาธารณภัย วรรคเจ็ดของมาตรา ๔๐ ซ่ึงเป็นวรรคท้ายบัญญัติให้มีการจัดทาแผนการตรวจอาคารและสถานที่ ตามวรรคหนึ่งเป็นประจาทุกปี โดยให้สานักงบประมาณอานวยความสะดวกและจัดให้มีการจัดสรร งบประมาณในการดาเนินการตามวรรคหนึ่งให้เพียงพอ ให้ดาเนินการตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการ งบประมาณ และให้สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (สานักงาน ก.พ.) และสานักงาน คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สานักงาน ก.พ.ร.) ให้การสนับสนุนด้านการจัดบุคคลกรให้เพียงพอ เป็นการบัญญัติที่มีวัตถุประสงค์ให้เกิดการขับเคลื่อนการบังคับใช้กฎหมายตามมาตรานี้ ซึ่งจาต้องมีการ จัดทาแผนการดาเนินงานทุกๆ ปี ท้ังน้ีต่อให้มีแผนดีอย่างไรหากไม่มีเงินในการดาเนินงาน งานนั้นย่อมไม่ เดิน จึงบัญญัติให้สานักงบประมาณมีหน้าที่ต้องสนับสนุนงบประมาณให้กับแผนการตรวจสอบทุกๆ ปี นอกจากน้ียังให้สานักงาน ก.พ. และสานักงาน ก.พ.ร. สนับสนุนด้านอัตราเจ้าหน้าที่ผู้ซึ่งจะเป็น นายตรวจให้เพียงพอ เพราะงานน้ีเป็นงานใหม่และมีเนื้องานท่ีรับผิดชอบตรวจอาคารในจานวนและ ปรมิ าณมาก หากประสงค์จะให้มีการบงั คับใชอ้ ย่างจรงิ จังการปรบั เกล่ยี อตั ราบุคคลากรจากที่เคยทาหน้าท่ี อยู่แล้วมาเป็นนายตรวจอีกหน้าท่ีหน่ึงย่อมทาให้งานการตรวจสอบอาคารไม่มีประสิทธิภาพ เน่ืองจาก บุคคลกรต้องแบ่งเวลาและจุดมุ่งไปให้งานอื่นหรืองานประจาของเขา การให้มีเจ้าหน้าที่รับผิดชอบการ ตรวจสอบอาคารและสถานท่ีงานนี้โดยตรงจะทาให้สามารถทาให้งานมีประสิทธิภาพและวัดผลได้ ดังน้ัน ควรบัญญัติกฎหมายให้สานักงาน ก.พ. และสานักงาน ก.พ.ร. ควรอนุมัติอัตราเจ้าหน้าท่ีข้ึนใหม่ขึ้นมา ทาหนา้ ท่ีดังกลา่ ว ๒) ควรออกกฎกระทรวงตามมาตรา ๔๐ วรรคสาม ท่ีแก้ไขใหม่ข้างต้นกาหนดประเภทของอาคารที่ นายตรวจสามารถเข้าไปตรวจสอบได้ ได้แก่ (๑) “อาคารสูง” ซึ่งหมายถึง อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่ พิเศษตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ (๒) “อาคารที่มีผู้อยู่อาศัยหนาแน่น” ซึ่งหมายถึง อาคารชมุ นมุ คนตามพระราชบญั ญตั ิควบคมุ อาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ และอาคารทุกขนาดและทุกประเภท ท่ีมี วตั ถุประสงคใ์ นการใช้อาคารหรือส่วนใดของอาคารทบ่ี ุคคลอาจเข้าไปภายในเพ่ือใช้ประโยชน์ในการใช้เป็น
๔๑ โรงแรม อาคารพักอาศัยรวม สถานบริการ และโรงมหรสพ เพราะอาคารเหล่าน้ีควรเป็นอาคารหรือ สถานทีอ่ ันดบั ต้นๆ ทีภ่ าครัฐควรใหค้ วามใส่ใจในความมัน่ คงแข็งแรงและความปลอดภัยมิให้มีความเสี่ยงใน การเกิดสาธารณภัยเพราะเป็นอาคารท่ีมีประชาชนโดยทั่วไปเข้าไปใช้อาคารและเข้าไปอยู่อาศัยจานวน มาก หากเกิดสาธารณภัยขึ้นแล้วจะก่อให้เกิดความสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สินจานวนมาก ซึ่งความ สูญเสียโดยเฉพาะชีวิตของประชาชนที่บริสุทธ์ิและไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการก่อสร้างและการจัด สภาพแวดล้อมอาคารหรือสถานที่ท่ีมีความเสี่ยงแต่อย่างใดน้ันมิอาจชดใช้ได้โดยประการอื่นแต่อย่างใด ดังน้ันการใช้มาตรการทางกฎหมายดังกล่าวน้ีจึงเป็นแนวทางที่ดีท่ีสุดแนวทางหน่ึงในการป้องกันชีวิตและ ทรพั ยส์ ินอนั เป็นสิทธิพน้ื ฐานอยา่ งหนึ่งของประชาชนไทย
บทที่ ๕ สรปุ อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ ๕.๑ สรปุ ผลการศึกษาและอภิปรายผล จากสภาพปัญหาอาคารสูงและอาคารที่มีผู้อยู่อาศัยหนาแน่นเกิดเหตุสาธารณภัยบ่อยคร้ัง โดยเฉพาะเหตุเพลิงไหม้สร้างความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนจานวนมาก ท้ังท่ีมี พระราชบญั ญัตคิ วบคมุ อาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ บังคบั ใชอ้ ยู่ อย่างไรก็ตามปัจจุบันพระราชบัญญัติป้องกันและ ระงับอัคคีภัย พ.ศ. ๒๕๔๒ ซ่ึงเป็นกฎหมายท่กี าหนดวิธีการป้องกันและระงับอคั คีภัยในอาคารได้ถูกยกเลิก ไปโดยพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ ประกอบกับมีงานวิจัยบางฉบับและ สถิติของอาคารท่ีมีความเส่ียงต่อการเกิดสาธารณภัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินบางแห่งระบุชัดว่า ปัญหาการขาดความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ท้องถิ่น การมีเจ้าหน้าท่ีกากับดูแล ตรวจสอบอาคารของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่เพียงพออาจเป็นสาเหตุของปัญหาดังกล่าว แต่อย่างไรก็ตามสิทธิการมีชีวิต อยู่ของประชาชนย่อมได้รับการคุ้มครองจากรัฐ ซ่ึงทาได้ด้วยวิธีการทางกฎหมายในการตรวจสอบถ่วงดุล การใช้อานาจการอนุญาตก่อสร้างและควบคุมการใช้อาคารของเจ้าหน้าท่ีส่วนท้องถิ่น โดยเจ้าหน้าที่จาก หน่วยงานอ่ืนโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่จากส่วนกลางโดยเข้าไปมีอานาจในการต รวจสอบอาคารเพื่อป้องกัน ลดความเสี่ยงและลดผลกระทบจากสาธารณภัยด้วยการปรับปรุงแก้ไขมาตรา ๔๐ แห่งพระราชบัญญัติ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ บัญญัติให้เจ้าหน้าท่ีจากกรมป้องกันและบรรเทาสาธารภัย หรือเจา้ หนา้ ทจ่ี ากหนว่ ยงานอืน่ เปน็ นายตรวจมอี านาจตรวจอาคารสงู หรืออาคารท่ีมีผู้อยู่อาศัยหนาแน่นได้ โดยอาศยั แนวทางตามพระราชบญั ญตั ิปอ้ งกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ. ๒๕๔๒ และพระราชบัญญัติควบคุม อาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ และที่แก้ไขเพ่ิมเติม จะเป็นการช่วยตรวจสอบถ่วงดุล (Check and Balance) อานาจของเจ้าพนักงานท้องถ่ิน เป็นไปตามหลักทฤษฎีที่หน่ วยงานสามารถถูกตรวจสอบได้ (Accountability) เพ่ือก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อคนจานวนมากท่ีสุดตามแนวทางของหลัก อรรถประโยชน์นิยม (Utilitarianism) ได้ นอกจากนี้กรณีศึกษาแนวคิดการใช้อานาจโดยหน่วยงานหลาย หน่วยงานในต่างประเทศไม่ว่าจะเป็น Police และ Sheriff ในประเทศสหรัฐอเมริกาหรือวิธีการทางเลือก ตัดสินคดีแบบบารังไกย์ของประเทศฟิลิปปินส์ ตลอดจนแนวทางการป้องกันและระงับอัคคีภัยในอาคาร ของประเทศนิวซีแลนด์ท่ีให้อานาจนายตรวจตามกฎหมายจัดการอัคคีภัย (Fire Service Act 1975) สามารถตรวจอาคารได้อีกนอกเหนือจากเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายอาคาร หรืองานวิทยานิพนธ์ของสัณฐิติ ธรรมใจ ท่ีศึกษาอานาจนายอาเภอในการไกล่เกล่ียคดีอาญา เป็นการยืนยันแนวคิดการตรวจสอบถ่วงดุล อานาจของเจ้าหน้าที่โดยหน่วยงานอื่นว่าสามารถนามาใช้กับการใช้อานาจทางปกครองอย่างเดียวกันได้ ดังเช่นการตรวจสอบอาคาร ซ่ึงในประเทศไทยก็มีกรณีตัวอย่างการใช้อานาจโดยเจ้าหน้าที่รัฐหลาย หน่วยงานท่ีเป็นอานาจที่อาจกระทบต่อสิทธิของประชาชนอยู่แล้วเช่นกัน นั่นคืออานาจการสืบสวน สอบสวนท่ีมีผู้ใช้อานาจหลายหน่วยงานโดยกฎหมายหลายฉบับ เช่น ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ อาญา พระราชบัญญัติตารวจแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗ และพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ. ๒๕๔๗ เป็นต้น รายงานการศึกษาวิจัยฉบับน้ีถือว่าบรรลุวัตถุประสงค์ของการศึกษา โดยมีการศึกษาระเบียบ กฎหมายและทฤษฎีการจัดการป้องกันและระงับสาธารณภัยในอาคารสูงและอาคารที่มีผู้อยู่อาศัย หนาแน่นของประเทศไทยและต่างประเทศอย่างประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศฟิลิปปินส์ และประเทศ นิวซีแลนด์ พร้อมท้ังได้ศึกษาผลการใช้บังคับ ข้อดี ข้อเสียของระเบียบ กฎหมาย และทฤษฎีดังกล่าว
๔๓ รวมท้งั ไดศ้ ึกษารปู แบบการตรวจสอบถ่วงดุลการใช้อานาจรัฐเพ่ือคุ้มครองสิทธิใหก้ บั ประชาชนอีกด้วย จาก การศกึ ษาวจิ ัยนที้ าใหไ้ ดแ้ นวทางการปรับปรุงระเบยี บกฎหมายการจัดการป้องกันและระงับสาธารณภัยใน อาคารสูงและอาคารท่ีมีผู้อยู่อาศัยหนาแน่นของประเทศไทยให้ใช้ได้ผลอย่างจริงจังต่อไป หรือโดยอีกนัย หนึ่งการศึกษาวิจัยคร้ังนี้สามารถตอบคาถามการวิจัยได้อย่างชัดเจนว่าสามารถนาแนวคิดการตรวจสอบ ถ่วงดุลหรือแนวคิด ทฤษฎีท่ีเก่ียวข้อง มาช่วยเสริมประสิทธิภาพการควบคุมอาคารได้ด้วยวิธีการแก้ไข กฎหมายให้หน่วยงานอ่ืนมีอานาจตรวจสอบอาคารได้นอกจากเจ้าพนักงานท้องถ่ินตามกฎหมายควบคุม อาคาร โดยมีแนวทางในการปรับแก้ไขพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ ในการควบคุมและตรวจสอบอาคารเพื่อป้องกันและระงับสาธารณภัยในอาคารสูงหรืออาคารท่ีมีผู้อาศัย หนาแนน่ ทง้ั นจ้ี ะนาเสนอแนวทางแก้ไขกฎหมายดงั กลา่ วโดยสรปุ ในหวั ขอ้ ต่อไป ๕.๒ ขอ้ เสนอแนะสาหรับการนาผลไปใช้ จากรายงานการศึกษาวิจัยฉบับนี้ทาให้ได้คาตอบของงานวิจัยเสนอต่อกรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั ดาเนินการแกไ้ ขมาตรา ๔๐ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ เป็นข้อมูลเสนอผู้บังคับบัญชากรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเพื่อพิจารณา โดยมีเน้ือความ ท่ี ควรแก้ไข ดังนี้ “มาตรา ๔๐ เพอ่ื เปน็ การปอ้ งกัน ลดความเส่ยี งและลดผลกระทบจากสาธารณภัยในอาคารใน ระยะเวลาก่อนเกิดภัย ให้นายตรวจมีอานาจเข้าไปในอาคารหรือสถานท่ีบางประเภทในระหว่างเวลา พระอาทิตย์ขึ้นจนถึงพระอาทิตย์ตก เพ่ือตรวจสอบความม่ันคงแข็งแรงของอาคาร ตรวจสภาพท่ีอาจ ก่อให้เกิดสาธารณภัยได้โดยง่ายหรือมีวัสดุหรือส่ิงของใดในอาคารหรือสถานที่ใดท่ีอาจก่อให้เกิด สาธารณภัยได้ ตลอดจนตรวจสอบมาตรการอื่นใดในการป้องกัน ลดความเส่ียงและลดผลกระทบจาก สาธารณภัย ให้ผู้อานวยการกลางแต่งต้ังข้าราชการสังกัดกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย หรือ ข้าราชการพลเรือนสามัญจากหน่วยงานอื่นท่ีดารงตาแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการหรือ เทียบเทา่ ข้นึ ไปเปน็ นายตรวจตามวรรคหน่ึง โดยให้นายตรวจเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา และเป็นพนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มีหน้าที่รักษา ความสงบเรยี บรอ้ ยของประชาชนตามวรรคหนึง่ ให้รัฐมนตรีมีอานาจออกกฎกระทรวงกาหนดประเภทอาคารหรือสถานท่ีท่ีนายตรวจมีอานาจ ดาเนินการตามวรรคหนึ่ง อานาจหนา้ ท่ีของนายตรวจ กาหนดหลักเกณฑ์ วธิ กี าร แนวทางการตรวจอาคาร หรอื สถานท่ี และมอี านาจกาหนดรูปแบบและเงือ่ นไขเก่ียวกบั บตั รประจาตวั นายตรวจได้ รัฐมนตรีมีอานาจออกกฎกระทรวงข้อกาหนดมาตรฐานอาคารหรือสถานที่ให้เป็นไปตาม กฎหมายว่าดว้ ยการควบคุมอาคารหรืออาจออกกฎกระทรวงกาหนดเพิ่มเติมหรือแตกต่างไปจากกฎหมาย ควบคมุ อาคารไดเ้ ท่าที่ไม่ขดั หรือแย้งกบั กฎหมายว่าดว้ ยการควบคุมอาคารก็ได้ เจ้าของ ผคู้ รอบครองหรือผใู้ ชอ้ าคารผู้ใดฝ่าฝืนข้อกาหนดมาตรฐานตามวรรคสี่ต้องระวางโทษ จาคุกไม่เกินสปี่ ีปรับไม่เกินแปดหมื่นบาทหรือท้ังจาท้ังปรับ หากการฝ่าฝืนตามวรรคน้ีเป็นเหตุให้ผู้ใดได้รับ อันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกปีปรับไม่เกินหนึ่งแสนสองหม่ืนบาทหรือท้ังจาทั้งปรับ และหากการฝ่าฝืนตามวรรคนเ้ี ปน็ เหตใุ ห้ผู้อื่นเสียชีวิต ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินยี่สิบปีปรับไม่เกินส่ีแสน บาทหรอื ทัง้ จาทัง้ ปรับ
Search