Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 21 มนัสนันท์ งานวิจัย final

21 มนัสนันท์ งานวิจัย final

Published by Hommer ASsa, 2021-05-03 06:56:11

Description: 21 มนัสนันท์ งานวิจัย final

Search

Read the Text Version

รายงานการศกึ ษา เรือ่ ง ปัจจยั ทม่ี ผี ลตอ่ การทางานเป็นทมี ของบคุ ลากรทเี่ ข้ารบั การฝึกอบรม หลกั สูตร นักบริหารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั (นบ.ปภ.) รนุ่ ที่ 10 จัดทาโดย นางมนัสนนั ท์ จรัสเลิศสริ ิ รหัสประจาตวั นกั ศึกษา21 เอกสารนี้เป็นส่วนหนงึ่ ในการศกึ ษาอบรม หลกั สตู รนกั บรหิ ารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รนุ่ ท่ี 10 วิทยาลยั ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั

ก คำนำ เอกสารการศึกษานี้ จัดทาข้ึนเพื่อวิเคราะห์หาความสาเร็จในการทางานเป็นทีมของบคุ ลากร ท่ีเข้ารบั การฝกึ อบรมหลักสูตร นักบริหารงานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั (นบ.ปภ.) รุ่นที่ 10 เพ่ือนา ขอ้ เท็จจรงิ พร้อมทงั้ ปญั หาและอุปสรรคในการปฏิบัตงิ าน และแนวทางแกไ้ ขปัญหานาไปประยุกต์ใช้ในการ พัฒนาวิธีการปฏิบัติงานให้มีประสิทธภิ าพมากย่ิงขึ้น ซึ่งอาจเป็นบทเรียนท่ีมีประโยชน์อย่างยิ่งในการชน้ี า และระบวุ ธิ ีการดาเนนิ งาน เพื่อใหบ้ รรลุเปา้ หมายอยา่ งแทจ้ ริง และเพื่อนาขอ้ มลู ท่ีได้ไปใช้ในทางานเป็นทีม เพ่อื ใหอ้ งคก์ ร และของนักศกึ ษา นบ.ปภ. รนุ่ ต่อไปประสบความสาเรจ็ ตามวัตถปุ ระสงค์ ผู้ศึกษาวิจัยขอขอบพระคุณ คณะกรรมการที่ปรึกษา ตลอดจนคณะผู้บริหารวิทยาลัย ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ผู้อานวยการและคณะเจ้าหน้าที่โครงการหลักสูตร นักบริหารงาน ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นที่ 10 ที่ให้ความรู้ คาแนะนา และขอขอบพระคุณ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทั้งนักศึกษา นบ.ปภ.รุ่นที่ 10 ที่ให้การสนับสนุนและให้ความร่วมมือในการให้ ข้อมูล และช่วยเหลือจนสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี หากมีข้อบกพร่องประการใดปรากฏในรายงานฉบับน้ี ผู้ศึกษายินดีน้อมรับนาไปปรับปรุงแก้ไขต่อไปด้วยความเคารพ มนสั นนั ท์ จรสั เลศิ สิริ มีนาคม 2557

ข กิตตกิ รรมประกาศ รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัจจัยท่ีมีผลต่อการทางานเป็นทีมของบุคลากรที่เข้ารับการ ฝึกอบรมหลักสูตร นักบริหารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นท่ี 10 สาเร็จได้ด้วยดี เนอ่ื งจากผูศ้ กึ ษาวจิ ัยได้รับความอนุเคราะห์ จากอาจารยป์ ิยวัฒน์ ขนิษฐบุตร อาจารย์วรชพร เพชรสุวรรณ และคณะกรรมการท่ีปรึกษา คณะผู้บริหาร และผู้อานวยการโครงการวิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ซ่ึงได้กรุณาตรวจสอบ แนะนา และให้แนวทางอันถูกต้องจนทาให้ผู้ศึกษาประสบความสาเร็จในการศึกษา คน้ ควา้ และทาใหร้ ายงานการศกึ ษาวิจยั ฉบับนีส้ าเร็จไดอ้ ย่างสมบูรณ์ ผู้ศึกษาวิจัยขอขอบพระคุณอาจารย์ปิยวัฒน์ ขนิษฐบุตร อาจารย์วรชพร เพชรสุวรรณ และคณะกรรมการท่ีปรึกษา คณะผู้บริหาร และผู้อานวยการโครงการวิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ตลอดจนเจ้าหน้าท่ีขององค์การต่างๆ ที่เก่ียวข้อง เช่น ห้องสมุดกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ที่กรุณา เอื้อเฟ้ือข้อมูล และผู้ที่ตอบแบบสอบถามทุกท่าน ตลอดจนนักวิชาการทุกท่านที่ผู้ศึกษาได้นาผลงานอ้างอิง ประกอบการศึกษาในครง้ั น้ี ผ้ศู กึ ษาใคร่ขอบพระคุณไว้ ณ ที่นีด้ ้วย ผู้ศึกษาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า รายงานการศึกษาวิจัยฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจ เกี่ยวกับความสาเร็จในการทางานเป็นทีมของบุคลากรที่เข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตร นักบริหารงานป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นที่ 10 หรืออาจใช้เป็นแนวทางในการศึกษาค้นคว้าต่อไปได้อย่างดี คุณความดีอันใดที่เกิดจากการศึกษาคร้ังน้ี ผู้ศึกษาขอมอบแด่ บิดา มารดา คณาจารย์ และผู้ท่ีเกี่ยวข้อง สนบั สนุนผศู้ กึ ษาดว้ ยดีตลอดมา มนัสนันท์ จรสั เลศิ สิริ มนี าคม 2557

ค บทสรุปผูบ้ ริหาร การศึกษาวิจัย เร่ือง “ ปัจจัยที่มีผลต่อการทางานเป็นทีมของบุคลากรท่ีเข้ารับการ ฝึกอบรมหลักสูตร นักบริหารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นที่ 10 ในครั้งน้ี เพื่อให้การวเิ คราะห์ความสาเร็จในการทางานเป็นทีมของบุคลากรในด้านบุคลากร ด้านงบประมาณ และ ดา้ นเครือ่ งมือ เคร่อื งใช้ เคร่อื งจกั รกล ยานพาหนะ ทจ่ี ะสามารถสนบั สนนุ การทางานเปน็ ทีม องค์กรทุกองค์กรเป็นหน่วยงานทางสังคมอย่างหนึ่ง ที่เกิดขึ้นจากระบบความร่วมมือ ของบุคคลตั้งแต่ 2 คน ข้ึนไป เพื่อดาเนินงานอย่างใดอย่างหนึ่งที่ได้กาหนด และยอมรับในสังคมอย่างเป็น ระบบ การบริหารองค์กรแบบมีส่วนร่วม มีระบบการทางานเป็นทีม เพื่อช่วยให้องค์กรมีประสิทธิภาพมากว่า การบริหารจัดการแบบปจั เจกชน เน่ืองจากการทางานเป็นทีมเปน็ การทางานที่นาความรู้ ความสามารถ ทักษะ ประสบการณ์ท่ีแตกต่างกันมาผสมผสาน ร่วมกันแก้ปัญหาอย่างรอบคอบเหมาะกับการทางานที่ซับซ้อน การทางานเป็นทีม มีการวางแผนงาน แบ่งงานกันทา ร่วมมือประสานงาน การตัดสินใจแก้ปัญหา ยอมรับ ความคดิ เห็นของสว่ นรวมใหเ้ กียรติซึ่งกนั และกัน การทางานของหน่วยงานหรือองค์กรใด ๆ ต้องอาศัยทรัพยากร คือ คน (Man ) เงิน (Money) วัสดอุ ุปกรณ์ (Materials) การจัดการ (Management) “คน” มีความสาคัญในการดาเนินงาน เพราะคนเปน็ ปัจจยั สาคญั ของกระบวนการพฒั นาท้ังหลาย สิง่ สาคญั 2 ประการ ที่ต้องคานึงถึง คือ - ความสามารถในการปรบั ตัว - ความสามารถในการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์ การยอมรบั ความเส่ยี งและความสาเร็จร่วมกัน จะเป็นการสร้างความผกู พันที่จะทาให้การ ทางานเป็นทีมแข็งแกร่งยิ่งข้ึน ส่งผลต่อความสาเร็จในการปฏิบัติงานสามารถสนองตอบต่อความคาดหวัง สรา้ งความเชอื่ มั่นให้กบั ประชาชน กลุ่มเป้าหมาย หรือผ้มู สี ่วนไดเ้ สยี ขององคก์ ร เชน่ เดียวกบั กรมป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย ที่ต้องมีทีมงานที่มีคุณภาพเพ่ือการพัฒนาองค์การให้สามารถรองรับการแข่งขัน และ ก้าวทันการเปล่ียนแปลงต่อสภาพแวดล้อมด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยีท่ีทันสมัยอย่างก้าว กระโดด ล้วนเป็นปัจจัยที่ก่อให้เกิดสาธารณภัยท่ีนับวันจะรุนแรงยิ่งข้ึน ส่งผลต่อการดาเนินภารกิจด้านการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั โดยตรง เนื่องจากสาธารณภัยหรือภัยพบิ ัติบางประเภท ไม่สามารถคาดเดา ไดว้ ่าจะเกดิ ขึน้ ท่ไี หน เมอื่ ไหร่ มวี ิวฒั นาการของการเปลี่ยนแปลงสรา้ งความรนุ แรงมากข้ึน ในการศึกษาคร้ังน้ี เป็นการศึกษากระบวนการนาไปสผู่ ลสาเร็จในการทางานเปน็ ทีม ดงั นั้น องค์ความรู้ต่าง ๆ จะเกิดข้ึนไม่ได้ ถ้าปราศจากคนท่ีเป็นปัจจัยสร้างคุณค่าให้แก่องค์กรมีมูลค่าเพ่ิม การทางานจาเป็นต้องอาศัยบุคคลหลายบุคคลช่วยปฏิบัติภารกิจการทางานเป็นทีม ต้องมีผู้นาที่มีความ ซอ่ื สตั ย์ สามารถจงู ใจลกู ทีมไดอ้ ย่างดี เพือ่ ท่จี ะทาใหผ้ ลงานไดบ้ รรลตุ ามผล เปา้ หมายท่ีกาหนด และทีส่ าคญั ลกู ทีมต้องมคี วามร่วมมือในการปฏิบตั ิงาน

ง ผลการศึกษาความสาเร็จในการทางานเป็นทีมของบุคลากรท่ีเข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร นักบริหารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นที่ 10 จานวน 46 คน เป็นเคร่ืองมือท่ีใช้ในการศึกษาครั้งนี้ โดยใชแ้ บบสอบถาม สถิติที่ใช้ ไดแ้ ก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความถ่ี และสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน ซ่งึ สรปุ ผลการวจิ ยั ไดด้ ังนี้ 1. ระดบั ความคิดเปน็ ของบุคลากรที่เข้ารบั การฝกึ อบรมหลกั สูตรนักบรหิ ารงานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย(นบ.ปภ.)รุ่นท่ี10 จานวน 46 คน สรุปในภาพรวมอยู่ในระดับมาก สามารถ แยกเป็นรายดา้ น ดงั นี้ 1.1 ปัจจัยท่ีมีอิทธิพล ประกอบด้วย ด้านผู้นาทีมงาน การมีส่วนร่วมวางแผน การประสานงาน การกากบั ดแู ล อยใู่ นระดบั มาก ผูน้ าทมี มีวสิ ยั ทศั น์ การสร้างแรงจูงใจ ผู้นากล้าตัดสินใจ สามารถแกป้ ญั หาไดท้ ันทว่ งที มีการมอบหมายงานทเี่ หมาะสมตามความรู้ความสามารถ 1.2 ปัจจัยที่มีอิทธิพลในเรื่องปัญหาอุปสรรค ประกอบด้วย ด้านนโยบาย การบรหิ ารงานองค์กร การดาเนนิ งาน 2. จากการศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลในเรื่องปัญหาอุปสรรคในการทางานเป็นทีมของ บคุ ลากรท่เี ขา้ รบั การฝกึ อบรมหลักสูตร นักบริหารงานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นที่ 10 ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย นาไปสู่ผลสาเร็จในการประเมินความเสียหายจากสาธารณภัย เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจ สามารถถ่ายทอดนโยบายสู่การปฏิบัติ มีการมอบหมายหน้าที่ ความรับผิดชอบตรงกับความรู้ มีการบริหารจัดการด้านการซ่อมแซม บารุงรักษาเคร่ืองมือ เคร่ืองจักรกล และอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน อย่างเป็นระบบเอื้อต่อการนาไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจ โดยเน้นการ มีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนที่เหมาะสมในทุกขั้นตอน เป็นหลักการบริหารจัดการนาไปสู่ผลสาเร็จ ตามวตั ถปุ ระสงค์ ในการน้ี ผู้วิจัยหวังผลที่ได้รับจากการศึกษาในครั้งน้ีว่า จะเป็นประโยชน์ต่อบุคลากร ของทีเ่ ข้ารับการฝกึ อบรมหลกั สตู ร นกั บรหิ ารงานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั (นบ.ปภ.) รุ่นตอ่ ไป

จ สารบัญ คานา หนา้ ก กิตตกิ รรมประกาศ ข ค-ง บทสรปุ สาหรบั ผูบ้ ริหาร จ-ฉ สารบญั 1 4 บทท่ี 1 บทนา 4 - ความสาคญั และท่ีมาของปญั หาวจิ ยั 4 - วตั ถปุ ระสงคข์ องการศกึ ษาวจิ ยั 5 - ข้อคาถามในการวิจยั 5 - ขอบเขตการศกึ ษา - ประโยชนท์ ี่ใช้ในการศกึ ษา 7 - นิยามศัพท์เฉพาะ 12 บทที่ 2 แนวคดิ ทฤษฏี และงานวจิ ยั ท่เี กยี่ วข้อง 13 14 - แนวคดิ เก่ยี วกบั การทางานเป็นทมี - แนวคดิ เกีย่ วกบั การปฏบิ ตั งิ านดา้ นการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั 15 15  ขอบเขต 16  คานยิ าม 16  ประเภทของสาธารณภยั 16 - ผลงานวิจัยท่เี กยี่ วขอ้ ง 17 - กรอบแนวคิด บทท่ี 3 ระเบยี บวธิ ีวิจยั - ประชากรและตัวอยา่ ง - เครือ่ งมือทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษา - องค์ประกอบของแบบสอบถาม - การเก็บรวบรวมขอ้ มูล - การแปรผลข้อมูล - สถิตทิ ี่ใช้ในการวิเคราะห์

สารบญั (ตอ่ ) ฉ บทที่ 4 การวเิ คราะหข์ ้อมูล หนา้ สว่ นที่ 1 ข้อมลู สว่ นบุคคล ส่วนที่ 2 วิเคราะห์ความคดิ เหน็ ตอ่ ลกั ษณะการทางานเปน็ ทีม 18 ของบคุ ลากรทีเ่ ข้ารบั การฝกึ อบรมหลกั สูตร นกั บรหิ ารงาน 23 ป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั (นบ.ปภ.) ร่นุ ท่ี 10 ส่วนท่ี 3 วิเคราะหค์ วามคิดเห็นเกี่ยวกับปญั หา อปุ สรรคในการ 29 ทางานเปน็ ทมี ของบุคลากรทเ่ี ขา้ รบั การฝกึ อบรมหลักสูตร นกั บรหิ ารงานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั (นบ.ปภ.) 32 รุน่ ที่ 10 ในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย 34 35 บทท่ี 5 บทสรุปผลการศกึ ษาวจิ ัยและขอ้ เสนอแนะ 35 - สรุปผลการศึกษา 36-37 - การอภิปรายผล 38 - ข้อเสนอแนะสาหรบั การนาผลไปใช้ - ข้อเสนอแนะสาหรับการวจิ ัยครง้ั ตอ่ ไป บรรณานุกรม ภาคผนวก แบบสอบถามเพ่ือการวจิ ัย แบบอนุมัตเิ สนอโครงรา่ งฯ (Proposal) ประวตั ิผศู้ กึ ษา

11 บทที่ 1 บทนา ความสาคัญและท่มี าของปัญหาวิจยั องค์กรทุกองค์กรเป็นหน่วยงานทางสังคมอย่างหน่ึง ท่ีเกิดข้ึนจากระบบความร่วมมือ ของบุคคลต้ังแต่ 2 คนข้ึนไป เพ่ือดาเนินงานอย่างใดอย่างหน่ึง ซ่ึงได้กาหนดและยอมรับในสังคมอย่างมี ระบบแบบแผน มีอาณาเขตสัมพันธ์เฉพาะตัว และมีกรรมวิธีที่จะเสริมสร้าง บารุงรักษาทรัพยากรบุคคล รวมท้ังทรัพยากรอ่ืน ๆ เพื่อให้สมาชิกขององค์กรสามารถดาเนินงานได้อย่างบรรลุเปูาหมายด้วยความ เต็มใจ และมีการติดต่อส่ือสารที่ดีในยุคสมัยปัจจุบัน ความสาเร็จขององค์กร นอกจากข้ึนอยู่กับ ความสามารถ และภาวะผู้นาของผู้บริหารแล้ว ยังข้ึนอยู่กับสมาชิกขององค์กรทุกคน ดังนั้นการบริหาร องค์กรถือเป็นกิจกรรมท่ีบุคลากรทุกคนต้องร่วมมือร่วมใจกันในการปฏิบัติงาน เพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ ตามท่ีกาหนดไว้ มีการบริหารองค์กรแบบมีส่วนร่วม มีระบบการทางานเป็นทีม เพื่อช่วยให้องค์กร มีประสิทธิภาพมากวา่ การบริหารจดั การแบบปัจเจกชน เน่ืองจากการทางานเป็นทีม เป็นการทางานที่นา ความรู้ ความสามารถ ทักษะ ประสบการณ์ท่ีแตกต่างกัน มาผสมผสาน มีการร่วมกันแก้ปัญหาอย่าง รอบครอบเหมาะสมกับการทางานท่ีซับซ้อน การทางานเป็นทีม มีการวางแผนงาน การแบ่งงานกันทา การร่วมมือประสานงาน การตัดสินใจแก้ปัญหา สมาชิกเอื้ออานวยประโยชน์ต่อกัน ยอมรับความคิดเห็น ของส่วนรวม ให้เกยี รติซง่ึ กันและกัน (ณัฐพล ชุมวรฐายี 2554 : 4 ) การทางานของหน่วยงานหรือองค์กรใด ๆ ก็ตามจาเป็นต้องอาศัยทรัพยากร คือ คน (Man) เงิน (Money) วัสดุอุปกรณ์ (Materials) การจัดการ (Management) องค์ประกอบทั้งสี่มีความสาคัญ มาก แต่องค์ประกอบแรก คือ คน มีความสาคัญที่สุดในการดาเนินงาน เพราะคนเป็นปัจจัยสาคัญของ กระบวนการพัฒนาท้ังหลายท้ังปวง สิ่งสาคัญ 2 ประการ ที่ต้องคานึงถึงคือ ความสามารถในการปรับตัว และความสามารถในการพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์ (Human Resource Development) องค์ความรู้ต่าง ๆ จะเกิดขึ้นไม่ได้ ถ้าปราศจากคนที่เป็นปัจจัยสร้างคุณค่าให้แก่องค์กรมีมูลค่าเพิ่ม (Value Added) เพราะยิ่งใช้ยิ่งทาให้มีระบบมากข้ึน (ณรงค์วิทย์ แสนทอง 2544 : 10) การทางานในองค์กรใด ๆ ก็ตาม จาเป็นตอ้ งอาศยั บคุ คลหลายบคุ คลชว่ ยปฏบิ ัตภิ ารกิจตา่ ง ๆ ท่มี อี ยู่มากมายหลายด้านให้บรรลุจุดมุ่งหมาย ท่ีตั้งไว้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการแบ่งท้ังงานหน้าท่ี ความรับผิดชอบตามความรู้ ความสามารถ ความ ถนัดของแต่ละบุคลากร การประสานความร่วมมือ ร่วมใจ การทุ่มเทกาลังความคิด สติปัญญา และ ประสบการณ์ นามาซงึ่ ความสาเรจ็ ของงาน (สงวน ชา้ งฉัตร 2538 : 46) “ คน ” คือ ทรัพยากรหรือทรัพย์สินอันมีค่าที่จะทาให้องค์การต่าง ๆ มีพลังในการ ขับเคล่ือนงานให้บรรลุตามเปูาหมายขององค์การ แต่ “ คน ” เพียงคนเดียวไม่สามารถนาพาให้องค์การ สู่ความสาเร็จได้ “คน” จึงต้องร่วมกลุ่มกันเพื่อทางานร่วมกันเป็นทีมภายใต้วัตถุประสงค์เดียวกัน มีเปูาหมายร่วมกัน มีสัมพันธ์ภาพที่ดีต่อกัน มีความยืดหยุ่น สร้างบรรยากาศที่เป็นประชาธิปไตย ในองค์การ คือ ทุกคนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ยอมรับฟังเหตุผลซึ่งกันและกัน ร่วมกันคิด ตัดสินใจ และปฏิบัติงานร่วมกัน ตลอดจนร่วมยินดี และรับผลประโยชน์ร่วมกัน เม่ืองานประสบ ความสาเร็จ ดังท่ี แฟรงคลิน ดีลาโน รูสเวลท์ (Franklin Delano Roosevelt) กล่าวไว้ว่า “ คนท่ี ทางานร่วมกันเป็นทมี จะสามารถทาหลายสิ่งหลายอย่างใหส้ าเร็จได้ ในขณะที่คนคนเดยี วจะไมม่ ที างทา

2 สงิ่ เหลา่ น้ันได้เลย” หรือเราสามารถทจ่ี ะอธิบายได้ว่าทีมงาน คือ กลุ่มคนที่ถูกจัดตั้งข้ึนเพื่อทางานร่วมกัน หรือกลุ่มคนที่ทางานคล้ายคลึงกัน หรือกลุ่มคนท่ีข้ึนตรงกับผู้บังคับบัญชาคนเดียวกัน การทางานเป็นทีม จะสามารถดึงเอาความสามารถของคนแต่ละคนท่ีมีอยู่ออกมาใช้ ทาให้เป็นพลังขับเคล่ือนได้ผลงานที่มี ประสิทธิภาพ อีกทั้งก่อให้เกิดการสร้างสรรค์ส่ิงใหม่ สามารถแก้ปัญหาได้ดีกว่าการทางานคนเดียว ทีมงานจึงมีความสาคัญต่อความสาเร็จขององค์การในทุกองค์การ สามารถสร้างสรรค์สิ่งใหม่ในการจัด ระบบงาน กระบวนการแก้ปัญหาและเตรียมพร้อมรับสถานการณ์ สาหรับการบริหารภายใต้สถานการณ์ ที่เปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา และงานท่ีต้องอาศัยความทุ่มเทความรู้ ความสามารถอย่างเต็มท่ี ของผู้ปฏิบัติงาน ทีมงานจะมีบทบาทสาคัญในการแก้ปัญหาและสร้างความสัมพันธ์ในการติดต่อสื่อสาร ซึ่งจะสนับสนุนการปฏบิ ัตงิ านตามภารกจิ ทม่ี ีประสทิ ธภิ าพ และประสิทธผิ ล กล่าวคือ สามารถหาทางออก ของปัญหาได้หลายหลายวิธี โดยต้ังอยู่บนผลประโยชน์ร่วมกัน ส่วนกระบวนการแก้ปัญหาของทีมงาน จะเป็นการพัฒนาสมาชิกในทีมให้เปิดใจกว้างมากขึ้น โดยอาศัยการส่ือสารท่ีดี สร้างความไว้วางใจ ในทมี งาน อกี ทงั้ ประสบการณใ์ นการรว่ มแกป้ ญั หา จะทาให้ทีมตระหนักถึงความแตกต่างการมองปัญหา ของแต่ละคนก่อให้เกิดการยอมรับ ในความแตกต่างระหว่างบุคคล การยอมรับความเสี่ยง และความสาเร็จ รว่ มกันจะเป็นการสร้างความผูกพัน ทีจ่ ะทาให้การทางานเป็นทีมแขง็ แกร่งย่ิงขึน้ ปัจจุบันการท่ีภาคราชการจะก้าวข้ามไปสู่องค์กรในรูปแบบใหม่น้ัน พบว่าปัญหาของ การวิจัยที่สาคัญที่ภาคราชการประสบคือ การปรับแนวคิดการทางานจากมุ่งรายละเอียดของรายการ (Management by mean) เป็นการบริหารแบบยึดวัตถุประสงค์ (Management by Objective) และ การที่จะให้องค์กรบรรลุวัตถุประสงค์ได้ดีน้ัน องค์กรต้องสร้างวัฒนธรรมในการปฏิบัติงานแบบมุ่งเน้น ผลสัมฤทธิ์ของงานในทุกระดับ (Arrangement by Results) ที่สาคัญการจะให้ข้าราชการมุ่งเน้น ผลงานนั้น จาเป็นต้องให้อานาจการบริหารจัดการอย่างเต็มท่ีในการคิดและการปฏิบัติ ซ่ึงทรัพยากร บุคคลมีความสาคัญ และมาก่อนปัจจัยอ่ืน ๆ ทั้งนี้มิใช่แค่พิจารณาเพียงเชิงปริมาณเท่านั้น ท่ีต้องมี ส่วนผสมของความรู้ ความสามารถ ทักษะทัศนคติ ค่านิยม รวมอยู่ด้วย ดังนั้น “กลยุทธ์การทางาน เป็นทมี ” ซง่ึ เป็นเทคนิคการบรหิ ารองค์กรยคุ ใหม่ จึงเป็นกลยทุ ธ์ทางเลือกอีกทางหน่ึง และได้ถูกนามาใช้ อย่างกว้างขวางในปัจจุบัน เป็นแนวทางในการปรับตัวเพื่อการอยู่รอด และเสริมสร้างศักยภาพในการ แขง่ ขันให้กบั องคก์ ร (ฉตั รประอร นยิ ม 2548 :1 ) สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ได้กาหนดให้การพัฒนาข้าราชการ ในปัจจุบันมุ่งเน้นการพัฒนาข้าราชการ โดยยึดหลักสมรรถนะ (Competency) และการพัฒนายึด ความสามารถ (Capability) เพื่อให้ข้าราชการเป็นผู้ปฏิบัติงานที่ทรงความรู้ (Knowledge Worker) สามารถปฏิบัติงานภายใต้หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และระบบบริหารการจัดการภาครัฐ แนวใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก้าวทันต่อการเปล่ียนแปลง สามารถพัฒนางานในหน้าที่อย่างต่อเน่ือง สม่าเสมอ โดยการพัฒนาที่เน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง และสานักงานคณะกรรมการ ข้าราชการพลเรือนยังมีบทบาทเป็นผู้เสนอแนะ กากับดูแล และให้คาปรึกษาแก่ส่วนราชการในการ ดาเนินงาน จึงได้วางแผนแนวทางส่งเสริมสนับสนุนให้ส่วนราชการดาเนินการพัฒนาข้าราชการในสังกัด อย่างเป็นระบบ เปูาหมายชัดเจน เพ่ือกระตุ้นให้เกิดการสร้างวัฒนธรรมใหม่ในการปฏิบัติงานในระบบ ราชการ มีการทางานร่วมกันเป็นทีม มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน และการปลดปล่อยพลังความคิด ของราชการในทกุ ระดับให้รว่ มกนั พัฒนา และสรา้ งการเปลีย่ นแปลงในหน่วยงาน โดยเฉพาะการสร้างภาวะ ผ้นู าให้เกิดขน้ึ ในองคก์ าร และการจัดทาแผนอาชีพของข้าราชการแต่ละคน (กรมการพฒั นาชมุ ชน 2552)

3 ความจาเปน็ ในการศึกษาถึงปจั จัยที่มผี ลต่อการทางานเปน็ ทีมของบคุ ลากรที่เข้ารบั การ ฝึกอบรมหลักสูตร นักบริหารงานปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นท่ี 10 เนื่องจากเป็น บุคลากรที่เข้าอบรมมาจากหลายหน่วยงานทั้งจากส่วนกลาง และจากภูมิภาค การจะรวมคนหมู่มาก เข้ามาทางานร่วมกันภายใต้องค์การเดียวกัน เป็นทีมงานเดียวกัน ทุกคนต้องรับรู้และเข้าใจถึงเปูาหมาย และวัตถุประสงค์ขององค์การในทิศทางเดียวกัน และร่วมดาเนินการตามภารกิจเพื่อให้องค์การประสบ ความสาเร็จได้น้ัน จึงต้องให้ความสาคัญในด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลซึ่งก็คือ การบริหารทีมงาน นั่นเอง อีกทั้งภารกิจที่ต้องมีการทางานเป็นทีม ไม่ว่าจะเป็นด้านการบริหารงานท่ัวไปของหน่วยงาน สนับสนุนในสานัก/กอง เพ่ือการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ขององค์การสู่การปฏิบัติ ตามแนวนโยบาย หรือ แผนการปฏิบัติงาน ตลอดจนชุดเผชิญเหตุในสภาวะวิกฤติในด้านการบริหารจัดการสาธารณภัย ท่ีปฏิบัติการ ณ จุดเกิดเหตุ จึงจาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการพัฒนาอยู่เสมอ มีการติดต่อส่ือสารกัน อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เกิดความพร้อมเป็นทีมท่ีสามารถทางานร่วมกันได้อย่างดีเยี่ยมหากเกิดภัยพิบัติ จงึ ต้องมที ีมงานท่ีมคี วามสามารถ มีศักยภาพ และด้านการบรหิ ารจดั การ การพฒั นาบคุ ลากรในทมี ดังน้ัน ผู้ทาวิจัยจึงทาการศึกษา เร่ือง ปัจจัยท่ีมีผลต่อการทางานเป็นทีมของบุคลากร ที่เข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตร นักบริหารงานปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นท่ี 10 เพ่ือให้ ฝุายที่เกี่ยวข้อง นาผลไปใช้ในการทางานเป็นทีมจะบรรลุผลสาเร็จน้ัน มีปัจจัยสาคัญหลายตัวที่ทาให้ การทางานเป็นทีมประสบความสาเร็จและราบรื่น เน่ืองจากการทางานเป็นทีมของพัฒนาการ มีความ จาเป็นท่ีจะต้องมีการปฏิบัติงานร่วมกัน และตามนโยบายการกากับดูแลองค์การท่ีดีของสานักงาน คณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ ไดก้ าหนดค่านิยมองคก์ รทีด่ ีไวด้ งั นี้ “ETIS” Excellent มุ่งผลสัมฤทธิ์ และคุณภาพของงาน Teamwork เน้นการทางานเป็นทีม , Integrity ยึดม่ันในคุณธรรมทาในส่ิงท่ี ถูกต้องและสงั คมยอมรบั , Service mind การมีจติ บริการ เพ่ือยกระดับมาตรฐานทางด้านธรรมาภิบาล ของหน่วยงานภาครัฐ และเพื่อส่งเสริมและเผยแพร่องค์ความรู้ แนวทางปฏิบัติด้านธรรมาภิบาล การบริหารให้ทุกคนท่ีเกี่ยวข้องได้มีส่วนร่วมในการทางาน รวมทั้งมีการพัฒนาการทางานเป็นทีมอยู่เสมอ โดยมีการปฏิบัติที่เป็นกระบวนการ คือ การกาหนดวัตถุประสงค์ของงาน การมอบหมายงาน วิธีการ ทางานร่วมกัน การติดตามและการประเมินผล ในปัจจุบันเป็นยุคแห่งการแข่งขันอันเป็นผลมาจาก การเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคม ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีต่าง ๆ การบริหารราชการยุคใหม่ท่ีมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ ความคุ้มค่าของงาน จึงจาเป็นต้องปรับรูปแบบ วิธีการทางาน พัฒนาสมรรถนะของคนไปพร้อมๆ กัน “การทางานเป็นทีม” จึงเป็นกลยุทธ์ทางเลือก ในการพัฒนาองค์กร ได้ถูกนามากาหนดเป็นสมรรถนะหลักของข้าราชการ อาจกล่าวได้ว่า การทางาน เป็นทีมเป็นกลยุทธ์หนึ่งในการพัฒนาองค์กร เพราะเป็นการบูรการความรู้ ความสามารถ ทักษะ และ พฤติกรรมของคนท่ีหลากหลายเข้าไว้ด้วยกัน อันจะส่งผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานการทางานเป็นทีม จะมีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการปฏิบัติงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร แต่ในความเป็นจริงแล้ว ไม่มีใครทราบล่วงหน้าว่า ในแต่ละองค์กรมีสภาพการทางานเป็นทีมที่แท้จริงหรือไม่ หากมีแล้วจะมี ปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อการทางานเป็นทีมของพัฒนาการ ดังน้ัน ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษา และผลจากการ ศึกษาวิจัยคร้ังน้ีจะเป็นข้อมูลให้ทราบว่า มีปัจจัยตัวใดบ้างที่มีความสัมพันธ์ต่อการทางานเป็นทีมของ บุคลากร ซึ่งจะนาไปสู่การพัฒนาและปรับปรุงองค์ความรู้เก่ียวกับการทางานเป็นทีมอยู่ในระดับใด ซึ่งจะสง่ ผลตอ่ ความสาเร็จในการปฏบิ ตั งิ าน สามารถสนองตอบต่อความคาดหวัง สร้างความเชื่อมั่นให้กับ ประชาชน กลุม่ เปาู หมาย หรอื ผมู้ สี ่วนได้เสียขององค์กร เช่นเดียวกับกรมปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย ทีต่ ้องมีทีมงานทมี่ คี ุณภาพเพ่ือการพัฒนาองค์กรใหส้ ามารถรองรับการแข่งขันและก้าวทันการเปลีย่ นแปลง

4 ต่อสภาพแวดล้อมด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีท่ีทันสมัยอย่างก้าวกระโดด ซึ่งล้วน เป็นปัจจัยที่จะก่อให้เกิดสาธารณภัยที่นับวันจะรุนแรงย่ิงขึ้น เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของ ประชาชน และประเทศชาติอย่างมหาศาล ส่งผลต่อการดาเนินภารกิจด้านการปูองกันและบรรเทา สาธารณภัยโดยตรง เน่ืองจากสาธารณภัยหรือภัยพิบัติบางประเภทไม่สามารถคาดเดาได้ว่า จะเกิดข้ึน ท่ไี หน เม่ือไหร่ และมีวิวฒั นาการของการเปล่ียนแปลงสรา้ งความรุนแรงมากข้ึน เป็นภัยชนิดใหม่ท่ียาก ต่อการปูองกัน และเป็นปัญหาของประเทศท่ีรัฐบาลไม่ว่ายุคใด สมัยใด และองค์การที่เก่ียวข้องให้ความ ตระหนัก โดยเฉพาะกรมปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย ซ่ึงภารกิจตามกฎหมายในการบริหารจัดการ สาธารณภัยของประเทศ จึงต้องมีทีมงานท่ีมีคุณภาพ และมีการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง เพ่ือเพ่ิมขีด สมรรถนะและคุณลักษณะที่ดีของทีมงาน ซึ่งจะส่งผลต่อความสาเร็จในการปฏิบัติงาน และสามารถ สนองตอบต่อความคาดหวัง สร้างความเชื่อมั่นให้กับประชน กลุ่มเปูาหมาย หรือผู้มีส่วนได้เสียของ กรมปูองกนั และบรรเทาสาธารณภัย วตั ถุประสงคข์ องการศึกษาวิจยั ได้กาหนดวตั ถปุ ระสงค์ในการศึกษา ดังนี้ 1 เพ่ือศึกษาระดับการทางานเป็นทีมของบุคลากรที่เข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตร นักบริหารงานปูองกนั และบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุน่ ท่ี 10 2 เพ่ือศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการทางานเป็นทีมของบุคลากรที่เข้ารับการ ฝกึ อบรมหลักสตู ร นกั บริหารงานปูองกนั และบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รนุ่ ท่ี 10 ขอ้ คาถามในการวจิ ัย 1. บุคลากรทเ่ี ข้ารบั การฝกึ อบรมหลกั สูตร นกั บรหิ ารงานปูองกนั และบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นท่ี 10 มีแนวทางการทางานเป็นทมี อยู่ในระดับใด 2. มีปัจจัยใดท่ีมีความสัมพันธ์กับการทางานเป็นทีมของบุคลากรที่เข้ารับการฝึกอบรม หลกั สตู ร นักบรหิ ารงานปอู งกันและบรรเทาสาธารณภยั (นบ.ปภ.) รุน่ ท่ี 10 ขอบเขตการศกึ ษา ผู้วิจัยใช้การวิจัยเชิงปริมาณ สาหรับการศึกษาในครั้งนี้ โดยเลือกใช้วิธีการสารวจด้วย แบบสอบถาม ทสี่ รา้ งขน้ึ และไดก้ าหนดขอบเขตของการวจิ ัยไว้ดงั นี้ คือ 1. การสงั เกต (Observation) คือ ศึกษาวิธีการทางานเป็นทีมและปัจจัยท่ีมีผลต่อการ ทางานเป็นทีมของบุคลากรท่ีเข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตร นักบริหารงานปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รนุ่ ท่ี 10 2. ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ บุคลากรที่เข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตร นักบริหารงานปูองกนั และบรรเทาสาธารณภยั (นบ.ปภ.) รนุ่ ท่ี 10 จานวนทั้งส้นิ 46 คน

5 3. ตวั แปรที่เก่ียวข้องกบั การศึกษา ประกอบดว้ ย 3.1 ตวั แปรอสิ ระ ได้แก่ เพศ อายุ ระดบั การศึกษา ประเภทตาแหน่ง ประสบการณ์ ทางาน หน่วยงานที่สังกัด ลักษณะการทางานเป็นทีมในองค์กร ลักษณะการเข้าร่วมทีมงานในองค์กร และปัจจัยการทางานเปน็ ทีม เช่น ด้านผู้นาทมี งาน ด้านการมีสว่ นร่วม ด้านการวางแผน ด้านประสานงาน ด้านกากบั ดแู ล 3.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ การทางานเป็นทมี ของบุคลากร ท่ีเข้ารับการฝึกอบรมหลักสตู ร นักบริหารงานปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นที่ 10 เช่น ด้านนโยบาย ดา้ นการบรหิ ารงาน องค์กร และด้านการดาเนนิ งาน 4. สถานที่ศึกษาที่ผู้วิจัยใช้เก็บรวบรวมข้อมูล คือ บริเวณวิทยาลัยปูองกันและบรรเทา สาธารณภยั จังหวดั ปทุมธานี 5. ระยะเวลาในการศึกษาเรม่ิ ตง้ั แต่ วันที่ 7 มกราคม 2557 – 10 เมษายน 2557 ประโยชนท์ ใี่ ชใ้ นการศกึ ษา ผลจากการศึกษาวจิ ยั ของบคุ ลากรผูเ้ ข้ารบั การฝึกอบรมหลักสูตร นักบริหารงานปูองกัน และบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นที่ 10 จานวน 46 คน มีประโยชน์ตอ่ ฝาุ ยท่ีเกยี่ วข้องดงั นี้ คือ 1. การศึกษาทาให้ทราบว่าบุคลากรที่เข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตร นักบริหารงาน ปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นที่ 10 สามารถนาผลการวิจัยไปใช้ในการวางแผนพัฒนา และสนับสนนุ การทางานเป็นทีมทม่ี ปี ระสิทธิภาพ 2. การศกึ ษาเพ่อื นาไปพิจารณาในการปรบั ปรุง และพัฒนาตนเองในการปฏิบัตงิ าน เปน็ ทีม ตลอดจนเปน็ แนวทางให้ผบู้ ริหารนาไปใช้ในการเสริมสรา้ งประสิทธภิ าพการทางานเป็นทีม นิยามศัพทเ์ ฉพาะ คานิยามศัพท์เฉพาะในการศึกษาในครง้ั นี้ ได้แก่ 1. ทีมงาน หมายถึง การทางานร่วมกันของบุคลากร โดยมีวัตถุประสงค์ร่วมกันในการ ปูองกนั และบรรเทาสาธารณภัย เพ่ือให้ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ในท่ีน้ีให้หมายถึง บคุ ลากรท่เี ขา้ รับการอบรมหลักสตู ร “นกั บรหิ ารการปอู งกันและบรรเทาสาธารณภยั (นบ.ปภ.)” ร่นุ ที่ 10 2. วธิ ีการทางานเปน็ ทมี หมายถึง ลกั ษณะการทางานของข้าราชการท่ที างานร่วมกัน ภายใต้ทีมงานของบุคลากรท่ีเข้ารับการอบรมหลักสูตร “นักบริหารการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.)” รุ่นท่ี 10 โดยมีวัตถุประสงค์เดียวกัน เพ่ือให้งานเกิดผลสาเร็จ และสอดคล้องต่อเปูาหมาย สูงสุด เพ่อื การพฒั นาองค์กร ซึ่งประกอบด้วยลกั ษณะดังนี้ 2.1 ดา้ นผู้นาทมี งาน หมายถึง ความสามารถในการเป็นผนู้ ากลมุ่ ทม่ี วี สิ ัยทัศน์ มีการกาหนดกลยุทธ์ เพื่อการบริหารทีมงาน และส่งเสริมการทางานสู่ความสาเร็จ สร้างแรงจูงใจให้ ทีม ฝุาฟันสู่ความสาเร็จ สร้างความร่วมมือให้เกิดขึ้นในทีมงาน ในที่น้ีหมายถึง ผู้นาของทีมงานในการปูองกัน และบรรเทาสาธารณภัยของบุคลากรที่เข้ารับการอบรมหลักสูตร นักบริหารการปูองกันและบรรเทา สาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นท่ี 10

6 2.2 ด้านการมีส่วนร่วม หมายถึง การเปิดโอกาสให้สมาชิกของทีมงานได้มี ส่วนร่วมในการทางาน ต้ังแต่การมีส่วนร่วมในการวางแผน การตัดสินใจ การปฏิบัติงาน การติดตาม ประเมินผล รวมรบั ผลประโยชน์ในการมีสว่ นร่วมของทมี งานในการปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภยั 2.3 ด้านวางแผน หมายถึง การกาหนดขั้นตอน วิธีการทางาน แผนงาน ระยะเวลาปฏิบัติงาน วิธีการวัดผลการปฏิบัติงานในวงรอบ เพ่ือให้งานบรรลุเปูาหมาย งบประมาณ ท่ไี ดร้ ับจดั สรร การใชท้ รพั ยากรท่ีมีอยู่รวมท้งั การติดตามประเมนิ ผลการทางาน 2.4 ด้านการประสานงาน หมายถึง การผสมผสานความสามารถของ ผู้ปฏิบัติงานตั้งแต่สองคนข้ึนไปมาทางานร่วมกัน มีการติดต่อสื่อสารและประสานกันท้ังภายในและ ภายนอกหน่วยงาน ในท่ีน้ีหมายถึง การประสานงานของทีมงานในการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย ของบคุ ลากรทเี่ ขา้ รับการอบรมหลักสูตร “นักบรหิ ารการปอู งกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.)” รุ่นที่ 10 รวมท้ังการใช้ทักษะในการส่ือสาร การแลกเปล่ียนข้อมูลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อขับเคล่ือนภารกิจ ในการปอู งกันและบรรเทาสาธารณภยั ซง่ึ จะต้องเป็นการแสดงความคิดเห็นอย่างตรงไปตรงมา สามารถ ตรวจสอบความเข้าใจได้อย่างตรงกัน ทาให้การดาเนินงานสะดวก รวดเร็ว จนบรรลุผลสาเร็จ ตามเปาู หมาย เพื่อประโยชน์สงู สุดของประชาชน 2.5 ด้านการกากับดูแล หมายถึง การกากับหรือควบคุมให้เป็นไปตาม กฎระเบียบ กฎหมาย และการดูแลให้เป็นไปตามนโยบาย และมาตรฐานที่ได้กาหนดไว้ในที่นี้หมายถึง การกากับดแู ลการดาเนนิ การของทีมงานในการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย ของบุคลากรที่เข้ารับการ อบรมหลกั สูตร นักบริหารงานปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นท่ี 10 ให้เป็นไปตามกฏหมาย ระเบียบ และข้อบังคับท่ีเกี่ยวข้อง รวมทั้งการติดตามและการประเมินผลด้านสาธารณภัย และด้านการ ปฏิบัตงิ าน เพือ่ ประเมินความคมุ้ คา่ ในการทางานให้ประสบผลสมั ฤทธ์ิ ปัญหาและอุปสรรคการทางานเป็นทีม หมายถึง ส่ิงที่ขัดขวางการทางานของทีมงาน ในการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย ไม่ได้ดาเนินไปในทิศทางท่ีควรจะเป็น อุปสรรคต่อการทางาน ทาให้ได้ผลงานไม่บรรลุเปูาหมาย หรือไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ในกรณีน้ีผู้ศึกษาวิจัยสนใจศึกษา ปญั หาอุปสรรคในดา้ นตา่ ง ๆ ดังนี้ 1. ด้านนโยบาย ได้แก่ การกาหนดนโยบายและการถ่ายทอดนโยบายสู่การ ปฏิบัติท่ไี ม่ชดั เจน นโยบายการบรหิ ารและการปฏบิ ตั หิ นา้ ทีข่ าดความต่อเนื่อง 2. ด้านการบริหารงานองค์กร ได้แก่ โครงสร้างขององค์กรไม่ชัดเจน การมอบหมาย อานาจหน้าท่ีไม่ตรงกับความรู้ความสามารถของสมาชิก การโยกย้ายบุคลากรบ่อยคร้ัง ทาให้บุคลากร ขาดความชานาญในหน้าท่ี การบริหารจัดการด้านเครื่องมือ อุปกรณ์ในการปฏิบัติงานไม่เอื้อต่อการ ทางาน 3. ดา้ นการดาเนนิ งาน ไดแ้ ก่ การดาเนินงานท่ีขาดการบรู ณาการการทางานร่วมกัน ระหว่างสมาชิกทั้งภายในและภายนอก รวมท้ังเครือข่ายและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจ ประสานความร่วมมือ มีความเห็นพ้องต้องกัน รับผิดชอบในหน้าที่และพัฒนาจิตสานึกในการทางาน ร่วมกันในการทางานเป็นทมี

77 บทท่ี 2 แนวคิด ทฤษฏแี ละงานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วข้อง ในการศึกษาครั้งน้ี เป็นการนาเสนอแนวคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรของ การศึกษาซ่ึงผู้วิจัยได้ทาการสืบค้น จากเอกสารทางวิชาการ และงานวิจัยจากแหล่งต่าง ๆ ซ่ึงการวิจัย เร่ือง ปจั จยั ท่ีมีผลต่อการทางานเป็นทมี ของนักศึกษาหลักสูตร นักบริหารงานปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นที่ 10 ดงั นี้ 1. แนวคดิ เกยี่ วกบั การทางานเปน็ ทมี 2. แนวคิดเก่ียวกับการปฏบิ ตั งิ านดา้ นการปูองกันและบรรเทาสาธารณภยั 3. งานวจิ ยั ท่เี กีย่ วข้อง แนวคิดเกยี่ วกบั การทางานเปน็ ทีม องค์ประกอบพ้นื ฐานท่ีสาคัญของการทางานเป็นทีม เอกชยั ก่ีสุขพันธ์ (2538 : 145) ได้ให้ความหมายไว้ว่า การทางานร่วมกันของทีมงาน เพื่อให้ได้ผลผลิตสูงนั้น จะต้องมีองค์ประกอบที่จะช่วยส่งเสริมการทางานเป็นทีม กล่าวไว้ 6 ข้อ ได้แก่ ผู้นา ผู้บริหารหรือหัวหน้าเป็นองค์ประกอบท่ีสาคัญมากที่สุด ความยุติธรรม ความเป็นคนมีหลักการ มเี หตผุ ล และความเปน็ เพ่อื นร่วมงานของผ้นู า จะสามารถเสริมสรา้ งบรรยากาศในการทางานเปน็ ทีมไดด้ ี ประโยชนข์ องการทางานเปน็ ทมี ไดม้ ีผู้ใหค้ วามหมายของประโยชน์ของการทางานเปน็ ทมี ไว้หลายทา่ น ดงั น้ี วรวิมล บุตรอามาตย์ (2550 :15-16) ได้กล่าวว่า การทางานท่ีทาโดยอาศัยคนหลายคน น้ัน ประกอบด้วยส่ิงสาคัญสองประการ คือ งานกับคน คือ ท่ีเป็นลักษณะความคิดอารมณ์ และ ความรสู้ ึกของผปู้ ฏบิ ตั ิงานดว้ ย ซงึ่ ผลลพั ธข์ องการทางานประกอบด้วย 1. คณุ ภาพของงานท่ีทา 2. ความดขี องผทู้ ี่ไดป้ ฏบิ ัตใิ นการให้ความร่วมมอื กับผู้อ่ืน 3. ปริมาณทที่ าไดซ้ ึง่ การไดผ้ ลลพั ธ์ ณฐั นันท์ ดนูพทิ กั ษ์ (2543 : 18 ) ไดส้ รปุ ประโยชนข์ องการทางานเป็นทมี ไว้ ดังนี้ 1. ทีมจะมีแหล่งข้อมูลมากกว่าคนเพียงคนเดียว เน่ืองจากทีมงานจะมีบุคคลต่าง ๆ ที่มีความหลากหลายในด้านพื้นฐาน และประสบการณ์ท่ีสามารถนามาร่วมกันคิดพิจารณาได้อย่าง กวา้ งขวางกวา่ เพ่ือหาทางออกทด่ี ที ส่ี ดุ ตอ่ การแก้ไขสภาพปญั หาท่ีเกิดขนึ้ 2. ทีมสามารถใช้วิธีการในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ท่ีสร้างสรรค์ได้มากกว่าบุคคลเพียง คนเดยี ว เน่อื งจากทมี งานมวี ิธีการหรอื แนวทางหลากหลายในการแก้ไข 3. การทางานเป็นทีมส่งเสริมใหม้ ีการพฒั นาการเรยี นรู้ การอภปิ รายแนวความคดิ ต่างๆ อย่างกว้างขวาง การได้มีโอกาสอภิปรายในเรื่องที่เป็นปัญหากับทีมจะทาให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนา แนวคิดของตนเอง และทีมได้อยา่ งกว้างขวาง 4. ความพึงพอใจของสมาชิกต่อการตัดสินใจของทีมเพิ่มมากข้ึน เพราะสมาชิกได้มี ส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจ และการแก้ปัญหา ซึ่งจะสร้างความรู้สึกผูกพัน และรับผิดชอบต่อ แนวทางอันเกดิ จากการตัดสนิ ใจนั้น เน่ืองจากตนไดเ้ ปน็ สว่ นหน่ึงทีช่ ว่ ยทาใหเ้ กดิ แนวทางนนั้ ๆ ข้นึ มา

8 5. สมาชิกของทีมจะเข้าใจตนเองได้ดีข้ึน ขณะที่ตนมีปฏิสัมพันธ์กับสมาชิกคนอื่น การทางานเป็นทีมจะทาให้เห็นสภาพท่ีคนอื่นมองเห็นได้ชัดเจนมากยิ่งข้ึน เพราะข้อมูลสะท้อนกลับที่เรา ได้รบั จะทาใหต้ ระหนักถงึ คุณลักษณะของตวั เราที่เรามองไมเ่ ห็นแต่คนอืน่ มองเหน็ ลกั ษณะการทางานเป็นทีมที่มีประสิทธิภาพ นักวิชาการได้เสนอแนวคิดลักษณะทางการทางานเป็นทีมที่มีประสิทธิภาพไว้หลายท่าน ไดแ้ ก่ สงวน ช้างฉัตร (2539: 262) กลา่ ววา่ รูปแบบทีมงานที่มีประสิทธิภาพ ประกอบด้วยลักษณะสาคัญ ดงั น้ี 1. ลักษณะของทีมงาน ได้แก่ ขนาดของทีมที่มีขนาดใหญ่เกินไปเก่ียวข้องกับ ความสามารถในการทางานลดลง ขนาดโครงสร้างความกดดนั ท่ที าใหเ้ กดิ เอกภาพ และเปาู หมายในการ ทางานร่วมกัน 2. ปจั จัยทมี่ ีผลตอ่ การตัดสนิ ใจปฏบิ ตั ิงาน ได้แก่ ระดับความพยายามในการทางานดว้ ย การใช้แรงจูงใจ ความรู้และทักษะของสมาชิก และยุทธศาสตร์การปฏิบัตงิ านของทีมงาน 3. ประสิทธิภาพของทีมงาน สามารถพจิ ารณาไดจ้ ากสามมิตคิ อื ความสาเรจ็ ในการ ปฏิบัติงานในด้านการเพิ่มคุณค่าของผลผลิต ความพึงพอใจของสมาชิก การเพิ่มพูนความสามารถ ของทีมงาน ความสามารถท่ไี ด้พฒั นาแล้ว เตอื นใจแววงาม (อา้ งถึงในวรวมิ ล บตุ รอามาตย์ 2550: 17-18) กล่าวว่าการปฏิบัตงิ าน ในองค์กรหรือในกลมุ่ จะบรรลุเปาู หมายได้ต้องมีทีมงานที่มีประสทิ ธิภาพ ซึง่ ประกอบด้วยคณุ ลักษณะดงั น้ี 1. บรรยากาศในทมี งานเปน็ กันเองไม่มีพธิ ีรตี องไมต่ ึงเครยี ด และไมต่ อ้ งระมัดระวังตวั จนเกินไปในขณะทางานทุกคนมีความเอาใจใส่ในงาน และร่วมมือกันทางานอย่างจริงจังเป็นธรรมชาติ ไมฝ่ ืนหรือแกลง้ ทาตอ่ หนา้ ไมม่ รี อ่ งรอยของความเบ่ือหน่ายบนใบหน้าของสมาชกิ ทุกคน 2. การอภิปรายถกเถียงกันอย่างหนัก ก่อนที่จะมีการลงมือทางานแต่ไม่มีการพูด นอกเรื่อง และไม่ใช้อารมณ์จะอภิปรายถกเถียงกันด้วยเหตุผล 3. มวี ัตถุประสงค์และเปูาหมายร่วมกันโดยสมาชิกทุกคนเข้าใจวัตถุประสงค์และ เปาู หมายท่ีไดร้ ่วมกนั กาหนดขึน้ มานนั้ อย่างชดั เจน และมคี วามรับผดิ ชอบรว่ มกนั 4. สมาชิกทุกคนฟงั เสยี งของกนั และกนั รับฟังความคดิ เหน็ และวิเคราะห์วิจารณ์กัน อยา่ งละเอียดถี่ถ้วนตั้งใจฟังความเห็น เพื่อนามาปรับปรุงแก้ไขร่วมกัน และทุกคนกล้าเสนอความคิดเห็น โดยไม่กลัวว่าจะถกู กล่าวหาวา่ เปน็ ข้อเสนอท่ไี ม่ดี 5. ไม่มีการเห็นพ้องต้องกันทันทีตลอดเวลา มีความสบายใจกับสถานการณ์ที่มี ความขัดแย้งกันบ้างในทีมเพราะทุกคนกล้าเผชิญความจริง เพื่อหาข้อยุติที่ดีที่สุดโดยสมาชิกทั้งทีม จะช่วยกันสารวจดูเหตุผลของผู้ที่ไม่เห็นด้วยอย่างรอบคอบ แล้วช่วยกันหาวิธีแก้ไขข้อขัดแย้งเหล่าน้ัน สมาชิกที่ไม่มีอิทธิพลครอบงาผู้ไม่เห็นด้วยอย่างเด็ดขาดไม่แสดงความเป็นศัต รูหรือแสดงความรังเกียจ ฝุายทีม่ คี วามขดั แยง้ แต่กลบั เหน็ วา่ เป็นการชว่ ยกนั ทางานใหเ้ กดิ ความถกู ต้องอย่างแทจ้ รงิ 6. การตัดสินใจของทีมเป็นการตัดสินใจโดยความเห็นพ้องต้องกันอย่างเป็นเอกฉันท์ (Consensus) หลังจากอภิปรายกันแล้วทุกคนก็จะเต็มใจนาข้อตกลงไปปฏิบัติ ทีมจะไม่ยอมรับ การตัดสนิ ใจอยา่ งง่ายๆโดยใชเ้ สียงสว่ นมากหรอื ชนิดท่ีเรยี กว่า “ พวกมากลากไป ”

9 7. มกี ารวพิ ากษ์วจิ ารณ์การปฏิบตั งิ านหรอื ผลงานของทีมอย่เู สมอ อยา่ งเปดิ เผยตรงไป ตรงมา และทกุ คนสามารถวพิ ากษ์วิจารณ์ได้ด้วยความสบายใจไมโ่ จมตเี รื่องส่วนตัวแต่เรื่องงานเพื่อช่วยกัน แก้ไขสิ่งที่ผิดให้ถูกต้อง และถูกใจไม่มองไปที่บุคคลว่าเป็นตัวก่อปัญหาจนกว่าจะได้ตรวจดูอย่างครบถ้วน แลว้ เทา่ นั้น 8. การกอ่ วนิ าศกรรม ทันทีเมื่อรูส้ ึกวา่ มีปัญหาไมเ่ ก็บกดความรู้สึกเอาไว้เหมือนสมาชกิ ในกลุ่มประเภทอน่ื ๆ 9. สมาชิกในทีมงานทางานด้วยความตรงต่อเวลาพอใจและเต็มใจท่ีจะได้ทางาน ท่ีรบั ผิดชอบให้ไดผ้ ลดที ส่ี ดุ และสาเร็จโดยเร็วท่สี ดุ 10. ผู้บริหารไม่ต้องใช้อานาจหรืออิทธิพลเข้าครอบงาการทางานของทีมและในทาง กลบั กนั ทีมจะไมย่ อมทาตามฝาุ ยบรหิ ารอย่างงมงายทุกคนในทมี พร้อมทจี่ ะเปน็ ผูน้ าทีมได้ แตจ่ ะไม่มกี าร แสวงอานาจหรือต่อสู้เพื่อหักล้างกันปัญหาไม่ได้อยู่ที่ใครควบคุมใครแต่อยู่ที่ว่างานจะสาเร็จได้อย่างไร มากกวา่ 11. มคี วามตน่ื ตัวและรจู้ ักตวั เองอยู่ตลอดเวลาว่าเป็นอย่างไรอยู่ และกาลงั ทาอะไรอยู่ บางคราวอาจจะหยุดทางาน เพื่อหันมาสารวจตนเองว่าทางานไดด้ ีหรือไม่เพยี งใดมีอะไรเป็นอุปสรรคต่อ การทางานบ้าง ผนู้ าทมี่ ีความสามารถและเหมาะสมในสถานการณน์ ั้นๆโดยสมาชิกทุกคนสามารถจะเปน็ ผู้นาทีมได้ขนึ้ อยู่กับสถานการณ์ 12. ทบทวนการทางานอยู่สมา่ เสมอ (Regular review) หมายถึง การติดตามผลการ ปฏิบัติงานของทีมอย่างสม่าเสมอว่ามปี ัญหาใดที่จะต้องร่วมกนั ปรับปรงุ แก้ไข 13. การพฒั นาบุคคล (Individual development) หมายถึง การพัฒนาทักษะความรู้ ความสามารถของสมาชิกในทีมให้มีโอกาสสมาชิกไดใ้ ช้ทักษะความรู้ความสามารถที่มีในการทางานอย่างเตม็ ที่ 14. สัมพนั ธภาพระหวา่ งทีมดี (Sound inter – group relation) หมายถงึ ทีมทางาน มสี มั พันธภาพที่ดมี กี ารร่วมมือให้ความช่วยเหลอื ซง่ึ กันและกัน 15. การตดิ ต่อส่ือสารท่ีดี (Good communication) หมายถึง การตดิ ต่อสื่อสารในทีม เป็นไปอย่างถูกต้องชัดเจน เหมาะสมสื่อสารกันทางตรงเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารความคิดเห็น ที่จาเป็นตอ่ การทางาน อปุ สรรคของการทางานเป็นทีม มีนักวิชาการไทยได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับอุปสรรคของการทางานเป็นทีมไว้ดังน้ี ณรงค์วทิ ย์ แสนทอง (2545 : 196) กล่าวว่า การที่จะพจิ ารณาว่าทีมงานใดมีปัญหา หรือไม่ดูได้จากอาการผลผลิตลดลงไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน หรือผลงานไม่เป็นไปตามเปูาหมาย เกดิ ความสบั สนไม่แน่ใจไมแ่ น่ชัดเกยี่ วกับงานท่ีไดร้ ับมอบหมาย ความเข้าใจคาสั่งผิดพลาดหรือคาส่ังไม่ได้ รับการปฏิบัติอย่างถูกต้องเกิดความขัดแย้ง หรือความเป็นศัตรูกันในหมู่พนักงานมีการร้องทุกข์ บัตรสนเท่ห์ หรือบ่นกันมากในหมู่พนักงาน ความสนใจความกระตือรือร้น และอยากมีส่วนร่วมในการ ทางานน้อยลง ขาดความริเริ่มสร้างสรรค์ หรือการพัฒนาเทคนิคใหม่ๆในการทางานการประชุมพนักงาน ไม่มีประสิทธิภาพสังเกตได้จากพฤติกรรมการประชุมไม่มีใครกล้าแสดงความคิดเห็นด้วยว่าพูดไปก็ไม่มี ประโยชน์ การมีปฏิกิริยาในทางลบต่อผู้บริหารไม่ศรัทธาในศักยภาพของผู้บริหาร และการได้รับการบ่น จากลกู คา้ หรือผู้ใชบ้ ริการเกี่ยวกบั คณุ ภาพของการให้บรกิ าร

10 ยงยทุ ธ เกษสาคร (2547:197-198) กลา่ วถงึ อุปสรรคในการทางานเป็นทีมไว้ดังนี้ 1. การพูดจาและตกลงกันไม่ชัดเจนตั้งแต่เริ่มต้นถึงเปูาหมาย และบทบาทของทีม รวมท้ังบทบาทของแต่ละคน 2. มีการปกปิดความผิดพลาดที่เกิดจากการทางาน และหลีกเลี่ยงที่จะเผชิญกับ ปัญหาทาให้ขาดโอกาสท่ีจะวิเคราะห์ความผิดพลาดท่ีผ่านมา และใช้ประโยชน์จากความผิดพลาด นัน้ สาหรบั การขจดั ปญั หาที่อาจเกิดขึ้นในครัง้ ต่อๆไป ปัจจยั ทมี่ อี ิทธิพลต่อลกั ษณะการทางานเป็นทีม การสร้างทีมงานท่ีมีประสิทธิภาพยังต้องพิจารณาปัจจัยในการสร้างทีมงาน จิรติ า เชาวลติ (2549 : 56-59 ) ไดก้ ล่าวไว้ดงั นี้ 1. ขนาดของกลุ่ม (Size) ควรมีขนาดเล็ก ไม่เกิน 10–20 คน หากมากกว่าน้ีจะเกิด ปญั หาในการหาข้อยตุ ิ และกลมุ่ ที่มขี นาดใหญ่ ทาใหข้ าดความผูกพันและรบั ผดิ ชอบ 2. ความสามารถของสมาชกิ (Abilities of Members) ต้องมีทกั ษะ 3 ประการ ได้แก่ - ความเช่ยี วชาญเชงิ เทคนคิ - ทักษะการแก้ปัญหาและตัดสินใจ ซ่ึงรวมถึงความสามารถในการแยกแยะ ปัญหาแสวงหาทางเลอื กทีเ่ หมาะสม - ทกั ษะดา้ นความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คล 3. การมอบบทบาท และเพ่มิ ความหลากหลาย (Allocating Roles and Promoting Diversity) คือ การจัดสรรคนให้เหมาะสมกับทักษะหรือบทบาท โดยพิจารณาถึงจุดเด่นจุดด้อยของ สมาชิก จากนั้นจึงมอบหมายหน้าที่ให้เหมาะสม เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพการทางานสูงสุด สาหรับ ทกั ษะและบทบาทหนา้ ทสี่ มาชิกในทมี 4. มีความมุ่งมั่นสู่เปูาหมายร่วมกัน (Having a Commitment to a Common Purpose) สมาชิกในทีมมีความมุ่งมั่นท่ีจะปฏิบัติงานต่าง ๆ ให้บรรลุผลสาเร็จตามเปูาหมายที่ตั้งไว้ รว่ มกัน 5. ต้งั วัตถุประสงคเ์ ฉพาะ (Establishing Specific Goals) ทีมสามารถตง้ั วตั ถปุ ระสงค์ ใหเ้ ปน็ รูปธรรมชัดเจนสามารถวดั ได้ และดาเนินการใหเ้ กดิ ผลลพั ธ์ตามเปาู หมายท่วี างไว้ 6. ภาวะผู้นาและโครงสร้างของทีม (Leadership and Structure) ขณะที่การตั้ง เปูาหมายเปน็ การกาหนดจดุ มุ่งหมายปลายทางท่ีต้องการมุ่งไปสู่ความสาเร็จ แต่ในระหว่างทางนั้น การมี ผ้นู าทดี่ ี ช่วยใหก้ ารเดนิ ทางเปน็ ไปอย่างราบรื่น และมคี วามพรอ้ ม มกี ารแบ่งงาน หนา้ ท่ี ความรับผิดชอบ 7. การรบั ผิดชอบ (Social Loafing and Accountability) สมาชกิ ทุกคนตอ้ งรับผดิ ชอบ ในหน้าท่ีของตนเอง น่ันคือการปฏิบัติงานตามความรับผิดชอบของตนเอย่างเต็มที่ ไม่เอาเปรียบผู้อื่น ด้วยการออมแรงไว้ปล่อยให้สมาชิกอื่น ทาหน้าที่แทนเพราะนั่นจะเป็นสาเหตุให้การทางานเป็นทีม ด้อยประสทิ ธิภาพ 8. การประเมินผลและรางวัล (Appropriate Performance Evaluation and Reward Systems) ควรกระทาให้เป็นลกั ษณะอิงกลมุ่ และกระจายรายได้ เพื่อรกั ษาการทางานของกลุ่ม

11 9. การสร้างความไว้วางใจ (Developing High Mutual Trust) ทีมงานท่ีมี ประสิทธิภาพจะมีบรรยากาศไว้วางใจซึ่งกันและกันสูง โดยจาแนกเป็นลักษณะของมิติของความไว้วางใจ (Dimensions of Trust) ดงั นี้ 9.1 ความซ่ือสัตย์ (Integrity , Honesty, ruthfulness) 9.2 ความสามารถ (Competency) ทงั้ ดา้ นวชิ าการและความสมั พันธร์ ะหวา่ งบคุ คล 9.3 ความสม่าเสมอ (Consistency ) ความไวว้ างใจได้ การตัดใจทด่ี ีในการจดั การ กับสถานการณ์ 9.4 ความจงรักภักดี (Loyalty) ความเต็มใจท่จี ะปกปักรกั ษาหนา้ ใหก้ บั สมาชกิ 9.5 การเปดิ กว้าง (Openness) ความเตม็ ใจท่ีจะแบ่งปันข้อมูลและขา่ วสารอย่างอสิ ระ ลกั ษณะและบทบาทของผ้นู าทีม ผู้นาทีม หรือหัวหน้าทีม เป็นบุคคลที่มีบทบาทสาคัญต่อความสาเร็จ หรือความล้มเหลว ในการทางานใหป้ ระสบความสาเร็จตามความม่งุ หมายของกลุ่มหรือทีมงาน หากทีมงานใดขาดผู้นามักจะ ประสบความล้มเหลว เปรียบเสมือนผู้ช้ีช่องทาง และทาหน้าที่ประสานงานระหว่างสมาชิกให้ทางาน อย่างมีเปูาหมายหรือตามความต้องการของกลุ่ม และผู้นาทีมต้องได้รับการยอมรับจากลุ่มหรือทีมงาน จึงจะทาให้สมาชิกในทีมงานมีความเชอ่ื และศรทั ธา ยนิ ยอมปฏิบตั ติ ามการนาของบุคคลนัน้ ๆ คุณลักษณะและบทบาทของผู้นาทีมในการทางานเป็นทีม ได้มีผู้กล่าวถึง ผู้นาทีม ในลกั ษณะต่าง ๆ มากมายดังเชน่ บารน์ ารค์ (Barmard 1973 : 93) ได้กาหนดคณุ ลกั ษณะทด่ี ีของผนู้ า คือ 1. มีความตืน่ ตัว และอดทน 2. ความสามารถในการติดสนิ ใจ 3. ความสามารถในการจูงใจ 4. ความรบั ผิดชอบ 5. สติปัญญาฉลาด สตอ็ กดลิ ล์ (Stogdill 1974 : 74) ได้กาหนดคุณลักษณะที่ดีของผู้นาได้คือ 1. ร่างกายแขง็ แรง 2. ภูมหิ ลังทางการศึกษาดี และสถานภาพทางสงั คมดี 3. สตปิ ัญญาฉลาดตัดสินใจดี มีความสามารถในการตดิ ตอ่ สื่อสาร 4. มีบุคลิกภาพเป็นผู้มีความตื่นตัวและควบคุมอารมณ์ได้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีความเชอ่ื ม่ันในตวั เอง 5. มคี วามรับผดิ ชอบ และขยนั อดทน 6. ลักษณะทางสังคมปรารถนาที่จะร่วมงานกับผู้อื่นมีเกียรติ และเป็นที่ยอมรับของ บคุ คลอน่ื ๆ และเข้าสังคมได้เก่ง จากที่กล่าวมาข้างต้นผู้นาทีมหรือหัวหน้าทีม เป็นบุคคลที่มีบทบาทสาคัญเป็นอย่างยิ่ง ต่อความสาเร็จหรือความล้มเหลวในการทางานให้ประสบผลสาเร็จตามความมุ่งหมายของกลุ่ม หรือ ทีมงาน หากทีมงานใดขาดผู้นาที่ดีมักจะประสบความล้มเหลว เพราะผู้นาทีมเปรียบเสมือนผู้ช้ีช่องทาง และทาหน้าที่ประสานงานระหว่างสมาชิกให้ทางานอย่างมีเปูาหมาย หรือตามเปูาหมายของกลุ่ม และ ผู้นาทีมต้องได้รับการยอมรับจากกลุ่ม หรือทีมงานจึงจะทาให้สมาชิกในทีมงานมีความเช่ือม่ันและศรัทธา ยินยอมปฏบิ ตั ติ ามการนาของบคุ คลนนั้ ๆ

12 แนวคิดเกย่ี วกบั การปฏิบัตงิ านด้านการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย พระราชบัญญัติปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 มีผลใช้บังคับต้ังแต่วันที่ 6 พฤศจิกายน 2550 มสี าระสาคัญ ดังน้ี 1. ขอบเขต (มาตรา 3 ) การดาเนนิ การปูองกนั และบรรเทาสาธารณภยั ครอบคลมุ เรื่อง อุบัติภัย และอัคคีภัยด้วย โดยยกเลิกพระราชบัญญัติปูองกันภัยฝุายพลเรือน พ.ศ. 2522 และ พระราชบัญญตั ิปอู งกนั และระงบั อคั คีภัย พ.ศ.2542 2. คานิยาม (มาตรา 4 ) “สาธารณภัย” หมายความว่า อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ภัยแล้ง โรคระบาด ในมนุษย์ โรคระบาคสัตว์ โรคระบาคสัตว์น้า การระบาดของศัตรูพืช ตลอดจนภัยอ่ืน ๆ อันมีผลกระทบ ต่อสาธารณชน ไม่ว่าเกิดจากธรรมชาติ มีผู้ทาให้เกิดข้ึน อุบัติเหตุ หรือเหตุอื่นใด ซ่ึงก่อให้เกิดอันตราย แก่ชีวิต ร่างกายของประชาชน หรือความเสียหายแก่ทรัพย์สินของประชาชน หรือของรัฐ และให้ หมายความรวมถงึ ภัยทางอากาศ และการก่อวินาศกรรมด้วย “ ภัยทางอากาศ ” หมายความว่า ภัยอนั เกดิ จากการโจมตีทางอากาศ “ การกอ่ วินาศกรรม ” หมายความว่า การกระทาใด ๆ อันเป็นการมุ่งทาลาย ทรัพย์สินของประชาชนหรือของรัฐ หรือสิ่งอันเป็นสาธารณูปโภค หรือการรบกวน ขัดขวางหน่วงเหนี่ยว ระบบการปฏิบัติงานใด ๆ ตลอดจนการประทุษร้ายต่อบุคคลอันเป็นการก่อให้เกิดความป่ันปุวนทาง การเมือง การเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ โดยมงุ่ หมายท่ีจะกอ่ ใหเ้ กิดความเสียหายต่อความม่ันคงของรัฐ “ หนว่ ยงานของรฐั ” หมายความวา่ ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน และหนว่ ยงานอนื่ ของรัฐ แต่ไมห่ มายความรวมถงึ องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น “ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ” หมายความว่า องค์การบริหารส่วนตาบล เทศบาล องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั เมืองพทั ยา กรงุ เทพมหานคร และองคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นท่ีมีกฏหมายจัดตงั้ “ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นแหง่ พนื้ ท่ี ” หมายความวา่ องค์การบรหิ ารส่วนตาบล เทศบาลเมืองพัทยา และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินอื่นท่ีมีกฎหมายจัดต้ัง แต่ไม่หมายความรวมถึง องคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวดั และกรุงเทพมหานคร 3. ประเภทของสาธารณภัย สาธารณภัยแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ ภัยท่ีเกิดจาก ธรรมชาติ ได้แก่ อุทกภัยและดินโคลนถล่ม พายุหมุนเขตร้อน อัคคีภัย ภัยจากสารเคมีและวัตถุอันตราย ภัยจากการคมนาคมและขนส่ง ภัยแล้ง ภัยจากอากาศหนาว ภัยจากไฟปุาและหมอกควัน ภัยจาก แผ่นดินไหวและอาคารถล่ม ภัยจากคลื่นสึนามิ ภัยจากโรคระบาดในมนุษย์ ภัยจากโรคแมลง สัตว์ศัตรูพืชระบาด ภัยจากโรคระบาดสัตว์และสัตว์น้า ภัยจากเทคโนโลยีสารสนเทศ และภัยท่ีเกิดจาก การกระทาของมนษุ ย์ อาทเิ ช่น ภัยทางอากาศ การก่อวนิ าศกรรม การจัดการสาธารณภัย มาตรา 11 ใหก้ รมปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย เป็นหน่วยงานกลางของรัฐ ในการ ดาเนนิ การเก่ยี วกบั การปอู งกันและบรรเทาสาธารณภัยของประเทศ มาตรา 14 ให้อธิบดเี ปน็ ผ้อู านวยการกลาง มีหน้าท่ีปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย ท่ัวราชอาณาจักร และมีอานาจควบคุมและกากับการปฏิบัติหน้าที่ของผู้อานวยการ รองผู้อานวยการ ผชู้ ่วยผอู้ านวยการ เจา้ พนักงาน และอาสาสมัคร ได้ท่วั อาณาจกั ร

13 การดาเนินการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย กรอบภารกิจท่ีสาคัญ 1. การเตรยี มการปูองกนั และลดผลกระทบ 2. การเตรยี มพร้อมรับภยั 3. การจดั การภัยในภาวะฉุกเฉนิ 4. การจดั การหลงั เกิดภัย 5. การประสานความร่วมมือกับต่างประเทศ สรุป การจัดการสาธารณภัย เป็นกระบวนการท่ีจาเป็นต้องมีความเป็นพลวัต เปลี่ยนแปลงได้ตามสถานการณ์ และควบคุมการดาเนินการทุกข้ันตอน ท้ังการวางแผน การจัดวาง บุคลากร การปฏิบัติ การควบคุมดูแล รวมทั้งการประสานและร่วมมือระหว่างองค์กรเครือข่ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือการจัดการท่ีดีในทุกระยะของวงจรการจัดการสาธารณภัย กรมปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย จึงได้กาหนดวัตถุประสงค์ และเปูาหมายของการจัดการสาธารณภัย ไว้เพื่อหลีกเล่ียงการสูญเสียชีวิตและทรัพย์สิน รวมท้ังลดการสูญเสียทางเศรษฐกิจและรักษาสภาวะ แวดลอ้ มทางสังคมและเศรษฐกิจ ซ่ึงมผี ลตอ่ ความอยู่ดีกินดขี องสังคม ผลงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง ในการศึกษาเรื่องการทางานเป็นทมี ได้มผี ใู้ ห้ความหมายไว้หลายท่าน ดังนี้ ปรียา คงฤทธิศึกษากร (2536 : 48 ) กล่าวว่า การทางานเป็นทีมคือ การสร้างกลุ่ม บุคคลที่ร่วมมือร่วมใจการปฏิบัติงานตามหน้าท่ี และความรับผิดชอบเป็นอย่างดี โดยเข้าใจวัตถุประสงค์ ขององค์กรไปในทิศทางเดียวกัน และสมาชิกในกลุ่มน้ันยอมรับบทบาทของตนเอง เพื่อให้สามารถ ดาเนินงานบรรลเุ ปาู หมายตามที่กาหนดไว้ นพภัสสร โกสินทรจติ ต์ ( 2548: 20-21 ) กลา่ วว่า การทางานเป็นทีม หมายถึง 1. ทุกคนชว่ ยกนั ผลกั ดนั ไปในทิศทางเดียวกนั 2. ทกุ คนผลักดันในส่วนของตน 3. การได้รบั สง่ิ สนบั สนนุ เสมอเม่ือตอ้ งการ 4. การท่มี ีคนยอมรับในความสามารถของคุณ 5. การละเว้นในการทาสิ่งทเี่ ปน็ ผลประโยชนส์ ่วนตัว 6. การได้รับความชว่ ยเหลอื เฉพาะเวลาท่ตี อ้ งการเทา่ นัน้ 7. ความรู้สึกดใี จที่ได้พบปะกบั เพ่อื นร่วมงานในงานท่ีทา 8. ทกุ คนชว่ ยกันแก้ไขวิกฤตการณ์ 9. ทุกคนรับมอื กับวกิ ฤตการณ์โดยปราศจากเสียงบ่น 10. การยินดตี ่อความสาเร็จ และเห็นใจในความปราชยั ของผู้อื่น 11. การรบั ผลแหง่ ความสาเร็จ และความลม้ เหลวร่วมกัน 12. การมอี นาคตท่ีน่าตื่นเต้นร่วมกนั 13. ความรู้สกึ พอใจท่สี ามารถเขา้ กับเพ่ือนรว่ มงานให้เปน็ อย่างดี 14. การขอความช่วยเหลือจากเพ่ือนรว่ มงานในสง่ิ ท่เี ขาพอจะให้ได้

14 จึงอาจสรุปได้ว่า การทางานเป็นทีมคือ การที่บุคคลร่วมกันปฏิบัติหน้าที่ และความ รับผิดชอบ โดยเข้าใจวัตถุประสงค์ขององค์กรหรือจุดหมายไปในทิศทางเดียวกัน มีการดาเนินงานท่ี สอดคล้องสัมพันธ์กันอย่างที่สุด เพ่ือให้งานนั้นบรรลุวัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมายร่วมกันอย่างมี ประสิทธภิ าพ และประสทิ ธิผล กรอบแนวคิด ภาพท่ี 2.1 : ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม ปัจจัยส่วนบคุ คล การทางานเป็นทีมของ - เพศ นักศึกษาหลกั สูตร “นัก - อายุ บรหิ ารงานปอู งกนั และ - ระดับการศึกษา บรรเทาสาธารณภยั - ประเภทตาแหนง่ นบ.ปภ.)” รุ่นที่ 10 - ประสบการณท์ างาน - หน่วยงานทีส่ งั กดั - ลกั ษณะการทางานเป็นทีมในองค์กร - ลกั ษณะการเขา้ ร่วมทีมงาน ปัจจยั -- ดสถา้ นานผภนู้ าาพทีมงาน - ดา้ นการมีส่วนรว่ ม - ดรา้ ยนไกดา้ รวางแผน - ดา้ นการประสานงาน - ดา้ นการกากับดแู ล กรอบแนวคิดข้างต้น แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล และ ปัจจัยการทางานเป็นทีมส่งผลต่อการทางานเป็นทีมของนักศึกษาหลักสูตร นักบริหารงาน ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นที่ 10 ภายใต้แนวความคิดเกี่ยวกับการ ทางานเป็นทีม แนวคิดเก่ียวกับการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และ งานวิจยั ทีเ่ กี่ยวขอ้ งของนางสาวกรกนก บุญชจู รัส (2552)

1155 บทที่ 3 ระเบยี บวธิ ีวิจัย การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ เป็นการศึกษาวิจัยปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการทางาน เป็นทีมของบุคลากรท่ีเข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตร นักบริหารงานปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นที่ 10 โดยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantity Research) และใช้แบบสอบถามจาก กลุ่มตัวอย่างและนามาวิเคราะห์ทางสถิติ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรการทางานเป็นทีมของ บุคลากรที่เขา้ รบั การฝึกอบรมหลกั สูตร นกั บรหิ ารงานปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นที่ 10 มรี ายละเอียด ดังนี้ 1. ประชากร 2. เครือ่ งมอื ทใ่ี ช้ในการวิจัย 3. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 4. การวเิ คราะหข์ ้อมลู ประชากรและตัวอยา่ ง ประชากรที่ใช้ศึกษา คือ บุคลากรท่ีเข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตร นักบริหารงานปูองกัน และบรรเทาสาธารณภยั (นบ.ปภ.) รุน่ ที่ 10 จานวน 46 คน เครื่องมอื ท่ีใชใ้ นการศกึ ษา ผู้วิจัยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ เพื่อเก็บรวมรวมข้อมูลจากภาคสนามโดยมี รายละเอียดเก่ยี วกับการสรา้ งแบบสอบถามเป็นข้นั ตอน ดังน้ี 1. ศกึ ษาวิธีการสรา้ งแบบสอบถามจากเอกสารงานวิจยั ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง 2. สร้างแบบสอบถามเพ่ือถามความคิดเห็นในประเด็นต่างๆ คือ (1) ข้อมูลทั่วไป เกยี่ วกบั ผตู้ อบแบบสอบถาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประเภทตาแหนง่ ประสบการณ์ทางาน หน่วยงาน ท่สี ังกดั ลักษณะการทางานเป็นทีมในองคก์ ร ลักษณะการเขา้ ร่วมทีมงานในองค์กร (2) ปัจจัยการทางาน เป็นทีม เช่น ด้านผู้นาทีมงาน ด้านการมีส่วนร่วม ด้านการวางแผน ด้านประสานงาน ด้านกากับดูแล (3) การปฏิบัติงานเป็นทีมของบุคลากรท่ีเข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตร นักบริหารงานปูองกันและบรรเทา สาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นที่ 10 ในการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย เช่น ด้านนโยบาย ด้านการ บริหารงานองค์กร และดา้ นการดาเนินงาน 3. นาแบบสอบถามทีไ่ ดส้ ร้างขน้ึ มาเสนอต่ออาจารยท์ ีป่ รึกษาเพื่อปรบั ปรุงแก้ไข 4. ทาการปรับปรุงแก้ไข และนาเสนอให้อาจารย์ท่ีปรึกษาตรวจสอบความถูกต้อง อกี ครงั้ เพ่อื ใหอ้ าจารยท์ ่ปี รึกษาอนุมตั กิ ่อนแจกแบบสอบถาม 5. นาแบบสอบถามไปทดลองกับตัวอย่าง จานวน 46 ราย เพื่อหาค่าความเชื่อม่ัน 6. ทาการปรับปรุง และนาเสนอให้อาจารย์ที่ปรึกษาอนุมัติก่อนแจกแบบสอบถาม 7. แจกแบบสอบถามไปยงั กลุ่มตวั อย่างเฉพาะ

16 องค์ประกอบของแบบสอบถาม ผู้วิจัยได้ออกแบบสอบถามซึ่งประกอบด้วย 3 ส่วน พร้อมกับวิธีการตอบคาถาม ดงั ตอ่ ไปน้ี คอื ส่วนที่ 1 เป็นคาถามเก่ียวกับข้อมูลพ้ืนฐานท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ ข้อมูล ทั่วไปเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประเภทตาแหน่ง ประสบการณ์ทางาน หน่วยงานที่สังกัด ลักษณะการทางานเป็นทีมในองค์กร ลักษณะการเข้าร่วมทีมงานในองค์กร ลักษณะ คาถามเป็นคาถามปลายเปิด - ปดิ แบบให้เลือกตอบ ส่วนท่ี 2 เป็นคาถามเกี่ยวข้องกับปัจจัยการทางานเป็นทีม ได้แก่ ด้านผู้นาทีมงาน ด้านการมสี ว่ นรว่ ม ดา้ นการวางแผน ด้านประสานงาน ด้านกากับดูแล ลักษณะเป็นคาถามปลายปิด โดย คาถามแบ่งเปน็ 5 ระดบั ตงั้ แต่มากท่ีสุด ไปถึง นอ้ ยท่สี ดุ ส่วนท่ี 3 เป็นคาถามเก่ียวข้องกับการปฏิบัติงานเป็นทีมของบุคลากรท่ีเข้ารับการ ฝึกอบรมหลกั สตู ร นกั บรหิ ารงานปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รนุ่ ที่ 10 ไดแ้ ก่ ด้านนโยบาย ด้านการบริหารงานองค์กร ด้านการดาเนินงาน ลักษณะเป็นคาถามปลายปิด โดยคาถามแบ่งเป็น 5 ระดับ ตง้ั แต่มากที่สดุ ไปถงึ น้อยทส่ี ดุ การเก็บรวบรวมขอ้ มูล ผู้วจิ ัยไดด้ าเนินการเกบ็ ขอ้ มูลตามขั้นตอนต่อไปน้คี ือ 1. ผู้วิจัยอธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อหาภายในแบบสอบถาม และวิธีการตอบ แกต่ ัวแทน และทีมงาน 2. ผวู้ ิจยั หรือตัวแทนและทีมงาน เขา้ ไปในสถานท่ีต่าง ๆ ทต่ี อ้ งการศกึ ษาตามท่รี ะบไุ ว้ ข้างต้น 3. ผู้วิจัยหรือตัวแทนและทีมงาน ได้แจกแบบสอบถามให้กลุ่มเปูาหมาย และรอ จนกระท่ังตอบคาถามครบถ้วน ซ่ึงในระหว่างนั้น ถ้าผู้ตอบมีข้อสงสัยเก่ียวกับคาถาม ผู้วิจัยหรือทีมงาน จะตอบข้อสงสยั นนั้ การแปรผลข้อมูล ผู้วิจัยได้กาหนดค่าอันตรภาคชั้น สาหรับการแปรผลข้อมูลโดยคานวณค่าอันตรภาคชั้น เพื่อกาหนดชว่ งชัน้ ดว้ ยการใชส้ ตู รคานวณและคาอธิบายสาหรับแต่ละชว่ งชน้ั ดงั นี้ อนั ตรภาคช้นั = คะแนนสูงสุด – คะแนนตา่ สดุ จานวนชน้ั = 5 - 1 = 0.80 5

17 โดยนาคะแนนท่ีได้มาวิเคราะห์หาค่าเฉล่ียเลขคณิต การแปลความหมายของระดับ คะแนนเฉล่ียโดยยึดเกณฑ์ตามค่าท่ีได้จากสูตรคานวณของระดับช้ัน = 0.80 โดยกาหนดการแปลค่า คะแนนเฉลี่ยของแบบสอบถามตามการแปลความหมาย เป็น 5 ช่วงช้ันที่เท่ากัน สาหรับส่วนท่ี 2 และ ส่วนท่ี 3 ดงั นี้ ชว่ งช้ัน คาอธบิ ายสาหรับการแปรผล 4.21 – 5.00 มากทีส่ ุด 3.41 – 4.20 มาก 2.61 – 3.40 ปานกลาง 1.81 – 2.60 นอ้ ย 1.00 – 1.80 น้อยทีส่ ดุ สถติ ทิ ี่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ ผู้ศึกษาวิจัย ได้กาหนดค่าสถิติสาหรับการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ นาเสนอที่ได้ จากการศึกษาคร้ังนี้ 1. สถิติในเชิงพรรณนา ประกอบตารางแสดงข้อมูลทางสถิติคือ ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย ทไี่ ด้จากการวจิ ยั สรปุ ผลการวจิ ยั 2. อภปิ รายผลพร้อมทงั้ ใหข้ อ้ เสนอแนะในเชิงนโยบาย และข้อเสนอแนะในการวิจัย คร้งั ตอ่ ไป

18 18 บทท่ี 4 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู บทนี้เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือการอธิบายและการทดสอบสมมุติฐานที่เกี่ยวข้องกับตัว แปรแต่ละตัว ซ่ึงข้อมูลดังกล่าว ผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมจากแบบสอบถามท่ีมีคาตอบครบถ้วนสมบูรณ์ จานวนทั้งสิ้น 46 ชุด คิดเป็นร้อยละ 100 ของจานวนแบบสอบถามทั้งหมด 46 ชุด ผลการวิเคราะห์ แบ่งออกเป็น 3 ส่วนประกอบดว้ ย ส่วนท่ี 1 เป็นขอ้ มูลท่ัวไปเกี่ยวกับข้อมลู สว่ นบุคคล ส่วนท่ี 2 เป็นข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะการทางานเป็นทีมบุคลากรของกรมป้องกันและ บรรเทาสาธารณภยั ท่เี ขา้ รบั การฝึกอบรมหลกั สตู ร นักบริหารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ส่วนที่ 3 เป็นข้อมูลเกี่ยวกับการทางานเป็นทีมของบุคลากรที่เข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร นักบริหารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นที่ 10 ในการป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั ส่วนที่ 1 ข้อมูลสว่ นบคุ คลเกยี่ วกับเพศ อายุ การศึกษา ตาแหน่ง ประสบการณป์ ฏบิ ตั งิ านหนว่ ยงาน ลกั ษณะการทางานการเข้ารว่ มทางาน ทแ่ี สดงขอ้ มูลที่เปน็ จานวน และร้อยละ ตามตาราง ดังน้ี ตารางท่ี 1: เพศ เพศ จานวน (คน) รอ้ ยละ หญิง 18 39.13 ชาย 28 60.87 รวม ( N ) 46 100.00 ผลการศึกษาตามตารางที่ 1 แสดงให้เห็นว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ซ่ึงมี จานวน 28 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 60.87 รองลงมาร้อยละ 39.13 เป็นเพศหญิง

19 ตารางที่ 2 : อายุ ระหว่าง (ป)ี อายุ ร้อยละ จานวน (คน) 40 – 49 30 – 39 26 56.52 50 – 60 10 21.74 รวม ( N ) 10 21.74 46 100.00 ผลการศึกษาตามตารางท่ี 2 แสดงให้เห็นว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ร้อยละ 56.52 มีอายุอยู่ระหว่าง 40 – 49 ปี รองลงมาร้อยละ 21.74 มีอายุอยู่ระหว่าง 30-39 ปี และอยู่ระหว่างอายุ 50 – 60 ปี ตารางท่ี 3 : ระดบั การศึกษา ระดับ การศึกษา ร้อยละ จานวน (คน) ปริญญาโท 50.00 ปรญิ ญาตรี 23 47.83 ปริญญาเอก 22 2.17 รวม ( N ) 1 100.00 46 ผลการศกึ ษาตามตารางท่ี 3 แสดงให้เหน็ วา่ ผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญร่ อ้ ยละ 50.00 สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท รองลงมาร้อยละ 47.83 สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ร้อยละ 2.17 สาเรจ็ การศึกษาระดับปริญญาเอก

20 ตารางท่ี 4 : ระดบั ตาแหนง่ ตาแหนง่ ประเภท (ระดับ) จานวน (คน) รอ้ ยละ ชานาญการ 31 67.39 ชานาญการพิเศษ 11 23.91 อาวุโส 4 8.70 รวม ( N ) 46 100.00 ผลการศึกษาตามตารางท่ี 4 แสดงให้เห็นว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ร้อยละ 67.39 อยู่ในตาแหน่งระดับชานาญการ รองลงมาร้อยละ 23.91 อยใู่ นตาแหน่งระดบั ชานาญการพิเศษ และร้อยละ 8.70 อยูใ่ นตาแหน่งระดบั อาวโุ ส ตารางที่ 5 : ประสบการณใ์ นการปฏิบตั งิ านด้านสาธารณภัย ประสบการณ์ในการปฏบิ ัตงิ านด้านสาธารณภัย อายุ (ป)ี จานวน (คน) รอ้ ยละ 11 – 15 17 36.96 5 – 10 15 32.60 16 – 20 5 10.87 21 ปี ขึน้ ไป รวม ( N ) 9 19.57 46 100.00 ผลการศกึ ษาตามตารางที่ 5 แสดงให้เห็นว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ร้อยละ 36.96 มีประสบการณ์การทางานอยู่ระหว่าง 11– 15 ปี รองลงมาร้อยละ 32.60 มีประสบการณ์การทางานอยู่ ระหวา่ ง 5–10 ปี ร้อยละ 19.57 มีประสบการณ์การทางานมากกว่า 21 ปี และน้อยท่ีสุดคิดเป็นร้อยละ 10.87 มปี ระสบการณก์ ารทางาน 16-20 ปี

21 ตารางที่ 6 : หนว่ ยงานท่สี งั กดั หนว่ ยงานทสี่ ังกัด สงั กดั จานวน (คน) ร้อยละ สานกั /กอง /วปภ 20 43.48 สานกั งานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั จังหวดั 16 34.78 ศูนยป์ อ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั 10 21.74 46 100.00 รวม ( N ) ผลการศึกษาตามตารางท่ี 6 แสดงให้เห็นว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ร้อยละ 43.48 ปฏิบัติงานสังกัดสานัก /กอง /วปภ รองลงมาร้อยละ 34.78 ปฏิบัติงานสังกัดสานักงานป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด และรอ้ ยละ 21.74 ปฏิบัติงานสังกัดศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ตารางที่ 7 : องคก์ รของทา่ นมกี ารทางานเป็นทีมในลักษณะใด การทางานเป็นทมี รอ้ ยละ ลกั ษณะ 54.84 29.03 ทีมตามสายงาน / ตามโครงสรา้ งขององคก์ ร 16.13 ทีมขา้ มสายงาน / สมาชิกหลายสว่ นงานมาร่วมกัน ทีมระหวา่ งองค์กร/ผูป้ ระกอบวิชาชีพหลากสาขา (สหวิชาชีพ) จากหลายองค์กรมารว่ มกนั ผลการศกึ ษาตามตารางที่ 7 แสดงให้เห็นวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามสว่ นใหญ่รอ้ ยละ 54.84 มีลกั ษณะการทางานเป็นทมี ตามสายงาน / ตามโครงสรา้ งขององค์กร รองลงมาร้อยละ 29.03 มีลักษณะ การทางานเป็นทีมข้ามสายงาน / สมาชิกหลายส่วนงานมาร่วมกัน และน้อยที่สุดคิดเป็นร้อยละ 16.13 เป็นทมี ระหวา่ งองค์กร/ผปู้ ระกอบวชิ าชีพหลากสาขา (สหวชิ าชีพ) จากหลายองค์กรมารว่ มกัน

22 ตารางที่ 8 : โอกาสเข้ารว่ มทมี งาน โอกาสเขา้ รว่ มทีมงาน ร้อยละ ลกั ษณะปฏิบตั งิ าน 39.33 ร่วมเป็นคณะกรรมการ / คณะทางาน 29.21 ร่วมการประชุมเป็นครง้ั คราว 24.72 รว่ มปฏบิ ตั กิ ารเฉพาะกิจ 6.74 อืน่ ๆ ผลการศกึ ษาตามตารางที่ 8 แสดงให้เหน็ ว่าผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่ร้อยละ 39.33 มลี กั ษณะการเข้ารว่ มเปน็ คณะกรรมการ / คณะทางาน รองลงมาร้อยละ 29.21 เข้าร่วมการประชุมเป็น ครัง้ คราว ร้อยละ 24.72 รว่ มปฏิบตั ิการเฉพาะกจิ และน้อยที่สุดคดิ เป็นร้อยละ 6.74 ปฏิบตั ิงานทอ่ี ่ืน ๆ สรปุ ผลการศึกษาข้างต้นโดยรวม สรุปได้ว่ามีความสอดคล้องกับสมมุติฐานที่ต้ังไว้ว่าในการปฎิบัติงาน เก่ยี วกับลักษณะการทางานเปน็ ทีมสว่ นใหญ่ 1. เป็นเพศชาย จานวน 28 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 60.87 2. อายอุ ยู่ระหวา่ ง 40-49 ปี จานวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 56.52 3. จบการศึกษาปริญญาโท จานวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 4. ประเภทตาแหน่งชานาญการ จานวน 31 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 67.39 5. มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานด้านสาธารณภัย อยู่ระหว่าง 11 – 15 ปี จานวน 17 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 36.96 6. สังกัดสานัก /กอง /วปภ จานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 43.48 7. มีการทางานเป็นทีมในลักษณะทีมตามสายงาน / ตามโครงสร้างขององค์กร คิดเป็น ร้อยละ 54.84 8. และมีโอกาสเข้าร่วมทีมงานในลักษณะร่วมเป็นคณะกรรมการ / คณะทางาน คิดเป็น ร้อยละ 39.33

23 ส่วนที่ 2 วเิ คราะห์ความคิดเห็นตอ่ ลักษณะการทางานเปน็ ทีมของบคุ ลากรที่เข้ารบั การ ฝกึ อบรมหลกั สูตร นักบรหิ ารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุน่ ที่ 10 ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ของกรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั ตารางท่ี 9 ความถี่ รอ้ ยละ และค่าเฉลยี่ ของระดบั ความคดิ เห็น ปัจจยั ที่มีอิทธิพลด้านผู้นาทีมงาน ร้อยละระดบั ความคิดเหน็ (เหน็ ดว้ ย) ปจั จัยท่ีมอี ิทธพิ ล มากที่สุด มาก ปาน แปร กลาง น้อย นอ้ ยที่สดุ N SD ผล ดา้ นผูน้ าทมี งาน 1. ผู้นามีวิสัยทัศน์ 15 21 6 4 0 46 4.02 0.91 มาก สามารถกาหนดการ (32.61) (45.65) (13.04) (8.70) (0.00) ทางานชดั เจน 2. ผูน้ าสามารถสรา้ ง แรงจงู ใจใหท้ ีมงานมี 14 25 3 4 0 46 4.07 0.85 มาก ความสามารถในการ (30.43) (54.35) (6.52) (8.70) (0.00) ปฏิบตั ิงานดา้ นการ ป้องกันและบรรเทาสา ธารณภยั 3. ผู้นากลา้ ตัดสนิ ใจและ สามารถแก้ปญั หาของ 18 20 5 3 0 46 4.15 0.87 มาก ทมี ได้อยา่ งทันท่วงที (39.13) (43.48) (10.87) (6.52) (0.00) 4. ผนู้ ามีการมอบหมาย งานทเี่ หมาะสมตาม 12 21 7 6 0 46 3.85 0.97 มาก ความร้คู วามสามารถ (26.09) (45.65) (15.22) (13.04) (0.00) ของสมาชิกในทีมงาน รวม 4.02 0.90 มาก ผลการศึกษาตารางที่ 9 พบวา่ ปจั จยั ท่ีมอี ิทธพิ ลด้านผูน้ าทีมงาน โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายข้อพบว่า ผู้นามีวิสัยทัศน์สามารถกาหนดการทางานชัดเจน สามารถสร้างแรงจูงใจให้ ทีมงานมีความสามารถในการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กล้าตัดสินใจและ สามารถแก้ปัญหาของทีมได้อย่างทันท่วงที มีการมอบหมายงานที่เหมาะสมตามความรู้ความสามารถของ สมาชกิ ในทมี งาน ทุกข้ออยู่ในระดับมาก

24 ตารางท่ี 10 ความถ่ี รอ้ ยละ และค่าเฉล่ยี ของระดบั ความคิดเหน็ ปจั จัยทีม่ อี ทิ ธพิ ลดา้ นการมสี ว่ นรว่ ม ร้อยละระดับความคดิ เหน็ (เหน็ ด้วย) ปัจจัยท่ีมีอิทธิพล มากท่สี ดุ มาก ปาน SD แปรผล กลาง นอ้ ย นอ้ ยทส่ี ดุ N ด้านการมีสว่ นรว่ ม 5. ทีมงานเปดิ โอกาสให้ 15 21 55 0 46 4.00 0.94 มาก สมาชกิ มสี ว่ นร่วม (32.61) (45.65) (10.87) (10.87) (0.00) วางแผนตัง้ แต่การ กาหนดนโยบายและ แผนยทุ ธศาสตรก์ าร ปอ้ งกนั และบรรเทาสา ธารณภัย 6. ทีมงานมีการ ปฏิบัตงิ านร่วมกนั ในทุก 12 22 7 4 1 46 3.87 0.98 มาก ขั้นตอนของการทางาน (26.09) (47.82) (15.22) (8.70) (2.17) ดา้ นการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภยั 7. ทมี งานมกี ารตัดสินใจ ร่วมกันในการปฏิบตั งิ าน 18 15 7 5 1 46 3.96 1.09 มาก โดยยึดประโยชนข์ อง (39.13) (32.61) (15.22) (10.87) (2.17) ประชาชนเป็นทต่ี ้งั 8. สมาชิกทมี งานมีสว่ น รว่ มในผลงานและ 17 19 6 1 3 46 4.00 1.10 มาก ความสาเร็จของทีม (36.96) (41.30) (13.04) (2.17) (6.53) รวม 3.96 1.03 มาก ผลการศึกษาตารางที่ 10 พบว่าปัจจัยที่มีอิทธิพลด้านการมีส่วนร่วม โดยรวมอยู่ใน ระดับมาก เม่ือพิจารณารายข้อพบว่า ทีมงานเปิดโอกาสให้สมาชิกมีส่วนร่วมวางแผนตั้งแต่การกาหนด นโยบายและแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย มีการปฏิบัติงานร่วมกันในทุกขั้นตอนของการ ทางานดา้ นการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย มีการตดั สนิ ใจรว่ มกันในการปฏิบัติงาน โดยยึดประโยชน์ ของประชาชนเป็นท่ตี ้งั สมาชิกทีมงานมีส่วนรว่ มในผลงานและความสาเรจ็ ของทีม ทกุ ข้ออยู่ในระดบั มาก

25 ตารางที่ 11 ความถ่ี รอ้ ยละ และค่าเฉล่ยี ของระดบั ความคิดเห็น ปัจจยั ทม่ี ีอิทธพิ ลด้านการวางแผน รอ้ ยละระดับความคิดเห็น(เห็นดว้ ย) ปจั จยั ท่ีมีอิทธิพล มากทส่ี ุด มาก ปาน นอ้ ย SD แปรผล กลาง นอ้ ย ทีส่ ุด N ดา้ นการวางแผน 9. ทมี งานมกี ารวางแผน 13 16 11 2 4 46 3.70 1.19 มาก กลยทุ ธ์โดยมีเปา้ หมาย (28.26) (34.78) (23.91) (4.35) (8.70) เพอื่ ความปลอดภัยใน ชวี ิตและทรพั ย์สนิ ของ ประชาชน 10. ทมี งานมีการแปลง แผนไปส่กู ารปฏิบตั โิ ดย 12 19 10 5 0 46 3.78 0.99 มาก การจัดทาแผนปฏิบตั ิ (26.09) (41.30) (21.74) (10.87) (0.00) ราชการประจาปีอย่าง เป็นรปู ธรรม 11. ทีมงานมีการจดั ทา แผนแมบ่ ทด้านสาธารณ 12 17 13 3 1 46 3.78 0.99 มาก ภยั ในประเภทตา่ ง ๆ (26.09) (36.96) (28.26) (6.52) (2.17) ครอบคลุมทกุ ภยั 12. ทีมงานมีการจดั ทา 5 20 16 4 1 46 3.52 0.89 มาก แผนการชว่ ยเหลอื (10.87) (43.48) (34.78) (8.70) (2.17) ผูป้ ระสบภยั พิบตั ทิ ี่ สามารถนาไปใชป้ ฏิบัติ ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 13. ทมี งานมีการจดั ทา แผนการเผยแพร่ ประชาสมั พนั ธ์ดา้ นสา 6 17 15 7 1 46 3.43 0.98 มาก ธารณภัย เพื่อสร้าง (13.04) (36.96) (32.61) (15.22) (2.17) ความรู้ ความเขา้ ใจ และความตระหนักใน การป้องกนั และบรรเทา สาธารณภัยผา่ นส่อื ทกุ ประเภท รวม 3.64 1.01 มาก

26 ผลการศกึ ษาตารางท่ี 11 พบว่าปัจจัยท่ีมีอิทธิพลด้านการวางแผน โดยรวมอยู่ใน ระดบั มาก เมื่อพิจารณารายข้อพบว่า ทีมงานมีการวางแผนกลยุทธ์โดยมีเป้าหมายเพ่ือความปลอดภัยใน ชีวติ และทรัพยส์ นิ ของประชาชน มกี ารแปลงแผนไปสู่การปฏิบัตโิ ดยการจดั ทาแผนปฏิบตั ริ าชการประจาปี อยา่ งเปน็ รูปธรรม มีการจัดทาแผนแม่บทด้านสาธารณภัยในประเภทต่าง ๆ ครอบคลุมทุกภัย มีการจัดทา แผนการช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติที่สามารถนาไปใช้ปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการจัดทาแผนการ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ด้านสาธารณภัย เพ่ือสร้างความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักในการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยผา่ นสือ่ ทกุ ประเภท ทุกข้ออยใู่ นระดับมาก ตารางที่ 12 ความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็น ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลด้านประสานงาน ระดับความคิดเหน็ (เห็นด้วย) ประเดน็ ปจั จยั ที่มี ปาน น้อย กลาง ท่สี ดุ อทิ ธพิ ล มากท่ีสดุ มาก น้อย N SD แปรผล ดา้ นประสานงาน 14. เมื่อเกิดภัยพิบตั ิ 8 23 10 4 1 46 3.72 0.93 มาก ทีมงานมีการ (17.39) (50.00) (21.74) (8.70) (2.17) ประสานงานอยา่ ง รวดเรว็ ไปยังหน่วยงาน ที่เก่ยี วข้อง 15. เมอ่ื เกิดภัยพิบตั ิ 9 24 8 4 1 46 3.78 0.93 มาก ทีมงานมีการ ประสานงานโดยการใช้ (19.57) (52.17) (17.39) (8.70) (2.17) การตดิ ต่อส่ือสารแบบ 2 ทาง 16. ทีมงานมีการ ประสานงานอย่างเป็น 17 18 7 3 1 46 4.02 0.99 มาก ทางการและไม่เป็น (36.97) (39.13) (15.22) (6.51) (2.17) ทางการ

27 ประเดน็ ปัจจยั ท่ีมี ระดับความคดิ เห็น (เหน็ ดว้ ย) อทิ ธิพล มากทส่ี ุด มาก ปาน น้อย SD แปรผล กลาง นอ้ ย ท่สี ดุ N 17. ทีมงานมีการ ประสานงานรว่ มกับ 18 19 6 3 0 46 4.13 0.88 มาก องค์กรเครือขา่ ย (39.13) (41.31) (13.05) (6.51) (0.00) อาสาสมัคร มลู นิธิ และ องค์กรภาคเอกชนที่ เกยี่ วขอ้ งอยา่ ง สมา่ เสมอ เพ่อื สนับสนุน การดาเนินงานด้านการ ปอ้ งกันและบรรเทาสา ธารณภยั 18. ทีมงานมีการ ประสานงานในการให้ 12 22 6 5 1 46 3.85 1.01 มาก ความชว่ ยเหลอื และ (26.09) (47.83) (13.04) (10.87) (2.17) สงเคราะหผ์ ปู้ ระสบภัย พบิ ตั ิได้อยา่ งรวดเรว็ ทันตอ่ สถานการณ์ 19. ทมี งานมีการ ประสานการรบั แจ้งเหตุ 15 14 11 5 1 46 3.80 1.09 มาก และเข้าระงับเหตุการณ์ (32.61) (30.43) (23.92) (10.87) (2.17) ได้อย่างรวดเรว็ และทัน ตอ่ สถานการณ์ รวม 3.88 0.98 มาก ผลการศึกษาตารางที่ 12 พบว่าปัจจัยท่ีมีอิทธิพลด้านประสานงาน โดยรวมอยู่ใน ระดับมาก เม่ือพิจารณารายข้อพบว่า เม่ือเกิดภัยพิบัติทีมงานมีการประสานงานอย่างรวดเร็วไปยัง หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง มีการประสานงานโดยการใช้การติดต่อส่ือสารแบบ 2 ทาง มีการประสานงานอย่าง เปน็ ทางการและไมเ่ ป็นทางการ มีการประสานงานร่วมกบั องค์กรเครอื ข่าย อาสาสมัคร มูลนิธิ และองค์กร ภาคเอกชนท่เี กีย่ วข้องอย่างสม่าเสมอ เพื่อสนับสนุนการดาเนินงานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย มีการประสานงานใ นการให้ความช่วยเ หลือและสงเคราะห์ผู้ ประสบภัยพิบัติได้ อย่างรวดเร็วทั นต่ อ สถานการณ์ มีการประสานการรับแจ้งเหตุและเข้าระงับเหตุการณ์ได้อย่างรวดเร็วและทันต่อสถานการณ์ ทุกข้ออยูใ่ นระดบั มาก

28 ตารางที่ 13 ความถี่ รอ้ ยละ และคา่ เฉล่ยี ของระดบั ความคดิ เห็น ปัจจยั ที่มอี ทิ ธพิ ลด้านการกากับดแู ล ระดบั ความคิดเหน็ (เหน็ ดว้ ย) ประเดน็ ปจั จยั ที่มี อทิ ธพิ ล มากทีส่ ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยทส่ี ดุ N SD แปรผล ดา้ นการกากับดแู ล 15 7 50 46 4.04 1.01 มาก 20. ทีมงานมีการ (32.61) (15.22) (10.87) (0.00) 46 3.80 0.93 มาก ตดิ ตามสถานการณ์ 19 ดา้ นสาธารณภัยอย่าง (41.30) 20 10 5 0 46 3.70 1.03 มาก ต่อเนือ่ ง (43.48) (21.74) (10.87) (0.00) 46 3.78 0.99 มาก 21. ทมี งานมี 12 15 6 0 3.83 0.99 มาก ความสามารถในการ 11 (26.09) (32.61) (13.04) (0.00) ประเมินสถานการณ์ (23.91) เพ่ือการเตรยี มความ 17 13 3 1 พร้อมในการบริหาร (36.96) (28.26) (6.52) (2.17) จัดการกับภัยพบิ ัตทิ ี่ อาจเกดิ ขึ้นได้ รวม 22. ทีมงานมีการ รายงานระดับความ 13 รุนแรงข้นั ต้นของสา (28.26) ธารณภัยได้อยา่ ง รวดเร็ว 23. ทมี งานมีการ ประเมนิ ความเสยี หาย 12 จากสาธารณภยั เพ่ือ (26.09) เปน็ ขอ้ มลู ประกอบการ ตดั สินใจของผู้บรหิ าร ผลการศึกษาตารางท่ี 13 พบว่าปัจจัยที่มีอิทธิพลด้านการกากับดูแล โดยรวมอยู่ใน ระดับมาก เม่ือพิจารณารายข้อพบว่าทีมงานมีการติดตามสถานการณ์ด้านสาธารณภัยอย่างต่อเนื่อง มีความสามารถในการประเมินสถานการณ์ เพ่ือการเตรียมความพร้อมในการบริหารจัดการกับภัยพิบัติ ท่อี าจเกิดขึ้นได้ มกี ารรายงานระดับความรนุ แรงขน้ั ต้นของสาธารณภัยได้อย่างรวดเร็ว มีการประเมินความ เสยี หายจากสาธารณภัย เพื่อเป็นขอ้ มูลประกอบการตดั สนิ ใจของผบู้ ริหาร ทุกข้ออยู่ในระดับมาก

29 ส่วนที่ 3 วิเคราะห์ความคิดเหน็ เก่ียวกบั ปัญหา เรอื่ ง ปจั จยั ท่มี ผี ลตอ่ การทางานเป็นทมี ของบคุ ลากรท่เี ขา้ รบั การฝกึ อบรมหลกั สูตรนกั บริหารงานปอ้ งกันและบรรเทา สาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นท่ี 10 ในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ตารางที่ 14 ความถี่ ร้อยละ และค่าเฉล่ียของระดบั ความคิดเหน็ ปัจจัยที่มีอทิ ธิพลดา้ นนโยบาย ปจั จัยท่ีมอี ิทธิพล ระดับความคดิ เหน็ (เห็นดว้ ย) SD แปรผล มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย N ทส่ี ุด กลาง ทส่ี ดุ ดา้ นนโยบาย 2 13 19 9 3 46 3.04 0.97 ปานกลาง (4.35) (28.26) (41.30) (19.57) (6.52) 24. ทีมงานมกี ารประเมนิ 2.96 1.01 ปานกลาง ความเสียหายจากสาธารณภัย 3.30 0.99 ปานกลาง เพ่ือเป็นข้อมูลประกอบการ ตดั สินใจของผ้บู รหิ าร 25. การถา่ ยทอดนโยบายสู่ 2 13 15 13 3 46 การปฏิบัติขององคก์ รยังไม่ (4.35) (28.26) (32.61) (28.26) (6.52) ชดั เจน 26. มีการเปลี่ยนแปลง 5 15 16 9 1 46 ผู้บริหารองค์กรบ่อยครง้ั (10.87) (32.61) (34.78) (19.57) (2.17) รวม 3.10 0.99 ปานกลาง ผลการศึกษาตารางที่ 14 พบว่าปัจจัยที่มีอิทธิพลด้านนโยบาย โดยรวมอยู่ในระดับ ปานกลาง เมอ่ื พจิ ารณารายขอ้ พบว่า ทีมงานมีการประเมินความเสียหายจากสาธารณภัย เพ่ือเป็นข้อมูล ประกอบการตัดสินใจของผู้บริหาร การถ่ายทอดนโยบายสู่การปฏิบัติขององค์กรยังไม่ชัดเจน มีการ เปล่ยี นแปลงผ้บู ริหารองค์กรบ่อยครัง้ ทุกข้ออยู่ในระดับปานกลาง

30 ตารางที่ 15 ความถี่ รอ้ ยละ และคา่ เฉลยี่ ของระดับความคดิ เห็น ปัจจยั ท่มี ีอทิ ธิพลด้านการบรหิ าร องคก์ ร ระดับความคิดเหน็ (เห็นดว้ ย) ปัจจยั ที่มอี ิทธพิ ล มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย N SD แปรผล ที่สดุ กลาง ทีส่ ุด ด้านการบรหิ ารงานองคก์ ร 4 18 16 7 1 46 3.37 0.93 ปานกลาง 27. การมอบหมายหนา้ ทค่ี วาม (8.70) (39.13) (34.78) (15.22) (2.17) รับผิดชอบไม่ตรงกับความรู้ ความสามารถของสมาชกิ 28. องคก์ รขาดการบริหารจดั การ ดา้ นการซอ่ มแซม บารุงรกั ษา 9 13 14 8 2 46 3.41 1.13 มาก เคร่ืองมือ เครือ่ งจักรกล และ (19.57) (28.26) (30.43) (17.39) (4.35) อุปกรณใ์ นการปฏบิ ัตงิ าน 29. การบรหิ ารจดั การข้อมลู ยงั ไม่ 8 20 11 7 0 46 3.63 0.95 มาก เปน็ ระบบ ไม่เออื้ ต่อการนาไปใช้ (17.39) (43.48) (23.91) (15.22) (0.00) ประโยชนใ์ นการตดั สนิ ใจของ ผู้บริหาร รวม 3.47 1.00 มาก ผลการศึกษาตารางท่ี 15 พบวา่ ปัจจัยทม่ี ีอิทธพิ ลด้านการบริหารงานองคก์ ร โดยรวม อยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณารายข้อพบว่า องค์กรขาดการบริหารจัดการด้านการซ่อมแซม บารุงรักษา เคร่ืองมือ เคร่ืองจักรกล และอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการข้อมูลยังไม่เป็นระบบ ไม่เอื้อต่อการ นาไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจของผู้บริหาร อยู่ในระดับมาก รองลงมาองค์กรมีการมอบหมายหน้าท่ี ความรบั ผดิ ชอบไมต่ รงกับความรู้ ความสามารถของสมาชิก อยใู่ นระดบั ปานกลาง

31 ตารางที่ 16 ความถ่ี รอ้ ยละ และค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเหน็ ปจั จยั ทมี่ อี ทิ ธิพลดา้ นการดาเนินงาน ปจั จัยท่ีมีอิทธิพล ระดับความคิดเหน็ (เห็นด้วย) SD แปร ผล มากท่ีสดุ มาก ปาน นอ้ ย น้อย N กลาง ทสี่ ดุ ด้านการดาเนินงาน 5 14 16 11 0 46 3.28 0.96 ปาน 30. องค์กรขาดการแสวงหา และ (10.87) (30.44) (34.78) (23.91) (0.00) กลาง บรู ณาการทรพั ยากรรว่ มกับ หนว่ ยงานอนื่ 31. องคก์ รขาดการประสานงาน ระหว่างสมาชิกทีมงานภายในองค์กร 4 10 15 17 0 46 3.02 0.98 ปาน (8.69) (21.74) (32.61) (36.96) (0.00) กลาง 32. องคก์ รขาดการประสานงาน 3 12 14 17 0 46 3.02 0.95 ปาน กับทีมงานภายนอกองคก์ ร (6.52) (26.09) (30.43) (36.96) (0.00) กลาง 33. องค์กรขาดการประสานงาน 9 11 12 13 1 46 3.30 1.15 ปาน กบั ทีมงานภายนอกองคก์ ร (19.57) (23.91) (26.09) (28.26) (2.17) กลาง 34. องค์กรขาดการพฒั นา 6 15 10 14 1 46 3.24 1.10 ปาน จติ สานกึ ในการทางานเปน็ ทีม (13.05) (32.61) (21.74) (30.43) (2.17) กลาง 35. สมาชิกขาดความรับผิดชอบ 5 13 9 18 1 46 3.07 1.10 ปาน ตอ่ หน้าที่ท่ีไดร้ บั มอบหมายจาก (10.87) (28.26) (19.57) (39.13) (2.17) กลาง หวั หน้าทีมงาน 36. สมาชกิ ของทีมไม่เขา้ ใจใน 7 11 8 16 4 46 3.02 1.26 ปาน บทบาทหนา้ ท่ีความรับผิดชอบใน (15.22) (23.91) (17.39) (34.78) (8.70) กลาง การทางานเปน็ ทีม รวม 3.14 1.04 ปาน กลาง ผลการศึกษาตารางท่ี 16 พบว่าปัจจัยท่ีมีอิทธิพลด้านการดาเนินงาน โดยรวมอยู่ใน ระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายข้อพบว่า องค์กรขาดการแสวงหา และบูรณาการทรัพยากรร่วมกับ หน่วยงานอื่น ขาดการประสานงานระหว่างสมาชิกทีมงานภายในองค์กร ขาดการประสานงานกับทีมงาน ภายนอกองค์กร ขาดการประสานงานกับทีมงานภายนอกองค์กร ขาดการพัฒนาจิตสานึกในการทางาน เป็นทีม ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าท่ีที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้าทีมงาน สมาชิกของทีมไม่เข้าใจใน บทบาทหนา้ ทีค่ วามรับผิดชอบในการทางานเปน็ ทีม ทุกขอ้ อย่ใู นระดับปานกลาง

332 บทท่ี 5 บทสรุปและอภปิ รายผล ในการศึกษาครั้งน้ีเป็นการศึกษาการทางานเป็นทีมของบุคลากรท่ีเข้ารับการฝึกอบรม หลกั สตู ร นักบรหิ ารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รนุ่ ท่ี 10 พบว่าประสบผลสาเรจ็ ในการ ทางานเป็นอยู่ในระดบั มาก ( ̅ = 3.87) โดยมีปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการทางานเป็นทีมในด้านผู้นาทีมงาน การมีสว่ นร่วม การวางแผน การประสานงาน และการกากับดูแล อย่างไรกต็ ามยังมีปัญหาอุปสรรคในการ ทางานเป็นทมี ในเรือ่ งของปจั จัยทีม่ ีอิทธิพลต่อการทางานในดา้ นนโยบาย การบริหารงานองค์กร และด้าน การดาเนนิ งาน ทงั้ ในเรื่องของการเปลีย่ นตวั ผบู้ รหิ ารบ่อย การขาดความรทู้ ักษะในงาน ความรับผิดชอบ ของนักศึกษาเอง ในการที่จะสนับสนุนการทางานเป็นทีมให้ประสบผลสาเร็จ ในการศึกษาวิจัยในคร้ังนี้ สามารถนาผลการศึกษาไปใช้ในทางปฏิบัติเพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย และองค์กรประสบผลสาเร็จ ในการ ทางานเปน็ ทีม การศึกษาคร้ังน้ี เป็นการศึกษาเชิงปริมาณ ประชากรที่ศึกษา คือ บุคลากรที่เข้ารับการ ฝึกอบรมหลักสูตร นักบริหารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นที่ 10 จานวน 46 คน เคร่ืองมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) ซึ่งสร้างขึ้นจากวัตถุประสงค์ กรอบแนวคิดของการศึกษา และดาเนินการจดั เก็บข้อมลู โดยผศู้ ึกษาได้ออกแบบสอบถาม จานวน 46 ชุด และไดต้ รวจสอบความสมบูรณถ์ ูกตอ้ งครบถว้ น โดยผ้จู ัดทาวจิ ยั ไดน้ าข้อมูลจากแบบสอบถาม มาวิเคราะห์ แปรผลข้อมูล โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป Microsoft Excel ในการคานวณหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย (̅ ) และสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) โดยใช้ function ท่ีสาคัญคือ COUNTIF (nx:nxx,1-5) เป็นการคานวณ ในการนับจานวนประชากรที่ใช้ในการศึกษา AVERAGE (nx:nxx) เป็นการคานวณหาค่าเฉลี่ย (̅ ) STDEV (nx:nxx) เป็นการคานวณหาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) แสดงค่าเป็นสถิติในการบรรยาย ไดแ้ ก่ ค่ารอ้ ยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน ซ่งึ สามารถสรุปผลการวจิ ยั ได้ ดังน้ี สรปุ ผลการศึกษา ผลการศกึ ษาดา้ นคุณสมบัตขิ องผตู้ อบแบบสอบถาม และผลสรปุ ตามวตั ถุประสงค์มดี งั นี้ 1. ข้อมูลส่วนบุคคลของบุคลากรท่ีเข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตร นักบริหารงานป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นท่ี 10 ผลการศึกษาพบว่า จากกลุ่มประชากร 46 คน คิดเป็นร้อยละ 100 มีเพศชาย และเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 60.87 และ 39.13 ตามลาดับ มีช่วงอายุมากที่สุด คือ ชว่ งอายุ 40-49 ปี คิดเปน็ รอ้ ยละ 56.52 และรองลงมา ได้แก่ ช่วงอายุ 30 – 39 ปี ช่วงระหว่าง 50 - 60 ปี คดิ เป็นรอ้ ยละ 21.74 อายุมากที่สุด 55 ปี อายุต่าสุด 32 ปี อายุเฉล่ีย 45 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาโท มากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 50 รองลงมาระดับการศึกษาระดับปริญญาตรี คดิ เป็นรอ้ ยละ 47.83 ระดับ ปริญญาเอก คิดเปน็ รอ้ ยละ 2.17 ตาแหนง่ สว่ นใหญ่ดารงตาแหน่งระดับชานาญการ คิดเป็นร้อยละ 67.39 รองลงมาระดับชานาญการพิเศษ ระดับอาวุโส คิดเป็นร้อยละ 23.91 และ 8.70 ตามลาดับ ส่วนใหญ่ มีประสบการณ์ทางานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อยู่ระหว่าง 11–15 ปี รองลงมาอยู่ ระหว่าง 5 – 10 ปี 21 ปีข้ึนไป คิดเป็นร้อยละ 32.60 19.57 ตามลาดับ น้อยที่สุดช่วงระหว่าง 16 - 20 คิดเป็นร้อยละ 10.87 ส่วนใหญ่ปฏิบัติงานสังกัดสานัก/ กอง/ วปภ. คิดเป็นร้อยละ 43.48 รองลงมา

33 สังกัดสานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย คิดเป็น ร้อยละ 34.78 21.74 ตามลาดับ ส่วนใหญ่มีลักษณะการทางาน เป็นทีมตามสายงาน/ตามโครงสร้าง ขององค์กร คิดเป็นร้อยละ 54.84 รองลงมามีลักษณะทีมข้ามสายงาน/สมาชิกหลายส่วนงานมาร่วมกัน ทีมระหว่างองค์กร/ผู้ประกอบวิชาชีพหลากสาขา (สหวิชาชีพ) จากหลายองค์กรมาร่วมกัน คิดเป็นร้อย ละ 29.03 16.13 ตามลาดับ และส่วนใหญ่ มีโอกาสเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการ/คณะทางาน คิดเป็น ร้อยละ 39.33 รองลงมาโอกาสเข้าร่วมการประชุมเป็นครั้งคราว ร่วมปฏิบัติการเฉพาะกิจ คิดเป็นร้อย ละ 29.21 และ 24.72 ตามลาดบั 2. ข้อมูลการวิเคราะห์ความคิดเห็นต่อลักษณะการทางานเป็นทีมในเรื่องการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภยั บคุ ลากรที่เข้ารับการฝึกอบรมหลกั สูตรนักบริหารงานป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นที่ 10 สรุปโดยรวมอยู่ในระดับมาก (̅ = 3.87 ) แยกเป็นรายดา้ น ดังน้ี 2.1 ดา้ นผูน้ าทมี งาน ไดแ้ ก่ วิสยั ทศั น์ แรงจงู ใจ การตดั สินใจ การมอบหมายงาน โดยรวมอยใู่ นระดับมาก (̅ = 4.02 ) พจิ ารณารายขอ้ พบว่า นกั ศกึ ษา นบ.ปภ.รุ่นที่ 10 ทุกข้อเป็นผู้นา มีวิสัยทัศน์สามารถกาหนดการทางานชัดเจน สามารถสร้างแรงจูใจให้ทีมงานมีความสามารถในการ ปฏิบัติงานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กล้าตัดสินใจและสามารถแก้ปัญหาของทีมได้อย่าง ทนั ท่วงที มกี ารมอบหมายงานที่เหมาะสมตามความรู้ความสามารถของสมาชกิ ในทีมงาน อยูร่ ะดบั มาก 2.2 ด้านการมีส่วนร่วม โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( ̅ = 3.96 ) พิจารณา รายข้อพบว่านักศกึ ษา นบ.ปภ.ร่นุ ที่ 10 ทีมงานเปิดโอกาสให้สมาชกิ มีสว่ นรว่ มวางแผนต้ังแต่การกาหนด นโยบาย และแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย มีการปฏิบัติงานร่วมกันในทุกขั้นตอนของการ ทางานดา้ นการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั มีการตดั สินใจร่วมกันในการปฏิบัติงานโดยยึดประโยชน์ ของประชาชนเปน็ ที่ตั้ง สมาชิกทมี งานมีส่วนร่วมในผลงานและความสาเร็จของทีม อย่ใู นระดับมาก 2.3 ด้านการวางแผน โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( ̅ = 3.65) พิจารณารายข้อ พบว่า ทมี งานมกี ารวางแผนกลยุทธ์โดยมีเป้าหมายเพ่ือความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน มีการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติโดยการจัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปีอย่างเป็นรูปธรรม มีการจัดทา แผนแม่บทด้านสาธารณภยั ในประเภทต่าง ๆครอบคลุมทุกภัย มีการจัดทาแผนการช่วยเหลือผู้ประสบภัย พิบัติที่สามารถนาไปใช้ปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการจัดทาแผนการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ด้าน สาธารณภัย เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ผ่านสอ่ื ทกุ ประเภท ทุกข้ออยู่ในระดับมาก 2.4 ด้านประสานงาน โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( ̅ = 3.88 ) พิจารณารายข้อ พบว่า เมื่อเกิดภัยพิบัติทีมงานมีการประสานงานอย่างรวดเร็วไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีการ ประสานงานโดยการใช้การติดต่อส่ือสารแบบ 2 ทาง มีการประสานงานอย่างเป็นทางการและไม่เป็น ทางการ มีการประสานงานร่วมกับองค์กรเครือข่าย อาสาสมัคร มูลนิธิ และองค์กรภาคเอกชนท่ีเกี่ยวข้อง อย่างสม่าเสมอ เพ่ือสนับสนุนการดาเนินงานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย มีการประสานงาน ในการใหค้ วามชว่ ยเหลือ และสงเคราะห์ผู้ประสบภัยพิบัติได้อย่างรวดเร็วทันต่อสถานการณ์ มีการประสาน การรับแจง้ เหตุและเข้าระงับเหตุการณ์ได้อย่างรวดเรว็ และทันต่อสถานการณ์ ทุกข้ออยใู่ นระดับมาก

34 2.5 ด้านการกากับดูแล โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( ̅ = 3.83) พิจารณารายข้อ พบว่าทีมงานมีการติดตามสถานการณ์ด้านสาธารณภัยอย่างต่อเน่ือง มีความสามารถในการประเมิน สถานการณ์เพื่อการเตรียมความพร้อมในการบริหารจัดการภัยพิบัติที่อาจเกิดข้ึนได้ มีการรายงานระดับ ความรุนแรงข้ันต้นของสาธารณภัยได้อย่างรวดเร็ว มีการประเมินความเสียหายจากสาธารณภัย เพ่ือเป็น ข้อมลู ประกอบการตดั สินใจของผู้บรหิ าร ทกุ ขอ้ อยู่ในระดบั มาก 3. ข้อมูลความคิดเห็นของกลุ่มประชากรในภาพรวมต่อปัญหาอุปสรรคในการทางาน เป็นทีมของบุคลากรท่ีเข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรนักบริหารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นท่ี 10 มีปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความคิดเห็นของกลุ่มประชากร ในภาพรวมสรุปโดยรวมอยู่ใน ระดบั ปานกลาง (̅ = 3.23) แยกเปน็ รายด้าน ดงั น้ี 3.1 ดา้ นนโยบาย โดยรวมอย่ใู นระดบั ปานกลาง (̅ = 3.1) พิจารณารายข้อ พบว่า ทีมงานมีการประเมินความเสียหายจากสาธารณภัย เพ่ือเป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจของผู้บริหาร มีการถ่ายทอดนโยบายสู่การปฏิบัติขององค์กรยังไม่ชัดเจน มีการเปลี่ยนแปลงผู้บริหารองค์กรบ่อยครั้ง ทุกข้ออยู่ในระดับปานกลาง 3.2 ด้านการบริหารงานองค์กร โดยรวมอยู่ในระดับมาก (̅ = 3.47) พิจารณารายข้อ พบว่าทีมงานขาดการบริหารจัดการด้านการซ่อมแซมบารุงรักษาเครื่องมือ เครื่องจักรกล และอุปกรณ์ ในการปฏบิ ตั งิ าน ,การบรหิ ารจัดการขอ้ มลู ยงั ไม่เป็นระบบ ไม่เอื้อต่อการนาไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจ ของผู้บริหาร อยู่ในระดับมาก รองลงมามีการมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบไม่ตรงกับความรู้ ความสามารถของสมาชกิ อยู่ในระดบั ปานกลาง 3.3 ด้านการดาเนินงาน โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( ̅ = 3.14) พิจารณารายข้อ พบว่าองค์กรขาดการแสวงหาและบรู ณาการทรพั ยากรร่วมกบั หนว่ ยงานอืน่ ขาดการประสานงานระหว่าง สมาชิกทีมงานภายใน และภายนอกองค์กร ขาดการติดตามประเมินผลการทางานเป็นทีม ทั้งระยะสั้น และระยะยาว ขาดการพัฒนาจิตสานึกในการทางานเป็นทีม ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าท่ี ที่ได้รับ มอบหมายจากหัวหน้าทีมงาน สมาชิกของทีมไม่เข้าใจในบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบในการทางานเป็นทีม อยู่ในระดบั ปานกลาง การอภปิ รายผล ผลการศึกษาที่สรุปว่า ในการทางานเป็นทีมของบุคลากรท่ีเข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร นักบริหารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นที่ 10 พบว่า นักศึกษา (นบ.ปภ.) รุ่นท่ี 10 ประสบผลสาเรจ็ ในการทางานเปน็ ทีมอย่ใู นระดบั มาก ( ̅ = 3.87) โดยมีปัจจัยสนับสนุนให้การ ทางานเปน็ ทมี ไดป้ ระสบผลสาเรจ็ ได้แก่ การมผี ้นู าทมี งานท่ีมีวิสัยทัศน์ สร้างแรงจูงใจ มีการตัดสินใจ และ มอบหมายงานทีด่ ี การเปิดโอกาสใหส้ ามารถมสี ว่ นรว่ มในการวางแผน กาหนดนโยบายและ วางแผนการ ประสานงานกับท่ีหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย และมีการประเมินติดตาม สถานการณ์เพอื่ เป็นขอ้ มลู ในการตดั สนิ ใจของผู้บริหาร ซึ่งสอดคล้องกันแนวคิดเกี่ยวกับการทางานเป็นทีม ของเอกชัย กี่สุขพันธ์ (2538:145) ที่กล่าวว่า การทางานร่วมกันของทีมงาน เพื่อให้ได้ผลผลิตสูงน้ัน จะต้องมอี งคป์ ระกอบได้แก่ การมีผู้นาทีม่ คี วามสามารถและมกี ารสรา้ งบรรยากาศในการทางานท่ดี ี นอกจากนี้ ผลการศึกษาวิจัย ยังพบอีกว่าปัจจัยท่ีเป็นปัญหา อุปสรรคต่อการทางาน เป็นทีม ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงผู้บริหารองค์กรบ่อยครั้ง ศักยภาพของผู้ร่วมทีมในเรื่องการใช้เคร่ืองมือ

35 อุปกรณ์ เพ่ือให้งานประสบผลสาเร็จ การขาดการประสานงานระหว่างสมาชิก และความรับผิดชอบ ต่องานที่ไดร้ ับมอบหมายจากหวั หนา้ เปน็ ต้น ซึ่งสอดคลอ้ งกับ จิริตา เชาวลติ (2549 : 56-59) ท่ีกล่าวถึง ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อลักษณะการทางานเป็นทีม ซึ่งจะต้องประกอบด้วย ความสามารถของสมาชิก การประสานงาน ความรับผดิ ชอบของสมาชกิ จากผลการศึกษาวิจัยดังกล่าว ทาให้ทราบว่านักศึกษา นบ.ปภ.รุ่นท่ี 10 มีการทางาน เป็นทีมทค่ี ่อนขา้ งดมี าก อย่างไรกต็ ามยังมีปัญหา อุปสรรคในการทางานเป็นทีมในเรื่องของการเปล่ียวตัว ผู้บริหารบ่อย และการขาดความรู้ทักษะในงานความรับผิดชอบของนักศึกษาเอง ในการที่จะสนับสนุน การทางานเปน็ ทมี ใหป้ ระสบผลสาเรจ็ ข้อเสนอแนะสาหรับการนาผลไปใช้ จากผลการศึกษาแนวทางการทางานเป็นทีมของบุคลากรที่เข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตร นักบริหารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นที่ 10 สามารถนาผลการศึกษาไปใช้ในการ ทางานเป็นทีมได้บรรลุตามวัตถุประสงค์ตรงตามเป้าหมาย เพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผลบรรลุ ผลสัมฤทธง์ิ าน ขอ้ เสนอแนะสาหรบั การวิจัยครงั้ ไป เพ่ือให้ผลการศึกษาในคร้ังนี้ สามารถขยายต่อไปในทัศนะที่กว้างมากข้ึน อันจะเป็น ประโยชน์ในการอธิบายปรากฎการณ์ และปัญหาทางด้านการทางานเป็นทีมหรือปัญหาอ่ืนที่มีความ เกี่ยวขอ้ งกัน ผู้ทาวจิ ัยจึงขอเสนอแนะประเด็นสาหรบั การทาวิจัยคร้ังตอ่ ไปดังนี้ 1. แนะนาให้ทาการศึกษากับกลุ่มประชากร/กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มอื่นๆท่ึต้องมีส่วน เกยี่ วขอ้ งในการปฏบิ ัตงิ านเป็นทมี สามารถนาผลทไี่ ด้จากการศกึ ษามาเปน็ แนวทางในการปฏิบัติงาน หรือ สามารถให้คาปรึกษาด้านต่าง ๆ ให้กับบุคลากรของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ของภาครัฐ และ ภาคเอกชน 2. แนะนาใหศ้ ึกษากับตวั แปรอน่ื ๆ เพม่ิ เตมิ เพื่อเปน็ การยืนยันถึงอิทธิพลของตัวแปรท่ีใช้ ในการศึกษาครั้งนี้ ควรมีการศึกษาในลักษณะเดียวกันโดยใช้กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มเป้าหมายอื่น ๆ ที่เก่ียวข้อง ทั้งหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนที่ เพ่ือให้ทราบถึงแนวทางและวิธีการบริหารจัดการทาให้ รายละเอยี ดมีความชัดเจน และสมบรู ณ์มากข้นึ 3. แนะนาให้ใช้สถิติตัวอื่นมาวิเคราะห์ในแง่มุมอ่ืน ๆ โดยใช้วิธีการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ เพ่อื ใหไ้ ด้มาซงึ่ ขอ้ มูลทจ่ี ะเป็นประโยชนต์ ่อการปรบั ปรุง และพัฒนาการทางานเปน็ ทีมต่อไปพรอ้ มเหตผุ ล

36 บรรณานุกรม ภาษาไทย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (2550) , พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย. กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย. (2548).ค่มู ือปฏิบตั งิ าน.กรงุ เทพฯ : อมรินทร์พร้ินตงิ้ . กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (2553) กระทรวงมหาดไทย, แผนการป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั พ.ศ. 2553-2557 จริ ติ า เชาวลติ . “ปัจจัยท่ีมคี วามสัมพันธ์ต่อประสทิ ธิภาพในการทางานเป็นทมี ศกึ ษากรณี บรษิ ัทกรุงเทพ โทรทศั นแ์ ละวิทยุ จากัด.” สารนพิ นธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑติ สาขาเทคโนโลยกี ารบรหิ าร สถาบันบณั ฑติ พฒั นบริหารศาสตร์, 2549. ณรงคว์ ิทย์ แสนทอง. ค่มู อื การพฒั นาระบบบริหารงานยคุ ใหม.่ กรงุ เทพฯ. เอช อาร์ เซน็ เตอร์, 2544 ณัฐนนั ท์ ดนพู ิทักษ์. “ลักษณะการทางานเป็นทีมท่ีมีประสิทธิภาพในโรงเรียนมัธยมศึกษา ตามแนวความคิดเหน็ ของผบู้ ริหารและครโู รงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 6.” ปรญิ ญานพิ นธ์การศกึ ษามหาบัณฑิต สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒประสานมติ ร, 2548 เตอื นใจ แววงาม. พลวัตของกล่มุ และการทางานเปน็ ทีม. กรุงเทพฯ : เมด็ ทรายพรนิ้ ตงิ้ , 2534 นพภสั สร โกสนิ ทรจติ ต.์ “ประสิทธผิ ลการทางานเปน็ ทีมของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาชลบรุ ี เขต1. ” วทิ ยานพิ นธป์ ริญญาศกึ ษาศาสตร์มหาบณั ฑิต สาขา บรหิ ารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั บูรพา, 2548 ปรยี า คงฤทธศ์ิ ึกษากร. “การสร้างทีมงาน.” นิตยสารทอ้ งถนิ่ 33 : 10 (ตลุ าคม 2536): 50. ยงยุทธ เกษสาคร. ภาวะผ้นู าและการทางานเปน็ ทีม. นนทบุรี : ปณั ณรัชต์. 2547. วรวมิ ล บุตรอามาตย์ “การพัฒนาประสทิ ธภิ าพการทางานเปน็ ทีมของพนกั งานไปรษณียพ์ ษิ ณุโลก.” วิทยานพิ นธ์ปริญญาศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขายุทธศาสตร์การพัฒนาบณั ฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎพบิ ลู สงคราม, 2549 สงวน ช้างฉัตร. พฤตกิ รรมองคก์ าร. กรุงเทพฯ : เอก็ เปอรเ์ น็ท ภาควชิ าบรหิ ารธุรกิจและสหกรณ์ คณะ วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลยั ราชภัฎพิบูลสงคราม, 2542 เอกชยั กส่ี ุขพนั ธ์ . การบรหิ ารทกั ษะ และการปฏบิ ตั ิ. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, 2538

37 บรรณานกุ รม ภาษาตา่ งประเทศ Banard. Education is Research. 4 th ed. Englewod cliffs: N.J Prentice - Hall, 1973. Stogdill. Where is Leader Team. Organization Management. (May 1974) : 42-43.

38 ผนวก

แบบสอบถาม คาชแ้ี จง แบบสอบถามนี้ เป็นส่วนหนึ่งของรายงานการศึกษาวิจัยส่วนบุคคลของการศึกษา หลกั สตู ร นกั บรหิ ารงานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นท่ี 10 วิทยาลัยป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย ใคร่ขอความอนุเคราะห์จากท่าน ตอบแบบสอบถามทุก ๆ ข้อ ตามความเป็นจริง เพื่อเป็นประโยชน์สาหรับใช้เป็นแนวทางการพัฒนาการ ทางานเป็นทีมของบุคลากรที่เข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตร นักบริหารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั (นบ.ปภ.) รุ่นท่ี 10 ขอรับรองวา่ ข้อมูลท่ีท่านตอบทุกข้อ จะถือเป็นความลับไม่มีผลกระทบต่อตวั ท่านแต่ อย่างใด เน่ืองจากผลการศึกษาจะนาเสนอในภาพรวมเท่านั้น มิได้แจกแจงข้อมูลเป็นรายบุคคลไม่ว่า กรณีใด ๆ (นางมนสั นนั ท์ จรสั เลศิ สิร)ิ นักศกึ ษา นบ.ปภ. ร่นุ ที่ 10 วิทยาลัยปอ้ งกนั และบรรเทาสาธสาธารณภยั

1 แบบสอบถาม เรอื่ ง ปัจจัยที่มีผลต่อการทางานเป็นทีมของบุคลากรที่เข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตร นักบริหารงาน ป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั (นบ.ปภ.) รนุ่ ที่ 10 แบบสอบถามฉบบั น้ี มวี ัตถุประสงคใ์ นการเก็บรวบรวมข้อมลู เพ่ือใช้ในการศึกษาลักษณะวิธีการทางาน เป็นทมี และปัญหาอปุ สรรคใ์ นการทางานเป็นทมี ของนักศกึ ษา นบ.ปภ. รุ่นท่ี 10 ซึง่ แบบสอบถามน้ีใช้สาหรับ บุคลากรที่เข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตร นักบริหารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ( นบ.ปภ.) รุ่นท่ี 10 ผู้ถามจึงใคร่ขอความกรุณาจากท่านในการอ่าน และตอบแบบสอบถามตามความจริง และโปรดแสดงความ คิดเห็นอยา่ งเตม็ ท่ี เพือ่ ประโยชน์ในการวจิ ัย และจะเสนอผลการศกึ ษาในภาพรวม ตอนที่ 1 ข้อมลู สว่ นบคุ คลของผ้ตู อบแบบสอบถาม คาชแี้ จง กรุณาตอบคาถามโดยทาเคร่ืองหมาย  ใน ( ) และเตมิ ข้อความในชอ่ งว่าง 1. เพศ ( ) ชาย ( ) หญิง 2. อายุของทา่ น ( ) 20 - 29 ปี ( ) 30 - 39 ปี ( ) 40 - 49 ปี ( ) 50 - 59 ปี 3. ระดบั การศกึ ษา ( ) ต่ากวา่ ปริญญาตรี ( ) ปริญญาตรี ( ) ปริญญาโท ( ) ปริญญาเอก 4. ประเภทตาแหนง่ สายงานประเภทวิชาการ ตาแหนง่ ............................... ( ) ระดบั ชานาญการพเิ ศษ ( ) ระดบั ชานาญการ ( ) ระดบั อาวุโส ( ) ระดบั อ่นื ๆ

2 5. ประสบการณ์ในการปฏิบตั ิงานด้านสาธารณภยั .................ปี ( ) 5 - 10 ปี ( ) 11 – 15 ปี ( ) 16 - 20 ปี ( ) 21 ปีข้ึนไป 6. หนว่ ยงานท่ีสังกัด ( ) สานัก / กอง / วปภ. ( ) ศนู ย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ( ) สานกั งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั จงั หวดั ( ) สานกั งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวดั สาขา 7. องคก์ รของทา่ นมีการทางานเปน็ ทีมในลักษณะใด (เลอื กได้มากกวา่ 1 ข้อ ) ( ) ทมี ตามสายงาน / ตามโครงสรา้ งขององคก์ ร ( ) ทมี ขา้ มสายงาน / สมาชิกหลายสว่ นงานมารว่ มกนั ( ) ทีมระหว่างองค์กร /ผู้ประกอบวชิ าชีพหลากสาขา (สหวชิ าชพี ) จากหลายองค์กรมารว่ มกนั ( ) อน่ื ๆ ระบุ................................................ 8. ทา่ นมโี อกาสเข้ารว่ มทมี งานในลักษณะใดบ้าง นอกเหนอื จากทีมงานตามสายงานหรือโครงสรา้ งของ องคก์ รท่ีทา่ นปฏิบัติงานอยู่ (เลือกได้มากกว่า 1 ขอ้ ) ( ) รว่ มเป็นคณะกรรมการ / คณะทางาน ( ) รว่ มปฏบิ ตั กิ ารเฉพาะกจิ ( ) รว่ มการประชุมเป็นครั้งคราว ( ) เข้าร่วมกจิ กรรมทกุ คร้ัง /อนื่ ๆ ระบ.ุ ............

3 ตอนท่ี 2 วิเคราะห์ความคิดเห็นต่อลักษณะการทางานเป็นทีม เร่ืองปัจจัยท่ีมีผลต่อการ ทางานเปน็ ทมี ของบคุ ลากรท่ีเข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตร นกั บรหิ ารงานป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รนุ่ ที่ 10 คาชีแ้ จง กรณุ าตอบคาถามโดยทาเคร่ืองหมาย  ลงใน  ที่ตรงกบั ความคิดเห็นของท่าน ปัจจยั ที่มอี ิทธิพล ระดับความคดิ เหน็ (เห็นดว้ ย) มากทส่ี ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยทส่ี ดุ ด้านผู้นาทีมงาน 1. ผูน้ ามีวสิ ัยทศั น์สามารถกาหนดการทางานชัดเจน 2. ผูน้ าสามารถสรา้ งแรงจงู ใจให้ทมี งานมีความสามารถใน การปฏิบัติงานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั 3. ผนู้ ากล้าตัดสนิ ใจและสามารถแกป้ ญั หาของทีมได้อยา่ ง ทันท่วงที 4. ผู้นามีการมอบหมายงานทีเ่ หมาะสมตามความรู้ ความสามารถของสมาชิกในทีมงาน ด้านการมีสว่ นรว่ ม 5. ทีมงานเปดิ โอกาสให้สมาชิกมีสว่ นร่วมวางแผนตงั้ แต่การ กาหนดนโยบายและแผนยุทธศาสตร์การป้องกนั และ บรรเทาสาธารณภยั 6. ทมี งานมีการปฏิบตั ิงานรว่ มกันในทุกขนั้ ตอนของการ ทางานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั 7. ทีมงานมกี ารตดั สินใจร่วมกันในการปฏบิ ตั ิงาน โดยยึด ประโยชน์ของประชาชนเปน็ ที่ต้ัง 8. สมาชกิ ทมี งานมสี ว่ นร่วมในผลงานและความสาเรจ็ ของทมี ด้านการวางแผน 9. ทีมงานมกี ารวางแผนกลยุทธโ์ ดยมีเปา้ หมายเพื่อความ ปลอดภยั ในชวี ิตและทรัพยส์ ินของประชาชน 10. ทมี งานมีการแปลงแผนไปส่กู ารปฏิบตั ิโดยการจัดทา แผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปีอยา่ งเปน็ รปู ธรรม 11. ทีมงานมีการจดั ทาแผนแม่บทดา้ นสาธารณภัยใน ประเภทตา่ ง ๆ ครอบคลุมทกุ ภัย

4 ประเด็นปจั จัยท่ีมอี ิทธิพล ระดับความคดิ เห็น (เห็นดว้ ย) มากท่สี ดุ มาก ปานกลาง น้อย น้อยท่สี ดุ 12. ทมี งานมีการจัดทาแผนการชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภัย พบิ ัตทิ ส่ี ามารถนาไปใชป้ ฏิบัติได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 13. ทมี งานมีการจัดทาแผนการเผยแพรป่ ระชาสมั พันธ์ดา้ น สาธารณภยั เพ่ือสร้างความรู้ ความเขา้ ใจ และความตระหนัก ในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ผา่ นส่ือทุกประเภท ดา้ นประสานงาน 14. เมื่อเกิดภัยพิบตั ิทีมงานมีการประสานงานอย่างรวดเรว็ ไป ยังหน่วยงานท่เี กย่ี วข้อง 15. เมื่อเกิดภัยพิบตั ทิ ีมงานมีการประสานงานโดยการใช้การ ติดตอ่ สอ่ื สารแบบ 2 ทาง 16. ทมี งานมีการประสานงานอย่างเปน็ ทางการและไมเ่ ป็น ทางการ 17. ทีมงานมีการประสานงานรว่ มกับองค์กรเครือขา่ ย อาสาสมคั ร มูลนธิ ิ และองค์กรภาคเอกชนทีเ่ ก่ียวข้องอย่าง สม่าเสมอ เพื่อสนับสนนุ การดาเนนิ งานดา้ นการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภยั 18. ทีมงานมีการประสานงานในการให้ความช่วยเหลอื และ สงเคราะห์ผปู้ ระสบภัยพบิ ตั ไิ ดอ้ ย่างรวดเรว็ ทันต่อสถานการณ์ 19. ทีมงานมีการประสานการรับแจง้ เหตแุ ละเข้าระงบั เหตุการณ์ได้อยา่ งรวดเร็วและทันตอ่ สถานการณ์ ดา้ นการกากบั ดูแล 20. ทมี งานมีการตดิ ตามสถานการณด์ า้ นสาธารณภัยอย่าง ต่อเนอื่ ง 21. ทีมงานมีความสามารถในการประเมนิ สถานการณ์ เพื่อ การเตรยี มความพร้อมในการบริหารจดั การกับภยั พิบัติที่อาจ เกิดขึน้ ได้ 22. ทมี งานมีการรายงานระดับความรุนแรงขนั้ ตน้ ของสาธารณ ภัยได้อย่างรวดเรว็ 23. ทีมงานมีการประเมนิ ความเสยี หายจากสาธารณภยั เพ่ือ เป็นข้อมูลประกอบการตดั สินใจของผู้บรหิ าร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook