รายงานการศึกษา เรอ่ื งประสิทธผิ ลในการดาเนินงานของ อาสาสมัครปอ้ งกนั ภยั ฝ่ายพลเรอื น ในการปฏบิ ตั ิงานการรณรงคต์ ามมาตรการ 3 ม. 2ข.1ร. กรณศี ึกษาประชาชนทใี่ ช้ยานพาหนะบนทอ้ งถนน ในพืน้ ท่ีจังหวดั สระบุรี จดั ทาโดย นายสนุ า คนบุญ รหสั ประจาตัวนกั ศึกษา 43 เอกสารฉบบั นี้เปน็ สว่ นหน่ึงในการศกึ ษาอบรม หลกั สูตรนกั บริหารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั (นบ.ปภ.) รุ่นที่ 10 วทิ ยาลยั ปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั
ก คำนำ การศึกษาเกี่ยวกับประสิทธิผลในการดาเนินงานของ อาสาสมคั รป้องกนั ภยั ฝ่ายพลเรอื น ในการปฏบิ ัติงานตามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณีศึกษาประชาชนทใี่ ช้ยานพาหนะบนทอ้ งถนน ในพื้นที่ จงั หวัดสระบุรี ใน 3 ดา้ นคือ ด้านความรู้ ดา้ นบรกิ าร และด้านมีส่วนรว่ ม ในการศึกษาครั้งนผี้ ้ศู ึกษา ขอขอบคุณคณะอาจารย์และอาจารยท์ ี่ปรึกษาท่ไี ด้โปรดกรณุ าใหข้ ้อเสนอแนะช้นี าแนวทางในการศึกษาจน ประสบความสาเรจ็ และขอบคุณผนู้ าองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น ท้งั เทศบาลเมอื ง เทศบาลตาบล และ องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล ท่ใี หก้ ารสนบั สนนุ ในการเก็บข้อมลู ในพ้นื ที่ของท่าน จนประสบผลสาเรจ็ ดว้ ยดี และการศกึ ษาในครงั้ น้ีผูศ้ ึกษาขอขอบพระคุณบิดาและมารดา และครอบครวั ทไ่ี ดใ้ หก้ าลังใจและสนับสนุน ในการศึกษาจนประสบความสาเรจ็ จากการศกึ ษาในครง้ั น้ี ผศู้ ึกษาไดศ้ ึกษารวบรวมข้อมลู คน้ ควา้ เอกสาร และงานวจิ ัยท่ี เก่ียวขอ้ งกับการปฏิบตั งิ านของอาสาสมัครป้องกนั ภยั ฝา่ ยพลเรือน ซงึ่ ผลท่ีไดจ้ ากการศกึ ษาคร้ังนี้ สามารถ นาไปเปน็ ประโยชน์ตอ่ การพฒั นาปรับปรุงแนวทางการปฏิบัติงานของอาสาสมคั รป้องกนั ภยั ฝา่ ยพลเรอื น และหน่วยงานท่เี กีย่ วข้องตา่ ง ๆ ไดต้ ลอดจนผูท้ ่ีสนใจจะนาไปเปน็ แนวทางในการศกึ ษาท่ีเก่ียวข้องต่อไป สุนา คนบญุ นกั ศึกษาหลกั สตู ร นบ.ปภ. รุ่นท่ี 10 มีนาคม 2557
ข กิตตกิ รรมประกาศ รายงานการศกึ ษาวจิ ัย เร่อื ง “ความสาเรจ็ ประสทิ ธผิ ลในการดาเนินงานของ อาสาสมัคร ป้องกนั ภัยฝ่ายพลเรือน ในการปฏิบัติงานการรณรงคต์ ามมาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. กรณศี ึกษาประชาชนท่ใี ช้ ยานพาหนะบนท้องถนน ในพื้นทีจ่ งั หวดั สระบรุ ี “ น้ี สาเรจ็ ได้ดว้ ยดี เนอ่ื งจาก ผ้ศู กึ ษาวจิ ยั ไดร้ ับความ อนุเคราะห์ จาก ดร.ปิยวฒั น์ ขนษิ ฐบุตร อาจารย์วรชพร เพชรสุวรรณ และคณะกรรมการที่ปรึกษา คณะ ผู้บริหารและ ผอู้ านวยการโครงการวทิ ยาลยั ป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ซึ่ง ไดก้ รณุ าตรวจสอบ แนะนา และให้แนวทางอนั ถูกตอ้ ง จนทาใหผ้ ูศ้ กึ ษาประสบความสาเร็จในการศกึ ษา ค้นคว้า และทาใหร้ ายงานการ ศึกษาวิจัยฉบบั นสี้ าเร็จไดอ้ ยา่ งสมบรู ณ์ ตลอดจนเจ้าหน้าท่สี านักงานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด สระบุรี ที่ให้ความอนุเคราะหใ์ นการทอดและเกบ็ รวบรวม แบบสอบถาม ผูศ้ ึกษาวิจยั ขอขอบพระคณุ ดร.ปิยวฒั น์ ขนิษฐบุตร อาจารย์วรชพร เพชรสวุ รรณ และ คณะกรรมการท่ีปรึกษา คณะผู้บรหิ าร และผอู้ านวยการโครงการวิทยาลัยปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย ตลอดจนเจา้ หนา้ ท่ขี ององค์การตา่ งๆ ทเี่ กย่ี วข้อง เช่น หอ้ งสมดุ กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทีก่ รณุ า เออื้ เฟอื้ ขอ้ มูล และเจ้าหนา้ ทีส่ านักงานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวดั สระบุรี รวมท้งั ผู้ทีต่ อบ แบบสอบถามทกุ ท่าน ตลอดจนนักวิชาการทกุ ท่านท่ผี ู้ศกึ ษาไดน้ าผลงานอา้ งอิง ประกอบการศึกษาในครัง้ นี้ ผศู้ กึ ษาใครข่ อบพระคณุ ไว้ ณ ทนี่ ้ีดว้ ย ผู้ศกึ ษาหวังเปน็ อยา่ งยิ่งวา่ รายงานการศกึ ษาวจิ ัยฉบบั นี้ จะเปน็ ประโยชนต์ ่อผทู้ ่ีสนใจ เกย่ี วกบั ความสาเร็จประสิทธิผลในการดาเนินงานของ อาสาสมคั รปอ้ งกันภัยฝา่ ยพลเรอื น ในการปฏิบัตงิ าน การรณรงค์ตามมาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. กรณีศกึ ษาประชาชนทใ่ี ช้ยานพาหนะบนทอ้ งถนน หรอื อาจใช้เปน็ แนวทางในการศกึ ษาคน้ คว้าตอ่ ไปไดอ้ ยา่ งดี คณุ ความดีอนั ใดที่ เกดิ จากการศกึ ษาครงั้ น้ี ผูศ้ กึ ษาของมอบแด่ บดิ า มารดา คณาจารย์ และผ้ทู เี่ กี่ยวขอ้ ง สนับสนนุ ผู้ศกึ ษาด้วยดี สนุ า คนบญุ นกั ศึกษาหลกั สูตร นบ.ปภ. รนุ่ ที่ 10 มีนาคม 2557
ค บทสรุปสาหรับผ้บู ริหาร ในสถานการณป์ จั จบุ นั การเกิดอบุ ัตเิ หตจุ ากการใชร้ ถใชถ้ นนในการสัญจร ซ่งึ เกิดจากผู้ ขบั ขี่ยวดยานขาดจติ สานกึ ดา้ นความปลอดภัย ไม่เคารพกฎหมายจารจร และทส่ี าคัญคือ ส่วนใหญม่ ักจะ ไม่เกรงกลวั กฎหมายบ้านเมือง ได้แก่ การดมื่ สรุ าแล้วขบั รถ ไมค่ าดเข็มขดั นริ ภัย ไม่สวมหมวกกันน็อกทงั้ ผู้ ขบั ขแี่ ละผซู้ อ้ นท้าย ไมม่ ีใบขบั ขี่ ขบั รถดว้ ยความเร็วสูง ปญั หาเหล่านี้ไม่สามารถหลุดพน้ ไปจากสงั คมไทย ได้ เน่อื งจากการบงั คับใชก้ ฎหมาย และบทลงโทษของบา้ นเมอื งเราหย่อนไมเ่ ขม้ งวดกวดขันเทา่ ท่ีควร ศูนย์ อานวยการความปลอดภัยทางถนน กาหนดใหห้ นว่ ยงานทเี่ กีย่ วขอ้ งในประเทศไทยดาเนนิ การบรู ณาการ งานให้บรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ โดยมอบหมายให้ หน่วยงานทรี่ ับผิดชอบภาพรวม กาหนดยทุ ธศาสตร์ ของการปอ้ งกนั และลดอุบตั เิ หตกุ ารจารจร เป็นยุทธศาสตร์การบงั คับใชก้ ฎหมาย โดยมีการบังคบั ใช้ กฎหมายทเี่ ขม้ งวดภายใตก้ ารประชาสัมพันธ์ทาความเข้าใจให้ประชาชนเข้าใจเหตขุ องการบังคบั ใช้ กฎหมาย โดยมุ่ง เน้นการปฏบิ ัติตามหลักแหง่ ความปลอดภยั 3 ม. 2 ข. 1 สานักงานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดสระบุรี เป็นหนว่ ยทไ่ี ดจ้ ดั ตัง้ ข้ึนตาม พระราชบัญญัตปิ อ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย 2550 มสี ว่ นในการสนองตอบตามนโยบายของรัฐในดา้ น การป้องกนั และบรรเทาภัยอุบัติเหตขุ องการใช้รถใช้ถนน เพ่ือใหก้ ารสญู เสยี ทง้ั ชวี ติ และทรพั ยส์ นิ ของ จังหวัดสระบรุ ี โดยใชก้ ลยทุ ธ์ตามหลักความปลอดภัยมาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. ในพน้ื ทรี่ บั ผิดชอบจานวน 13 อาเภอ ตามแผนการปฏิบัตงิ านของยุทธศาสตรก์ ารบงั คับใชก้ ฎหมาย โดยการใช้หลกั การกากบั ดูแล ให้ คาแนะนา และแกไ้ ขปญั หาต่าง ๆ เพื่อลดจานวนอบุ ตั เิ หตุ ผู้บาดเจ็บ ผ้เู สยี ชีวติ รวมท้งั เร่งรดั ติดตามผล การปฏบิ ตั ิงานของคณะทางานและหนว่ ยปฏบิ ตั กิ ารให้ดาเนนิ การตามแผนงาน ต้ังจุดตรวจ โดยสนธิกาลงั จากเจ้าหน้าทีท่ กุ ฝ่าย โดยเฉพาะอาสาสมคั รป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ( อปพร. ) ซ่ึงเปน็ ผู้ชว่ ยเจา้ พนกั งาน ไดเ้ ขม้ งวดในการดาเนนิ การตามมาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. พระราชบัญญตั ปิ ้องกันและบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 ได้กาหนดใหอ้ งคก์ รปกครอง ส่วนทอ้ งถน่ิ แหง่ พ้ืนทีม่ ีหน้าทป่ี อ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ในเขตทอ้ งถ่ินของตน โดยมีผบู้ รหิ ารทอ้ งถ่ิน ขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่นแหง่ พนื้ ท่ี เปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบในฐานะผ้อู านวยการท้องถิ่นและมหี น้าท่ีช่วยเหลือ ผอู้ านวยการจงั หวดั และผู้อานวยการอาเภอตามท่ไี ด้รับมอบหมาย นอกจากนี้ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วา่ ดว้ ยกิจการอาสาสมัครป้องกันภยั ฝา่ ยพลเรอื น พ.ศ. 2553 กาหนดใหน้ ายก เทศมนตรี เป็นผูอ้ านวยการ ศนู ย์ อปพร. เทศบาล และใหน้ ายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล เป็นผู้อานวยการศนู ย์ อปพร. องคก์ าร บริหารส่วนตาบล มีอานาจหนา้ ทีส่ ัง่ การควบคมุ และกากบั ดูแล เจ้าหน้าท่ีประจาศนู ย์ อปพร. และ อปพร. ในสงั กัด ตลอดจนใหก้ ารสนบั สนนุ การดาเนินกิจการ อปพร. ภายในเขตพนื้ ท่ที ี่รบั ผิดชอบ ดังนัน้ จึงมีความจาเปน็ ท่จี ะทาการศึกษาประสทิ ธิผลในการดาเนินงานของ อาสาสมคั ร ป้องกนั ภัยฝา่ ยพลเรือนในการปฏิบตั งิ านการรณรงค์ตามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. ต่อประชาชนท่ีใช้ ยานพาหนะ บนท้องถนนในพืน้ ทีจ่ งั หวดั สระบุรี โดยมวี ัตถุประสงค์ เพอ่ื เปรยี บเทียบประสทิ ธผิ ลในการ ดาเนนิ งานของอาสาสมัครป้องกนั ภยั ฝา่ ยพลเรอื น ในเขตเทศบาลเมือง เทศบาลตาบล และองคก์ ารบริหาร ส่วนตาบล ในการปฏบิ ัตงิ านการรณรงค์ตามมาตรการ 3 ม.2 ข.1ร. ตอ่ ประชาชนทใ่ี ชย้ านพาหนะบนทอ้ ง ถนนในพื้นท่ีจงั หวัดสระบรุ ี จาแนกตามด้านการใหค้ วามรู้ ดา้ นการใหบ้ รกิ าร และด้านการมีส่วนร่วม สาหรบั วิธีการศกึ ษาใชว้ ิธกี ารศึกษาเชงิ ปรมิ าณ ประกอบด้วย การศกึ ษาค้นคว้าขอ้ มูลจากเอกสารทาง วิชาการและงานวิจัยท่ีเก่ียวขอ้ ง (Documentary Research) การเก็บขอ้ มูลจากแบบสอบถาม
ง (Questionnaire) โดยนาขอ้ มลู ทไ่ี ด้ท้ังหมดมาประมวลผล ทาการวิเคราะหเ์ ชิงพรรณนาตามปรากฏการณ์ และเน้อื หาเพอื่ ตอบคาถามการวจิ ยั และแสวงหาข้อค้นพบจากการศกึ ษาวจิ ัย ผลการศึกษาคร้ังนี้พบวา่ ประชาชนเพศชายจะตอบแบบสอบถามมากกว่าประชาชนทีเ่ ปน็ เพศหญิงและประชาชนที่ขบั ขีย่ านพาหนะมอี ายุ 40-60 ปี เป็นส่วนใหญ่จะตอบคาถามจากแบบสอบถาม เก่ียวกบั ประสทิ ธิผลในการดาเนินงานของ อาสาสมัครปอ้ งกนั ภัยฝา่ ยพลเรือน ในการปฏิบตั งิ านการ รณรงคต์ ามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. ส่วนการเปรียบเทยี บประสทิ ธผิ ลในการดาเนนิ งานของอาสาสมัคร ป้องกนั ภัยฝ่ายพลเรือนในการปฏิบตั งิ านการรณรงคต์ ามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณศี ึกษาประชาชนที่ใช้ ยานพาหนะบนทอ้ งถนนในพื้นทีจ่ ังหวัดสระบุรี จาแนกตาม องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ โดยภาพรวม แตกต่างกัน และเม่ือพิจาณาเป็นรายดา้ นพบว่าแตกต่างกัน 1 ด้านคอื ด้านการมีสว่ นรว่ ม สว่ นดา้ นการให้ ความรู้ ดา้ นการบรกิ าร ไม่แตกต่างกัน ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบาย ซึ่งจะส่งผลตอ่ ประสทิ ธผิ ลในการดาเนนิ งานของ อาสาสมัคร ปอ้ งกันภยั ฝ่ายพลเรอื นในการปฏบิ ตั งิ านการรณรงคต์ ามมาตรการ 3 ม. 2 ข.1 ร. กรณศี กึ ษาประชาชนที่ ใช้ยานพาหนะ บนท้องถนน ขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ทีด่ าเนินการเก่ียวกบั ศูนยอ์ าสาสมคั รปอ้ งกันภัย ฝ่ายพลเรอื นสามารถนาผลการศกึ ษาไปใช้ได้ใน 3 ดา้ น ดังน้ี 1. ดา้ นการความรู้ จากผลการศึกษาที่ค้นพบวา่ อยูใ่ นระดบั ปานกลาง น้ัน องค์กร ปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ตอ้ งเร่งพัฒนาบคุ ลากรใหม้ ศี ักยภาพในเร่อื งการปฏบิ ตั ิงาน เพอ่ื ใหส้ ามารถท่จี ะ เผยแพรค่ วามรสู้ ู่ประชาชนในพืน้ ท่ใี หเ้ กิดความเข้าใจเกย่ี วกับความปลอดภยั ตอ่ ชีวติ และทรัพย์สิน และ สรา้ งความเดอื ดรอ้ นให้กับบคุ คลอืน่ ๆ จากการไม่มรี ะเบยี บวนิ ัยในการใช้รถใชถ้ นน 1.2 ด้านการบรกิ าร จากผลการศึกษาพบวา่ อยใู่ นระดบั ปานกลาง ดงั น้นั จะต้องเพ่อื ประสทิ ธิภาพในการบริการทง้ั กาลังคน ส่ิงอุปกรณ์และงบประมาณให้เพ่มิ มากยงิ่ ข้นึ โดยการจดั กจิ กรรม หนว่ ยโครงการเพ่อื ดแู ลความสะดวกความสบายในการใช้รถใชถ้ นนท้งั ในด้านการสรา้ งสญั ญาณหรอื เครื่องหมายแสดงให้เห็นอยา่ งตอ่ เนอื่ งและเดน่ ชัด พฒั นาปรับปรงุ ในการพัฒนาเส้นทางรมิ ทางให้มี วสิ ัยทัศนส์ ามารถมองเหน็ ไดอ้ ย่างชัดเจนในเมื่อเวลาใชร้ ถใช้ 1.3 ดา้ นการมสี ่วนร่วม จากผลการศกึ ษาพบวา่ อยู่ในระดับมาก นั้นแสดงใหเ้ หน็ ถึงการ เขา้ ใจของประชาชนที่มีต่อการลดอบุ ตั ิเหตุลง ดังนนั้ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ จะตอ้ งสนบั สนุนให้ งบประมาณหรอื อุปกรณ์ในการป้องกันภยั และชว่ ยลดอบุ ัติเหตุจากประชาชนในพ้ืนทีใ่ ห้เพ่มิ มากข้ึนอีก เพอ่ื เป็นการรกั ษาชวี ิตของประชาชน ในการใช้รถใช้ถนนได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ข้อเสนอแนะสาหรบั การวจิ ัยครัง้ ไป ในการศึกษาครัง้ ต่อไปควรขยายขอบเขตการศึกษาในเรื่องการปฏบิ ัติ งานของอาสา สมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรอื น ในด้านอ่นื ๆ เพ่ิมขน้ึ อกี เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ มลู ทมี่ คี วามหลากหลายมากขึ้น อนั เป็น แนวทางในการปรับปรุงพัฒนาการทางานของอาสาสมคั รป้องกนั ภัยฝา่ ยพลเรือน และสามารถนาไปเป็น แนวทางในการศกึ ษาทเ่ี ก่ยี วกับการพัฒนาของประชาชนทเี่ ปน็ อาสาสมัครปอ้ งกนั ภัยฝา่ ยพลเรอื น ทาให้ เกดิ ผลสัมฤทธ์ใิ นการปฏิบตั งิ านได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพตอ่ ไป
จ สารบญั คานา หนา้ กติ ติกรรมประกาศ บทสรุปสาหรับผบู้ รหิ าร ก สารบัญ สารบญั ตาราง ข บทท่ี 1 บทนา ค บทที่ 2 ความสาคญั และทม่ี าของปญั หาวิจยั จ บทท่ี 3 วัตถุประสงคข์ องการศกึ ษา ขอบเขตของการศึกษา ช ประโยชน์ทีใ่ ชใ้ นการศกึ ษา นิยามศัพท์ 1 แนวความคดิ ทฤษฏี และงานวิจัยทเี่ ก่ียวขอ้ ง 1 2 แนวความคดิ เก่ียวกบั ประสทิ ธิผล 2 แนวความคิดเกี่ยวกบั ระบาดวทิ ยาของอุบตั เิ หตจุ ราจรทางบก 3 แนวความคดิ เกยี่ วกับความสญู เสียจากอุบัติเหตจุ ราจรทางบก 3 แนวความคดิ กับทฤษฏีทเ่ี ก่ียวขอ้ ง 5 แนวความคดิ เกี่ยวกับอาสาสมัครป้องกนั ภยั ฝ่ายพลเรอื น. 5 แนวทางมาตรการปอ้ งกันอบุ ัติเหตุบนท้องถนน 7 งานวิจยั ทเ่ี กยี่ วข้อง 11 กรอบแนวคดิ 12 ระเบียบวธิ วี จิ ัย 14 17 ประชากร 18 กลมุ่ ตัวอยา่ ง 20 เครอื่ งมือท่ีใชใ้ นการศึกษา 21 องคป์ ระกอบของแบบสอบถาม 21 21 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 21 21 การแปรผลข้อมูลและสถติ ิทใี่ ช้ในการวเิ คราะห์ 22 22
ฉ สารบัญ (ต่อ) บทที่ 4 การวิเคราะห์ขอ้ มลู หนา้ บทที่ 5 24 ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู ทัว่ ไปเกย่ี วกบั สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม 24 ส่วนท่ี 2 ประสทิ ธิผลในการดาเนินงานของ อาสาสมคั รป้องกันภยั ฝ่ายพลเรอื น ใน การปฏิบตั งิ านการรณรงค์ตามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณศี ึกษาประชาชน ท่ใี ช้ 26 ยานพาหนะบนท้องถนนในพ้ืนที่จังหวดั สระบรุ ี สว่ นท่ี 3 เปรียบเทยี บประสทิ ธผิ ลในการดาเนนิ งานของอาสาสมัครป้องกันภยั ฝ่าย 31 พลเรอื น ในการปฏิบัตงิ านการรณรงคต์ ามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณีศกึ ษา 40 ประชาชนทีใ่ ชย้ านพาหนะบนทอ้ งถนนในพ้นื ทจ่ี ังหวดั สระบรุ ี จาแนกตาม องค์กร 40 ปกครองส่วนท้องถน่ิ โดยภาพรวมและรายด้าน 43 สรปุ และอภปิ รายผล 44 44 สรุปผลการศึกษา อภปิ รายผล 45 ข้อเสนอแนะสาหรบั การนาผลไปใช้ ข้อเสนอแนะสาหรับการวิจยั คร้งั ไป บรรณานกุ รม ภาคผนวก . แบบสอบถาม ประวตั ิผู้เขยี น แบบเสนอโครงรา่ งการศึกษาวิจยั ส่วนบุคคล (Proposal)
ช สารบญั ตาราง ตาราง หน้า 1 จานวนและร้อยละของผ้ตู อบแบบสอบถาม จาแนกตาเมพศ อายุ อาชพี ระดับการศึกษา ของประชาชนท่ใี ช้ยานพาหนะบนท้องถนนในพืน้ ที่ จังหวดั สระบุรี 24 2 คา่ เฉลีย่ และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานประสทิ ธผิ ลในการดาเนนิ งานของ อาสาสมัครปอ้ งกนั ภัยฝ่ายพลเรอื นในการปฏบิ ตั ิงานการรณรงค์ตามมาตรการ 3 ม. 2 ข.1 ร. กรณีศกึ ษาประชาชนทีใ่ ช้ยานพาหนะบนท้องถนนในพ้นื ท่ีจังหวัดสระบุรี โดยภาพรวม 3 ดา้ น. 26 3 ค่าเฉลย่ี และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานประสิทธผิ ลในการดาเนินงานของ อาสาสมคั รป้องกันภยั ฝา่ ยพลเรือนในการปฏิบตั ิงานการรณรงคต์ ามมาตรการ 3 ม. 2 ข.1 ร. กรณศี กึ ษาประชาชนทใ่ี ช้ยานพาหนะบนท้องถนนในพื้นที่จงั หวดั สระบุรี จาแนกตามด้านการใหค้ วามรู้ 27 4 ค่าเฉลี่ยและสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานประสทิ ธผิ ลในการดาเนนิ งานของ อาสาสมัครปอ้ งกนั ภัยฝา่ ยพลเรอื นในการปฏบิ ตั ิงานการรณรงค์ตามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณศี ึกษาประชาชนทใ่ี ชย้ านพาหนะบนท้องถนนในพื้นทจ่ี ังหวัด สระบุรี จาแนกตามดา้ นการใหบ้ ริการ 28 5 ค่าเฉล่ยี และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานประสิทธผิ ลในการดาเนินงานของ อาสาสมัครปอ้ งกันภยั ฝา่ ยพลเรอื นในการปฏบิ ัติงานการรณรงค์ตามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณศี ึกษาประชาชนทีใ่ ช้ยานพาหนะบนทอ้ งถนนในพ้ืนท่จี ังหวดั สระบรุ ี จาแนกตามด้านการมสี ่วนรว่ ม 30 6 การเปรยี บเทียบประสทิ ธิผลในการดาเนนิ งานของอาสาสมคั รปอ้ งกนั ภยั ฝา่ ยพลเรือน ในการปฏบิ ัตงิ านการรณรงค์ตามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณีศึกษาประชาชนทใ่ี ช้ ยานพาหนะบนท้องถนนในพื้นทีจ่ งั หวัดสระบุรี จาแนกตามองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน โดยภาพรวมทง้ั 3 ดา้ น 32 7 การเปรยี บเทียบประสิทธิผลในการดาเนินงานของอาสาสมคั ร ป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ในการปฏบิ ัติงานการรณรงค์ตามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณีศึกษาประชาชนท่ใี ช้ ยานพาหนะบนทอ้ งถนนในพน้ื ท่จี งั หวดั สระบุรี จาแนกตามองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ด้านการใหค้ วามรู้ 32 8 การเปรยี บเทยี บประสทิ ธิผลในการดาเนินงานของอาสาสมัคร ป้องกนั ภยั ฝ่าย พลเรือนในการปฏบิ ตั ิงานการรณรงค์ตามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณศี กึ ษา ประชาชน ทใ่ี ชย้ านพาหนะบนท้องถนนในพืน้ ทจ่ี ังหวดั สระบรุ ี จาแนกตามองค์กร ปกครองส่วนท้องถน่ิ ดา้ นการให้บรกิ าร 35
ซ สารบญั ตาราง (ต่อ ) หน้า ตาราง 37 9 การเปรยี บเทยี บประสทิ ธผิ ลในการดาเนินงานของอาสาสมคั ร ป้องกนั ภยั ฝ่ายพล 39 เรอื นในการปฏิบตั งิ านตามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณีศึกษาประชาชนทใี่ ช้ ยานพาหนะบนท้องถนนในพื้นทีจ่ ังหวัดสระบุรี จาแนกตามองคก์ รปกครองส่วน ทอ้ งถ่นิ ด้านการมสี ่วนร่วม 10 สรุปผลการทดสอบสมมุติฐาน
1 บทท่ี 1 บทนา ความสาคญั และทม่ี าของปัญหาวจิ ัย จงั หวัดสระบรุ ี เปน็ เมอื งชุมทางในการเดนิ ทางไปสู่จังหวัดตา่ งๆ ทง้ั ภาคตะวนั ออก ภาคเหนอื และภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ โดยในภาวะปกติมรี ถยนต์ใชเ้ สน้ ทางผา่ นจงั หวัดสระบรุ ไี มน่ อ้ ย กว่า 100,000 คนั ต่อวนั แต่ถ้าในช่วงเทศกาลสาคญั ทง้ั เทศกาลปใี หม่ สงกรานต์ ออกพรรษา ลอยกระทง และเทศกาลตรษุ จนี ในทุกปี จะมผี ู้ใชเ้ สน้ ทางเพิ่มอกี ไม่นอ้ ยกวา่ 300,000 คันต่อวนั ในสถานการณป์ จั จบุ ัน การเกดิ อุบตั เิ หตจุ ากการใช้รถใชถ้ นนในการสัญจร ซ่ึงเกิดจากผู้ ขับข่ียวดยานขาดจิตสานกึ ด้านความปลอดภยั ไมเ่ คารพกฎหมายจารจร และทีส่ าคัญคือ ส่วนใหญม่ ักจะ ไมเ่ กรงกลวั กฎหมายบ้านเมอื ง ไดแ้ ก่ การดม่ื สรุ าแล้วขับรถ ไม่คาดเข็มขดั นิรภยั ไมส่ วมหมวกกนั นอ็ กทั้งผู้ ขับขแี่ ละผซู้ ้อนทา้ ย ไม่มีใบขับขี่ ขับรถด้วยความเรว็ สงู ปัญหาเหลา่ น้ไี มส่ ามารถหลดุ พ้นไปจากสังคมไทย ได้ เนอื่ งจากการบังคบั ใชก้ ฎหมาย และบทลงโทษของบ้านเมอื งเราหย่อนไม่เขม้ งวดกวดขันเทา่ ทค่ี วร ย้อนหลังไป 10 ปี ปรมิ าณของยานพาหนะท้งั รถยนต์ และจกั รยานยนต์ มีเพียงแค่ 12 ล้านคนั เศษ แต่ จานวนการเกิดอุบัติเหตุไม่ย่ิงหยอ่ นไปกวา่ ปัจจบุ ันน้ีสักเทา่ ไรนกั ถ้าเปรยี บเทยี บถงึ จานวนผู้เสยี ชวี ิตและ บาดเจ็บ ตอ่ ปรมิ าณยานพาหนะทีเ่ พ่ิมขนึ้ ทกุ ปี (ประเวศ วะสี และคณะ, 2551,หนา้ 138) จากปรมิ าณ การสูญเสยี จานวนมากน้ันทาให้หน่วยงานท่ีเกีย่ วข้องไดต้ ระหนกั ถึงปัญหาและพยายามหาทางออกกบั ปัญหาทีเ่ กดิ ขนึ้ โดยการกาหนดวาระในการลดอุบตั ิเหตจุ ารจรในปจั จุบนั หน่วยงานหลักท่ดี าเนินการดา้ น นโยบายการปูองกนั และลดอุบัตเิ หตขุ องประเทศไทยได้แก่ ศนู ย์อานวยการความปลอดภยั ทางถนน ซงึ่ มี รองนายก รฐั มนตรีเป็นประธานเปน็ หน่วยขบั เคลือ่ น โดยใหห้ นว่ ยงานทเ่ี ก่ียวขอ้ งในประเทศไทยดาเนิน การบรู ณาการงานใหบ้ รรลุเปูาหมายท่กี าหนดไว้ โดยศูนยอ์ านวยการความปลอดภัยทางถนน หน่วยงานท่ี รับผิดชอบภาพรวมของการวางแผนยุทธศาสตร์และดาเนนิ งานการแกไ้ ขปญั หาอุบตั ิเหตุ ได้กาหนด ยทุ ธศาสตร์ของการปูองกนั และลดอุบตั ิเหตกุ ารจารจร เปน็ ยุทธศาสตร์การบังคบั ใช้กฎหมาย โดยมีการ บังคบั ใช้กฎหมายที่เขม้ งวดภายใต้การประชาสมั พนั ธ์ทาความเขา้ ใจให้ประชาชนเข้าใจเหตขุ องการบังคับ ใชก้ ฎหมาย โดยมุ่ง เนน้ การปฏิบัตติ ามหลกั แห่งความปลอดภยั 3 ม. 2 ข. 1 ร. (ประเวศ วะสี และคณะ, 2551,หน้า152) สานักงานปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จงั หวดั สระบุรี เปน็ หนว่ ยที่ไดจ้ ดั ตง้ั ขน้ึ ตาม พระราชบญั ญตั ปิ อู งกันและบรรเทาสาธารณภัย 2550 มีอานาจหน้าท่ีภารกจิ หลักในการช่วยเหลอื ประชาชนในดา้ นปูองกัน บรรเทา ฟืน้ ฟสู าธารณภัย และอุบัติภัย ซง่ึ พระราชบญั ญัติฉบบั นี้ เป็นการบรู ณาการ ร่วมกันจากทุกภาคสว่ น ท้ังหน่วยงานของภาครฐั ภาคเอกชน และองคก์ รปกครองทอ้ งถนิ่ เพือ่ ใหก้ าร ดาเนนิ งานในการปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ใหเ้ กิดประสิทธิภาพสูงสุดในการปฏิบตั ิงาน (พระราชบัญญตั ิปูองกนั และบรรเทาสาธารณภยั , 2550,หนา้ 34) สานกั งานปูองกนั และบรรเทาสาธารณภยั จังหวัดสระบุรี จงึ มสี ่วนในการสนองตอบตามนโยบายของรัฐในด้านการปูองกันและบรรเทาภยั อบุ ัตเิ หตุ ของการใชร้ ถใชถ้ นน เพ่อื ให้การสูญเสียทั้งชวี ติ และทรัพยส์ นิ ของจังหวัดสระบุรี โดยใช้กลยุทธต์ ามหลกั ความปลอดภยั มาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. ในพ้นื ท่รี บั ผิดชอบจานวน ๑๓ อาเภอ ตามแผนการปฏบิ ตั งิ าน ของยุทธศาสตรก์ ารบงั คบั ใช้กฎหมาย โดยการใช้หลกั การกากับดแู ล ให้คาแนะนา และแกไ้ ขปัญหาต่าง ๆ
2 เพ่ือลดจานวนอบุ ตั เิ หตุ ผบู้ าดเจบ็ ผ้เู สยี ชวี ติ รวมทั้งเร่งรดั ตดิ ตามผลการปฏบิ ัตงิ านของคณะทางานและ หน่วยปฏบิ ัตกิ ารใหด้ าเนนิ การตามแผนงาน ต้ังจุดตรวจ โดยสนธกิ าลงั จากเจา้ หนา้ ที่ทกุ ฝาุ ย โดยเฉพาะ อาสาสมัครปูองกนั ภัยฝาุ ยพลเรอื น ( อปพร. ) ซึ่งเปน็ ผู้ชว่ ยเจ้าพนกั งาน ได้เข้มงวดในการดาเนนิ การตาม มาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. (รายงานติดตามประเมินผล, 2551,หนา้ 7) สถานการณแ์ ละหลกั ฐานอ้างองิ ผ้จู ดั ทาเอกสารวิจัยส่วนบุคคล ในฐานะเป็นบุคลากร บุคคลหนึ่งในศูนยอ์ านวยการความปลอดภยั ทางถนนจงั หวดั สระบุรี มหี น้าทใ่ี นการควบคมุ ดูแลการ ปฏบิ ตั ิงานของอาสาสมคั รปอู งกนั ภัยฝาุ ยพลเรือน ( อปพร. ) ในพน้ื ท่ีรับผิดชอบ จงึ มคี วามสนใจทจ่ี ะศกึ ษา เก่ยี วกับประสิทธผิ ลในการปฏิบตั ิ งานของอาสาสมคั รปูองกันฝุายพลเรอื น ในเร่ืองเกี่ยวกับการใช้ มาตรการหลักในการลดอบุ ัติเหตุ ตามแผนการปฏิบตั งิ านของยทุ ธศาสตรก์ ารบังคบั ใชก้ ฎหมาย ตาม มาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. ในด้านการให้ความรู้ ดา้ นการบรกิ าร และด้านการมสี ว่ นรว่ ม โดยศึกษากับ ประชาชนทใี่ ชร้ ถใช้ถนนในพืน้ ท่จี งั หวดั สระบรุ ี จาแนกตามเพศ อายุ อาชีพ ระดบั การศกึ ษา ดงั นน้ั ผทู้ าวจิ ยั จึงทาการศึกษาเรือ่ งประสิทธผิ ลในการดาเนนิ งานของ อาสาสมัครปอู งกนั ภัยฝาุ ยพลเรือน ในการปฏิบตั งิ านการรณรงคต์ ามมาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. กรณีศกึ ษา:ประชาชนที่ใช้ ยานพาหนะบนทอ้ งถนน ในพ้นื ท่จี งั หวัดสระบุรี เพื่อให้ฝุายท่เี ก่ยี วข้องนาผลไปใช้ในการเสนอเป็นแนวทาง ในการพฒั นาปรับปรุงหรอื การประยกุ ต์เปล่ียนแปลงในเรื่องทเ่ี ก่ียวกบั การปฏบิ ัตงิ านของอาสาสมคั ร ปอู งกนั ภัยฝุายพลเรอื น เพ่ือตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนเพ่มิ มากยงิ่ ขึ้น รวมทง้ั ใหเ้ กดิ ประโยชน์ และประสิทธผิ ลเพ่มิ มากย่ิงขน้ึ วตั ถุประสงคข์ องการศึกษา การศึกษาในคร้งั นี้ มีวตั ถุประสงค์ดังตอ่ ไปนค้ี อื 1. เพือ่ ศกึ ษาประสทิ ธผิ ลในการดาเนินงานของ อาสาสมคั รปอู งกนั ภัยฝาุ ยพลเรอื นในการ ปฏบิ ัติงานการรณรงค์ตามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณีศกึ ษาประชาชนที่ใช้ยานพาหนะ บนทอ้ งถนนใน พน้ื ทจี่ งั หวดั สระบุรี 2. เพื่อเปรียบเทยี บประสทิ ธิผลในการดาเนนิ งานของอาสาสมคั รปอู งกันภยั ฝาุ ยพลเรือน ในเขตเทศบาลเมือง เทศบาลตาบล และองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล ในการปฏิบตั งิ าน การรณรงค์ ตาม มาตรการ 3 ม.2 ข.1ร. กรณศี กึ ษาประชาชนทใ่ี ช้ยานพาหนะบนท้องถนนในพืน้ ที่จังหวดั สระบรุ ี จาแนก ตามดา้ นการให้ความรู้ ด้านการใหบ้ รกิ าร และด้านการมสี ่วนร่วม ขอบเขตการศึกษา ผูว้ ิจัยใชก้ ารวิจยั เชิงปริมาณสาหรับการศกึ ษาในคร้งั น้ี โดยเลือกใช้วิธีการสารวจดว้ ยแบบ สอบถามทีส่ ร้างขน้ึ และไดก้ าหนดขอบเขตของการวิจยั ไว้ดงั นีค้ อื ๑. ประชากรกลมุ่ ตัวอยา่ งทีใ่ ชใ้ นการศึกษาในครั้งน้เี ป็นประชาชนท่ีใช้ยานพาหนะบน ท้องถนน ท่อี าศยั อย่ใู นพืน้ ท่จี ังหวัดสระบุรี ๒. ตัวอยา่ งทีใ่ ช้ศึกษาเลือกจากประชากร โดยวิธกี ารสุ่มตวั อย่างแบบจดั กลุ่ม และใช้ จานวน ๓๘๔ คน ผ้วู ิจัยไดก้ าหนดขนาดตัวอยา่ งจานวนดังกลา่ วโดยใชต้ ารางของ Krejcie แ ละ Morgan (สุวิมล ติรกานันท์,2548 หน้า179)
3 ๓. ตัวแปรทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั การศึกษา ประกอบด้วย ตวั แปรตาม คอื มาตรการทีม่ ีตอ่ การใช้รถและใชถ้ นนของประชาชนในพน้ื ทีจ่ ังหวัดสระบรุ ี ตามมาตรการกฎหมายมาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. โดยแบ่งเป็น 3 ด้าน ประกอบด้วย 1) ด้านความรู้ 2) ด้านบรกิ าร 3) ดา้ นการมสี ว่ นรว่ ม ตวั แปรอิสระ คอื สถานภาพบคุ คลของประชาชนที่เป็นกล่มุ ตวั อย่างและ ประกอบด้วย 1) เพศ 2) อายุ 3) อาชีพ 4) ระดับการศึกษา ๔. สถานทศี่ ึกษาทีผ่ วู้ จิ ยั ใชเ้ ก็บรวบรวมข้อมลู คอื ประชาชนที่ใช้ยานพาหนะบนท้องถนน ในพื้นทจ่ี งั หวดั สระบุรี ๕. ระยะเวลาในการศกึ ษา เร่ิมตง้ั แต่ต้งั แต่เดอื น มกราคม ถึงเดือน มีนาคม 2557 ประโยชน์ทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษา ผลจากการศกึ ษามีประโยชน์ต่อฝาุ ยทเี่ กย่ี วข้องดงั นี้ คือ 1. ทาใหก้ รมปูองกนั และบรรเทาสาธารณภัย ทราบถงึ ประสทิ ธผิ ลการดาเนนิ งานของ อาสาสมคั รปูองกันภัยฝาุ ยพลเรอื น ในการปฏิบัตงิ านการรณรงคต์ ามมาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. กรณศี กึ ษา ประชาชนทใี่ ช้ยานพาหนะบนท้องถนนในพ้นื ทจี่ ังหวดั สระบุรี ๒. นาผลการศึกษาเสนอผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน เพอื่ พจิ ารณาใช้เปน็ แนวทางในการพัฒนาประสทิ ธผิ ลของการดาเนนิ งานของอาสาสมคั รปอู งกนั ภยั ฝาุ ยพลเรอื น ในการ ปฏิบตั ิงานให้มีประสทิ ธิผลเพิม่ มากยิ่งขึน้ นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ คานยิ ามศัพทเ์ ฉพาะในการศึกษาในคร้งั น้ี ไดแ้ ก่ ๑. อุบัตเิ หตุทางถนน หมายถึง อบุ ตั เิ หตจุ ากการจราจรทางถนน ซง่ึ ส่งผลใหม้ ีผเู้ สยี ชวี ิต และหรอื บาดเจ็บนอนพกั รกั ษาตัวในโรงพยาบาล (Admit) 2. อปพร. หมายถงึ อาสาสมคั รปูองกนั ภัยฝาุ ยพลเรือน ทจี่ ดั ตงั้ ข้ึนตามพระราช บญั ญัติ ปูองกนั ภยั ฝุายพลเรอื น พ.ศ. 2550 เพ่อื เป็นผู้ชว่ ยเจ้าพนักงานในการปูองกนั และช่วยเหลือประชาชนเมื่อ เกดิ สถานการณเ์ กี่ยวกับภยั ทีเ่ กดิ จากธรรมชาติและภัยจากการกระทาของมนษุ ย์ 3. ประสทิ ธิผลในการดาเนนิ งานของอาสาสมัครปูองกันภัยฝุายพลเรือน ต่อประชาชน ตามมาตรา 3 ม.2 ข.1 ร. หมายถงึ การนาความรู้ความเข้าใจ ความสามารถ ประสบการณ์ ทักษะ จาก การได้รบั การฝึกอบรมในด้านการปูองกนั และบรรเทาภัยมาเป็นอยา่ งดี สามารถนาไปปฏิบตั งิ านช่วยเหลือ ประชาชน ได้ ตามแนวทางของการปอู งกันและการลดอบุ ตั ิเหตุ ทางถนน ซึ่งเปน็ นโยบายของรัฐบาลตาม มาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. ดงั มรี ายละเอียดดงั น้ี
4 3.1. มาตรการ 3 ม. แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ คือ 3.1.1 ม.1 หมายถงึ มาตรการควบคมุ ทีใ่ หผ้ ูข้ บั ขีย่ านพาหนะมจี ิตสานึก เกดิ ความตระหนกั ตอ่ ความปลอดภยั ต่อชวี ิตและทรพั ย์สนิ ของตนเองและของผอู้ น่ื และการปฏบิ ัติตาม กฎหมายทไี่ ด้กาหนดขึน้ เพือ่ ปูองกนั การเกิดอบุ ัตเิ หตุ ทางถนน จากสาเหตกุ ารดืม่ สุราหรือเครื่องด่ืมท่มี ี แอลกอฮอล์ในขณะใชร้ ถใช้ถนน 3.1.2 ม. 2 หมายถึง มาตรการควบคมุ การปูองกันใหผ้ ูท้ ่ีขบั ข่ีรถจกั รยานยนต์ และผ้ซู อ้ นเกดิ ความปลอดภัยในระหว่างขับขี่ โดยการสวมหมวกนิรภัย เพือ่ ปอู งกันการเกดิ อบุ ัติเหตุ ทาง ถนน ในการใช้รถใชถ้ นนรว่ มกบั ยานพหานะชนดิ อ่นื ๆ ตลอดจนเพื่อทาใหช้ ่วยลดการบาดเจ็บลง 3.1.3 ม. 3 หมายถงึ มาตรการควบคุมทีก่ าหนดให้ผู้ท่ีมยี านพาหนะในครอบ ครองต้องนายานพาหนะทีส่ ภาพสมบรู ณ์ ตามกฎหมายกาหนดในการนาออกมาขบั ข่บี นท้องถนน เพื่อ ปูองกนั การเกดิ อบุ ตั ิเหตุทางถนน และความปลอดภัยในชวี ติ และทรพั ย์สนิ ของตนเองและของผอู้ น่ื 3.2 มาตรการ 2 ข. แบ่งออกเป็น 2 ลกั ษณะ คือ 3.2.1 ข 1 หมายถึง มาตรการควบคุมที่ใหผ้ ู้ขบั ขยี่ านพาหนะทใี่ ชค้ วามเรว็ จะ ต้องมใี บขับขี่ เพ่อื แสดงถึงการมีความรู้ความสามารถความเข้าใจในเรื่องการขบั ขีย่ านพาหนะของประเภท ตา่ ง ๆ และกฎหมายจารจร เพ่ือเปน็ การปฏบิ ตั ิตามกฎหมายของการใช้รถใชถ้ นนในการขับขี่ทุกคนต้องมี ใบขบั ขี่ จงึ ถือว่าขับรถอย่างถูกต้องตามระเบยี บและคุณสมบตั ทิ กี่ ฎหมายกาหนด 3.2.2 ข 2 หมายถงึ มาตรการควบคุมที่กาหนดให้ผ้ขู ับขแี่ ละผู้โดยสารใน ยานพาหนะประเภทรถยนตค์ าดเข็มขัดนิรภัย เพ่อื ปูองกนั จะลดการบาดเจบ็ และเสียชวี ิตจากการเกิด อุบัตเิ หตุ ทางถนน และเปน็ การรักษาชีวติ และทรพั ยส์ ินของผู้ใชร้ ถใช้ถนนและผูอ้ ่ืน ตลอดจนเปน็ การ ปฏิบัติตามกฎหมายท่ีไดก้ าหนด 3.3 มาตรการ 1ร. หมายถึง มาตรการควบคุมให้ผ้ขู บั ขีย่ านพาหนะบนถนนท้องไม่ให้ ขบั รถดว้ ยความเรว็ เกนิ กว่ากฎหมายไดก้ าหนดไว้ และเป็นการปูองกนั ไม่ใหเ้ กดิ อบุ ตั ิเหตุทางถนน จากการ ขับรถเรว็ ส่งผลใหเ้ กิดความเสยี หายต่อชวี ิตและทรพั ย์สนิ ของตนเองและผู้อ่นื 3.4. ด้านการใหค้ วามรู้ หมายถงึ การปฏิบตั ิงานของอาสาสมัครปูองกันภัยฝุายพลเรอื น โดยให้การแนะนาความรู้ การอบรม การรณรงค์ การประชาสัมพันธ์ การจดั กิจกรรมโครงการ การแจก จ่ายเอกสาร การจัดนิทรรศการ การจัดรายการทางวิทยุ ตลอดจนการกระทาท่ีกอ่ ใหเ้ กดิ การเข้าใจในการ เขา้ ถงึ ในเรือ่ งของกฎหมายจารจร และการปอู งกันภยั หรืออุบตั เิ หตุ ทางถนน ในการใช้รถใชถ้ นน จาก หนว่ ยงานของอาสาสมัครปูองกนั ภัยฝาุ ยพลเรอื น ในพ้ืนท่ีจงั หวดั สระบรุ ี 3.5. ดา้ นการบรกิ าร หมายถงึ การปฏบิ ัติงานของอาสาสมัครปูองกันภยั ฝุายพลเรือน โดยใหก้ ารให้ความชว่ ยเหลอื การดแู ล การแกไ้ ข การปรับปรุง การซ่อมบารุง สง่ เสรมิ สนบั สนุน ตลอด จนการกระทาเพือ่ ใหป้ ระชาชนไดร้ บั ในส่ิงที่ต้องการให้ชว่ ยเหลอื ในเร่ืองท่เี ก่ียวกับการใชร้ ถใช้ถนน และ การปูองกันอบุ ัตเิ หตทุ างถนน จากหน่วยงานของอาสาสมคั รปูองกนั ภัยฝุายพลเรือน ในพื้นที่จงั หวดั สระบุรี 4. ดา้ นการมสี ว่ นร่วม หมายถึง การปฏบิ ัตงิ านของอาสาสมคั รปอู งกันภยั ฝุายพลเรือน ไดร้ ับการสนับสนนุ การเขา้ มามสี ว่ นร่วมในการปฏบิ ตั ติ ามแผนงานทีไ่ ดก้ าหนดไว้ในเรอื่ งการลดอบุ ตั ิเหตบุ น ทอ้ งถนน เพอื่ ให้ลดการสญู เสียชีวติ และทรัพย์ สนิ ของประชาชนในพน้ื ทจี่ งั หวัดสระบุรี
5 บทที่ 2 แนวคดิ ทฤษฎีและงานวิจัยทเี่ กย่ี วข้อง บทนี้เปน็ การนาเสนอ แนวคดิ ทฤษฎีและงานวิจยั ท่เี ก่ยี วข้องกบั ตวั แปรของการศึกษาซงึ่ ผู้วิจยั ไดท้ าการสืบค้น จากเอกสารทางวชิ าการและงานวจิ ยั จากแหล่งตา่ งๆ โดยแบ่งเนอ้ื หาของบทนเ้ี ป็น 7 ส่วนคอื 1. แนวคดิ เก่ยี วกบั ประสิทธผิ ล 1.1 ความหมายของประสทิ ธผิ ล 1.2 เกณฑก์ ารวดั ประสิทธิผลขององค์กรหรอื หนว่ ยงาน 2. ระบาดวทิ ยาของอบุ ัติเหตุจารจรทางบก 2.1 ปจั จัยเกย่ี วกบั คน 2.2 ปจั จัยเกยี่ วกับยานพาหนะ 2.3 ปจั จัยที่เกี่ยวข้องกบั ทางและสภาพแวดล้อม 3. ความสูญเสยี จากอบุ ัตเิ หตจุ ราจรทางบก 3.1 ความสูญเสยี โดยตรง 3.2 ความสญู เสียทางออ้ ม 4. ทฤษฏที เ่ี ก่ียวข้อง 4.1 ทฤษฏกี ารมสี ่วนรว่ ม 4.2 ทฤษฏีโครงสร้างหน้าที่ 5. อาสาสมัครปูองกันภยั ฝุายพลเรอื น 5.1 แนวคิดเกยี่ วกับการปูองกันภยั ฝุายพลเรอื น 5.2 องค์ประกอบของ อาสาสมัครปอู งกันภัยฝาุ ยพลเรือน 6. แนวทางมาตรการปูองกนั อบุ ตั ิเหตุบนทอ้ งถนน 6.1 มาตรการ 3 ม. 6.2 มาตรการ 2 ข. 6.3 มาตรการ 1 ร. 7. งานวจิ ัยท่ีเกีย่ วข้อง แนวความคดิ เก่ยี วกับประสทิ ธผิ ล 1. ความหมายของประสทิ ธผิ ล ธงชัย สันตวิ งษ์ (2537, หนา้ 22) กลา่ ววา่ ประสิทธิผลเปน็ การทางานท่ไี ด้ผลโดยสามารถ บรรลผุ ลสาเร็จตามวัตถุประสงคท์ ่ตี ้องการ การวดั ผลงานท่ีทาไดเ้ ทยี บกบั เปาู หมาย หากสามารถทาได้ตาม เปาู หมายทตี่ ัง้ ไวก้ แ็ สดงวา่ การทางานมีประสิทธผิ ลสงู ซึง่ สอดคลอ้ งกับสมพงศ์ เกษมสิน ( 2526,หน้า 14 อ้างถึงใน การญจนา อนิ ทรักษ์ 2545,หน้า 40) ได้กล่าวถึงความหมายไวอ้ กี นัยหนงึ่ ว่า ประสิทธผิ ล หมายถึง การพจิ ารณาผลของการทางานทส่ี าเรจ็ ลุล่วงดังประสงค์ หรือทีค่ าดไวเ้ ป็นหลัก และการญจนา อนิ ทรกั ษ์(2545,หน้า 41) ไดส้ รปุ ความหมายของประสิทธผิ ล หมายถงึ ความสามารถขององค์การในการ บรรลเุ ปาู หมายทไ่ี ด้กาหนดไวโ้ ดยใช้ทรัพยากรในองคก์ ารให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสุด
6 2. เกณฑ์การวดั ประสทิ ธผิ ลขององคก์ รหรือหนว่ ยงาน Steers (1977, อ้างถงึ ใน ปรู ดิ า ป่นิ ทอง 2549,หนา้ 3-4) ไดก้ ลา่ วถงึ ตัวแปรทม่ี อี ิทธพิ ล ต่อประสิทธิผลขององคก์ ารจากแนวความคิดที่สาคัญ 3 แนว ความคิด ได้แก่ แนวความคิดที่ 1 การบรรลเุ ปูาหมายสูงสดุ วดั จากการได้มาและใชท้ รพั ยากรทม่ี ีอยู่ อยา่ งจากดั ใหส้ ามารถบรรลุถงึ เปูาหมายท่ีเป็นไปได้ แนวความคดิ ที่ 2 ด้านระบบ โดยการวเิ คราะหแ์ ละพิจารณาเปูาหมายซง่ึ เปลี่ยนไป ตาม กาลเวลา การบรรลเุ ปูาหมายระยะส้นั ก็คอื ตวั ปอู นตัวใหมใ่ นลกั ษณะเป็นวงจรของระบบ แนวความคดิ ท่ี 3 เรอ่ื งพฤตกิ รรม เปน็ แนวความคิดทเ่ี น้นถงึ บทบาทของบุคลากรซง่ึ มี ผลต่อความสาเรจ็ ขององค์การในระยะยาว โดยได้แบ่งตวั แปรลักษณะของตัวแปรเปน็ 4 ลกั ษณะ คอื 1. ลักษณะขององค์การ ไดแ้ ก่ 1.1 การกระจายอานาจ หมายถงึ ความมากน้อยของการทีอานาจและสทิ ธิอานาจ ได้กระจายลงไปตามช้นั ของสายการบังคบั บญั ชาในองค์การ ซึง่ แนวความคดิ เก่ยี วกับการกระจายอานาจ มคี วามสัมพันธ์อย่างใกล้ชดิ กบั แนวความคิดการมีสว่ นรว่ มในการตดั สนิ ใจ ยิ่งในองค์การมกี ารกระจาย อานาจมากเพยี งใดก็จะสง่ ผลใหบ้ คุ คลในระดบั ล่างขององค์การมีสว่ นรว่ มและส่วนรับผดิ ชอบในการ ตดั สินใจเกย่ี วกบั งานและกจิ กรรมตา่ ง ๆ ในอนาคตขององค์การมมี ากขึ้น 1.2 ความชานาญเฉพาะอย่าง หมายถึง บุคลากรในองคก์ ารปฏบิ ตั ิงานตามความ เชย่ี วชาญของแต่ละเฉพาะบคุ คล ซ่ึงผลงานของแตล่ ะบุคคลน้ันจะมสี ่วนทีจ่ ะทาใหอ้ งคก์ ารไปสู่เปาู หมาย ไดส้ ูงมากข้นึ 1.3 ความเป็นทางการหรอื เป็นแบบแผน หมายถงึ ความมากนอ้ ยของ การที่ กจิ กรรมในการปฏิบตั ิงานถกู กาหนดอย่างเจาะจง หรอื ถูกควบคุมดว้ ยกฎ ระเบียบขอ้ บงั คับท่ีเปน็ ทางการ ย่งิ องค์การมีกฎระเบยี บมากเพยี งใด องคก์ ารนั้นยอ่ มมคี วามเป็นทางการมากขึน้ 1.4 ช่วงการบังคับบญั ชา หมายถงึ จานวนผ้ใู ตบ้ ังคับบัญชาตอ่ ผ้บู งั คับบญั ชาหาก อัตราสว่ นระหว่างผูบ้ งั คบั บญั ชาและผู้ใต้บงั คับบัญชามคี วามเหมาะ จะสง่ ผลให้การปฏบิ ตั ิงานเกิด ประสิทธิผลสูงสุด 2. ลกั ษณะของขนาดองคก์ าร หมายถึง จานวนสมาชิกในองค์การ ขนาดขององค์การท่ี เพม่ิ ขน้ึ มีความสมั พนั ธใ์ นทางบวกตอ่ ประสิทธภิ าพท่ีเพม่ิ ข้ึนขององคก์ าร แต่มีความสมั พนั ธใ์ นทางลบต่อ ความผกู พนั ของบคุ ลากรตอ่ องคก์ าร 3. ลกั ษณะของขนาดหนว่ ยงาน ขนาดของหน่วยงานมีผลแตกต่างต่อทศั นคติ และ พฤติกรรมของบคุ ลากรมากกวา่ ต่อผลิตผลของหนว่ ยงาน สาหรับบคุ ลากรน้ัน การเพม่ิ ขนาดของกล่มุ งาน มคี วามสัมพันธ์กับการลดน้อยลงของความพอใจในงาน การเอาใจใสต่ ่องานลดลง และความสามารถใน การรักษาบุคลากรไว้ไดก้ ล็ ดลงพร้อม ๆ กบั มีการโต้แย้งทางแรงงานเพิม่ ขึ้น 4. ลกั ษณะสภาพแวดลอ้ มของงาน แบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ 4.1 สภาพแวดลอ้ มภายนอกองคก์ าร ซึ่งเปน็ สภาพแวดล้อมทมี่ คี วามหมายต่อ กจิ กรรมในการบรรลุเปาู หมายขององค์การ 4.2 สภาพแวดล้อมภายนอกองค์การจะเป็นตัวแปรทีม่ ีอทิ ธิพลต่อประสิทธผิ ลของ องคก์ ารมากน้อยเพยี งใดขนึ้ อยูก่ ับปัจจยั สาคญั 3 ประการ ไดแ้ ก่ ความคาดคะเนไดข้ องสภาวะแวดล้อม การรบั รู้ในสภาพแวดลอ้ ม และความมีเหตผุ ลขององค์การ อกี ระดบั หน่งึ คือ สภาพแวดลอ้ มภายใน
7 องคก์ าร ซึง่ หมายถงึ บรรยากาศขององคก์ ารซง่ึ หมายถึง ทัศนคติ คา่ นยิ ม ปทสั ถาน และความรู้สกึ ของ บคุ ลากรตอ่ องคก์ าร Robbins (1983 อ้างถึงใน ปรู ิดา ป่นิ ทอง, 2549,หนา้ 6-7) โดยเสนอเกณฑว์ ัด ประสิทธิผลขององคก์ รไว้ ได้แก่ 1. วิธีการวดั ผลสาเร็จตามเปาู หมาย หมายถึง การประสบผลสาเร็จในตัวของผลลพั ธ์ ดังนั้นวิธกี ารน้ใี หค้ วามสาคญั หรอื คานงึ ถึงกระบวนการน้อยกว่าการบรรลเุ ปาู หมาย โดยส่วนใหญจ่ ะเน้น หนักและมุ่งความสนใจในผลของกาไรสงู สุด การบรรลุถงึ เปูาหมายจะสามารถนามาเปน็ เกณฑใ์ นการใช้วดั ถงึ ความอยูร่ อดขององคก์ ารไดเ้ ช่นกัน ซ่ึงเปูาหมายจะมีลกั ษณะ ดงั ต่อไปนี้ 1.1 องคก์ ารจะต้องมีเปาู หมายสงู สดุ และต้องการทจ่ี ะทาใหส้ าเร็จ 1.2 เปาู หมายนีจ้ ะตอ้ งสามารถระบอุ อกมาไดช้ ัดเจนและเขา้ ใจง่าย 1.3 เปาู หมายจะต้องมไี ม่มากเกินกว่าทจ่ี ะจดั การได้ 1.4 เปูาหมายแตล่ ะอยา่ งต้องเป็นทีย่ อมรบั และเหน็ ชอบจากฝุายตา่ ง ๆ 1.5 เปูาหมายจะต้องไดร้ ับการประเมนิ ผลความก้าวหน้าอยู่ตลอดเวลา 2. วธิ ีการบรหิ ารประสิทธผิ ลเชิงระบบ เนน้ ความสัมพนั ธ์ระหว่างองคก์ ารกบั สภาพแวด ล้อมภายนอก คอื การพิจารณาถึงความสามารถขององคก์ ารในการจดั หาสงิ่ นาเข้าและประสทิ ธภิ าพของ กระบวนการผลิตว่าการบรหิ ารทาการแปรสภาพไดด้ เี พยี งใด โดยพิจารณาจากผลผลติ ทท่ี าออกมาได้ และ ความสามารถขององค์การในการดารงสถานภาพความม่นั คงและการปรบั ตวั ใหเ้ ข้ากับสถานการณ์แวด ลอ้ มใหมไ่ ด้ดีเพียงใด ดงั นน้ั การทอ่ี งคก์ ารจะมปี ระสิทธิผลจงึ จาเป็นต้องมีการตน่ื ตัวและสามารถปรับตวั เอง ไดท้ ันกับการเปลยี่ นแปลงท่ีเกดิ ขนึ้ ตามสภาพแวดล้อม นอกจากนี้องค์การจะต้องสามารถจดั หาทรพั ยากร เขา้ สะสมไวใ้ นองค์การไดม้ ากกว่าทรพั ยากรท่ีได้ใช้ไป แนวความคิดเกยี่ วกบั ระบาดวทิ ยาของอบุ ตั เิ หตุจราจรทางบก สุภาวดี พทุ ธลอด (2542,หนา้ 15-21) ไดก้ ล่าวถงึ ระบาดวิทยาของอุบตั ิเหตุจราจรทาง บก ของคณะกรรมการจดั ระบบการจราจรทางบกทีเ่ กย่ี วกบั ปัจจัยทส่ี ง่ ผลกระทบต่อการเกิดอุบตั เิ หตทุ ี่ เก่ยี วข้องกบั การจารจรทางบก โดยจาแนกออกไวเ้ ปน็ ปจั จัย 3 ปจั จยั ทส่ี าคัญด้วยกนั ไดแ้ ก่ ปัจจัยเกยี่ วกบั คน ปัจจยั เก่ยี วกบั ยานพาหนะ และปจั จัยเกยี่ วกับทางและสภาพแวดล้อม มรี ายละเอียด ดังน้ี 1. ปจั จัยเก่ียวกับคน ผูข้ ับข่ี เป็นผกู้ อ่ ใหเ้ กดิ อุบตั ิเหตโุ ดยตรง เพราะตอ้ งบังคบั และควบคมุ ยานพาหนะใหอ้ ยใู่ น สถานการณต์ า่ ง ๆ ผทู้ ่จี ะสามารถขบั ขีย่ านพาหนะได้ตามกฎหมายจะต้องมีใบขับขีย่ านพาหนะประเภทนั้น ผู้ท่จี ะขอใบอนุญาตขบั ขย่ี านพาหนะ ไดน้ น้ั กฎหมายไทยไดก้ าหนดดังน้ี ตอ้ งมีอายุ 18 ปีบรบิ ูรณ์ จึงจะ สามารถสอบขอรับใบอนุญาตขับรถยนต์สว่ นบคุ คล และผู้ทมี่ อี ายุ 25 ปี บรบิ รู ณ์ จงึ จะสามารถสอบ ใบอนุญาตขบั รถสาธารณะได้ ผทู้ ี่ผา่ นการอนุญาตใหม้ ใี บขับขแี่ ล้วน้ัน กไ็ มไ่ ด้เป็นหลกั ประกันว่าจะ ปลอดภัยจากอุบัตเิ หตุจารจรทางบก เพราะยังมีปจั จยั อน่ื เขา้ มาเก่ียวข้อง ดังน้ี 1.1 อายุ จากการศึกษาจากหลายสถาบันพบวา่ ช่วงอาย1ุ 8-22 ปี ซงึ่ อย่ใู นวัยหน่มุ สาว เกดิ อุบัตเิ หตุจากการจารจรทางบกมากท่สี ุด ซงึ่ สอดคล้องกับงานวจิ ยั ของ วรี ะพนั ธ์ สพุ รรณไชยมาตย์ และคณะ (2540) พบว่า อายุ 20-29 ปี เกิดอบุ ัตเิ หตุการจารจรทางบกมากท่สี ุด แต่งานวจิ ยั ของ สมชยั วโิ รจน์แสงอรุณ (2539) พบวา่ อายุของผไู้ ด้รับอุบัติเหตมุ ากทีส่ ดุ ในช่วงอายุ 15-40 ปี พบ 73.70 % การ
8 เกดิ อบุ ัติเหตุจารจรทางบกพบมากท่สี ุดในวยั หน่มุ สาว เพราะวัยหนมุ่ สาวเปน็ วัยท่ี คึกคะนอง ชอบความ สนุกสนาน ต่ืนเต้น เสีย่ งภัย เป็นวยั ท่ีขาดความระมดั ระวังหรืออาจจะขาดประสบการณ์ ส่วนผู้ท่มี ีอายุ มากกว่า 65 ปี ข้นึ ไป กป็ ระสบอุบัติเหตมุ ากเช่นกัน เพราะมีการตอบสนองชา้ ในการรับรู้ ระมดั ระวังมาก เกินไป การตดั สินใจไม่ดมี คี วามเช่ืองชา้ ตกใจงา่ ย สายตา และการไดย้ ินไมด่ ี 1.2 เพศ สาหรับประเทศไทย เพศเปน็ ปจั จยั ทเ่ี กยี่ วข้องกบั การเกดิ อุบตั ิเหตจุ ารจรทาง บกโดยเพศชายเกดิ อุบัตเิ หตุมากกว่าเพศหญิง เพราะเพศชายเป็น ผูข้ ับขยี่ านพาหนะทุกประเภทมากกว่า เพศหญิง ลกั ษณะของงานอาชีพมคี วามเสยี่ งสงู กว่าและเพศชายมกี ารขบั รถระยะทางไกล ๆ มากกวา่ เพศ หญงิ นอกจากน้เี พศหญิงจะมสี ญั ชาตญิ าณของความระมดั ระวงั สงู กว่าเพศชายจากสถติ ิทีร่ วบรวมได้จาก โรงพยาบาลหลาย ๆ แห่งพบว่าอุบัตเิ หตุเกิดกบั เพศชายมากกว่าเพศหญิง 2 เทา่ ซ่งึ ใกลเ้ คยี งกับงานวิจัย ของ ทวีเกยี รติ บญุ ยไพศาลเจรญิ และคณะ ( 2537) พบวา่ อัตราการเกดิ อุบัตเิ หตุเพศชายต่อเพศหญงิ เท่ากับ 3 ตอ่ 2 คน และใกลเ้ คียงกบั ผลงานวจิ ยั ของ วรี ะพนั ธ์ สพุ รรณไชยมาตย์ และคณะ ( 2540) พบว่า สดั ส่วนการเกดิ อุบตั เิ หตุเพศ ชายตอ่ เพศหญิง เทา่ กบั 2.9 ตอ่ 1 1.3 สภาพรา่ งกาย อาการเหนด็ เหนื่อยออ่ นเพลยี หรอื ง่วงนอน มโี อกาสเกิดอุบัตเิ หตุได้ งา่ ย เพราะการตัดสนิ ใจช้าลง องคก์ ารแรงงานระหว่างประเทศไดใ้ หค้ าแนะนาสาหรบั ผมู้ ีอาชีพขบั รถบรรทกุ ว่าควรจะหยุดรถเป็นเวลา 30 นาที หลังจากทีข่ ับรถมานาน 4-6 ช่ัวโมง และภายใน 24 ช่วั โมง ไม่ควรขับรถเกิน 10 ช่ัวโมง หรือควรมกี ฎเกณฑไ์ วว้ า่ ต้องให้ผู้ขบั ขร่ี ถมเี วลาพกั ผอ่ นไม่นอ้ ยกวา่ 8-10 ชั่วโมงต่อวัน การขับขร่ี ถทปี่ ลอดภยั คนขับรถต้องตน่ื ตวั และระมดั ระวังอยตู่ ลอดเวลา เพ่ือไมใ่ ห้ เกิดการ เสอื่ มของประสาทตาและหู การส่งั งานของประสาทต่อกล้ามเน้อื เปน็ ผลทาใหง้ ่วงนอนหรอื เมื่อยลา้ ซ่ึงอาจ ทาให้มโี อกาสเกิดอบุ ัติเหตไุ ดจ้ ากการควบคมุ ไม่อยู่หรือลืมปฏิบตั ิตามกฎจารจร ผู้ทีม่ โี รคเรอื้ รังตา่ ง ๆ เชน่ โรคหัวใจ โรคไต โรคปอด โรคทางสมอง ลมชกั ฯลฯ พบวา่ เกิดอบุ ตั ิเหตุสูงกวา่ ผมู้ รี า่ งกายสมบรู ณถ์ งึ 2 เทา่ และโรคเหลา่ นี้ เปน็ สาเหตุใหเ้ กดิ อุบัติเหตุจราจรทางบกไดร้ อ้ ยละ 10-15 ความผิดปกติทางตา อาจ มาจากหลายสาเหตุ เช่น การดม่ื สุรา หรือสายตาผิดปกติ เนื่องจากแสง ตาบอดสี สายตาส้ัน ตามปกติ การมองในทางกว้างหรือลานสายตา ไมค่ วรต่ากวา่ 140 องศา และความสามารถในการมองเหน็ ควรอยู่ ในระหว่าง 20 - 25 ฟตุ ถา้ มีความผิดปกติทางตา โอกาสของการเกดิ อบุ ัตเิ หตจุ ากการจารจรจะมสี งู ขึน้ ตามความรนุ แรงของโรคทางตา ความผดิ ปกติทางหูมีสว่ นเกยี่ วขอ้ งกับการเกิดอุบัตเิ หตุ เพราะจะทาให้ การได้ยินเสียงบกพรอ่ งไป 1.4 สภาพทางจิต สภาวะจติ ใจที่ไม่ปกติ เชน่ ความเครยี ด ความกดดนั ต่าง ๆ ของจติ ใจ ภาวะอารมณ์วติ กกงั วล อาจเปน็ ส่วนหนง่ึ ที่ทาให้เกิดอุบตั ิเหตุ เช่น การขาดการควบคมุ บังคบั ยานยนต์ หรอื ฝาุ ฝนื กฎจราจร บางครัง้ การกะเวลาในการเดนิ ทางไมเ่ หมาะสมกับระยะทาง หรือเวลานัดหมาย จน ตอ้ งเร่งความเร็วให้มากข้นึ และมคี วามประมาท ทาใหข้ าดความระมัดระวังในการขบั ข่ีจงึ ทาให้เกิดอุบัติเหตุ ได้งา่ ย 1.5 ความชานาญ การขับรถใหป้ ลอดภัยจะตอ้ งอาศยั ประสบการณ์ท้ังทางด้านเส้นทาง เดนิ รถ และประสบการณ์การขับรถ การขบั รถในเขตท่ีมีการจราจรหนาแนน่ จาเป็นตอ้ งมคี วามชานาญใน การขับขีเ่ ปน็ อยา่ งมากต้องรจู้ ักเสน้ ทาง รจู้ กั กฎข้อบังคบั ของเจ้าพนกั งานจราจรที่กาหนดไว้ในแตล่ ะแห่ง ได้รับการฝกึ หัดขบั รถมาอย่างดี มคี วามคุ้นเคยกบั สภาพถนนคุ้นเคยกับพาหนะท่ีใชแ้ ละสภาพทอ้ งถน่ิ โดย ท่ัว ๆ ไป 1.6 ความเร็วรถ การขับรถดว้ ยความเร็วสูงทาใหเ้ กิดอบุ ัตเิ หตุไดง้ ่าย และเมื่อเกิดแล้ว จะทาใหเ้ กดิ ความเสยี หายมาก รถที่อยู่ในสภาพท่ีดีเมื่อขบั ด้วยความเรว็ 30 ไมลต์ ่อชว่ั โมง หรอื 44 ฟตุ ตอ่
9 วินาที รถจะหยุดไดใ้ นระยะอย่างน้อย 75 ฟุต ถา้ ขบั ด้วยความเรว็ 60 ไมลต์ ่อช่วั โมง หรือ 88 ฟุตต่อ วนิ าทีรถจะหยดุ ได้ในระยะอย่างนอ้ ย240 ฟุต อบุ ตั เิ หตจุ ะเพม่ิ ข้ึนในกรณีใชค้ วามเรว็ สงู กว่า100 กิโลเมตร ต่อชวั่ โมง แม้จะใชค้ วามระมดั ระวงั อยา่ งเต็มที่ เพราะไม่สามารถหยุดรถได้กะทันหัน จากสถิตอิ ุบัตเิ หตุ จราจรทางบกปี 2534 ของกองวิศวกรรม กรมทางหลวง พบว่า การขบั รถเร็วเป็นสาเหตสุ าคญั ของการ เกิดอบุ ตั เิ หตุ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 70.5 รองลงมาคอื การตัดหนา้ ในระยะกระช้นั ชดิ คิดเปน็ รอ้ ยละ 10.6 และย่ิงขบั รถเรว็ เพยี งใดยงิ่ หยดุ รถไดช้ า้ เพยี งน้ัน และอนั ตรายที่เกดิ จากแรงปะทะทเี่ กิดจากการชนจะย่งิ เพิม่ มากขน้ึ 1.7 การด่มื สรุ าและการกินยา สุราเป็นสาเหตุของการเกิดอุบตั เิ หตทุ กุ ประเภทสถาบัน นิติเวชวิทยา กรมตารวจ ได้ทาการตรวจหาแอลกอฮอลใ์ นเลอื ดผู้เสียชวี ิตจากอบุ ตั เิ หตจุ ราจรพบวา่ มี แอลกอฮอลใ์ นเลือดถึงร้อยละ61.69 และผปู้ วุ ยทไี่ ด้รบั บาดเจบ็ ทางสมอง รอ้ ยละ42 มรี ะดับแอลกอฮอลใ์ น เลือดสูงอยา่ งชดั เจน คนเมาสุราสมองจะส่ังงานช้าจงึ ทาให้ตัดสินใจหลบอนั ตรายไดช้ ้ากว่าคนปกติ และไม่ คานึงถงึ อนั ตรายทจ่ี ะเกิดข้ึน ถา้ ระดับแอลกอฮอล์ในเลือดสงู เกินกวา่ 50 mg.% สมรรถภาพในการขับรถ จะลดลงตามลาดบั และมโี อกาสเกดิ อุบัตเิ หตุจากการจราจรสูงเป็น 2-40 เทา่ ของคนปกติ สาหรับยาบาง ชนิดพบวา่ ทาให้เกิดอุบตั เิ หตุได้ง่าย เช่น ยากลอ่ มประสาท ยาแก้แพย้ า แก้หวดั บางชนิดทาให้เกดิ อาการงว่ งจงึ ไมค่ วรกนิ ขณะขับรถ เม่ือดื่มแอลกอฮอล์จะถกู ดูดซึมเข้าไปไดท้ กุ สว่ นของระบบทางเดนิ อาหารร้อยละ 25 จะดูดซึมท่ีบริเวณกระเพาะอาหาร สว่ นที่เหลือจะดดู ซมึ ท่ลี าไส้เลก็ และกระจายไปตาม เน้อื เยอ่ื สมองและของเหลวทุก ๆ แหง่ ของรา่ งกาย ซึง่ จะสามารถตรวจหาระดับแอลกอฮอล์ในเลอื ดได้ ภายใน 5 นาที หลงั ดมื่ และระดบั แอลกอฮอล์จะสงู สุดใน 30-40 นาที 1.8 ผ้ขู ับขขี่ าดความรู้ ผขู้ บั ขท่ี ข่ี าดความรูเ้ รือ่ งการจราจร จะนาไปสู่พฤตกิ รรมท่ไี ม่ ถูกตอ้ งและมีโอกาสเกดิ อุบตั เิ หตไุ ด้ง่าย และจากการศกึ ษาของ ทวีเกยี รติ บญุ ยไพศาลเจรญิ และคณะ (2537) พบว่า ผู้ขบั ขีท่ ีใ่ ชร้ ถจักรยานยนต์ส่วนใหญม่ ีความรู้เรือ่ งกฎจราจรน้อยมากในประเดน็ การจากัด ความ เร็วในการขับข่ีทัง้ ในเมืองและนอกเมอื ง การปฏิบัตเิ มอ่ื มีรถพยาบาลและรถฉุกเฉินขับตามมาการให้ ทางกบั รถท่เี ขา้ ถึงสี่แยกพรอ้ มกันและเม่อื ลงเนินสูง 1.9 พฤติกรรมวยั ร่นุ อารมณ์ของวัยร่นุ อ่อนไหวงา่ ยมคี วามรนุ แรง ชอบทดลอง มคี วาม ต้องการประสบการณแ์ ปลกใหมๆ่ เกลยี ดความจาเจซา้ ซาก ชอบฝุาฝืนกฎระเบียบ ชอบมพี ฤติกรรม ตอ่ ตา้ นกฎเกณฑ์ของสถาบนั ของสงั คม ความสนใจของวัยรุ่นมีขอบเขตกวา้ งขวางแตไ่ ม่ลึกซ้ึงชอบลองผิด ลองถูก ขนึ้ กับบคุ ลกิ ภาพ ฐานะทางสังคมเศรษฐกจิ สิง่ แวดลอ้ มรอบข้างและความสนใจ 1.10 วฒั นธรรม ลักษณะของวฒั นธรรมของแต่ละกลมุ่ สังคม มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม สว่ นบุคคลของสมาชิกในสังคมนน้ั ๆ เช่น บางสังคม ยอมรบั พฤติกรรมที่กา้ วร้าวของตนเองซง่ึ อาจ เกดิ ผล เสียหายต่อตนเองและ ผู้อื่นได้ 1.11 สภาพสังคมและเศรษฐกจิ อบุ ัตเิ หตุจากการจราจรมกั เกิดบ่อยในพ้ืนทซี่ ึง่ มีสภาพ เศรษฐกจิ และสงั คมตา่ ความรนุ แรงระหวา่ งบคุ คลมักกอ่ ให้เกดิ อุบัติเหตจุ ากการจราจรมากข้ึน ผ้ขู บั ขี่ที่ เกิดอุบัตเิ หตบุ อ่ ย ๆ มักมาจากครอบครวั ทไ่ี ม่สงบสุขแตกรา้ วท้ังในอดีตหรือปจั จุบนั มกั มปี ัญหาในการ ทางาน ไมม่ งี านอดิเรกหรอื มเี พ่ือนนอ้ ย บคุ ลกิ ก้าวรา้ ว 1.12 ผโู้ ดยสาร อาจเก่ยี วขอ้ งกบั อุบัตเิ หตุทางอ้อมได้แกก่ ารเร่งเร้าใหผ้ ูข้ ับรถเกิดความ คึกคะนองทาใหข้ บั รกเรว็ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งผโู้ ดยสารที่เดินทางไปเปน็ หมู่คณะ เช่น การเดนิ ทางไปทศั น ศึกษา ไปทศั นาจร
10 1.13 คนเดินถนน จดั วา่ เปน็ ผทู้ ม่ี ีสว่ นรว่ มในการ จราจรทางบกท่อี ่อนแอที่สดุ เพราะท่ไี ม่ มเี ครื่องปอู งกนั อนั ตรายแต่คนเดนิ เท้าบางคนเปน็ เหตใุ หเ้ กดิ อุบตั ิเหตุได้ เช่น การข้ามถนนนอกทางขา้ ม หรอื ลงมาเดินบนทางเทา้ หรือไหลท่ างโดยเฉพาะอย่างยง่ิ ในเวลากลางคืนจะเกดิ อบุ ตั ิเหตุได้งา่ ยและมักเกิด ในผสู้ ูงอายุ 2. ปจั จยั เก่ียวกับยานพาหนะ 2.1 ยานพาหนะท่มี สี ภาพชารุดบกพรอ่ ง เนือ่ งจาก 2.1.1 สภาพของยางเปน็ อันตรายมากหากยางแตกหรอื ระเบิด ยางไมม่ ดี อก 2.1.2 ระบบห้ามล้อ เช่น เบรกแตก คันสง่ หลดุ 2.1.3 ระบบไฟสญั ญาณบกพร่องหากเสียในเวลากลางคนื จะอันตรายมาก 2.1.4 พวงมาลยั หรือคนั บงั คบั รถไมอ่ ยใู่ นสภาพปกติ 2.2 ยานพาหนะท่ไี มเ่ ปน็ ไปตามมาตรฐานความปลอดภยั 2.2.1 รถทใี่ ช้เครอื่ งยนตใ์ นการเกษตร เชน่ รถอแี ต๋น 2.2.2 รถบรรทุกหนักหรือบรรทุกสูง ยนื่ ลา้ เกินอัตรากฎหมายกาหนดไว้ 2.2.3 ตวั ถังบาง ไมแ่ ขง็ แรงเท่าทค่ี วร 2.2.4 ไม่มอี ุปกรณเ์ พื่อความปลอดภัย เชน่ เขม็ ขัดนิรภยั อปุ กรณ์ดบั เพลงิ เปน็ ตน้ 3. ปัจจัยเก่ียวกับทางและสภาพแวดลอ้ ม 3.1 ลกั ษณะของทางท่ีมผี ลต่อการเกดิ อบุ ตั ิเหตุ 3.1.1 จานวนช่องทางเดินรถ ช่องทางเดินรถ หมายถึง ทางเดินรถทีจ่ ดั แบง่ เป็น ช่องสาหรับการเดนิ รถ โดยทาเคร่อื งหมายเป็นเสน้ หรอื แนวแบ่งเป็นชอ่ ง ถนนที่มี 2 ชอ่ งทางเดนิ จะเกดิ อุบัติเหตบุ ่อยกว่าถนนท่ีมี 4 ช่องทาง จากสถติ อิ บุ ัตเิ หตจุ ราจรปี พ.ศ. 2534 ของกองวศิ วกรรมกรมทาง หลวงพบวา่ อุบัติเหตจุ ราจรบนทางหลวงแผน่ ดิน และทางหลวงจังหวดั เกดิ บนทางตรงมากที่สุดคดิ เปน็ รอ้ ยละ 76 รองลงมาคอื ทางโค้งร้อยละ 13.1 ถนนขนาด 2 ช่องทางจราจรเกิดอบุ ตั ิเหตุบอ่ ยท่สี ุดคดิ เป็น รอ้ ยละ 66 รองลงมาคอื ถนนขนาด 4 ชอ่ งทางจราจรคดิ เป็นร้อยละ 30 ร้อยละ 67 ของอุบัตเิ หตุจราจร เกิดบนถนนลาดยางและแห้ง โดยทจ่ี านวนการเกดิ อุบตั ิเหตุปรากฏในตอนกลางวนั มากกวา่ ตอนกลางคนื 1.8 เท่า 3.1.2 ความกว้างของชอ่ งเดินรถ อัตราการเกดิ อุบัตเิ หตจุ ราจรมีความสัมพันธก์ บั ความกวา้ งของชอ่ งทางเดนิ รถเพียงส่วนน้อยเท่าน้ัน ชอ่ งเดนิ รถท่มี ีความกวา้ ง 18 ฟตุ และมีขอบทางจะ ปลอดภัยกวา่ ชอ่ งทางเดินรถทีก่ ว้าง 20 ฟุต แต่ไมม่ ีขอบทาง 3.1.3 แนวกั้นกลางถนน แนวกน้ั นี้ใช้สาหรบั กัน้ ถนนทีม่ กี ารจราจรสวนทางกัน โดนคานึงถงึ ความปลอดภัยของรถที่แล่นสวนทาง กนั การชนดา้ นหน้าแบบประสานงา แนวกั้นกลางยงั ชว่ ยลดแสงไฟดา้ นหน้าของรถท่วี ง่ิ สวนทางมา 3.1.4 ไหล่ทาง ไหล่ทางคือพน้ื ที่ทต่ี อ่ จากขอบทางออกไปทางด้านขา้ ง ซึ่งยงั มไิ ด้ จัดทาเป็นทางเทา้ ไหลท่ างมอี ทิ ธิพลมากต่อความปลอดภัยในการจราจรทางบก เพราะเป็นทีก่ ้นั รว้ั ปอู งกันมิใหร้ ถตกไปในคคู ลอง หรอื เหว ไหลท่ างท่มี ีความกวา้ งเพยี งพอ จะใช้เป็นทจ่ี อดรถได้ ตามปกติ แล้วถนนท่มี ี 2 ชอ่ งทางไหล่ทางควรกวา้ งประมาณ 6 ฟตุ 3.1.5 เคร่อื งกนั้ ขา้ งทาง เคร่ืองกั้นขา้ งทางจะชว่ ยปอู งกนั มิใหร้ ถที่เกดิ อบุ ัตเิ หตวุ่งิ ออกนอกถนน ดังนน้ั บรเิ วณสะพานหรอื ทางโค้งควรจะมสี ง่ิ ก้นั ขา้ งทางเพอ่ื ลดอบุ ัตเิ หตุทีร่ ุนแรง
11 3.1.6 พน้ื ผิวถนน ปญั หาเร่ืองพนื้ ผิวทางและการลน่ื ไถล นับเปน็ ปญั หาทส่ี าคัญ การสร้างถนนสมยั ใหม่จึงมักมีการเสริมสรา้ งและตรวจ สอบความผิดหรอื สภาพของพนื้ ผวิ ทางทจ่ี ะ ตา้ นทานตอ่ ความล่นื ของถนนในทกุ ฤดู กาล และได้พบขอ้ สงั เกตวา่ ในฤดรู ้อนที่แหง้ อยเู่ ปน็ เวลานาน ๆ เม่ือมีฝนตกลงมาทันทที ันใด จะทาใหถ้ นนลื่นกวา่ ถนนทีม่ ีฝนตกเปน็ ประจา 3.1.7 แสงสว่าง แสงสวา่ งในถนนมคี วามจาเป็นมาก เพราะเกีย่ วกับความ สามารถในการมองเห็น พบว่า ถ้าจัดแสงสวา่ งบนถนนเพยี งพอจะช่วยลดอุบตั ิเหตไุ ด้เพราะรถจะลดการใช้ ไฟสงู ซง่ึ แสงไฟสูงจะเขา้ ตาผูข้ ับข่ีอาจทาใหส้ ายตาพร่ามัวได้ และจะลดความตึงเครยี ดของผ้ขู บั ขี่ 3.2 สภาพแวดล้อม ที่เป็นสาเหตุให้เกิดอุบตั เิ หตุจราจรแบ่งได้ 3 ประการคอื 3.2.1 อปุ กรณค์ วามปลอดภัยไม่สมบรู ณ์ เช่น ปาู ยแนะนา ปาู ยบงั คับและปาู ย เตือน จาเป็นจะตอ้ งตดิ ต้งั อยูใ่ นทมี่ องเห็นชดั เจนทั้งกลางวันและกลางคนื เข้าใจงา่ ย อ่านแลว้ ไมต่ อ้ ง ตีความเอง ขนาดของปูายตอ้ งอา่ นได้ชดั เจน นอกจากนถ้ี นนท่ีปลอดภัยและง่ายต่อการขบั ข่ีนนั้ จะต้องมี เครื่องหมาย และตเี สน้ บนพืน้ ถนนใหช้ ัดเจน และควรเปน็ สีสะท้อนแสง เพราะเวลากลางคืน จะชว่ ยให้ มองเห็นชอ่ งทางเดินรถไดด้ ีขึน้ 3.2.2 อุปสรรคทางธรรมชาติ ทเ่ี รียกวา่ ทัศนวสิ ยั ไม่ดี เช่น หมอกลงจัด ฝนตก หนัก น้าท่วมทาง เปน็ ต้น เม่ือเกิดขนึ้ จะทาใหก้ ารเดินทางล่าชา้ ลง และเกดิ อันตรายได้งา่ ยขึ้น จึงตอ้ ง ใชค้ วามระมัดระวงั เพม่ิ ขึ้นเป็น 2 เท่า 3.2.3 สภาพแวดลอ้ มที่เกิดจากการกระทาของคน เชน่ การเผาหญา้ หรอื ฟาง ข้างทางหลวง การนาสตั วเ์ ลยี้ งมาปลอ่ ยสองข้างทางหลวง การมนี ้ามนั เครือ่ งเป้ือนพน้ื ถนน ซ่ึงส่ิงเหลา่ น้ี มสี ่วนทาใหเ้ กิดอุบัตเิ หตุไดง้ า่ ยข้นึ จากการศกึ ษาปจั จยั ท้งั 3 ดา้ นของระบาดวิทยาของอบุ ตั เิ หตุจราจรทางบกท่กี ล่าวมาแล้ว ผูศ้ กึ ษาสรุปได้ว่าส่ิงสาคญั ของการลดอุบตั ิเหตใุ หน้ ้อยลงจะตอ้ งสร้างกฎหมายใหม้ ีความเขม้ แข็งในการใช้ ปฏิบตั ิต่อผูท้ จ่ี ะนายานพาหนะทกุ ชนิดออกไปร่วมใช้ในถนน อีกท้งั ใหม้ กี ารสรา้ งเสรมิ ให้เยาวชนได้รับรู้ ตั้งแตย่ ังเดก็ เพือ่ ให้ทราบและตระหนกั ถึงผลกระทบทเี่ กิดจากความประมาทหรือคกึ คะนอง โดยนาปจั จัย ทั้ง 3 ด้าน มาไว้ในหลักสตู รการศึกษา เพอื่ ใหเ้ กดิ ความเกรงกลัวต่อการบาดเจบ็ พกิ าร เสียชวี ติ และเกรง กลัวตอ่ กฎหมายทไ่ี ด้กาหนดข้ึนอยา่ งเคยชนิ แนวความคดิ เกีย่ วกับความสูญเสยี จากอบุ ัตเิ หตจุ ราจรทางบก สภุ าวดี พทุ ธลอด (2542,หนา้ 21-22) ไดก้ ลา่ วถึงความสูญเสยี จากอบุ ตั เิ หตจุ ราจรทาง บกของคณะกรรมการปูองกนั อบุ ตั ภิ ัยแหง่ ชาติ สานกั นายกรัฐมนตรี ในปี พ.ศ. 2537 ไว้วา่ ความสูญเสยี จากอุบตั เิ หตุจราจรทางบกนนั้ แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท ได้แก่ ความสูญเสยี โดยตรง และความสญู เสีย ทางออ้ ม มรี ายละเอียดดังน้ี 1. ความสูญเสยี โดยตรง ไดแ้ ก่คา่ บรกิ ารฉกุ เฉิน ค่าใช้จา่ ยในการรักษาพยาบาล ค่าดแู ล ผ้บู าดเจบ็ เม่อื อกจากโรงพยาบาล ค่าใชจ้ ่ายในการฟื้นฟสู ภาพ คา่ ชดเชยในระหวา่ งปวุ ย ค่าชดเชย ความพิการ ค่าทรพั ย์สินเสยี หาย เป็นตน้ 2. ความสญู เสียทางออ้ ม เป็นค่าเสียเวลาของเจ้าหน้าทีใ่ นการชว่ ยเหลือผูบ้ าดเจ็บ ผลติ ภณั ฑท์ ี่ต้องเสยี หายในระหวา่ งที่ผู้บาดเจบ็ หยุดงาน หากมกี ารตายหรอื พิการเกดิ ขึน้ ก็ตอ้ งคานึง ถึง การลงทุนสูญเปลา่ ท่ใี หก้ ารศึกษาอบรม และการอนามัยแกผ่ ตู้ ายหรือผพู้ ิการ การสูญเสยี โอกาส ของคน
12 ตายและพกิ าร ถ้าหากไมไ่ ด้รับการบาดเจ็บจะสามารถหารายได้ รวมถงึ ความสูญเสยี ซง่ึ เกิดจากความ เจ็บปวด ความเศร้าโศกเสียใจของครอบครัว และผเู้ ปน็ ท่รี กั ซ่ึงประเมินค่ามิได้ ดังนน้ั จะเหน็ ไดว้ า่ ความสูญเสยี ทีม่ องเหน็ โดยตรงจะมีคา่ นอ้ ยกว่า ความสญู เสยี ทางออ้ ม ทีม่ องไมเ่ หน็ มากมกั แนวความคิดเกีย่ วกบั ทฤษฏที ่เี กี่ยวขอ้ ง 1. ทฤษฎกี ารมีสว่ นร่วม ปรชิ าติ วิลัยเสถียร และคณะ (2548,หน้า 195) กลา่ วถึงทฤษฎีการมสี ว่ นรว่ มของ ประชาชนโดยทวั่ ไปว่าเป็นการพัฒนาขดี ความสามารถของประชาชนในการจัดการควบคุมการใชแ้ ละ กระจายทรพั ยากรตลอดจนปจั จยั การผลิตท่ีมอี ยู่ในสังคม เพ่ือให้เกดิ ประโยชน์ตอ่ การดารงชพี ทาง เศรษฐกจิ และสังคม ตามแนวทางการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ซึง่ เปดิ โอกาสให้ประชาชน พัฒนาการรบั ร้สู ติ ปัญญา และความสามารถในการตดั สินใจกาหนดชวี ติ ดว้ ยตนเอง เพอื่ รว่ มกันแก้ไข ปญั หาของท้องถน่ิ ซึง่ สอดคล้องกบั วิเชียร วิทยอดุ ม (2547 ,หน้า 441) กล่าวถงึ ทฤษฎีการมสี ว่ นรว่ มว่า เปน็ การพฒั นาการของผู้นาและเปน็ ตวั แบบของการตดั สนิ ใจ ซงึ่ แสดงถึงสถานการณ์ในหลายลักษณะของ ผนู้ า โดยการใชก้ ารตัดสนิ ใจทีเ่ หมาะสมอยภู่ ายใตข้ ้อสมมตฐิ านที่วา่ 1. ตวั แบบตอ้ งมคี ุณคา่ ตอ่ ตวั ผู้นาในการกาหนดรูปแบบท่ีแตกต่างในสถานการณ์ 2. ไมม่ ีรูปแบบผู้นาอันใดทเี่ หมาะสมกบั ทกุ สถานการณ์ 3. มุ่งปัญหาทไี่ ดร้ บั การแกไ้ ขและซ่งึ อาจแกไ้ ขได้ 4. รปู แบบของผู้นาในสถานการณห์ นึ่งไม่สามารถใช้ไดก้ บั สถานการณอ์ ่ืน ๆ นอกจากนั้นแลว้ การมีสว่ นรว่ มยังอาจเกดิ จากแนวความคดิ อนื่ ๆ อีก เชน่ 1. การมสี ่วนรว่ มของประชาชนเกิดจากความศรทั ธาทม่ี ตี ่อบุคคลท่ีเคารพนบั ถือหรอื มี เกยี รติยศตาแหน่ง 2. การมสี ่วนรว่ มเกิดจากความเกรงใจทีม่ ตี ่อบุคคลท่เี คารพนบั ถือหรอื มเี กยี รตยิ ศ ตาแหนง่ ท้ังทีย่ งั ไม่มคี วามศรัทธาหรือความเตม็ ใจอยา่ งเต็มเปย่ี มทีจ่ ะกระทา 3. การมีส่วนรว่ มเกิดจากอานาจบงั คบั จากบุคคลทม่ี ีอานาจเหนอื กวา่ ใหก้ ระทาการตา่ งๆ สากล สถิตวิทยานันท์ (2532,หน้า 166-167) ได้กลา่ วถึงแนวคดิ การมสี ่วนร่วม ของ ประชาชนท่ีสาคญั ไว้ 3 ประการ คือ 1. ความสนใจและความห่วงกังวลรว่ มกันซง่ึ เกิดจากความสนใจและความห่วงกงั วลสว่ น บุคคลท่บี งั เอญิ เห็นพอ้ งต้องกนั กลายเป็นความสนใจและความห่วงกงั วลรว่ มกนั ของสว่ นรวม 2. ความเดือดร้อนและความไมพ่ ึงพอใจรว่ มกนั ท่ีมอี ยู่ต่อสถานการณ์ทเ่ี ป็นอยนู่ น้ั ผลกั ดัน ให้พุ่งไปสกู่ ารรวมกลุ่ม วางแผน และลงมือทางานรว่ มกัน 3. การตกลงใจร่วมกนั ทจ่ี ะเปลี่ยนแปลงชมุ ชนไปในทิศทางท่ีพงึ ปรารถนา การตัดสนิ ใจ ร่วมกนั น้ีจะตอ้ งรุนแรงมากพอทจี่ ะทาให้เกดิ ความคดิ รเิ รมิ่ กระทาการทสี่ นองตอบความเหน็ ชอบของคน สว่ นใหญ่ท่ีเกี่ยวขอ้ งกับกิจกรรมน้นั ๆ ทนงศกั ด์ิ คุม้ ไขน่ า้ (2546,หนา้ 75) กลา่ วถงึ ทฤษฎีการมสี ่วนร่วมของประชาชนในการ พัฒนาวา่ เป็นเทคนิคหรอื กลยุทธก์ ารพฒั นาทีย่ ึดมนษุ ยเ์ ป็นจดุ ศนู ยก์ ลางในการพัฒนาชมุ ชนในการ ดาเนินงานพฒั นา ในการแสดงออกซึ่งความรสู้ กึ นึกคดิ ทเ่ี ขาตอ้ งการ สรา้ งโอกาสและส่งเสรมิ ให้ประชาชน
13 เขา้ มามีสว่ นร่วมดาเนินงานพฒั นา โดยการใหป้ ระชาชนมีสว่ นรว่ มทั้งการคิด ตดั สนิ ใจ วางแผนแก้ไข ปัญหา ลงมือปฏิบัติ ติดตามประเมินผล ตลอดท้งั มสี ว่ นร่วมรบั ผลประโยชน์จากการพฒั นา เฉลิม เกิดโมลี (2543,หนา้ 3) ไดก้ ลา่ วถึงทฤษฎกี ารมีสว่ นร่วมเชงิ กว้างไว้ ดงั นี้ 1. เป็นสว่ นร่วมในการชว่ ยเหลือจากประชาชนดว้ ยความสมัครใจท่ีมีตอ่ โครงการหรือ กจิ กรรมทคี่ าดว่าจะสง่ ผลให้กับการพัฒนา แตไ่ ม่ไดห้ วงั ไวว้ า่ จะใหป้ ระชาชนเปลีย่ นแปลงโครงการหรือ วิจารณเ์ น้ือหาของโครงการ 2. เปน็ สว่ นรว่ มในการใหป้ ระชาชนรสู้ ึกตนื่ ตัว เพอ่ื ทจี่ ะทราบถงึ การรบั ความช่วยเหลอื และตอบสนองต่อโครงการพฒั นา ขณะเดยี วกันกส็ นบั สนุนความคดิ ริเร่ิมของคนในทอ้ งถน่ิ 3. เปน็ สว่ นร่วมในการใหป้ ระชาชนเขา้ มาเก่ยี วขอ้ งในกระบวนการตดั สินใจ ดาเนินการ และร่วมรับผลประโยชนจ์ ากโครงการพัฒนา 4. เปน็ สว่ นร่วมของประชาชนในการพัฒนากระบวนการตัดสินใจท่มี ีผลกระทบตอ่ ตนเอง 5. เป็นส่วนรว่ มของชมุ ชนในการเขา้ รว่ มแกไ้ ขปัญหา รบั ผดิ ชอบสารวจตรวจสอบความ จาเป็นในเร่ืองตา่ ง ๆ การระดมทรัพยากรท้องถ่ิน และเสนอแนวทาง แกไ้ ขใหมใ่ นการกอ่ ตง้ั และดารงรักษ์ องค์กรในท้องถน่ิ 6. เป็นสว่ นร่วมริเร่มิ และใชค้ วามพยายามดาเนินการตามความรเิ รม่ิ น้ัน 7. เปน็ สว่ นรว่ มเพ่ิมความสามารถในการควบคุมทรพั ยากรและวางระเบียบ 8. เปน็ กระบวนการมสี ่วนรว่ มของประชาชนในการส่ือสารสองทางทีม่ เี ปูาหมายโดยรวม เพอ่ื ใหเ้ กิดการตัดสินใจทด่ี ีข้ึน ไดร้ บั การสนบั สนุนจากสาธารณชน และใหส้ าธารณชนแสดงความคิดเห็น ตอ่ โครงการทีน่ าเสนอ มสี ่วนรว่ มในการแกไ้ ขปัญหาเพือ่ หาทางออกทดี่ ีทีส่ ดุ 2. ทฤษฎีโครงสรา้ งและหน้าท่ี สกุล วงษ์กาฬสินธ.(ุ์2549 ) ได้กล่าวถึงทฤษฎโี ครงสรา้ งและหน้า ทม่ี พี น้ื ฐานมาจากทฤษฎี วิวัฒนาการซง่ึ มรี ากฐานมาจากชวี วิทยา ซึ่งอธิบายถึงการทางานประสานกนั ของส่วนตา่ ง ๆ ซงึ่ ตา่ งทางาน ตามหนา้ ท่ขี องมนั เองและมีการประสานงานกนั โครงสรา้ งต่าง ๆ และทฤษฎโี ครงสรา้ งหนา้ ทย่ี ังไดพ้ ัฒนา มาจากทฤษฎีหนา้ ท่ี ซ่ึงมนี ักทฤษฎีคนสาคัญ คอื Auguste Comte (2529, p.139) เป็นนักสงั คมวทิ ยา คนแรกทนี่ าความคิดน้ีมาอธิบายทฤษฎหี น้าท่ี โดยไดก้ ล่าววา่ สังคมประกอบด้วยสว่ นตา่ งๆ เชน่ เดยี วกบั รา่ งกายมนษุ ยท์ ่ีประกอบ ดว้ ยอวยั วะตา่ ง ๆ เปน็ ตน้ ส่วนสงั คมกม็ สี ว่ นประกอบต่างๆ เหมือนกันซ่งึ ทา หน้าทีข่ องมนั เอง และในขณะเดียวกนั ก็จะทางานประสานกันดว้ ย สงั คมจงึ ดารงอย่ไู ด้ ทง้ั อวยั วะยอ่ ย เชน่ เซลลต์ า่ งๆ โดยมี เฮอรเ์ บอร์ต สเปนเซอร์ ( Herbert Spencer) เป็นผู้สนับสนนุ ทฤษฎีของ ออกัส คองท์ (Auguste Comte) ทไี่ ดเ้ นน้ ในการเปรียบเทียบการทางานของส่วนตา่ งๆ ของสงั คมกบั การทางาน ของส่วนต่างๆ ของสงั คมกับการทางานของส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกาย ส่วนในเรือ่ งวิวัฒนาการของสังคมนนั้ เขาเชือ่ ว่าสังคมจะมีการเปล่ยี น แปลงไปสู่ขน้ั ท่ีดีกวา่ กลา่ วคือสงั คมจะมขี นาดใหญ่ข้ึนโดยการเพม่ิ ส่วนต่าง ๆ และเพ่ิมความซบั ซ้อนย่ิงขนึ้ ในขณะเดียวกันส่วนตา่ ง ๆ เหลา่ น้จี ะทางานแตกต่างกนั มากขนึ้ แตย่ ังคง ทางานประสานสมั พนั ธก์ ัน และนักทฤษฏีทช่ี อื่ วา่ โรเบิรท์ เค.เมอร์ตนั (2547, p.193) ยังได้กล่าวไว้อีกว่า สว่ นตา่ ง ๆ ของสังคมจะ ตอ้ งทางานประสานกันโดยเฉพาะตวั กาหนดวิถีทางไปสู่จุดมงุ่ หมายปลายทางก็ คอื ระบบสังคมกบั ระบบวฒั นธรรมจะเปน็ ตวั กาหนดคา่ นิยมของบุคคล ซ่ึงบุคคลส่วนใหญ่ยอม รบั และ สามารถนามาใช้ในการพฒั นาชุมชนไดเ้ ป็นอย่างมปี ระสิทธภิ าพ โดยเฉพาะในรปู ของกลมุ่ คนทม่ี ี จุดม่งุ หมายเดยี วกนั ส่วนเจฟฟรยี ์ อเลกซานเดอร์ (2547 : 196) ได้พดู ถงึ ทฤษฎโี ครงสรา้ งและหนา้ ท่ี
14 เป็นทฤษฎหี นา้ ท่นี ยิ มแนวใหม่ ต้องอาศยั ตวั แบบแผนท่มี คี วามเก่ยี วกนั ในรูปของการสงั เคราะห์ การบรู ณาการใหส้ งั คมเกดิ ดลุ ภาพ ต้องมอี สิ ระในการสร้างแนวความคิดและทฤษฎี สกลุ วงษก์ าฬสนิ ธ.์ุ(2549, ) ไดอ้ ธบิ ายแนวคิดทฤษฎโี ครงสรา้ งและหน้าท่ีสามารถนาไป เปน็ แนวทางในการพฒั นาของสนธยา พลศรี (2545 : 197) เกีย่ วกับเรอ่ื งทฤษฎแี ละหลกั การพฒั นาชมุ ชน ไว้ในรายละเอียด ดงั น้ี 1. ทฤษฎีโครงสรา้ งและหนา้ ที่ เชอ่ื ว่าสงั คมประกอบด้วยโครงสรา้ งที่เปน็ ระบบยอ่ ย ๆ หลายระบบ ระบบเหล่าน้ตี า่ งมีหนา้ ท่ขี องตนเองแตกต่างกันออกไป แตจ่ ะประสานสัมพันธ์กันเป็นอยา่ งดี สงั คมจงึ จะเกิดความมนั่ คงหรอื ดุลภาพ ในการพัฒนาชุมชนจงึ ต้องม่งุ เนน้ ใหโ้ ครงสร้างตา่ ง ๆ ของชุมชนคือ บุคคล กลมุ่ และองคก์ รตา่ ง ๆ ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ขี องตนให้เต็มศกั ยภาพและประสานสัมพันธ์กัน กลายเปน็ พลัง ของชมุ ชนท่พี ร้อมจะร่วมกันเพ่อื พัฒนาชุมชนของตนต่อไป 2. ทฤษฎโี ครงสร้างและหนา้ ที่ เชอ่ื วา่ สังคมจะดารงอยู่ไดน้ ั้น ระบบสังคมจะต้องมี เปูาหมายรว่ มกัน มีการปรับตวั ในลกั ษณะบูรณาการ และควบคมุ สังคมไมใ่ หเ้ กดิ ความตึงเครยี ดหรอื ความ ขดั แยง้ และเช่อื วา่ สงั คมตอ้ งมีการปรับตวั อยตู่ ลอดเวลาตามสภาวะของการเปลยี่ นแปลงทางสงั คมท่เี กิด อย่ตู ลอดเวลา ซง่ึ สามารถนาไปใชเ้ ป็นแนวทางในการวางแผน โครงการ และการดาเนนิ งานพัฒนาชุมชน ได้ โดยใหแ้ ผนงาน โครงการ มีลกั ษณะยืดหยุ่นสามารถปรบั ปรงุ เปล่ยี น แปลงในด้านตา่ งๆ ขึ้นได้ ตลอดเวลาและพยายามหลีกเล่ยี งไมใ่ หเ้ กิดขอ้ พิพาทหรือความขดั แย้งข้นึ 3. ทฤษฎีโครงสร้างและหน้าท่ี เชอ่ื วา่ สงั คมทีส่ ามารถดารงอย่ไู ดห้ รอื สังคมท่ีพัฒนาแลว้ นั้น เปน็ สังคมที่มีดุลภาพ หรือมีความสมดลุ ในการพัฒนาชุมชนก็ควรดาเนนิ การใหช้ มุ ชนเปาู หมายเปน็ ชุมชนทีม่ ีดลุ ภาพ 4. ทฤษฎีโครงสรา้ งและหนา้ ที่ เชือ่ วา่ ระบบสังคมระบบวัฒนธรรมมีความสัมพนั กธัน์ และมี ผลต่อการปรบั ตวั ของบุคคลใน 5 ลกั ษณะ คอื ทาตามระเบยี บ ฝุาฝนื ระเบยี บ ยึดกฎระเบยี บละทิง้ สังคม และพยายามเปลยี่ นแปลงสงั คม ซ่ึงเปน็ ประโยชนต์ อ่ การพัฒนาชมุ ชนมาก เพราะเป็นแนวทางในการ ดาเนนิ กล่มุ เปูาหมายและแนวทางในการพฒั นา โดยเฉพาะการใชร้ ะบบสังคมและระบบวฒั นธรรมเปน็ เคร่ืองมอื ในการพฒั นาชมุ ชนใหป้ ระสบความสาเร็จ แนวคิดเกย่ี วกับอาสาสมคั รป้องกันภยั ฝา่ ยพลเรอื น 1. แนวคดิ เกย่ี วกับการป้องกนั ฝ่ายพลเรือน พชิ ัย รตั นผล ตาแหนง่ รองเลขาธิการสภาความมั่นคงแหง่ ชาติ กล่าวเมือ่ วันที่ 25 สิงหาคม 2531 วา่ อาจแบง่ การปอู งกนั ภัยฝาุ ยพลเรอื นตามสถานการณท์ ีเ่ ป็นจรงิ ได้ 2 รปู แบบ คือ การ ปูองกันภัยฝาุ ยพลเรือนท่เี กิดจากสาธารณภยั และการปอู งกันภยั ฝุายพลเรือนทเ่ี กดิ จากภยั คุกคาม 1.1. การปูองกันภยั ฝุายพลเรือนทีเ่ กดิ จากสาธารณภยั พระราชบญั ญัติปูองกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ.2550 ใหค้ วามหมายของสาธารณภัย วา่ หมายถงึ อคั คีภัย วาตภยั อทุ กภยั ภยั แลง้ โรคระบาดในมนุษย์ โรคระบาดสัตว์ โรคระบาดสตั วน์ า้ การ ระบาดของศัตรูพืช ตลอดจนภัยอ่ืนๆ อันมผี ลกระทบต่อสาธารณชน ไม่วา่ เกิดจากธรรมชาติ มีผทู้ าให้
15 เกดิ ขึ้น อุบตั ิเหตุ หรือเหตุอ่นื ใด ซง่ึ ก่อให้เกิดอนั ตรายแกช่ ีวิต ร่างกายของประชาชน หรอื ความเสียหายแก่ ทรัพย์สนิ ของประชาชน หรอื ของรฐั และให้หมายความรวมถึงภยั ทางอากาศ และการก่อวินาศกรรมดว้ ย “ภัยทางอากาศ” หมายความว่า ภยั อันเกดิ จากการโจมตที างอากาศ “การกอ่ วินาศกรรม” หมายความว่า การกระทาใดๆ อนั เปน็ การมุ่งทาลายทรพั ย์สินของ ประชาชนหรือของรัฐ หรอื สิ่งอันเปน็ สาธารณูปโภค หรือการรบกวน ขัดขวางหนว่ งเหนย่ี วระบบการ ปฏบิ ัติงานใดๆ ตลอดจนการประทุษร้ายตอ่ บคุ คลอันเปน็ การก่อให้เกดิ ความปัน่ ปุวนทางการเมืองการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดยมุง่ หมายที่จะก่อใหเ้ กดิ ความเสยี หายต่อความมั่นคงของรฐั ซ่ึงเราจะเห็นไดว้ า่ ภยั ฝุายพลเรอื นท่ีเกิดจากสาธารณภยั น้ี เปน็ ปัญหาและขอ้ เทจ็ จรงิ ที่ เปน็ รูปธรรมแสดงให้เหน็ ถึงผลกระทบตอ่ ความม่ันคงในส่วนที่เกีย่ วกับสวสั ดภิ าพความมั่นคงปลอดภยั ใน ชวี ติ และทรพั ย์สิน และความกินดอี ยดู่ ขี องประชาชนโดยสว่ นรวม และอาจนาไปสู่ผลกระทบต่อความ ม่ันคงในส่วนทเี่ ก่ียวกบั ระบอบการปกครองของรัฐกไ็ ด้ หากฝุายบ้านเมอื งไม่สามารถแก้ไขปัญหาและ บรรเทาความเดือดรอ้ นทีเ่ กดิ ขนึ้ ได้ จนประชาชนขาดศรัทธาและความเชอื่ มั่นต่อรฐั บาล แต่เทา่ ท่ผี า่ นมา ท่านทั้งหลายไดท้ าหนา้ ทีไ่ วอ้ ย่างดยี ิ่ง สามารถแก้ไขสถานการณท์ เี่ กดิ ข้นึ ได้ทุกครั้ง 1.2 การปอู งกนั ภยั ฝุายพลเรอื นท่เี กิดจากภัยคกุ คาม การปูองกันภัยฝาุ ยพลเรอื นท่เี กดิ จากภยั คกุ คามหรือจะกล่าวอกี นัยหนง่ึ ว่า ภัยฝุาย พลเรือนทีเ่ กดิ จากการกระทาของมนษุ ย์ ท่ีม่งุ กระทาเพื่อก่อใหเ้ กิดผลเสียหายตอ่ ชมุ ชน สังคม เพ่อื สรา้ ง สถานการณค์ วามระสา่ ระส่ายใหแ้ กบ่ ้านเมอื ง หรอื ชมุ ชน สงั คมในเขตพ้นื ทห่ี น่งึ ทจี่ ะขอเรียกภยั ลักษณะนวี้ า่ ภัยคกุ คามเฉพาะพนื้ ท่ี นอกจากน้ันภยั คุกคามอาจจะเกดิ ขนึ้ อยา่ งกว้างขวางเกอื บท้ัง ประเทศหรอื ท้งั ประเทศ ซ่งึ ทา่ นท้ังหลายคงทราบดีวา่ นคี้ ือภยั สงคราม ซึง่ แบ่งออกเป็น 2 ลกั ษณะคือ ภัยคุกคามเฉพาะพ้ืนท่ี และภัยสงคราม 2. องค์ประกอบของ อาสาสมคั รป้องกันภยั ฝ่ายพลเรอื น ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา่ ดว้ ยกจิ การอาสาสมคั รปูองกนั ภยั ฝาุ ยพลเรือน พ.ศ. 2553 (2553,หนา้ 7) ข้อ 20 ให้ผอู้ านวยการท้องถน่ิ เปน็ ผูอ้ านวยการศูนย์ อปพร. ดังน้ี (1) ใหน้ ายกเทศมนตรี เป็นผู้อานวยการศูนย์ อปพร. เทศบาล รองนายกเทศมนตรีซ่งึ นายกเทศมนตรมี อบหมาย เป็นรองผ้อู านวยการศูนย์ อปพร. เทศบาล ปลดั เทศบาล เปน็ ผูช้ ว่ ยอานวยการ ศูนย์ อปพร. เทศบาล และสานักปลดั เทศบาล เป็นศูนย์ อปพร. เทศบาล โดยให้เจ้าหนา้ ทีข่ องสานัก ปลัดเทศบาล เป็นเจา้ หน้าทีป่ ระจาศนู ย์ (2) ให้นายกองค์การบริหารส่วนตาบล เปน็ ผูอ้ านวยการศนู ย์ อปพร. องค์การบรหิ ารส่วน ตาบล รองนายกองคก์ ารบริหารส่วนตาบล ซง่ึ นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลมอบหมาย เปน็ รอง ผู้ อานวยการศูนย์ อปพร. องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล ปลัดองค์การบริหารสว่ นตาบล เป็นผู้ชว่ ยผ้อู านวยการ ศูนย์ อปพร. องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล และสานกั ปลัดองค์การบรหิ ารสว่ นตาบลเปน็ ศูนย์ อปพร. องค์การ บรหิ ารสว่ นตาบล โดยใหเ้ จา้ หนา้ ที่ของสานกั ปลัดองค์การบรหิ ารส่วนตาบลเปน็ เจ้าหน้าท่ปี ระจาศูนย์ ศูนย์ อปพร. ตน้ แบบ (2550,หน้า 2-10) องคป์ ระกอบของศูนยอ์ าสาสมคั รปูองกนั ภยั ฝาุ ยพลเรือนมีการจดั การตามภารกิจหน้าท่ี ซึ่งไดม้ กี ารแบบองคป์ ระกอบทส่ี าคญั 4 ดา้ น คอื
16 2.1 องคป์ ระกอบดา้ นสถานที่ ควรมสี ถานทีเ่ ป็นสดั สว่ นเฉพาะ โดยอาจแยกออกเปน็ อาคารเอกเทศตา่ งหากหรือไม่ แยกกไ็ ด้ แตท่ งั้ นีภ้ ายในศูนย์ อปพร. จะต้องมีการจัดพนื้ ท่ีแยกส่วนตามภารกจิ ตา่ ง ดงั น้ี 2.1.1 หอ้ งอานวยการ 2.1.2 ห้องสื่อสาร 2.1.3 ส่วนบรกิ ารประชาชน 2.1.4 ห้องเก็บรักษาเครอ่ื งมอื และอปุ กรณ์ 2.1.5 หอ้ งสุขา และหอ้ งนา้ 2.1.6 อาคารจอดรถกภู้ ัยและรถดบั เพลิง 2.2 องคป์ ระกอบด้านการบรหิ ารจัดการ การจัดต้งั ฝุายและการดาเนนิ งานฝาุ ยตา่ ง ๆ ภายในศูนย์ อปพร. ระเบียบกระทรวง มหาดไทยวา่ ดว้ ยหนว่ ย อปพร. พ.ศ. 2547 กาหนดใหศ้ นู ย์ อปพร. ตอ้ งจดั ตัง้ ฝาุ ยขนึ้ ในศนู ย์ อปพร. เปน็ 5 ฝุาย คอื 2.2.1 ฝุายปูองกันและบรรเทาภยั 2.2.2 ฝุายสงเคราะหป์ ระสบภยั 2.2.3 ฝุายรักษาความสงบเรียบร้อย 2.2.4 หน่วยปฏิบัติการกู้ภยั ตามโครงการหนึง่ ตาบลหนงึ่ ทีมกูช้ ีพก้ภู ัย เพอ่ื เฉลมิ พระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั เนอื่ งในโอกาสมหามงคลเฉลิมพรรษา 80 พรรษา 5 ธนั วาคม 2550 2.2.5 ฝาุ ยอืน่ ๆ ตามความจาเป็นโดยมีการแต่งต้งั หัวหน้าฝุายเพอ่ื ชว่ ยเหลือ ผอู้ านวยการศนู ย์ อปพร. ในการบงั คบั บัญชาสมาชกิ อปพร. และแต่งตงั้ สมาชิก อปพร. บรรจุในฝุายต่าง ๆ รวมทงั้ ระบุหน้าทขี่ องแต่ละฝุาย ซึง่ จะทาใหส้ มาชกิ อปพร. แตล่ ะคนได้ทราบบทบาทหน้าท่ขี องตน 2.3. องค์ประกอบดา้ นการบริการประชาชน ศนู ย์ อปพร.ควรทาหน้าท่เี ป็นแหลง่ วิชาการด้านการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย ใหแ้ กค่ นในชุมชน โดยจดั เปน็ มมุ ความรู้ให้มีเอกสารตา่ ง ๆ เกยี่ วกบั ภยั พิบตั ใิ นประเทศ ภัยพบิ ัตทิ ีม่ ี โอกาสเกิดขนึ้ ในพนื้ ทีเ่ พือ่ เผยแพรใ่ ห้ชมุ ชนเกดิ ความตระหนกั รว่ มมือ ร่วมดาเนนิ การ และดาเนินชวี ิตอยู่ กบั ภยั พิบัติเหลา่ นนั้ ดว้ ยความไมป่ ระมาท ท้งั นี้ อาจจะมีการแจกจ่าย หรอื สนับสนนุ เครือ่ งมอื อปุ กรณ์ กู้ภยั ขัน้ ตน้ หรือเครื่องดบั เพลิง เคร่อื งมอื อุปกรณร์ ักษาพยาบาลเบอ้ื งตน้ พรอ้ มทงั้ จดั ทมี ออกบริการ ตามทไ่ี ดร้ ับการรอ้ งขอสาหรบั กิจกรรมของ อปพร. ในการบรกิ ารประชาชน ได้แก่ 2.3.1 จดั สมาชิก อปพร. เข้ารว่ มจัดระเบียบจราจร และดูแลความสงบเรยี บรอ้ ย ในเทศกาลต่าง ๆ ในเขตทอ้ งทร่ี ับผิดชอบ 2.3.2 ออกตรวจรว่ มกับเจ้าหนา้ ทีต่ ารวจ ในการปูองกันเหตุตา่ ง ๆ ในพ้นื ท่ี และ ดแู ลรกั ษาความสงบเรียบรอ้ ยภายในชมุ ชน 2.3.3 จัดกิจกรรมรณรงค์การปูองกันและลดอบุ ัติเหตุทางถนนในชว่ งเทศกาล สาคญั 2.3.4 จัด อปพร. สายตรวจจักรยาน หรือจดั สายตรวจ อปพร. ดูแลความสงบ เรยี บรอ้ ยภายในหมู่บา้ นและชุมชน
17 2.3.5 จดั ทมี อปพร. ผลัดเปลีย่ นอยูเ่ วรประจาตลอด 24 ชวั่ โมง เพื่อปฏิบตั หิ น้าที่ ช่วยเหลือผูป้ ระสบภยั ตา่ ง ๆ ให้พรอ้ มออกปฏิบตั ิงานช่วยเหลือไดท้ นั เหตุการณ์ รวมทงั้ เฝูาระวังและแจง้ เตอื นภยั ในชว่ งเกดิ อุทกภัยและดนิ โคลนกลม่ 2.4 องค์ประกอบด้านสวสั ดิการ สมาชกิ อปพร. เป็นอาสาสมคั รท่ีเสยี สละเข้ามาปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีโดยไม่หวังผลประโยชน์ตอบ แทนใด ๆ เพื่อเป็นขวญั กาลงั ใจแกส่ มาชกิ อปพร. ท่ีปฏบิ ตั ิ งานด้วยความเสียสละ โดยสมาชิก อปพร. จะ ไดร้ ับสทิ ธิ สวสั ดกิ าร และการชว่ ยเหลือ ดังนี้ 2.4.1 ค่าใชจ้ ่ายในการเดินทางไปปฏิบตั หิ น้าทข่ี อง อปพร. 2.4.2 การช่วยเหลือคา่ รกั ษาพยาบาล ค่าชดเชยสงเคราะห์ และค่าจดั การศพ 2.4.3 การยกยอ่ งเชิดชเู กยี รติสมาชกิ อปพร. 2.4.4 การเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ อันเปน็ ที่สรรเสริญย่ิง ดเิ รกคุณาภรณ์ 2.4.5 การได้รับลดหย่อนคา่ โดยสารรถไฟ แนวทางมาตรการปอ้ งกนั อุบัติเหตุบนท้องถนน 1. มาตรการ 3 ม. แบง่ ออกเปน็ 3 ลักษณะ คือ 1.1 ม.1 หมายถงึ มาตรการควบคมุ ท่ใี ห้ผ้ขู ับขีย่ านพาหนะมจี ิตสานึก เกดิ ความ ตระหนกั ต่อความปลอดภัยตอ่ ชวี ิตและทรพั ยส์ ินของตนเองและของผอู้ ่ืน และการปฏบิ ัติตามกฎหมายท่ี ไดก้ าหนดข้ึน เพ่ือปูองกนั การเกิดอุบัติเหตจุ ากสาเหตุการดื่มสรุ าหรอื เคร่อื งด่ืมที่มีแอลกอฮอล์ในขณะใช้ รถใช้ถนน 1.2 ม. 2 หมายถงึ มาตรการควบคุมการปอู งกันให้ผทู้ ่ีขบั ข่รี ถ จกั รยานยนต์และผู้ซอ้ น เกิดความปลอดภัยในระหวา่ งขบั ขี่ โดยการสวมหมวกนริ ภัย เพอ่ื ปูองกันการเกดิ อบุ ัติเหตใุ นการใชร้ ถใช้ ถนนรว่ มกบั ยานพหานะชนิดอ่ืน ๆ ตลอดจนเพ่อื ทาใหช้ ว่ ยลดการบาดเจ็บลง 1.3 ม. 3 หมายถงึ มาตรการควบคมุ ทก่ี าหนดให้ผ้ทู ่มี ียานพาหนะในครอบครองต้อง นายานพาหนะทีส่ ภาพสมบูรณต์ ามกฎหมายกาหนดในการนาออกมาขบั ข่ีบนท้องถนน เพอ่ื ปูองกันการเกดิ อุบตั เิ หตุ และความปลอดภยั ในชวี ติ และทรพั ย์สินของตนเองและของผอู้ ืน่ 2. มาตรการ 2 ข. แบ่งออกเปน็ 2 ลกั ษณะ คอื 2.1 ข 1 หมายถงึ มาตรการควบคุมท่ีใหผ้ ูข้ บั ขยี่ านพาหนะที่ใช้ความเร็วจะตอ้ งมี ใบขบั ข่ี เพอื่ แสดงถงึ การมคี วามรู้ความสามารถความเข้าใจในเรื่องการขับขีย่ านพาหนะของประเภทต่าง ๆ และกฎหมายจารจร เพ่อื เปน็ การปฏิบตั ิตามกฎหมายของการใชร้ ถใช้ถนนในการขับข่ที กุ คนต้องมีใบขบั ขี่ จงึ ถอื ว่าขบั รถอยา่ งถกู ตอ้ งตามระเบียบและคุณสมบัตทิ ่กี ฎหมายกาหนด 2.2 ข 2 หมายถึง มาตรการควบคมุ ทก่ี าหนดให้ผขู้ ับขแ่ี ละผู้โดยสารในยานพาหนะ ประเภทรถยนต์คาดเขม็ ขัดนิรภยั เพื่อปูองกนั จะลดการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากการเกดิ อบุ ตั ิเหตุ และ เป็นการรกั ษาชีวิตและทรพั ยส์ นิ ของผู้ใชร้ ถใชถ้ นนและผอู้ ่ืน ตลอดจนเป็นการปฏิบตั ิตามกฎหมายทีไ่ ด้ กาหนด
18 3. มาตรการ 1ร. หมายถึง มาตรการควบคมุ ใหผ้ ูข้ บั ขีย่ านพาหนะบนถนนทอ้ งไมใ่ หข้ ับรถด้วยความเรว็ เกินกว่ากฎหมายได้กาหนดไว้ และเปน็ การปูองกันไม่ให้เกิดอุบัติเหตจุ ากการขับรถเร็ว ส่งผลใหเ้ กิดความ เสยี หายตอ่ ชีวิตและทรัพยส์ ินของตนเองและผอู้ ่ืน งานวิจัยทีเ่ กย่ี วข้อง มณีทิพย์ วีระรตั นมณี ( 2536,บทคัดย่อ) ได้ศกึ ษาทศั นะของบคุ คลท่เี ก่ยี วขอ้ งตอ่ การ บังคับใชห้ มวกนิรภยั : ศกึ ษาเฉพาะกรณีเขตอาเภอเมือง จังหวัดภเู กต็ โดยมีวัตถปุ ระสงค์เพอื่ ศกึ ษา ทศั นะของผทู้ ่มี สี ่วนเก่ยี วขอ้ งตอ่ การบงั คบั ใชห้ มวกนิรภยั และผลกระทบในการปฏิบัติตามเม่ือมีการบังคบั ใชห้ มวกนริ ภัยประเด็นปญั หาและอปุ สรรในการปฏบิ ตั ติ ามข้องบงั คบั โดยแยกกลุ่มศกึ ษา 4 กลุม่ คอื กลุม่ ผขู้ ่จี ักรยานยนต์ทั่วไปมภี มู ิลาเนาในเขตเมือง กลุม่ ทสี่ องผูข้ ่ีจักรยานยนต์ทั่วไปที่ ประสบอบุ ตั ิเหตใุ น เขตอาเภอเมือง กลมุ่ ทส่ี ามเจา้ หน้าท่ีระดับปฏบิ ัติการ ไดแ้ ก่ ตารวจ แพทย์ พยาบาล เจ้าหนา้ ทีม่ ูลนิธิ และกล่มุ ที่ส่ีผูผ้ ลักดนั ระดับนโยบาย ได้แก่ คณะกรรมการ ผู้บงั คับการตารวจ นักวชิ าการจานวน312 คน เครอ่ื งมอื ที่ใชใ้ นการวิจยั เป็นแบบสมั ภาษณ์ การวเิ คราะหผ์ ลการศกึ ษาใชค้ อมพวิ เตอรส์ าเรจ็ รปู โดยใช้ สถติ ิการวเิ คราะหค์ วามแปรปรวนทางเดียว และการทดสอบความสัมพันธ์ดว้ ยค่า Chi-Square ในการ ทดสอบสมมตฐิ านการศกึ ษา แล้วนาผลการศกึ ษาทไี่ ดม้ าประกอบในการอธิบาย ผลการศึกษา ด้าน ความรสู้ าเหตุการเกิดอุบตั ิเหตุและดา้ นความคิดเห็นพบว่า กลมุ่ เจ้าหน้าท่ีมีความร้สู าเหตกุ ารเกิดอุบัติเหตุ และด้านความคดิ เหน็ มากวา่ กลมุ่ ผู้ข่จี กั รยานยนต์ทัว่ ไปและกลุ่มผ้ขู บั ข่ีทปี่ ระสบอุบตั ิเหตุ ส่วนการบงั คับ ใชห้ มวกนิรภัยพบวา่ กลุม่ เจา้ หน้าท่เี ห็นด้วยมากกว่าผู้ขีจ่ กั รยานยนตท์ วั่ ไปและกลุม่ ผขู้ ับข่ีทป่ี ระสบ อุบัตเิ หตุทว่ั ไปทม่ี คี วามไม่แนใ่ จในการแสดงความคดิ เห็นตอ่ การบังคบั ใช้หมวกนริ ภยั จากการทดสอบทาง สถติ พิ บวา่ กลุ่มท้ัง 3 กลุ่มมีความรู้เก่ยี วกับสาเหตกุ ารเกิดอบุ ตั ิเหตจุ ากรถจักรยานยนต์ทีไ่ ม่แตกตา่ งกัน ส่วนด้านทศั นะต่อแนวทางแกไ้ ขอบุ ตั เิ หตจุ ากรถจกั รยานยนต์พบวา่ มีความแตกตา่ งกันอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติทีร่ ะดับ 0.0009 และสาหรับทศั นะตอ่ การบงั คบั ใช้หมวกนริ ภยั พบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมี นยั สาคญั ทางสถิติท่รี ะดับ 0.0001 จากการสัมภาษณก์ ล่มุ ผู้ผลกั ดันนโยบายพบว่า เหน็ ดว้ ยกับการขยาย พ้ืนทบ่ี ังคับใชห้ มวกนิรภัย และการเรม่ิ จากการรณรงคป์ ลูกจิตสานึกใหป้ ระชาชน อทุ ยั ลือชยั ( 2543,บทคดั ย่อ) ไดศ้ กึ ษาทัศนคตขิ องประชาชนจงั หวัดเชยี งใหมต่ ่องาน ปูองกันภยั ฝาุ ยพลเรอื น มีวตั ถุประสงคเ์ พอ่ื ทราบถึงทศั นคติในภาพรวมของประชาชนท่ีมีต่อการปูองกนั ภยั ฝาุ ยพลเรอื น และหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตวั แปรตาม โดยใช้แบบสอบถามประชากร กลมุ่ ตวั อย่างได้แก่ประชาชนทอ่ี ยู่ในพน้ื ท่ี จานวน 256 คน กาหนดการวเิ คราะหร์ ะหวา่ งตวั แปรที่กาหนด วา่ มคี วามสัมพันธต์ ่อกันอยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และสถติ ทิ ใ่ี ช้ในการวิเคราะหไ์ ดแ้ ก่ ค่าไคสแคว์ ผลการวิจัยพบวา่ ประชาชนในกลมุ่ อาชพี ทีแ่ ตกต่างกนั มีทัศนคติตอ่ การปอู งกนั ภยั ฝุายพลเรือน ในระดบั ที่ แตกต่างกันอยา่ งมีนัยสาคัญทางสถิติทรี่ ะดับ .05 และระดบั การศกึ ษาของประชาชนท่ีแตกตา่ งกนั ออกไป มีความสัมพันธ์ต่อทศั นคตติ ่อทศั นคติท่ีมีตอ่ การปูองกนั ภัยฝุายพลเรอื นอย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติท่ีระดับ ทางสถิตทิ ่รี ะดับความเช่ือม่นั 95% โดยกลมุ่ ตัวอยา่ งที่มกี ารศกึ ษาในระดบั ท่ีสูงกว่าจะมีทศั นคติในเชิงลบ ต่อการปูองกนั ภยั ฝุายพลเรอื นมากกวา่ กลุม่ ผู้มีการศึกษาในระดบั ต่าลงมา
19 พิชิต ตนั ตศิ ักด์ิ ( 2544,บทคัดย่อ) ไดศ้ ึกษาเกย่ี วกบั บทบาทของอาสามสมัครปอู งกนั ภยั ฝุายพลเรอื นเทศบาลนครเชียงใหม่ วตั ถปุ ระสงค์เพื่อศกึ ษาถึงมลู เหตุจูงใจในการเข้าเป็น อปพร. ของ ประชาชน และศึกษาบทบาทของ อปพร. ทมี่ ีตอ่ สงั คม และท่มี ีต่อการเมอื งท้องถนิ่ กล่มุ ตัวอยา่ งเปน็ สมาชิก อปพร.ในพน้ื ท่ี จานวน 200 นาย โดยใช้ แบบสอบถาม ผลการศกึ ษาพบว่า มลู เหตุจูงใจให้เขา้ มาเปน็ อปพร. ไดแ้ ก่ การเสยี สละในการชว่ ยเหลอื ต่อสงั คม การมสี ทิ ธแิ ตง่ เครอื่ งแบบและประดับ เครอ่ื งหมาย และการพกปืนและวิทยสุ อื่ สาร สว่ นบทบาทพบวา่ อปพร.ไมม่ สี ่วนช่วยเหลอื นกั การเมือง และการแบง่ ฝุาย อปพร.ไมไ่ ด้เปน็ เพราะนักการเมอื ง แตค่ วามสาเร็จหรือไม่ ไมไ่ ดข้ ้นึ อยูก่ บั การใหค้ วาม ช่วยเหลอื ของนักการเมืองท้องถ่นิ และระดับการศกึ ษาของสมาชกิ อปพร.มีอทิ ธิพลตอ่ บทบาทหนา้ ท่ี อปพร. และเพศ อายุ รายได้ ระดับการศกึ ษาของสมาชิก อปพร. มอี ิทธพิ ลต่อการเมอื งท้องถน่ิ ผลที่ไดจ้ ากการศึกษาตามแนวคดิ และทฤษฎแี ละงานวจิ ัยที่เกยี่ วข้องข้างตน้ สรปุ ไดว้ ่า ประชาชนท่เี ป็นผู้ขับขีย่ านพาหนะ ที่มีเพศ อายุ อาชพี และระดบั การศึกษาต่างกัน ยอมรับต่อการ ปฏบิ ัตงิ านของ อปพร. ที่มตี ่อประชาชนตามมาตรการ 3 ม 2 ข 1 ร ซงึ่ การสรุปดงั กลา่ วนาไปสสู่ มมตุ ิฐาน เกี่ยวกับความสมั พันธ์ระหว่าง เพศ อายุ อาชพี และระดบั การศกึ ษา ของประชาชนท่ีเป็นผ้ขู ับข่ี ยานพาหนะ กับผลการยอมรับตอ่ การปฏบิ ตั งิ านของ อปพร. ท่ีมตี อ่ ประชาชนตามมาตรการ 3 ม 2 ข 1 ร. ทงั้ 3 ด้าน คือ ด้านความรู้ ด้านบริการ และด้านการมสี ่วนร่วมได้ว่า สมมติฐาน การดาเนนิ งานของอาสาสมคั รปอู งกนั ภัยฝาุ ยพลเรอื น ทอ่ี ยู่ในเขตเทศบาลเมอื ง เทศบาลตาบล และองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล ตามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณศี กึ ษาประชาชนที่ใช้ ยานพาหนะบนทอ้ งถนนในพื้นท่ีจงั หวดั สระบุรี มปี ระสทิ ธผิ ลในท่ีแตกต่างกัน ตวั แปรตาม คอื การปฏิบตั ิงานของ อปพร. ทม่ี ีต่อประชาชนตามมาตรการ3 ม 2 ข 1 ร แบ่งออกเป็น 3 ด้าน คอื ด้านความรู้ ด้านบรกิ าร และด้านการมสี ว่ นร่วม ตวั แปรอสิ ระ คอื สถานภาพบคุ คล ทใี่ ชย้ านพาหนะ ได้แก่เพศ อายุ อาชพี และระดับ การศกึ ษา
20 กรอบแนวคดิ ภาพที่ 2.1 : ความสมั พันธร์ ะหวา่ งสถานภาพบุคคล ทใ่ี ชย้ านพาหนะ ได้แก่ เพศ อายุ อาชีพ และระดบั การศึกษา ของ ประชาชนทใ่ี ช้ยานพาหนะ บนทอ้ งถนนในพนื้ ท่ีจังหวดั สระบรุ ี กบั ประสิทธิผลในการปฏิบตั ิงานของ อปพร. ตามมาตรการ 3 ม 2 ข 1 ร ท้ัง 3 ด้าน คอื ดา้ นความรู้ ดา้ น บรกิ าร และดา้ นการมีสว่ นร่วม ตวั แปรอสิ ระ ตัวแปรตาม สถานภาพบคุ คล ประสทิ ธิผลในการปฏิบตั ิงานของ อปพร. ทมี่ ตี อ่ ประชาชนตามมาตรการ 3 ม 2 ข 1ร 1. เพศ แบง่ ออกเป็น 3 ดา้ น คอื 2. อายุ 1. ดา้ นความรู้ 2. ดา้ นบริการ 3. อรระาูปดชภับีพากพารศึกษา 3. ดา้ นการมสี ่วนรว่ ม 4. กรอบแนวคิดขา้ งต้นแสดงถงึ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสถานภาพบุคคล ทใี่ ชย้ านพาหนะ บน ท้องถนนในพน้ื ท่ีจังหวดั สระบุรี ไดแ้ ก่ เพศ อายุ อาชีพ และระดบั การศึกษา ยานพาหนะ กับประสทิ ธผิ ล ในการปฏบิ ัติงานของ อปพร. ตามมาตรการ 3 ม 2 ข 1 ร ทง้ั 3 ด้าน คือ ด้านความรู้ ดา้ นบรกิ าร และ ด้านการมีส่วนรว่ ม ภายใต้แนวความคดิ เรื่องประสิทธผิ ล ของ ธงชัย สันตวิ งษ์ (2538) Steers (1977) และ Robbins (1983 ) แนวคิดเรอ่ื งระบาดวทิ ยาของอบุ ัติเหตุจารจรทางบก ของสภุ าวดี พุทธลอด (2542) แนวคดิ เรือ่ งความสูญเสยี จากอุบัตเิ หตุจราจรทางบก ของสภุ าวดี พทุ ธลอด (2542) ทฤษฏกี ารมีส่วนร่วม ของปรชิ าติ วลิ ยั เสถยี ร และคณะ (2548) สากล สถติ วทิ ยานนั ท์ (2532) ทนงศกั ดิ์ คุ้มไข่น้า (2546) และเฉลมิ เกิดโมลี (2543) ทฤษฏโี ครงสร้างหน้าท่ี ของ สกุล วงษ์กาฬสินธุ์ .(2549 ) แนวคดิ เรื่อง อาสาสมัครปอู งกนั ภัยฝาุ ยพลเรือน ของพิชัย รตั นผล (2531 ) พระราชบญั ญัตปิ ูองกนั และบรรเทาสาธารณ ภยั พ.ศ.2550 (2550 ) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยกจิ การอาสาสมคั รปอู งกนั ภัยฝุายพลเรอื น พ .ศ. 2553 (2553) และงานวจิ ยั เรอื่ งทศั นะของบคุ คลท่เี กีย่ วข้องต่อการบังคบั ใช้หมวกนิรภยั : ศกึ ษาเฉพาะ กรณเี ขตอาเภอเมอื ง จังหวดั ภเู กต็ ของมณที ิพย์ วีระรตั นมณี ( 2536) งานวจิ ัยเรอื่ งทัศนคติของประชาชน จงั หวัดเชียงใหม่ต่องานปอู งกนั ภัยฝุายพลเรือน ของ อุทัย ลอื ชัย ( 2543) และงานวิจยั เรือ่ งบทบาทของ อาสามสมัครปูองกันภัยฝาุ ยพลเรอื นเทศบาลนครเชียงใหม่ ของพิชติ ตนั ติศักดิ์ (2544)
21 บทที่ 3 ระเบยี บวิธีวิจัย เนื้อหาของบทเปน็ การอธิบายถงึ วธิ กี ารวิจัยสาหรับการศึกษาในครงั้ น้ี ซ่งึ ใช้การวิจัยเชงิ ปริมาณ ประกอบดว้ ย ประชากรและตวั อย่าง เครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการศกึ ษา การเก็บรวบรวมข้อมลู การแปร ผลขอ้ มูล และวิธกี ารทางสถิตสิ าหรบั ใช้ในการวเิ คราะหแ์ ละการทดสอบสมมุติฐานเรอ่ื งความสมั พนั ธ์ ระหว่างตัวแปรทีก่ าหนดข้ึน ประชากร ประชากรทีใ่ ช้ศกึ ษา คอื ประชาชนทีอ่ าศยั อยู่ในพื้นที่ จานวน 13 อาเภอ จงั หวดั สระบรุ ี มีประชากรทัง้ ส้ิน 625,689 คน (ขอ้ มูล ทว่ั ไปของจังหวัดสระบรุ ี,2556 หน้า 2) กลุ่มตัวอย่าง ตวั อย่างท่ีใช้ศกึ ษาคือประชาชนท่ีขับขยี่ านพาหนะในพื้นท่จี ังหวดั สระบรุ ี จานวน 384 คน เพอ่ื ใหไ้ ดข้ ้อมูลในการศึกษาท่ีมคี วามสมดุลกนั ผูศ้ ึกษาจงึ ไดแ้ บ่งกลุม่ ตวั อยา่ งออกเปน็ เท่า ๆ กันประกอดบ้วย เขตเทศบาลเมอื ง 128 คน เขตเทศบาลตาบล 128 คน เขตองค์การบริหารสว่ นตาบล 128 คน การ กาหนดกล่มุ ตัวอยา่ งโดยวิธีเปิดตารางของ Krejcie แ ละ Morgan (สุวมิ ล ติรกานนั ท์, 2548 หนา้ 179) การแบง่ กล่มุ ตวั อยา่ งแบบหลายขนั้ ตอน โดยเลอื กกลมุ่ ตวั อยา่ งด้วยการจับสลากจากอาเภอ และตาบลเพื่อ เลอื กประชากรกลุม่ ตวั อยา่ งในระดบั เทา่ ๆ กัน และการเก็บข้อมูลจากกลมุ่ ตัวอยา่ งใช้วธิ ีการสุม่ แบบ บังเอิญ เครือ่ งมอื ทีใ่ ชใ้ นการศกึ ษา ผูว้ ิจยั ใชแ้ บบสอบถามเป็นเคร่อื งมือเพอ่ื เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลจากตัวอยา่ ง โดยมรี ายละเอยี ด เกย่ี วกับการสรา้ งแบบสอบถามเป็นข้ันตอนดงั น้ี 1. ศึกษาวิธีการสร้างแบบสอบถามจากเอกสาร งานวจิ ัย และทฤษฎีที่เกย่ี วขอ้ ง 2. สรา้ งแบบสอบถามเพอื่ ถามความคดิ เห็นในประเดน็ ตา่ งๆ 2 ประเดน็ คอื 1) ข้อมลู ทั่วไปเกย่ี วกบั ผู้ตอบแบบสอบถาม 2) เปน็ แบบสอบถามเกย่ี วกบั ประสิทธผิ ลการดาเนินงานของ อปพร.ในการปฏิบตั งิ าน ต่อประชาชนตามมาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. 3. นาแบบสอบถามที่ไดส้ รา้ งขึ้นมาเสนอต่ออาจารยท์ ่ีปรกึ ษา เพื่อปรบั ปรุงแก้ไข 4. ทาการปรบั ปรุงแก้ไขและนาเสนอใหอ้ าจารย์ทีป่ รกึ ษาตรวจสอบความถูกตอ้ งอกี คร้ัง หนึ่ง เพ่อื ให้อาจารย์ทปี่ รึกษาอนุมตั ิกอ่ นแจกแบบสอบถาม 5. แจกแบบสอบถามไปยังกลุม่ ตัวอย่าง องคป์ ระกอบของแบบสอบถาม ผูท้ าวจิ ยั ได้ออกแบบสอบถามซ่งึ ประกอบด้วย 2 ส่วนพรอ้ มกบั วธิ ีการตอบคาถาม ดงั ตอ่ ไปน้ี คือ
22 ส่วนท่ี 1 เป็นคาถามเกีย่ วกับขอ้ มูลทั่วไปของผตู้ อบคาถาม ไดแ้ ก่คาถามเกี่ยวกบั เพศ อายุ อาชพี และ ระดบั การศกึ ษา ลักษณะคาถามเป็นคาถามปลายปดิ แบบให้เลือกตอบ ส่วนที่ 2 เปน็ คาถามเกยี่ วขอ้ งกับประสิทธิผลการดาเนินงานของ อปพร.ในการปฏบิ ัตงิ าน การรณรงค์ตามมาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. กรณีศกึ ษาประชาชนผูใ้ ชย้ านพาหนะบนทอ้ งถนน ในพ้ืนที่ จงั หวัดสระบุรี โดยมีคาถาม 3 ดา้ น คอื ด้านความรู้ ด้านบริการ และด้านมสี ว่ นรว่ ม ลกั ษณะเป็น คาถามปลายปดิ โดยคาถามแบง่ เป็น 5 ระดบั ต้ังแต่น้อยท่ีสุดถึงมากท่ีสุด ดงั น้ี 5 หมายถึง ประสิทธิผลดาเนินงานอยู่ในระดับมากท่สี ดุ 4 หมายถึง ประสิทธผิ ลดาเนนิ งานอยูใ่ นระดบั มาก 3 หมายถึง ประสทิ ธิผลดาเนนิ งานอยใู่ นระดับปานกลาง 2 หมายถึง ประสิทธิผลดาเนินงานอยู่ในระดับนอ้ ย 1 หมายถงึ ประสทิ ธิผลดาเนนิ งานอยใู่ นระดับน้อยทสี่ ุด การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ผู้วจิ ยั ไดด้ าเนนิ การเกบ็ ข้อมูลตามข้นั ตอนตอ่ ไปนี้ คอื 1. ผู้วจิ ัยอธิบายรายละเอยี ดเก่ียวกบั เน้ือหาภายในแบบสอบถามและวธิ กี ารตอบแก่ ตวั แทนและทีมงาน 2. ผวู้ ิจยั หรือตวั แทนและทมี งาน เขา้ ไปในสถานทต่ี า่ งๆท่ีต้องการศกึ ษาตามทีร่ ะบไุ ว้ ขา้ งตน้ 3. ผู้วจิ ัยหรือตวั แทนและทีมงาน ได้แจกแบบสอบถามให้กลมุ่ เป้าหมายและรอจนกระท่งั ตอบคาถามครบถ้วน ซงึ่ ในระหว่างนน้ั ถา้ ผูต้ อบมขี ้อสงสยั เกย่ี วกบั คาถาม ผู้วจิ ยั หรือทีมงานจะตอบขอ้ สงสยั น้ัน การแปรผลขอ้ มลู และสถิตทิ ่ใี ช้ในการวิเคราะห์ ผู้ศึกษาวิเคราะหข์ ้อมูลด้วยเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ โดยใชโ้ ปรแกรมสาเรจ็ รปู และดาเนนิ การวเิ คราะหข์ ้อมลู ดงั นี้ 1. ตรวจสอบความสมบูรณข์ องแบบสอบถามทไ่ี ดร้ ับกลับคนื มา ทาการคดั เลือกนาฉบับ สมบูรณ์ไปวเิ คราะหข์ อ้ มลู 2. การจดั ทาขอ้ มูลผูศ้ ึกษาดาเนนิ การวิเคราะหด์ งั ต่อไปนี้ 3. วเิ คราะหส์ ถานภาพของผตู้ อบแบบสอบถาม ตอนที่ 1 โดยการแจกแจงความถ่ี หาค่า รอ้ ยละ 4. วิเคราะห์ระดับประสทิ ธผิ ลการดาเนนิ งานของ อปพร.ในการปฏบิ ตั งิ านการรณรงค์ ตามมาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. กรณศี กึ ษาประชาชนผใู้ ชย้ านพาหนะบนทอ้ งถนน ในพ้นื ท่ีจังหวัดสระบรุ ี ตอนที่ 2 โดยคานวณค่าเฉล่ีย และคา่ เบ่ยี งเบนมาตรฐาน และนามาตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์ 5. เมือ่ ตรวจสอบใหค้ ะแนนเสร็จแลว้ นามาวิเคราะหโ์ ดยคานวณหาค่าเฉล่ยี และสว่ น เบ่ยี งเบนมาตรฐาน ทง้ั โดยรวม รายด้าน และแปลความหมายของคะแนน โดยคานวณคา่ อนั ตรภาคชน้ั เพอ่ื กาหนดช่วงชัน้ ด้วยการใชส้ ตู รคานวณและคาอธิบายสาหรบั แตล่ ะชว่ งช้นั ดังน้ี
23 อันตรภาคช้ัน = คา่ สูงสุด – ค่าตา่ สุด จานวนชัน้ = 5 – 1 = 0.80 ช่วงชน้ั 5 1.00 – 1.80 ระดับนอ้ ยทส่ี ดุ 1.81 – 2.61 ระดบั น้อย คาอธิบายสาหรับการแปลผล 2.62 – 3.42 ระดับปานกลาง/ระดับ 3.43 – 4.23 ระดบั มาก 4.24 – 5.00 ระดบั มากทส่ี ุด 4.24 – 5.00 หมายถึง ประสิทธผิ ลดาเนินงานอยใู่ นระดับมากทีส่ ดุ 3.43 – 4.23 หมายถึง ประสิทธผิ ลดาเนนิ งานอยใู่ นระดับมาก 2.62 – 3.42 หมายถงึ ประสทิ ธิผลดาเนินงานอย่ใู นระดบั ปานกลาง 1.81 – 2.61 หมายถึง ประสิทธผิ ลดาเนนิ งานอยใู่ นระดับน้อย 1.00 – 1.80 หมายถงึ ประสทิ ธผิ ลดาเนนิ งานอยู่ในระดบั น้อยที่สุด 6. วเิ คราะห์เปรยี บเทียบประสทิ ธิผลการดาเนินงานของ อปพร.ในการปฏบิ ตั งิ านการ รณรงค์ตามมาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. กรณศี ึกษาประชาชนผู้ใชย้ านพาหนะบนทอ้ งถนน ในพ้นื ทีจ่ งั หวดั สระบรุ ี ตามวิธีการปอ้ งกันอบุ ัติเหตทุ เ่ี กดิ จากการ ขับขย่ี านพาหนะ โดยใชม้ าตรการ 3 ด้าน คอื ดา้ นการให้ ความรู้ ด้านการใหบ้ ริการ และด้านการมสี ว่ นร่วม โดยการวิเคราะห์คา่ ความแปรปรวนแบบทางเดยี ว ( One-Way Anova ) (สุวมิ ล ติรกานันท์,2548,หน้า 235)
24 บทที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูล บทนี้เป็นการวเิ คราะห์ข้อมลู เพื่อการอธิบายและการทดสอบสมมุตฐิ านท่ีเก่ียวขอ้ งกับตวั แปรแต่ละตัว ซึ่งข้อมูลดงั กลา่ วผู้วิจยั ได้เก็บรวบรวมจากแบบสอบถามท่ีมีคาตอบครบถว้ นสมบรู ณ์ จานวน ทง้ั สน้ิ 384 ชุด คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 ของจานวนแบบสอบถามทัง้ หมด 384 ชุด ผลการวิเคราะห์แบง่ ออกเป็น 3 ส่วน ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 เปน็ ข้อมูลท่ัวไปเก่ียวกบั สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม สว่ นท่ี 2 เป็นขอ้ มูลเกยี่ วกบั ประสทิ ธิผลในการดาเนินงานของ อาสาสมัครปอ้ งกนั ภัย ฝ่ายพลเรือนในการปฏบิ ตั งิ านการรณรงคต์ ามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณีศึกษาประชาชนทใ่ี ช้ ยานพาหนะ บนท้องถนนในพ้นื ทจ่ี ังหวัดสระบรุ ี สว่ นที่ 3 เป็นข้อมลู เก่ียวกับเปรียบเทยี บประสทิ ธผิ ลในการดาเนินงานของอาสาสมัคร ป้องกนั ภัยฝา่ ยพลเรือนในเขตเทศบาลเมอื ง เทศบาลตาบล และองคก์ ารบริหารส่วนตาบล ในการปฏบิ ตั ิงาน การรณรงค์ตามมาตรการ 3 ม.2 ข.1ร. กรณีศกึ ษาประชาชนท่ีใชย้ านพาหนะบนทอ้ งถนนในพน้ื ทจี่ ังหวดั สระบุรี จาแนกตามด้านการใหค้ วามรู้ ด้านการใหบ้ รกิ าร และดา้ นการมสี ่วนรว่ ม ส่วนท่ี 4 สรปุ ผลการทดสอบสมมตุ ฐิ าน สว่ นที่ 1 ขอ้ มลู ท่ัวไปเกีย่ วกับสถานภาพของผ้ตู อบแบบสอบถาม ขอ้ มูลทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถามจาแนกตาม เพศ อายุ อาชพี ระดบั การ ศึกษา ผล การวิเคราะหข์ ้อมูลจากแบบสอบถามของประชาชนที่เปน็ กลุม่ ตัวอยา่ งรวมท้ังสนิ้ 384 คน ผูศ้ ึกษาได้แจก แบบสอบถามใหก้ บั กล่มุ ตวั อยา่ งและไดเ้ กบ็ รวบรวมได้ครบตามจานวน384 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 100 โดยมี รายละเอียดของผ้ตู อบแบบสอบถาม รายละเอยี ดตามตารางที่ 1 ตารางท่ี 1 จานวนและร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตาเมพศ อายุ อาชพี ระดับการศกึ ษา ของประชาชนทีใ่ ช้ยานพาหนะบนท้องถนนในพน้ื ทจ่ี งั หวัดสระบรุ ี ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน (n=384) รอ้ ยละ 1. เพศ 224 58.3 1.1 ชาย 160 41.7 1.2 หญิง 384 100 รวม
25 ตารางท่ี 1 ( ตอ่ ) ข้อมลู ทั่วไปของผตู้ อบแบบสอบถาม จานวน (n=384) ร้อยละ 2. ปจั จบุ ันท่านมีอายุ 56 14.6 2.1 อายุต่ากว่า 20 ปี 136 35.4 2.2 ตัง้ แต่ 20-40 ปี 165 43 2.3 ตง้ั แต่ 41-60 ปี 27 7 2.4 มากกว่า 60 ปี ขึ้นไป 384 100 รวม 82 21.35 3. ท่านประกอบอาชพี 170 44.27 3.1 รับจ้าง 87 22.66 3.2 เกษตรกร 45 11.72 3.3 ค้าขาย 384 100 3.4 อ่ืน ๆ รวม 74 19.3 211 54.9 3. ระดับการศึกษา 99 25.8 3.1 ประถมศกึ ษา 384 100 3.2 มธั ยมศกึ ษา 3.3 ระดับสูงกวา่ มัธยมศกึ ษา รวม จากตารางท่ี 1 พบว่า ข้อมลู ทัว่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม ซงึ่ เป็น ประชาชน ที่ใช้ ยานพาหนะ บนทอ้ งถนนในพ้นื ท่ีจังหวดั สระบุรี ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จานวน 224 คน (ร้อยละ 58.30) ท่ีตอบแบบสอบถาม มากกวา่ ประชาชนท่เี ป็นเพศหญงิ จานวน 160 คน (ร้อยละ 41.70) สว่ นใหญ่ มีอายุ มากกวา่ 40-60 ปี จานวน 165 คน (ร้อยละ 43.00) รองลงมามีอายุ มากกวา่ 20-40 ปี จานวน 136 คน (ร้อยละ 35.40) และประชาชนท่ตี อบแบบสอบถามมีคา่ เฉล่ียอายุตา่ สุด มากกวา่ 60 ปี ข้นึ ไป จานวน 27 คน (รอ้ ยละ 7.00) สว่ นใหญป่ ระกอบอาชีพ เกษตรกร จานวน 170 คน (รอ้ ยละ 44.27) รองลงมามี อาชพี คา้ ขาย จานวน 87 คน (รอ้ ยละ 22.66) และประชาชนท่ตี อบแบบสอบถามทมี่ ีค่าเฉลี่ยของอาชีพ ต่าสดุ คอื อาชีพอ่ืน ๆ จานวน 45 คน (รอ้ ยละ 17.72) สาหรรบั ะดับการศกึ ษาสว่ น ใหญ่ มีการศึกษาอยใู่ น ระดบั มัธยมศกึ ษา จานวน 211 คน (รอ้ ยละ 54.90) รองลงมามีการศึกษาระดับสงู กวา่ มธั ยมศกึ ษา จานวน 99 คน (ร้อยละ 25.80) และประชาชนทต่ี อบ แบบสอบถามมคี ่าเฉลี่ยระดบั การศกึ ษาต่าสดุ คอื ระดับประถมศกึ ษา จานวน 74 คน (ร้อยละ 19.30)
26 สว่ นที่ 2 ประสิทธิผลในการดาเนนิ งานของ อาสาสมคั รป้องกันภยั ฝ่ายพลเรอื น ในการ ปฏิบตั ิงานการรณรงคต์ ามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณีศึกษาประชาชนท่ใี ช้ยานพาหนะบน ท้องถนนในพื้นทจ่ี ังหวดั สระบรุ ี ผลการวิเคราะห์ประสิทธิผลในการดาเนนิ งานของอาสาสมัครปอ้ งกันภัยฝ่ายพลเรือนใน การปฏบิ ัตงิ านการรณรงค์ตามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณศี กึ ษาประชาชนทใ่ี ช้ยานพาหนะบนทอ้ งถนน ในพืน้ ทีจ่ งั หวดั สระบุรี โดยการหาคา่ เฉลีย่ ( X ) และหาคา่ ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ( S.D.) มีรายละเอียด ดังตารางท่ี 2-5 ตารางท่ี 2 คา่ เฉลีย่ และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานประสิทธผิ ลในการดาเนนิ งานของอาสาสมัครป้องกนั ภยั ฝา่ ยพลเรอื นในการปฏบิ ัติงานการรณรงค์ตามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณศี กึ ษาประชาชนที่ ใชย้ านพาหนะบนทอ้ งถนนในพื้นท่จี ังหวดั สระบุรี โดยภาพรวม 3 ดา้ น ลาดบั ประสิทธผิ ลในการดาเนนิ งานตอ่ X S.D. ความหมาย ประชาชนใน 3 ดา้ น 3.01 0.73 ปานกลาง 1 ดา้ นการให้ความรู้ 2.56 0.86 นอ้ ย 3.09 0.89 ปานกลาง 2 ดา้ นการใหบ้ ริการ 2.89 0.75 ปานกลาง 3 ด้านการมีส่วนรว่ ม รวม จากตารางท่ี2 พบวา่ ประสทิ ธิผลในการดาเนนิ งานของอาสาสมัครปอ้ งกันภยั ฝ่ายพลเรอื น ในการปฏบิ ัตงิ านตามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณศี ึกษาประชาชนทใ่ี ช้ยานพาหนะบนท้องถนนในพืน้ ที่ จังหวัดสระบรุ ี โดยภาพรวมท้งั 3 ด้าน อย่ใู นระดบั ปานกลาง (X = 2.89 ,S.D. = .75 ) เมอ่ื พิจารณาใน แต่ละด้านพบว่า อยใู่ นระดับปานกลาง จานวน 2 ดา้ น คอื ดา้ นการให้ความรู้( X = 3.01 , S.D. = .73) และดา้ นการมีส่วนรว่ ม ( X = 3.09 S.D. = .89) สว่ นดา้ นใหก้ ารบริการ อยใู่ นระดับนอ้ ย คือ ( X = 2.56 , S.D. = .86 )
27 ตารางท่ี 3 ค่าเฉล่ยี และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานประสิทธิผลในการดาเนนิ งานของอาสาสมัครปอ้ งกนั ภัย ฝ่ายพลเรือนในการปฏิบตั ิงานการรณรงค์ตามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณศี ึกษาประชาชนท่ี ใชย้ านพาหนะบนท้องถนนในพืน้ ที่จังหวัดสระบุรี จาแนกตามดา้ นการให้ความรู้ ข้อที่ ด้านการให้ความรู้ X S.D. ความหมาย 1 ทา่ นได้รบั ความรจู้ ากการประชาสมั พนั ธ์ และการ 0.68 นอ้ ย 1.22 ปานกลาง รณรงคจ์ ากเจ้าหนา้ ที่ อปพร.เก่ียวกบั มาตรการใช้ 1.34 ปานกลาง 1.18 ปานกลาง กฎหมายการปอ้ งกนั อบุ ตั ิภยั แห่งชาติ สานัก 1.18 ปานกลาง 1.19 ปานกลาง นายกรฐั มนตรีท่ี ออกใชม้ าตรการ 3ม 2 ข 1ร 2.11 1.25 ปานกลาง 1.23 ปานกลาง 2 ท่านมีความร้เู กีย่ วกับคาวา่ 3 ม ท่กี ฎหมายได้กาหนดขึ้น 1.2 ปานกลาง เพ่อื เป็นการลดการเกดิ อุบตั ิเหตุบนทอ้ งถนน 3.09 1.21 มาก 0.73 ปานกลาง 3 ทา่ นมีความรู้เกีย่ วกับคาว่า 2 ข ที่กฎหมายไดก้ าหนดข้นึ เพอ่ื เป็นการลดการเกิดอบุ ัติเหตุบนทอ้ งถนน 3.35 4 ท่านมคี วามรเู้ กี่ยวกบั คาวา่ 1ร ทก่ี ฎหมายได้กาหนดขึ้น เพือ่ เปน็ การลดการเกดิ อบุ ตั เิ หตุบนทอ้ งถนน 3.14 5 ท่านไดเ้ ขา้ รบั อบรมเก่ยี วกับกิจกรรมการขบั ข่ีปลอดภยั บนทอ้ งถนนของศูนย์ อปพร. ตามมาตรการ 3ม 2 ข 1 ร ที่กฎหมายไดก้ าหนดขึ้น 2.96 6 ท่านไดร้ บั ความรจู้ ากเจ้าหนา้ ท่ี อปพร. เกี่ยวกับการให้ คาแนะนาการสงเคราะห์ผู้ประสบภยั รถ ตามมาตรการ 3 ม 2 ข 1ร 3.1 7 ท่านได้รับข้อมลู ข่าวสารเกยี่ วกบั การจัดชดุ หนว่ ย ปฏบิ ัติการกภู้ ยั ตามโครง การหนึง่ ตาบลหน่ึงทมี กู้ชีพ กูภ้ ยั ของ อปพร. ในแต่ละพนื้ ที่ของชุมชน 3.09 8 ท่านไดร้ ับความรู้เกีย่ วกบั การขอความชว่ ยเหลือจาก เจ้าหน้าที่ อปพร.เมื่ออบุ ัตเิ หตใุ นระหว่างการขบั ขี่ ยานพาหนะบนทอ้ งถนน 2.9 9 ทา่ นได้รบั การอบรมความร้แู ละหลกั การปฏิบัติ จาก เจา้ หน้าทศ่ี ูนย์ อปพร. เก่ยี วกบั การใช้เครอ่ื งมือหรอื อปุ กรณป์ ระจารถในการแกไ้ ขสถานการณเ์ มอื่ เกิดเหตุ คับขันข้นึ ในระหว่างเกิดเหตุ 2.92 10 เจา้ หน้าที่ อปพร. ท่เี ข้ามาปฏิบัตหิ น้าทใี่ นการเขา้ รว่ มจัด ระเบียบจารจรนนั้ มคี วามรู้ความสามารถในปฏบิ ัตงิ าน ดา้ นการจารจร 3.51 รวม 3.01
28 จากตารางที่ 3 พบวา่ ประสทิ ธผิ ลในการดาเนนิ งานของอาสาสมคั รป้องกันภยั ฝ่าย พล เรือนในการปฏิบัติงานการรณรงค์ตามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณศี ึกษาประชาชนที่ใชย้ าน พาหนะบน ท้องถนนในพ้นื ท่จี ังหวัดสระบุรี จาแนกตาม ดา้ นการใหค้ วามรู้ โดยภาพรวมอย่ใู นระดับปานกลาง ( X = 3.01 , S.D. = .73 ) เม่ือพจิ ารณาเป็นรายขอ้ พบว่า อยูใ่ นระดับมากจานวน 1 ขอ้ อยใู่ นระดับปาน กลาง จานวน 8 ข้อ และอยใู่ นระดับน้อยจานวน 1 ข้อ โดยขอ้ ทีม่ ีคา่ เฉลย่ี มากท่ีสดุ คือ ขอ้ ท่ี 10 เจ้าหน้าที่ อปพร. ท่ีเข้ามาปฏิบตั หิ น้าที่ในการเขา้ ร่วมจดั ระเบียบจารจรน้นั มีความรู้ความสามารถใน ปฏิบตั งิ านด้านการจารจร ( X = 3.51 , S.D. = .1.21) รองลงมาคอื ข้อท่ี 3 ทา่ นมคี วามร้เู ก่ยี วกบั คาวา่ 2 ข ทีก่ ฎหมายได้กาหนดข้นึ เพื่อเป็นการลดการเกิดอุบตั เิ หตุบนท้องถนน ( X = 3.35 , S.D. = 1.34) และข้อทีม่ ี คา่ เฉลย่ี นอ้ ยท่ีสุดคือ ขอ้ ท่ี 1 ท่านได้รบั ความรจู้ ากการประชาสมั พันธ์ และการรณรงคจ์ าก เจา้ หน้าที่ อปพร.เกยี่ วกบั มาตรการใชก้ ฎหมายการป้องกนั อบุ ตั ภิ ยั แหง่ ชาติ สานกั นายกรัฐมนตรที ่ี ออกใช้ มาตรการ 3 ม 2 ข 1ร ( X = 2.11 , S.D. = .68) ตารางท่ี 4 คา่ เฉล่ยี และสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานประสิทธผิ ลในการดาเนินงานของอาสาสมัครป้องกันภัย ฝา่ ยพลเรอื นในการปฏิบัติงานการรณรงคต์ ามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณีศึกษาประชาชน ทีใ่ ชย้ านพาหนะบนทอ้ งถนนในพ้ืนทีจ่ งั หวัดสระบรุ ี จาแนกตามด้านการใหบ้ รกิ าร ข้อที่ ประสทิ ธิผลในการดาเนินงานตอ่ ประชาชน ด้านการ X S.D. ความหมาย ใหบ้ ริการ 1.13 นอ้ ย 1.16 นอ้ ย 11 ทา่ นได้รบั การบรกิ ารอบรมให้ความรู้จากศนู ย์อปพร. 1.32 ปานกลาง 1.3 ปานกลาง ในเร่อื งการใช้รถ และความผิดตอ่ การละเมดิ กฎจารจร 1.31 ปานกลาง ตามมาตรการ 3ม 2ข 1ร 2.49 12 ท่านได้รับการบริการช่วยเหลอื จากเจ้าหนา้ ที่อปพร. เกีย่ วกบั การใหค้ วามสะดวกทางด้านการจารจรใน เวลาเรง่ รีบหรือเวลาขบั ขนั 2.53 13 ท่านไดร้ ับการบริการชว่ ยเหลือจากเจา้ หนา้ ท่ี อปพร. ในการจดั ระเบียบจราจรในบริเวณทีเ่ กดิ อบุ ตั ิเหตุให้ เกิดความคลอ่ งตัวในการใช้ถนน 2.88 14 ในการบริการช่วยเหลือจดั ระเบียบจราจรเม่ือมีการ เกดิ อบุ ตั เิ หตุบนทอ้ งถนนเจา้ หน้าท่ี อปพร. ท่ีใหค้ วาม ช่วยเหลอื มีเพยี งพอตอ่ การใหค้ วามช่วย เหลอื จราจร ให้รถที่สัญจรไปมา 2.77 15 ในช่วงเทศกาลตา่ ง ๆ ศนู ย์ อปพร.ไดม้ กี ารจดั ชุด เจา้ หน้าที่ อปพร. พรอ้ มอุปกรณ์เตรยี มพรอ้ มในการ ชว่ ยเหลอื ไว้ตามจดุ ที่คาดว่าเกิดอบุ ัตเิ หตบุ ่อย เพอื่ คอยบริการให้กบั ประชาชนทสี่ ญั จรไปมา 2.69
29 ตารางท่ี 4 (ตอ่ ) ข้อท่ี ประสทิ ธผิ ลในการดาเนินงานต่อประชาชน ด้านการ X S.D. ความหมาย ให้บรกิ าร 1.21 นอ้ ย 16 ในการปฏิบตั ิงานดา้ นบรกิ าร ศนู ย์ อปพร. ไดม้ กี าร 1.22 นอ้ ย 1.13 นอ้ ย จัดต้ังศูนยว์ ิทยุส่ือสารอย่เู วรประจาตลอด 24 ชั่วโมง 1.18 นอ้ ย เพื่อช่วยเหลือบรกิ ารประชาชน 2.37 1.25 ปานกลาง 1.19 ปานกลาง 17 ศนู ย์ อปพร. ได้จดั เคร่ืองมอื หรืออุปกรณเ์ ตือนภัยไว้ บริการในชมุ ชน เพ่ือเฝ้าระวังและสาหรับแจ้งเตอื นภยั จากอบุ ตั ิเหตุตา่ ง ๆ 2.42 18 เจ้าหน้าท่ี อปพร. มีเครอื่ งมืออปุ กรณ์กู้ภัยข้ันต้นและ เครอ่ื งมืออปุ กรณร์ ักษาพยาบาลทท่ี นั สมัยและ เพียงพอในการบรกิ ารช่วยเหลอื เมอ่ื เกดิ เหตุ 2.32 19 การบรกิ ารช่วยเหลอื ของเจา้ หน้าท่ี อปพร. มกี าร เรียกร้องค่าตอบแทนในการบริการชว่ ยเหลอื 2.48 20 ทา่ นไดร้ ับบรกิ ารแจกเอกสารเกี่ยวกับความรู้ความ เข้าใจเกีย่ วกับสญั ญาจารจร และปา้ ยจารจร ตามท่รี ฐั ได้ใช้มาตรการ 3ม 2ข 1ร ในการขับขี่ 2.74 รวม 2.84 จากตารางท่ี 4 พบว่า ประสทิ ธิผลในการดาเนินงานของอาสาสมัครปอ้ งกนั ภยั ฝ่ายพล เรือนในการปฏิบตั งิ านการรณรงค์ตามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณศี กึ ษาประชาชนทใ่ี ชย้ าน พาหนะบน ท้องถนนในพ้นื ทจี่ งั หวดั สระบุรี จาแนกตาม ดา้ นการให้บรกิ าร โดยภาพรวมอยใู่ นระดบั ปานกลาง ( X = 2.84 , S.D. = 1.19) เมอื่ พิจารณาเปน็ รายข้อพบวา่ อยใู่ นระดับปานกลาง จานวน 4 ขอ้ อย่ใู นระดับนอ้ ย จานวน 6 ขอ้ โดยข้อทีม่ คี ่าเฉลย่ี มากที่สุดคอื ขอ้ ท่ี 13 ท่านไดร้ บั การบรกิ ารชว่ ยเหลือจากเจา้ หน้าท่ี อป พร.ในการจัดระเบียบจราจรในบรเิ วณท่เี กดิ อุบตั เิ หตใุ ห้เกิดความคล่องตวั ในการใช้ถนน ( X = 2.88 , S.D. = 1.32) รองลงมามีจานวน 2 ขอ้ คือ ข้อที่ 14 ในการบรกิ ารช่วยเหลือจัดระเบยี บจราจรเม่ือมีการ เกดิ อบุ ตั เิ หตบุ นท้องถนนเจา้ หน้าท่ี อปพร. ทใี่ ห้ความชว่ ย เหลือมเี พยี งพอต่อการให้ความชว่ ย เหลอื จราจรใหร้ ถทสี่ ญั จรไปมา ( X = 2.77 , S.D. = 1.30) และขอ้ ทีม่ ีคา่ เฉลย่ี นอ้ ยทีส่ ุดคอื ขอ้ ท่ี 18 เจา้ หนา้ ที่ อปพร. มเี ครื่องมอื อปุ กรณ์กภู้ ัยขนั้ ต้นและเครื่องมืออปุ กรณร์ กั ษาพยาบาลท่ที นั สมยั และเพียงพอในการ บรกิ ารชว่ ยเหลือเมือ่ เกดิ เหตุ ( X = 2.32 , S.D. = 1.13)
30 ตารางที่ 5 ค่าเฉล่ียและสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานประสทิ ธผิ ลในการดาเนินงานของอาสาสมัครป้องกนั ภยั ฝ่ายพลเรอื นในการปฏบิ ัตงิ านการรณรงคต์ ามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณศี ึกษาประชาชน ท่ีใช้ยานพาหนะบนทอ้ งถนนในพน้ื ที่จังหวัดสระบุรี จาแนกตามด้านการมีสว่ นรว่ ม ข้อที่ ประสทิ ธิผลในการดาเนนิ งานต่อประชาชน ดา้ นการมี X S.D. ความหมาย ส่วนรว่ ม 21 ท่านไดเ้ ข้าร่วมอบรมเกย่ี วกบั กฎหมายจารจรท่ศี ูนย์ อปพร.จดั ข้นึ เพ่ือใหค้ วามร้กู ับประชาชน 2.84 1.19 ปานกลาง 22 ในช่วงเทศกาลต่าง ๆ ท่านมสี ่วนรว่ มในการปฏิบัติ ตามระเบยี บกฎหมายจารจรตามมาตรการ 3ม 2 ข 1 ร ของ ศนู ย์ อปพร.ทไี่ ดจ้ ัดกิจกรรมขึน้ ในพ้นื ที่ 3.13 1.16 ปานกลาง 23 เมื่อไดร้ บั การชว่ ยเหลือจากเจ้าหน้าท่ี อปพร.ใน กิจกรรมต่าง ๆ ของท่าน ๆ ไดม้ สี ว่ นรว่ มเขา้ ไป ช่วยเหลือเจ้าหนา้ ที่ อปพร.ในกิจกรรมนน้ั ดว้ ย 3.03 1.17 ปานกลาง 24 เมอ่ื มกี ารจัดระเบยี บจารจรบนทอ้ งถนนท่านมสี ่วนรว่ ม ในการให้ความสะดวกกับเจา้ หนา้ ท่ี อปพร.ในการ ปฏบิ ตั งิ าน 3.22 1.19 ปานกลาง 25 ท่านมสี ่วนรว่ มในการช่วยดแู ลเครื่องมือหรืออปุ กรณ์ เตอื นภยั ไว้บริการในชมุ ชน เพือ่ เฝ้าระวังและสาหรบั แจง้ เตอื นภยั จากอบุ ตั ิเหตุต่าง ๆ ทศ่ี นู ย์ อปพร. ไดม้ า ติดต้ังไว้ให้ 2.55 1.28 น้อย 26 ท่านมีส่วนร่วมในการบรจิ าคทรัพยเ์ พื่อสนับสนนุ กิจกรรมของ อปพร.ในการจดั หาอุปกรณ์กู้ภัยข้ันตน้ และเคร่ืองมืออุปกรณร์ กั ษาพยาบาลเพอ่ื ใหเ้ พียงพอตอ่ การบริการชว่ ยเหลือประชาชน 3.02 1.34 ปานกลาง 27 ในการบริการชว่ ยเหลือประชาชนตามจดุ ตา่ ง ๆ ทา่ นมี สว่ นร่วมในการสนับสนนุ อาหารเครือ่ งดมื่ เพ่อื เป็น กาลังใจตอ่ การทางานของเจา้ หน้าท่ี อปพร. 3.62 1.05 มาก 28 ทา่ นมีสว่ นร่วมในการกระจายข่าวสารและเอกสารใน การรณรงคต์ ามมาตรการ ม3 2ข 1ร ของศูนย์ อปพร. ใหก้ บั ประชาชนในทอ้ งถนิ่ ของทา่ นทราบ 2.72 1.24 ปานกลาง
31 ตารางท่ี 5 (ตอ่ ) ขอ้ ที่ ประสิทธิผลในการดาเนินงานต่อประชาชน ด้านการมี X S.D. ความหมาย ส่วนรว่ ม 29 ท่านมีสว่ นรว่ มในการช่วยเหลอื ประชาชนทเ่ี กดิ อบุ ัติเหตโุ ดยการโทรศพั ทต์ ดิ ต่อประสานงานกับศูนย์ อปพร. เพ่อื จดั เจ้าหน้าทม่ี าทาการช่วยเหลือ 3.29 1.2 ปานกลาง 30 อปพร. เป็นสว่ นประกอบทม่ี คี วามสาคญั กบั การ ดาเนนิ ชวี ติ ประจาวันของท่าน 3.5 1.11 ปานกลาง รวม 3.09 0.89 ปานกลาง จากตารางที่ 5 พบว่า ประสิทธิผลในการดาเนนิ งานของอาสาสมคั รป้องกันภัยฝา่ ยพล เรือนในการปฏิบตั ิงานการรณรงคต์ ามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณีศึกษาประชาชนทใ่ี ช้ยาน พาหนะบน ท้องถนนในพ้ืนทจี่ งั หวัดสระบุรี จาแนกตามดา้ นการมสี ่วนร่วม โดยภาพรวมอยใู่ นระดับปานกลาง ( X = 3.09 , S.D. = .89 ) เม่ือพจิ ารณาเป็นรายข้อ พบวา่ อยูใ่ นระดับมากจานวน 1 ข้อ อยูใ่ นระดับปานกลาง จานวน 8 ขอ้ และอย่ใู นระดับนอ้ ย จานวน 1 ขอ้ โดยขอ้ ทีม่ ีค่าเฉลีย่ มากท่สี ดุ คอื ขอ้ ที่ 27 ในการ บรกิ ารช่วยเหลอื ประชาชนตามจดุ ต่าง ๆ ท่านมสี ว่ นรว่ มในการสนับสนนุ อาหารเคร่อื งดืม่ เพือ่ เป็นกาลังใจ ตอ่ การทางานของเจา้ หน้าที่ อปพร. ( X = 3.62 , S.D. = 1.05) รองลงมาคอื ขอ้ ท่ี 30 อปพร. เป็น ส่วนประกอบทม่ี คี วามสาคัญกับการดาเนินชีวิตประจาวันของท่าน ( X = 3.50 , S.D. = 1.11) และขอ้ ที่มี คา่ เฉลี่ยนอ้ ยที่ สดุ คือ ขอ้ ท่ี 25 ทา่ นมสี ่วนร่วมในการช่วยดแู ลเครือ่ งมอื หรอื อุปกรณ์เตอื นภยั ไวบ้ รกิ ารใน ชุมชน เพ่อื เฝ้าระวังและสาหรบั แจ้งเตือนภยั จากอบุ ตั เิ หตตุ า่ ง ๆ ท่ีศูนย์ อปพร. ได้มาตดิ ต้งั ไว้ให้ ( X = 2.55 , S.D. = 1.28) ส่วนท่ี 3 เปรยี บเทียบประสิทธผิ ลในการดาเนินงานของอาสาสมคั รปอ้ งกนั ภัยฝา่ ยพล เรอื น ในการปฏบิ ตั ิงานการรณรงคต์ ามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณีศึกษาประชาชนทใี่ ช้ ยานพาหนะบนท้องถนนในพน้ื ทจ่ี ังหวัดสระบรุ ี จาแนกตามองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ โดย ภาพรวมและรายด้าน การเปรยี บเทียบประสทิ ธิผลในการดาเนนิ งานของอาสาสมัครป้องกันภัยฝา่ ย พลเรือนใน การปฏบิ ัติงานการรณรงค์ตามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณีศกึ ษาประชาชนทใ่ี ช้ยานพาหนะบนท้องถนน ในพืน้ ทีจ่ ังหวดั สระบรุ ี จาแนกตามองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถโน่ิ ดยใชก้ ารวิเคราะห์ข้อมลู ความแปรปรวนทาง เดยี ว (One-way ANOVA) ผลการวิเคราะห์ดังรายละเอียดตามตารางที่ 6-9
32 ตารางที่ 6 การเปรยี บเทยี บประสิทธิผลในการดาเนนิ งานของอาสาสมคั รป้องกนั ภยั ฝา่ ยพลเรือนในการ ปฏิบตั งิ านการรณรงคต์ ามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณีศึกษาประชาชนท่ใี ชย้ านพาหนะบน ท้องถนนในพื้นที่จงั หวดั สระบุรี จาแนกตามองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ โดยภาพรวมทงั้ ด3้าน เทศบาล เทศบาล องคก์ ารบรหิ าร เมือง ตาบล การปฏิบตั ิงาน (n= 128) (n= 128) ตาบล F p 4 ดา้ น (n= 128) .058 X S.D. X S.D. ดา้ นการใหค้ วามรู้ 2.93 .64 3.14 .80 X S.D. ดา้ นการบริการ 2.97 .74 2.87 ด้านการมสี ่วนรว่ ม 2.56 .85 2.69 .90 2.44 .81 2.64 .072 รวม 3.09 .93 3.24 .88 2.94 .83 3.70 .025* 2.86 .73 3.02 .79 2.78 .71 3.40 .034* * มีนัยสาคญั ทางสถติ ิที่ระดบั .05 จากตารางที่ 6 การเปรียบเทียบประสิทธิผลในการดาเนนิ งานของอาสาสมคั รปอ้ งกันภยั ฝ่ายพลเรอื นในการปฏิบตั ิงานการรณรงคต์ ามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณศี กึ ษาประชาชนที่ใช้ ยานพาหนะบนทอ้ งถนนในพื้นท่ีจงั หวดั สระบรุ ี จาแนกตาม องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน โดยภาพรวม แตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถติ ิทีร่ ะดับ .05 เมื่อพิจาณาเปน็ รายด้านพบวา่ แตกตา่ งกนั อย่างมี นยั สาคญั ทางสถติ ิทร่ี ะดบั .05 คือ ด้านการมีสว่ นร่วม ส่วนดา้ นการให้ความรู้ ด้านการบรกิ าร ไม่ แตกต่างกัน ตารางท่ี 7 การเปรยี บเทียบประสิทธิผลในการดาเนินงานของอาสาสมัคร ปอ้ งกนั ภัยฝา่ ยพลเรือน ใน การปฏบิ ตั ิงานการรณรงคต์ ามมาตรการ3 ม.2 ข.1 ร. กรณศี ึกษาประชาชนทีใ่ ชย้ านพาหนะบน ทอ้ งถนนในพ้นื ที่จงั หวัดสระบรุ ี จาแนกตามองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ ดา้ นการใหค้ วามรู้ เทศบาล เทศบาล อบต. ขอ้ ดา้ นการให้ความรู้ เมอื ง ตาบล (n= 128) F p ท่ี (n= 128) (n= 128) 1 ท่านไดร้ บั ความรจู้ ากการ X S.D. X S.D. X S.D. ประชาสัมพนั ธแ์ ละการรณรงคจ์ าก เจา้ หน้าท่ีอปพร.เก่ียวกบั มาตรการใช้ กฎหมายการปอ้ งกัน อบุ ตั ภิ ัยแหง่ ชาติ สานกั นายก รฐั มนตรีท่ี ออกใช้ มาตรการ 3ม 2 ข 1ร 2.02 0.68 2.27 0.7 2.05 0.7 5.12 .006*
33 ตารางที่ 7 (ตอ่ ) เทศบาล เทศบาล อบต. ขอ้ ดา้ นการให้ความรู้ เมอื ง ตาบล ที่ (n= 128) (n= 128) (n= 128) F p X S.D. X S.D. X S.D. 2 ทา่ นมีความรู้เกย่ี วกบั คาว่า 3 ม ที่ กฎหมายไดก้ าหนดขน้ึ เพอ่ื เปน็ การ ลดการเกดิ อุบัตเิ หตบุ นท้องถนน 2.66 1.17 3.23 1.26 3.38 1.1 13.4 .000* 3 ท่านมีความร้เู ก่ียวกับคาว่า 2 ข ท่ี กฎหมายไดก้ าหนดขึ้นเพอ่ื เปน็ การลด การเกิดอบุ ตั ิเหตุบนทอ้ งถนน 2.84 1.32 3.43 1.35 3.8 1.2 18.1 .000* 4 ท่านมีความรูเ้ กยี่ วกบั คาวา่ 1ร ที่ กฎหมายได้กาหนดขึ้น เพอื่ เป็นการ ลดการเกิดอบุ ตั เิ หตบุ นท้องถนน 3.09 1.19 3.36 1.12 2.98 1.2 3.47 .032* 5 ท่านไดเ้ ข้ารบั อบรมเกยี่ วกับกิจกรรม การขับขป่ี ลอดภยั บนท้องถนนของ ศูนย์ อปพร. ตามมาตรการ 3 ม 2 ข 1ร ทีก่ ฎหมายได้กาหนดขึ้น 2.98 1.17 3.1 1.2 2.8 1.2 2.15 0.117 6 ท่านได้รบั ความรู้จากเจา้ หน้าท่ี อปพร.เก่ียวกบั การใหค้ าแนะนาการ สงเคราะห์ผ้ปู ระสบภัยรถ ตาม มาตรการ 3 ม 2 ข 1ร 3.17 1.11 3.21 1.27 2.91 1.2 2.48 0.085 7 ทา่ นไดร้ บั ข้อมลู ข่าวสารเกย่ี วกบั การ จัดชดุ หน่วยปฏิบตั ิการก้ภู ยั ตาม โครงการหนึ่งตาบลหน่ึงทมี กู้ชีพกภู้ ยั ของ อปพร.ในแต่ละพื้นที่ของชมุ ชน 3.13 1.28 3.2 1.21 2.93 1.2 1.58 0.206 8 ท่านไดร้ บั ความรู้เก่ยี วกบั การขอความ ช่วยเหลือจาก เจ้าหนา้ ท่ี อปพร.เม่อื อุบัติเหตุในระหวา่ งการขบั ขี่ยาน พาหนะบนท้องถนน 2.93 1.18 2.97 1.29 2.8 1.2 0.61 0.54
34 ตารางท่ี 7 (ตอ่ ) เทศบาล เทศบาล อบต. ข้อ ดา้ นการใหค้ วามรู้ เมอื ง ตาบล ที่ (n= 128) (n= 128) (n= 128) F p X S.D. X S.D. X S.D. 9 ท่านได้รบั การอบรมความรแู้ ละ หลักการปฏบิ ตั จิ ากเจา้ หนา้ ทศ่ี ูนย์ อปพร. เกีย่ วกับการใช้เครื่องมือหรอื อปุ กรณป์ ระจารถในการแกไ้ ข สถานการณ์เมื่อเกดิ เหตุคบั ขนั ขึน้ ใน ระหวา่ งเกดิ เหตุ 2.95 1.19 3.1 1.23 2.7 1.2 3.77 .024* 10 เจา้ หนา้ ท่ี อปพร.ทีเ่ ขา้ มาปฏิบตั ิ หน้าทีใ่ นการเขา้ รว่ มจดั ระเบยี บจาร จรนน้ั มีความรคู้ วามสามารถใน ปฏบิ ัตงิ านดา้ นการจารจร 3.61 1.18 3.55 1.24 3.36 1.2 1.47 0.231 รวม 2.93 0.6 3.14 0.8 2.97 0.7 2.87 0.06 * มนี ัยสาคญั ทางสถติ ิที่ระดบั .05 ตารางที่ 7 การเปรยี บเทยี บประสทิ ธผิ ลในการดาเนินงานของอาสาสมัครป้องกันภัย ฝา่ ยพลเรอื นในการปฏิบัตงิ านการรณรงค์ตามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณศี กึ ษาประชาชนที่ใช้ ยานพาหนะบนทอ้ งถนนใน พน้ื ทจ่ี งั หวัดสระบุรี จาแนกตามองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน ด้านการให้ความรู้ โดยภาพรวมพบวา่ ไมแ่ ตกตา่ งกนั เม่อื พจิ ารณาเป็นรายขอ้ พบว่าท่ี แตกตา่ งกนั อย่างมีนยั สาคัญทางสถติ ทิ ่ี ระดบั .05 จานวน 5 ขอ้ ได้แก่ ขอ้ ท่ี 1 ท่านได้รับความรู้จากการประชา สัมพันธแ์ ละการรณรงค์จาก เจา้ หนา้ ที่ อปพร.เก่ียวกับมาตรการใชก้ ฎหมายการปอ้ งกนั อบุ ัติภัยแห่งชาติสานกั นายก รฐั มนตรีท่ี ออกใช้ มาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. ขอ้ ที่ 2 ทา่ นมคี วามรู้เก่ียวกบั คาว่า 3 ม. ทก่ี ฎหมายได้กาหนดขน้ึ เพอ่ื เป็นการลด การเกิดอุบัตเิ หตุบนทอ้ งถนน ข้อท่ี 3 ท่านมีความรู้เก่ียวกบั คาวา่ 2ข. ท่กี ฎหมายไดก้ าหนดขน้ึ เพอื่ เปน็ การลดการเกิดอุบัตเิ หตบุ นทอ้ งถนน ข้อที่ 4 ทา่ นมคี วามรู้เกีย่ วกับคาวา่ 1ร. ที่กฎหมายได้กาหนดข้นึ เพอื่ เป็นการลดการเกิดอบุ ตั เิ หตุบนท้องถนน ข้อที่ 9 ทา่ นได้รับการอบรมความรแู้ ละหลกั การปฏบิ ัติจาก เจา้ หน้าทศ่ี นู ย์ อปพร. เก่ียว กับการใชเ้ คร่ืองมือหรอื อุปกรณป์ ระจารถในการแกไ้ ขสถานการณ์เม่ือเกิดเหตุ คับขนั ข้นึ ในระหวา่ งเกิดเหตุ ส่วนรายข้ออื่น ๆ ประสทิ ธิผลในการดาเนินงานของอาสาสมคั รปอ้ งกนั ภัย ฝ่ายพลเรอื นในการปฏบิ ัตงิ านตามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณศี ึกษาประชาชนแต่ละพืน้ ทอี่ งคก์ รท้องถิ่น นนั้ ไมแ่ ตกตา่ งกนั
35 ตารางที่ 8 การเปรยี บเทียบประสิทธิผลในการดาเนนิ งานของอาสาสมัคร ปอ้ งกนั ภัยฝ่ายพลเรอื นในการ ปฏบิ ตั ิงานการรณรงค์ตามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. ระดับ .05 จานวน 3 ข้อ ได้แก่ ข้อท่ี 15 ในชว่ งเทศกาลตา่ ง ๆ ศนู ย์ อปพร.ไดม้ กี ารจัดชดุ เจ้าหน้าท่ี อปพร.กรณศี ึกษาประชาชนทใ่ี ช้ ยานพาหนะบนท้องถนนในพ้นื ท่จี ังหวัดสระบรุ ี จาแนกตามองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ดา้ น การใหบ้ รกิ าร เทศบาล เทศบาล อบต. ขอ้ ดา้ นการใหบ้ รกิ าร เมือง ตาบล ที่ (n= 128) (n= 128) (n= 128) F p X S.D. X S.D. X S.D. 11 ท่านได้รับการบริการอบรมใหค้ วามรู้ จากศนู ย์ อปพร.ในเรือ่ งการใช้รถ และความผิดต่อการละเมิดกฎจารจร ตามมาตรการ 3ม 2ข 1ร 2.58 1.12 2.41 1.22 2.48 1.1 0.74 0.478 12 ท่านไดร้ บั การบรกิ ารช่วยเหลือจาก เจ้าหน้าท่ี อปพร. เกย่ี วกบั การให้ ความสะดวกทางดา้ นการจารจรใน เวลาเรง่ รีบหรือเวลาขบั ขนั 2.56 1.17 2.45 1.22 2.58 1.1 0.74 0.478 13 ท่านได้รับการบริการช่วยเหลอื จาก เจ้าหน้าที่อปพร. ในการจดั ระเบียบ จราจรในบรเิ วณทเี่ กดิ อุบัตเิ หตุใหเ้ กดิ ความคล่องตวั ในการใชถ้ นน 2.9 1.33 3.05 1.39 2.67 1.2 2.71 0.068 14 ในการบรกิ ารชว่ ยเหลือจัดระเบยี บ จราจรเม่อื มกี ารเกิดอุบตั เิ หตุบนท้อง ถนนเจา้ หน้าท่ี อปพร.ที่ให้ความ ช่วยเหลือมีเพียงพอตอ่ การใหค้ วาม ชว่ ย เหลอื จราจรใหร้ ถที่สัญจรไปมา 2.79 1.29 2.94 1.4 2.59 1.2 2.23 0.108 15 ในชว่ งเทศกาลตา่ ง ๆ ศูนย์ อปพร.ได้ มีการจดั ชุดเจ้าหน้าท่ี อปพร. พร้อม อุปกรณ์เตรยี มพร้อมในการช่วยเหลอื ไว้ตามจุดท่ีคาดวา่ เกดิ อุบัติเหตุบอ่ ย เพ่อื คอยบริการให้กบั ประชาชนท่ี สัญจรไปมา 2.68 1.26 2.9 1.37 2.48 1.3 3.22 .041* 16 ในการปฏิบัตงิ านดา้ นบรกิ าร ศนู ย์ อปพร. ไดม้ ีการจัดตั้งศนู ยว์ ทิ ยุสือ่ สาร อยเู่ วรประจาตลอด 24 ชวั่ โมง เพ่อื ช่วยเหลือบรกิ ารประชาชน 2.33 1.19 2.5 1.25 2.27 1.2 1.2 0.3
36 ตารางท่ี 8 (ตอ่ ) เทศบาล เทศบาล อบต. ข้อ ดา้ นการใหบ้ ริการ เมือง ตาบล ที่ (n= 128) (n= 128) (n= 128) F p X S.D. X S.D. X S.D. 17 ศูนย์ อปพร. ได้จดั เคร่อื งมอื หรอื อุปกรณ์เตอื นภยั ไว้บริการในชมุ ชน เพอื่ เฝา้ ระวงั และสาหรับแจง้ เตอื นภัย จากอบุ ตั ิเหตตุ ่าง ๆ 2.36 1.22 2.63 1.22 2.27 1.2 3.05 .048* 18 เจา้ หนา้ ที่ อปพร. มเี คร่อื งมอื อปุ กรณ์ กู้ภยั ข้นั ตน้ และเครอื่ งมอื อปุ กรณ์ รกั ษา พยาบาลทท่ี ันสมยั และเพียง พอในการบริการช่วยเหลือเมื่อเกิด เหตุ 2.27 1.16 2.47 1.12 2.21 1.1 1.84 0.16 19 การบริการชว่ ยเหลือของเจ้าหน้าท่ี อปพร.มีการเรยี ก ร้องคา่ ตอบแทนใน การบริการช่วยเหลือ 2.41 1.13 2.7 1.25 2.32 1.2 3.71 .025* 20 ท่านไดร้ บั บรกิ ารแจกเอกสาร เก่ยี วกับความรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกบั สญั ญาจารจร และปา้ ยจารจรตามท่ี รฐั ไดใ้ ชม้ าตรการ 3ม 2ข 1ร ในการ ขบั ขี่ 2.8 1.36 2.88 1.22 2.55 1.2 2.27 0.104 รวม 2.56 0.85 2.69 0.9 2.44 0.8 2.64 0.072 * มีนัยสาคญั ทางสถติ ิทีร่ ะดับ .05 ตารางท่ี 8 การเปรียบเทยี บประสทิ ธผิ ลในการดาเนนิ งานของอาสาสมคั รปอ้ งกนั ภัย ฝา่ ยพลเรอื นในการปฏิบัติงานการรณรงคต์ ามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณศี กึ ษาประชาชนท่ใี ช้ ยานพาหนะบนท้องถนนในพ้ืนท่จี งั หวัดสระบรุ ี จาแนกตาม องค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ โดยภาพรวม ด้าน การบริการ พบว่า ไม่แตกตา่ งกนั เมอื่ พิจารณาเป็นรายขอ้ พบวา่ แตกต่างกนั อย่างมนี ยั สาคัญทางสถติ ทิ ่ี ระดบั .05 จานวน 3 ข้อ ไดแ้ ก่ ข้อที่ 15 ในช่วงเทศกาลต่าง ๆ ศูนย์ อปพร.ได้มกี ารจัดชุดเจ้าหน้าที่ อปพร. พรอ้ มอปุ กรณ์เตรยี มพร้อมในการช่วย เหลอื ไว้ตามจุดทคี่ าดว่าเกดิ อุบัตเิ หตบุ ่อย เพ่อื คอยบรกิ ารใหก้ ับ ประชาชนทสี่ ญั จรไปมาในช่วงเทศกาลต่าง ๆ ศนู ย์ อปพร.ไดม้ กี ารจัดชดุ เจา้ หน้าท่ี อปพร. พร้อมอปุ กรณ์ เตรยี มพรอ้ มในการชว่ ยเหลือไว้ตามจดุ ทคี่ าดว่าเกิดอุบัตเิ หตุบอ่ ย เพ่ือคอยบริการใหก้ ับประชาชนที่สญั จร ไปมา ขอ้ ท่ี 17 ศูนย์ อปพร. ได้จดั เคร่อื งมือหรอื อุปกรณ์เตือนภัยไว้บริการในชุมชน เพ่ือเฝา้ ระวงั และ สาหรบั แจง้ เตอื นภยั จากอุบัติเหตตุ ่าง ๆ ขอ้ ที่ 19 การบริการช่วยเหลือของเจ้าหน้าที่ อปพร.มกี ารเรยี กรอ้ ง
37 ค่าตอบแทนในการบริการช่วยเหลือ สว่ นรายขอ้ อน่ื ๆ ประสิทธผิ ลในการดาเนนิ งานของอาสาสมัคร ปอ้ งกนั ภยั ฝา่ ยพลเรือนในการปฏิบตั ิงานตามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณศี กึ ษาประชาชนแตล่ ะพน้ื ที่ องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ นนั้ ไมแ่ ตกต่างกนั ตารางท่ี 9 การเปรยี บเทยี บประสทิ ธผิ ลในการดาเนินงานของอาสาสมคั ร ปอ้ งกันภยั ฝา่ ยพลเรือนในการ ปฏบิ ตั ิงานการรณรงคต์ ามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณศี ึกษาประชาชนท่ใี ชย้ านพาหนะบน ทอ้ งถนนในพน้ื ทจ่ี ังหวัดสระบรุ ี จาแนกตามองค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ ด้านการมีสว่ นร่วม เทศบาล เทศบาล อบต. ข้อ ด้านการมีส่วนรว่ ม เมือง ตาบล ที่ (n= 128) (n= 128) (n= 128) F p X S.D. X S.D. X S.D. 21 ทา่ นได้เขา้ ร่วมอบรมเกยี่ วกับ กฎหมายจารจรท่ศี นู ย์ อปพร.จัดขึ้น เพือ่ ให้ความรกู้ บั ประชาชน 2.84 1.2 3.02 1.18 2.65 1.2 3.21 .041* 22 ในชว่ งเทศกาลตา่ ง ๆ ทา่ นมีส่วน รว่ มในการปฏิบตั ิตามระเบียบ กฎหมายจารจรตามมาตรการ 3 ม 2 ข 1 ร ของ ศูนย์ อปพร.ที่ไดจ้ ดั กิจกรรมข้นึ ในพนื้ ท่ี 3.02 1.23 3.38 1.03 2.98 1.2 4.71 .010* 23 เมอ่ื ได้รับการช่วยเหลอื จาก เจา้ หน้าท่ี อปพร.ในกิจกรรมต่าง ๆ ของทา่ น ๆ ไดม้ สี ่วนรว่ มเขา้ ไป ช่วยเหลือเจา้ หนา้ ท่ี อปพร.ใน กิจกรรมนนั้ ดว้ ย 3.05 1.26 3.2 1.15 2.84 1.1 3.07 .047* 24 เมือ่ มีการจัดระเบยี บจารจรบนท้อง ถนนทา่ นมีสว่ นร่วมในการใหค้ วาม สะดวกกับเจ้าหนา้ ที่ อปพร.ในการ ปฏิบัตงิ าน 3.16 1.26 3.49 1.1 3.02 1.2 5.37 .005* 25 ทา่ นมีสว่ นร่วมในการช่วยดแู ล เคร่อื งมือหรืออปุ กรณ์เตือนภัยไว้ บริการในชุมชน เพ่ือเฝา้ ระวังและ สาหรับแจง้ เตือนภัยจากอบุ ัติเหตุ ต่างๆ ที่ศนู ย์ อปพร. ได้มาตดิ ตงั้ ไว้ ให้ 2.55 1.22 2.6 1.34 2.49 1.3 0.23 0.192
38 ตารางท่ี 9 (ตอ่ ) เทศบาล เทศบาล อบต. ขอ้ ดา้ นการมีส่วนรว่ ม เมือง ตาบล ท่ี (n= 128) (n= 128) (n= 128) F p X S.D. X S.D. X S.D. 26 ท่านมีสว่ นร่วมในการบริจาคทรพั ย์ เพอื่ สนบั สนนุ กิจกรรมของ อปพร.ใน การจัดหาอปุ กรณ์กู้ภยั ข้ันต้นและ เครอื่ งมืออุปกรณร์ ักษาพยาบาล เพื่อให้เพียงพอตอ่ การบรกิ าร ชว่ ยเหลอื ประชาชน 3.01 1.43 3.23 1.25 2.82 1.3 3.06 .048* 27 ในการบรกิ ารชว่ ยเหลือประชาชน ตามจุดต่าง ๆ ทา่ นมสี ่วนร่วมในการ สนับสนนุ อาหารเคร่ืองดืม่ เพ่อื เปน็ กาลังใจตอ่ การทางานของ อปพร. 3.7 1.03 3.71 1.04 3.46 1.1 2.27 0.105 28 ท่านมสี ่วนรว่ มในการกระจาย ขา่ วสารและเอกสารในการรณรงค์ ตามมาตรการ ม3 2ข 1ร ของศนู ย์ อปพร.ให้กับประชาชนในท้องถน่ิ ของทา่ นทราบ 2.79 1.28 2.84 1.21 2.53 1.2 2.23 0.109 29 ทา่ นมีสว่ นรว่ มในการช่วย เหลอื ประชาชนท่เี กิดอบุ ัติเหตโุ ดยการ โทรศัพทต์ ดิ ต่อประสานงานกบั ศนู ย์ อปพร. เพือ่ จดั เจ้าหน้าทม่ี าทาการ ชว่ ยเหลือ 3.3 1.19 3.45 1.24 3.13 1.2 2.3 0.101 30 อปพร. เป็นส่วนประกอบที่มี ความสาคญั กับการดาเนนิ ชีวิตประจาวนั ของทา่ น 3.52 1.15 3.51 1.07 3.48 1.1 0.02 0.973 รวม 3.09 0.93 3.24 0.88 2.94 0.8 3.4 .034* * มนี ัยสาคญั ทางสถติ ิท่ีระดับ .05
39 ตารางท่ี 9 การเปรยี บเทยี บประสทิ ธผิ ลในการดาเนินงานของอาสาสมคั รป้องกันภัย ฝ่ายพลเรอื นในการปฏบิ ัติงานการรณรงค์ตามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณศี กึ ษาประชาชนท่ีใช้ ยานพาหนะบนท้องถนนในพน้ื ที่จังหวัดสระบุรี จาแนกตาม องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ ดา้ นการมีสว่ นรว่ ม โดยภาพรวม พบว่าแตก ต่างกนั อยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถติ ทิ ่ีระดับ .05 เมอื่ พิจารณาเปน็ รายข้อ พบว่า แตกต่างกนั อย่างมนี ัยสาคญั ทางสถิตทิ รี่ ะดบั .05 จานวน 5 ข้อ ได้แก่ ข้อที่ 21 ท่านไดเ้ ข้ารว่ มอบรม เกย่ี วกบั กฎหมายจารจรท่ศี นู ย์ อปพร.จัดขนึ้ เพ่ือให้ความรกู้ ับประชาชนท่านไดเ้ ขา้ ร่วมอบรมเกีย่ วกับ กฎหมายจารจรทีศ่ นู ย์ อปพร. จดั ขน้ึ เพือ่ ใหค้ วามรกู้ บั ประชาชนขอ้ ที่ 22 ในชว่ งเทศกาลตา่ ง ๆ ท่านมีส่วน ร่วมในการปฏิบัตติ ามระเบยี บกฎหมายจารจรตามมาตรการ 3ม 2 ข 1 ร ของ ศูนย์ อปพร.ทไ่ี ด้จัด กิจกรรมข้ึนในพน้ื ที่ ขอ้ ที่ 23 เมอ่ื ได้รับการช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ อปพร.ในกิจกรรมต่าง ๆ ของทา่ น ๆ ได้มสี ว่ นร่วมเขา้ ไปชว่ ยเหลอื เจ้าหนา้ ท่ี อปพร.ในกจิ กรรมนนั้ ด้วย ข้อท่ี 24 เม่อื มกี ารจดั ระเบยี บจารจร บนทอ้ งถนนท่านมีส่วนรว่ มในการใหค้ วามสะดวกกบั เจ้าหน้าที่ อปพร.ในการปฏบิ ตั งิ าน ขอ้ ที่ 26 ท่านมี สว่ นรว่ มในการบรจิ าคทรพั ยเ์ พ่อื สนับสนุนกจิ กรรม ของ อปพร.ในการจดั หาอปุ กรณ์กภู้ ยั ขัน้ ตน้ และเครอื่ งมอื อปุ กรณร์ ักษาพยาบาลเพอื่ ใหเ้ พียงพอ ต่อการบริการชว่ ยเหลือประชาชสน่วนรายขอ้ อื่น ๆ ประสิทธิผลในการ ดาเนนิ งานของอาสาสมัคร ป้องกันภยั ฝา่ ยพลเรือนในการปฏิบัติงานตามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณศี กึ ษา ประชาชนแตล่ ะพืน้ ที่องคก์ รทอ้ งถน่ิ นั้น ไม่แตกตา่ งกนั สรุปผลการทดสอบสมมุตฐิ าน ตารางท่ี 10 : สรุปผลการทดสอบสมมตุ ฐิ าน สมมตุ ิฐาน ผลการทดสอบสมมุติฐาน สมมตุ ิฐาน การดาเนินงานของอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพล สอดคลอ้ ง เรือน ที่อยู่ในเขตเทศบาลเมือง เทศบาลตาบล และองคก์ าร บรหิ ารสว่ นตาบล ตามมาตรการ3 ม.2 ข.1 ร. กรณศี ึกษา ประชาชนท่ีใช้ยานพาหนะบนท้องถนนในพนื้ ที่จังหวดั สระบุรี มีประสิทธิผลท่ีแตกต่างกนั ผลการทดสอบสมมตุ ิฐานตามตารางท่ี 10 สรปุ ได้ว่า ผลการศึกษาทส่ี อดคล้องกบั สมมตุ ฐิ าน คอื การเปรียบเทียบประสิทธผิ ลในการดาเนินงานของอาสาสมัครปอ้ งกันภยั ฝา่ ยพลเรอื นในการ ปฏบิ ตั งิ านการรณรงค์ตามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณศี ึกษาประชาชนท่ีใชย้ านพาหนะบนทอ้ งถนนใน พ้นื ท่ีจังหวัดสระบรุ ี จาแนกตามองค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ โดยภาพรวมแตกตา่ งกนั อยา่ งมีนยั สาคัญทาง สถิตทิ รี่ ะดบั .05 เมอ่ื พิจาณาเปน็ รายดา้ นพบว่า แตกต่างกนั อย่างมีนัยสาคญั ทางสถติ ิท่ีระดับ .05 คือ ดา้ นการมสี ่วนร่วม ในทางตรงกันข้ามผลการศกึ ษาท่ไี มส่ อดคลอ้ งกบั สมมตุ ิฐาน คอื ดา้ นการให้ความรู้ และ ด้านการบรกิ าร
40 บทที่ 5 สรปุ และอภปิ รายผล บทนเ้ี ปน็ การสรปุ ผลการศกึ ษา ผลการทดสอบสมมตุ ฐิ าน การอภิปรายผลของการศึกษา เปรยี บเทียบกับแนวคดิ ทฤษฎีและงานวจิ ัยที่เกี่ยวข้องทผี่ วู้ จิ ัยไดท้ าการสืบคน้ และนาเสนอไวใ้ น บทท่ี 2 การนาผลการศึกษาไปใช้ในทางปฏบิ ตั ิและขอ้ เสนอแนะสาหรับการวจิ ยั ครัง้ ตอ่ ไป สรุปผลการศกึ ษา ผลการศกึ ษาด้านคณุ สมบตั ิของผตู้ อบแบบสอบถาม และผลสรุปตามวัตถปุ ระสงคม์ ดี งั นี้ ส่วนที่ 1 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถามของประชาชนทใ่ี ชย้ านพาหนะบนท้องถนน ในพื้นทจี่ งั หวดั สระบุรี จานวน 384 คน พบว่าประชาชนท่ีใชย้ านพาหนะบนทอ้ งถนน ในพื้นท่จี งั หวดั สระบุรี ส่วนใหญเ่ ปน็ เพศชาย จานวน 224 คน (รอ้ ยละ 58.30) ท่ตี อบแบบสอบถาม มากกว่า ประชาชนทเ่ี ปน็ เพศหญิง จานวน 160 คน (ร้อยละ 41.70) ส่วนใหญ่ มีอายุมากว่า 40-60 ปี จานวน 165 คน (รอ้ ยละ 43.00) รองลงมามีอายุ มากกวา่ 20-40 ปี จานวน 136 คน (ร้อยละ 35.40) และ ประชาชนท่ีตอบแบบสอบถามมีคา่ เฉลีย่ อายตุ า่ สุด มากกว่า 60 ปี ขึ้นไป จานวน 27 คน (ร้อยละ 7.00) ส่วนใหญป่ ระกอบอาชพี เกษตรกร จานวน 170 คน (ร้อยละ 44.27) รองลงมามีอาชพี คา้ ขาย จานวน 87 คน (ร้อยละ 22.66) และประชาชนท่ตี อบแบบ สอบถามทมี่ ีคา่ เฉลย่ี ของอาชีพตา่ สุดคืออาชพี อืน่ ๆ จานวน 45 คน (รอ้ ยละ 11.72) สาหรบั ระดับการศกึ ษาส่วน ใหญ่ มีการศกึ ษาอยู่ในระดบั มัธยมศึกษา จานวน 211 คน (รอ้ ยละ 54.90) รองลงมามีการศึกษาระดบั สงู กว่ามธั ยมศึกษา จานวน 99 คน (รอ้ ยละ 25.80) และประชาชนทตี่ อบ แบบสอบถามมคี ่าเฉลย่ีระดบั การศกึ ษาต่าสดุ คอื ระดับประถมศกึ ษา จานวน 74 คน (ร้อยละ 19.30) สว่ นที่ 2 ประสิทธิผลในการดาเนินงานของ อาสาสมัครป้องกันภยั ฝ่ายพลเรือน ในการ ปฏิบตั ิงานการรณรงคต์ ามมาตรการ 3 ม.2 ข.1ร. กรณศี ึกษาประชาชนท่ีใช้ยานพาหนะบนท้องถนน ใน พ้ืนที่จังหวดั สระบรุ ี โดยภาพรวมอย่ใู นระดบั ปานกลาง เมอ่ื พิจารณาเปน็ รายพบว่า ดา้ นการให้ความรู้ อยู่ ในระดับมาก ส่วนดา้ นการบรกิ าร และดา้ นการมีส่วนร่วม อยูใ่ นระดับปานกลาง เมอ่ื พิจารณาคา่ เฉล่ีย ของแตล่ ะรายด้าน พบวา่ 1. ดา้ นความรู้ โดยภาพรวมอยใู่ นระดับปานกลาง พบวา่ ประสทิ ธิผลในการดาเนินงาน ของอาสาสมคั รป้องกันภยั ฝา่ ยพลเรอื น ในการปฏบิ ัติงานการรณรงค์ตามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณศี ึกษาประชาชนที่ใชย้ านพาหนะบนท้องถนน ในพื้นท่จี งั หวัดสระบุรี เมอ่ื พจิ ารณาเปน็ รายข้อ พบว่าอยูใ่ นระดบั มากจานวน1 ขอ้ อยู่ในระดับปานกลาง จานวน 8 ขอ้ และอยใู่ นระดบั นอ้ ยจานวน 1 ข้อ โดยมคี ่าเฉลย่ี ดงั น้ี 1.1 ขอ้ ทม่ี คี า่ เฉล่ียมากท่ีสดุ คือ ข้อท่ี 10 เจา้ หนา้ ท่ี อปพร. ทเ่ี ขา้ มาปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ ในการเข้าร่วมจัดระเบยี บจารจรน้นั มีความรคู้ วามสามารถในปฏบิ ตั งิ านดา้ นการจารจร 1.2 ขอ้ ทม่ี คี า่ เฉล่ยี รองลงมาคือ ขอ้ ท่ี 3 ทา่ นมีความรูเ้ กีย่ วกับคาว่า 2 ข ท่ี กฎหมายไดก้ าหนดข้นึ เพ่ือเปน็ การลดการเกดิ อุบตั เิ หตบุ นท้องถนน
41 2. การด้านบริการ โดยภาพรวม อยู่ในระดบั ปานกลาง พบว่า ประสิทธิผล ในการ ดาเนินงานของอาสาสมัครป้องกนั ภัยฝา่ ยพลเรือนในการปฏบิ ัตงิ านการรณรงค์ตามมาตรการ 3 ม. 2 ข. 1ร. กรณีศึกษาประชาชนทใ่ี ชย้ านพาหนะบนท้องถนน ในพ้นื ทจี่ ังหวดั สระบรุ ี โดยภาพรวมอยใู่ นระดบั ปาน กลาง เมอ่ื พจิ ารณาเปน็ รายข้อพบวา่ อยใู่ นระดับปานกลาง จานวน 4 ขอ้ อยู่ในระดับน้อย จานวน 6 ข้อ โดยมีคา่ เฉลีย่ ดงั นี้ 2.1 ขอ้ ทม่ี คี ่าเฉลี่ยมากทส่ี ดุ คอื ขอ้ ที่ 13 ท่านไดร้ บั การบรกิ ารช่วยเหลอื จาก เจา้ หน้าท่ี อปพร.ในการจัดระเบยี บจราจรในบริเวณทเ่ี กดิ อบุ ตั เิ หตุให้เกดิ ความคล่องตัวในการใช้ถนน 2.2 ข้อที่มคี ่าเฉลี่ยรองลงมาคือ ขอ้ ท่ี 14 ในการบรกิ ารช่วยเหลอื จดั ระเบยี บ จราจรเม่ือมกี ารเกิดอบุ ตั ิเหตุบนท้องถนนเจ้าหนา้ ท่ี อปพร. ทใี่ หค้ วามช่วยเหลือมีเพียงพอต่อการใหค้ วาม ชว่ ย เหลอื จราจรใหร้ ถทสี่ ญั จรไปมา 2.3 ข้อที่มคี า่ เฉลี่ยน้อยท่สี ดุ คือ ขอ้ ท่ี 18 เจ้าหนา้ ที่ อปพร. มเี ครอ่ื งมอื อปุ กรณ์ กภู้ ยั ขน้ั ตน้ และเคร่อื งมืออปุ กรณ์รักษาพยาบาลทที่ นั สมัยและเพียง พอในการบริการช่วยเหลอื เม่อื เกดิ เหตุ 3. ดา้ นมสี ่วนร่วม โดยภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง พบวา่ ประสิทธิผลในการ ดาเนินงานของอาสาสมัครป้องกนั ภัยฝา่ ยพลเรอื น ในการปฏบิ ัตงิ านการรณรงคต์ ามมาตรการ 3 ม.2 ข. 1 ร. ตอ่ ประชาชนท่ีใช้ยานพาหนะบนทอ้ งถนน ในพืน้ ท่ีจงั หวดั สระบุรี จาแนกตาม ด้านการมสี ่วนร่วม โดยภาพรวมอยใู่ นระดับปานกลาง เมือ่ พิจารณาเป็นรายขอ้ พบว่าอยใู่ นระดับมากจานวน 1 ข้อ อยใู่ น ระดับปานกลาง จานวน 8 ข้อ โดยมคี า่ เฉลีย่ ดังนี้ 3.1 ข้อทม่ี คี ่าเฉลีย่ มากทส่ี ุดคือ ข้อท่ี 27 ในการบริการช่วยเหลือประชาชนตาม จดุ ตา่ ง ๆ ท่านมสี ่วนรว่ มในการสนบั สนุนอาหารเครอื่ งดมื่ เพื่อเป็นกาลังใจตอ่ การทางานของเจ้าหน้าที่ อป. พร 3.2 ข้อทม่ี คี า่ เฉล่ียรองลงมาคอื ข้อที่ 30 อปพร. เป็นส่วน ประกอบทม่ี คี วาม สาคญั กบั การดาเนินชีวติ ประจาวันของท่าน 3.3 ขอ้ ทม่ี ีค่าเฉลย่ี นอ้ ยที่ สุดคือ ข้อท่ี 25 ทา่ นมสี ว่ นรว่ มในการชว่ ยดูแลเครอ่ื งมอื หรืออุปกรณ์เตอื นภัยไวบ้ ริการในชมุ ชน เพอื่ เฝ้าระวงั และสาหรับแจง้ เตอื นภัยจากอุบัติเหตุตา่ ง ๆ ที่ศนู ย์ อปพร. ไดม้ าติดต้งั ไวใ้ ห้ สว่ นท่ี 3 เปรยี บเทียบประสทิ ธผิ ลในการดาเนนิ งานของอาสาสมคั รปอ้ งกนั ภัยฝา่ ยพลเรอื น ในการปฏบิ ตั ิงานการรณรงค์ตามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณีศกึ ษาประชาชนทใี่ ชย้ านพาหนะบนทอ้ ง ถนนในพื้นทจ่ี งั หวัดสระบุรี จาแนกตาม องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ โดยภาพรวมแตกตา่ งกนั อย่างมี นัยสาคัญทางสถติ ิท่ีระดับ .05 เมือ่ พิจาณาเป็นรายด้านพบวา่ แตกตา่ งกนั อย่างมนี ัยสาคญั ทางสถติ ทิ ีร่ ะดับ .05 คือ ด้านการมีส่วนรว่ ม สว่ นดา้ นการให้ความรู้ ด้านการบรกิ าร ไม่แตกต่างกนั โดยมีรายละเอียด ดงั นี้ 3.1 ดา้ นการให้ความรู้ การเปรยี บเทียบประสิทธิผลในการดาเนนิ งานของอาสาสมัคร ปอ้ งกันภัยฝา่ ยพลเรือน ในการปฏบิ ัตงิ านการรณรงคต์ ามมาตรการ 3 ม.2 ข.1 ร. กรณศี ึกษาประชาชนที่ ใช้ ยานพาหนะบนท้องถนนในพ้ืนท่ีจังหวัดสระบรุ ี จาแนกตาม องคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ โดยภาพรวม พบว่า ไม่แตกตา่ งกนั เม่อื พิจารณาเปน็ รายข้อ พบวา่ แตกตา่ งกันอยา่ งมีนัยสาคัญทางสถติ ิทรี่ ะดบั 0.05 จานวน 5 ขอ้ ได้แก่
Search