Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 44สุรพงษ์ มาลาวิลาศ

44สุรพงษ์ มาลาวิลาศ

Published by Hommer ASsa, 2021-05-07 04:08:39

Description: 44สุรพงษ์ มาลาวิลาศ

Search

Read the Text Version

ก คำนำ การศกึ ษาปจั จัยท่มี ีผลตอ่ ความความพึงพอใจของประชาชนในการปฏบิ ัติงานของอาสาสมคั ร ปอ้ งกันภัยฝ่ายพลเรือน ( อปพร.)ทีไ่ ด้รบั การฝึกอบรมจากศูนย์ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เขต 15 เชียงราย กรณีศกึ ษา ตาบลบา้ นแซว อาเภอเชียงแสน จังหวดั เชยี งรายในการศกึ ษาคร้ังนี้ผู้ศกึ ษา ขอขอบคณุ คณะอาจารย์และอาจารย์ทปี่ รกึ ษาท่ีได้โปรดกรณุ าใหข้ อ้ เสนอแนะช้นี าแนวทางในการศกึ ษา จนประสบความสาเรจ็ และขอบคุณผ้นู าองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ทใี่ ห้การสนบั สนุนในการเก็บข้อมลู ในพน้ื ท่ขี องท่าน จนประสบผลสาเร็จดว้ ยดี และการศกึ ษาในคร้งั นี้ผู้ศกึ ษาขอขอบพระคุณบดิ าและมารดา และครอบครวั ที่ได้ใหก้ าลงั ใจและสนับสนุนในการศึกษาจนประสบความสาเร็จ จากการศึกษาในครง้ั นี้ ผู้ศกึ ษาได้ศกึ ษารวบรวมขอ้ มลู คน้ ควา้ เอกสาร และงานวิจยั ที่ เกี่ยวข้องกับการปฏบิ ตั งิ านของอาสาสมคั รปอ้ งกนั ภัยฝา่ ยพลเรอื น ซ่งึ ผลทไี่ ดจ้ ากการศึกษาครั้งนี้ สามารถ นาไปเป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาปรบั ปรุงแนวทางการปฏบิ ตั ิงานของอาสาสมคั รปอ้ งกันภัยฝ่ายพลเรอื น และหน่วยงานที่เก่ยี วขอ้ งต่าง ๆ ไดต้ ลอดจนผทู้ สี่ นใจจะนาไปเป็นแนวทางในการศึกษาทเ่ี ก่ียวขอ้ งตอ่ ไป สรุ พงษ์ มาลาวลิ าศ นกั ศึกษา นบ.ปภ.รุ่นที่ 10 มีนาคม 2557

ข กิตตกิ รรมประกาศ รายงานการศกึ ษาวิจยั เรอ่ื ง “ปัจจยั ทมี่ ผี ลต่อความความพึงพอใจของประชาชนในการ ปฏิบัตงิ านของอาสาสมคั รปูองกันภยั ฝุายพลเรอื น ( อปพร.)ทีไ่ ดร้ ับการฝกึ อบรมจากศนู ยป์ ูองกนั และบรรเทา สาธารณภัยเขต 15 เชยี งราย กรณีศึกษา ตาบลบ้านแซว อาเภอเชยี งแสน จงั หวดั เชียงราย “ น้ี สาเร็จได้ดว้ ยดี เน่ืองจาก ผศู้ ึกษาวจิ ยั ได้รับความอนุเคราะห์ จาก ดร.ปยิ วัฒน์ ขนิษฐาบตุ ร อาจารยว์ รชพร เพชรสุวรรณ และคณะกรรมการที่ปรกึ ษา คณะผ้บู ริหารและผู้อานวยการโครงการวิทยาลยั ปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภัย ซึ่งไดก้ รุณาตรวจสอบ แนะนา และให้แนวทางอันถกู ตอ้ ง จนทาให้ผศู้ ึกษาประสบความสาเร็จ ในการศกึ ษา คน้ ควา้ และทาให้รายงานการศกึ ษาวจิ ัยฉบบั น้สี าเรจ็ ไดอ้ ย่างสมบูรณ์ ตลอดจนเจ้าหนา้ ที่ศนู ยป์ อู งกันและ บรรเทาสาธารณภัยเขต 15 เชียงราย ทใี่ หค้ วามอนุเคราะหใ์ นการทอดและเก็บรวบรวม แบบสอบถาม ผูศ้ กึ ษาวิจยั ขอขอบพระคณุ ดร.ปยิ วฒั น์ ขนษิ ฐาบตุ ร อาจารย์วรชพร เพชรสุวรรณ และ คณะกรรมการท่ปี รึกษา คณะผบู้ รหิ าร และผอู้ านวยการโครงการวิทยาลยั ปูองกันและบรรเทาสาธารณภยั ตลอดจนเจา้ หนา้ ที่ขององค์การตา่ ง ๆ ทเี่ กีย่ วขอ้ ง เชน่ ห้องสมุดกรมปอู งกันและบรรเทาสาธารณภัย ที่กรุณา เอ้ือเฟอื้ ขอ้ มูล และเจา้ หนา้ ที่เจา้ หนา้ ท่ีศนู ยป์ อู งกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต 15 เชยี งราย รวมท้ังผ้ทู ่ีตอบ แบบสอบถามทุกทา่ น ตลอดจนนักวิชาการทุกท่านท่ผี ศู้ กึ ษาได้นาผลงานอา้ งอิงประกอบการศึกษาในคร้งั นี้ ผู้ศกึ ษาใคร่ขอบพระคุณไว้ ณ ทน่ี ีด้ ว้ ย ผศู้ ึกษาหวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ ว่า รายงานการศึกษาวิจยั ฉบับนี้ จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ผู้ท่สี นใจ เก่ยี วกับความสาเร็จประสทิ ธผิ ลในการดาเนนิ งานของ อาสาสมัครปอู งกนั ภัยฝุายพลเรอื น หรืออาจใชเ้ ปน็ แนวทางในการศกึ ษาคน้ ควา้ ต่อไปไดอ้ ยา่ งดี คุณความดีอันใดท่ี เกดิ จากการศึกษาครงั้ นี้ ผศู้ กึ ษาของมอบแด่ บดิ า มารดา คณาจารย์ และผทู้ ่ีเกยี่ วขอ้ ง สนบั สนนุ ผศู้ กึ ษาด้วยดี สรุ พงษ์ มาลาวลิ าศ นักศึกษาหลักสูตร นบ.ปภ. รุ่นท่ี 10 มีนาคม 2557

บทสรุปสำหรบั ผูบ้ รหิ ำร ในปจั จุบนั สาธารณภยั ท้ังทเ่ี กดิ ข้ึนเองตามธรรมชาติ และท่ีเกิดข้นึ จากการกระทาของมนุษย์ ได้กลายเป็นปัญหาสาคญั ของโลกรวมทั้งประเทศไทย ซ่งึ มแี นวโน้มว่าจะมีความรนุ แรงและมคี วามถ่ี เพ่มิ มากข้ึน เช่น แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด สนึ ามิ อุทกภยั วาตภยั ดนิ โคลนถลม่ อัคคีภยั ภยั แล้ง โรคระบาดท้ังในสัตว์ พชื และมนษุ ย์ สารเคมีวัตถุอนั ตราย ตลอดจนภัยจากคมนาคมขนสง่ ซง่ึ สร้างความ เสยี หายให้กบั ชวี ิตและทรพั ย์สนิ ของประชาชนจานวนมาก การเตรียมความพรอ้ มรับภยั พิบัติดงั กล่าว จงึ เป็นสงิ่ จาเปน็ ในการปูองกนั อันตรายและช่วยเหลือตนเองและช่วยเหลอื ผอู้ ื่น ซึง่ จะช่วยลดความสูญเสีย ท่จี ะเกดิ ขนึ้ ได้เปน็ อย่างดี การปอู งกันและบรรเทาสาธารณภยั ดังกล่าว ถอื เปน็ ภารกจิ ทสี่ าคัญและสง่ ผลต่อ สภาพความเป็นอยคู่ ณุ ภาพชีวติ ความปลอดภัยในชีวติ และทรพั ย์สนิ ของประชาชน รัฐบาลจงึ ออก พระราชบญั ญตั ปิ ูองกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 โดยกาหนดใหอ้ งค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น แห่งพื้นท่ี มีหนา้ ทใ่ี นการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขตทอ้ งถน่ิ ของตน และยังกาหนดให้ องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ินจัดตั้งหน่วยอาสาสมคั รปูองกนั ภยั ฝุายพลเรือน เพ่ือช่วยเหลอื สนับสนุน หนว่ ยราชการในการปูองกนั และบรรเทาสาธารณภยั ท่วั ราชอาณาจักร ตามระเบยี บกระทรวงมหาดไทย ว่าดว้ ยหน่วยอาสาสมคั รปูองกันภยั ฝุายพลเรอื น พ.ศ. 2553 ในการศกึ ษาครั้งนี้ เปน็ การศึกษา ปัจจยั ท่ีมีผลตอ่ ความความพึงพอใจของประชาชนในการ ปฏิบตั ิงานของของอาสาสมัครปูองกันภัยฝุายพลเรอื น(อปพร.) ทไ่ี ด้ไดร้ ับการฝึกอบรมจากศูนยป์ อู งกนั และ บรรเทาสาธารณภัยเขต ๑๕ เชยี งราย กรณีศกึ ษา ตาบลบ้านแซว อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย การศกึ ษาครัง้ น้ี เปน็ การศึกษาเชิงปริมาณ ประชากรทศี่ ึกษา ไดแ้ ก่ ประชาชนในเขต ตาบลบ้านแซว อาเภอเชยี งแสน จงั หวัดเชียงราย จานวน 90 คน เครอ่ื งมอื ท่ใี ชใ้ นการศกึ ษาครัง้ น้ี ใช้แบบสอบถาม สถิตทิ ่ีใช้ ได้แก่ ค่าร้อยละ คา่ เฉลีย่ ซ่งึ สรปุ ผลการวจิ ยั ดงั น้ี สรปุ ผลการวิจัย ดังนี้ สรุปผลการวจิ ยั จากการศึกษาครง้ั นส้ี ามารถสรุปผลได้ ดังน้ี 1. ข้อมูลสว่ นบุคคล ผลการศกึ ษา พบว่า จากกลมุ่ ตัวอย่าง 90 คน มีเพศชายมากกว่าเพศหญิง คิดเป็น ร้อยละ 74.4 และ 25.6 ตามลาดับ มชี ว่ งอายมุ ากทส่ี ุด คือชว่ ง อายุ 40-49 ปี คดิ เป็นรอ้ ยละ 28.8 และรองลงมา ได้แกช่ ่วงอายุ 30-39 ปี , 60 ปขี น้ึ ไป , อายุ 18-29 ปี และมอี ายุ 50-59 ปี คดิ เป็น ร้อยละ 27.7, 17.7 และ 16.6 และ9.2 ตามลาดับ มรี ะดับการศึกษาระดบั มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ปวช. มากที่สุด คิดเป็นรอ้ ยละ 50 รองลงมาระดับการศกึ ษาระดบั ประถมศกึ ษาถึงมธั ยมศกึ ษาปที 3่ี ระดบั ปรญิ ญาตรี ระดับอนุปริญญา คดิ เปน็ รอ้ ยละ 23.3, 16.6, 10.1 ส่วนสถานภาพมีสถานภาพโสดมากทส่ี ุด คือรอ้ ยละ 50 รองลงมาสมรสและหยา่ ร้าง 44.4 และ 5.6 ตามลาดับ ส่วนอาชพี สว่ นใหญป่ ระกอบอาชพี เกษตรกรรม คดิ เปน็ รอ้ ยละ 57.7 รองลงมาประกอบอาชีพ รับจา้ ง รบั ราชการ คา้ ขายและพนักงาน/ลกู จา้ ง คดิ เปน็ ร้อยละ 13.3,13.3, 11.1 และ 4.6 ตามลาดบั มสี ถานภาพ สมรสมากท่สี ดุ คอื รอ้ ยละ 81.5 รองลงมาโสด อยา่ รา้ ง และหมา้ ย คดิ เปน็ ร้อยละ 13.0, 3.8 และ 1.7 ตามลาดบั

การจาแนกตามรายได้มีรายได้ระหวา่ ง 5,001-10,000 บาท มากทส่ี ุด จานวน 46.6 และมรี า้ ยได้นอ้ ยท่ีสดุ ที่ มากกว่า 20,000 บาท จานวน ร้อยละ 3.5 2.ระดับความคิดเห็นของประชาชนดา้ น องคค์ วามรคู้ วามคดิ เหน็ ของประชาชนจากการศกึ ษา พบว่า อปพร.ทไี่ ดร้ ับการอบรมจากศูนย์ปูองกันและบรรเทาสาธารณภยั เขต 15 เชยี งราย ต่อดปา้ัจนจปัยัจจัยดา้ น องค์ความรเกู้ ีย่ วกับเรือ่ งระเบยี บ มท.วา่ ดว้ ย อปพร และเรือ่ งความรู้ดา้ นสารเคมีมคี วามคดิ เหน็ พงึ พอใจในระดับ มากท่ีสุด มีคา่ เฉล่ยี 4.62และ 4.24 ตามลาดับ นอกจากน้ยี ังนาความรู้เรื่องต่างๆไปใช้มคี วามพงึ พอใจในระดบั มาก ในเรือ่ ง พรบ.ปอู งกันและบรรเทาสาธารณภยั , เงอื นเชือกในงานสาธารณภยั , ระเบียบแถว , การปฐมพยาบาลและ การเคล่ือนยา้ ยผปู้ วุ ย , การแจ้งเตือนภยั และการงานข่าว , ปัญหายาเสพติดและผู้มอี ิทธพิ ล , การช่วยเหลอื และ สงเคราะหผ์ ู้ประสบภยั , การจัดการภัยพบิ ัตโิ ดยใช้ชุมชนเปน็ ฐาน , หลักการก้ภู ัย , การเคล่อื นยา้ ยบคุ คลจาก พนื้ ทส่ี ูง , การปอู งกนั และระงับอัคคภี ยั , ความปลอดภัยทางถนน ดา้ นอุปกรณเ์ ครอ่ื งมอื จากการศกึ ษาพบว่าประชาชนในเขตตาบลบา้ นแซมวีความพงึ พอใจต่อการใช้ เครอื่ งมือก้ภู ยั ที่ถูกต้อง 4.02 และมีความพึงพอใจมีเคร่ืองมอื กู้ภยั ที่เพยี งพอ จานวน 4.07 ดา้ นการจัดองคก์ รโดยรวม อยใู่ นระดบั มากและมากท่ีสุด พบวา่ เรอื่ งท่ีประชาชนพึงพอใจมากท่ีสดุ ไดแ้ ก่ ขอ้ จัดระบบงานเอกสาร ทะเบียนหนงั สอื รับ -สง่ ทะเบยี นฐานขอ้ มูลสมาชกิ และแฟูมรวบรวม ผลงานของสมาชิก ซึง่ มีค่าเฉลยี่ ท่ี 4. 25 และเรอื่ งอน่ื ประชาชนมคี วามพงึ พอใจในระดับมากไดแ้ กเ่ รื่อง ผูบ้ ริหารให้ความสาคญั และสนับสนนุ การบริหารกจิ การ อปพร , จัดประชุมชแี้ จง ทาความเขา้ ใจกฎหมาย ทีเ่ กย่ี วขอ้ งในการปฏิบตั งิ าน,คดั เลอื กและแต่งต้ังคณะกรรมการประสานงาน โดยมอบหมายหนา้ ทค่ี วาม รับผดิ ชอบชดั เจน,จดั ต้งั งบประมาณสาหรับรองรบั การบรหิ ารกจิ การ อปพร . , จัดทาแผนพัฒนาศักยภาพ อปพร., การส่งั ใช้ทุกครง้ั ถูกตอ้ งตามระเบยี บฯ,วางระบบเพ่ือรองรบั การบริการประชาชนสถานทีต่ ดิ ตอ่ และระบบ Call Center หรือศนู ยร์ บั แจง้ เหตุ , จัดเจา้ หน้าทีป่ ฏบิ ัติงานดา้ นรกั ษาความสงบเรยี บร้อย และ รว่ มกจิ กรรมรณรงค์ ความปลอดภัยภายในพน้ื ท่แี ละรว่ มกับศนู ย์ อปพร. จังหวัด จากผลการศึกษา การศึกษา ความพึงพอใจของประชาชนในชุมชนว่ามีความพงึ พอใจในการ ปฏิบตั งิ านของอาสาสมคั รปอู งกนั ภยั ฝุายพลเรือน (อปพร.) ท่ีไดไ้ ด้รบั การฝึกอบรมจากศนู ยป์ ูองกนั และ บรรเทาสาธารณภัยเขต ๑๕ เชยี งราย กรณศี กึ ษา ตาบลบ้านแซว อาเภอเชียงแสน จงั หวัดเชยี งราย การศกึ ษาคร้ังนี้ สามารถทจี่ ะใช้เปน็ แนวทางในการจดั ฝึกอบรม อปพร. ให้ประสบผลสาเร็จไดส้ ามารถ นาไปใชป้ ระโยชน์ในการสร้างเครือขา่ ยความรว่ มมือของประชาชนในการปูองกนั และบรรเทาสาธารณภัย ซ่งึ จะเป็นกลไลสาคัญที่ชว่ ยให้บรหิ ารจดั การภยั พิบตั ิ (การปูองกัน บรรเทา ฟื้นฟู) ในพ้นื ทรี่ บั ผดิ ชอบ เปน็ ไปอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ประชาชนผปู้ ระสบภยั จะไดร้ บั การชว่ ยเหลอื อยา่ งทันท่วงที และเกิดความ มน่ั ใจความปลอดภัยของชวี ติ และทรพั ยส์ นิ

ง สารบัญ หนา้ คานา ก ข กิตตกิ รรมประกาศ ค ง บทสรุปสาหรับผู้บริหาร 1 สารบัญ 2 2 บทที่ 1 บทนา 3 ความสาคญั และทม่ี าของปัญหาวจิ ยั วตั ถุประสงค์ของการศึกษา 4 ขอบเขตการศึกษา 5 6 ประโยชนท์ ีใ่ ชใ้ นการศึกษา 6 นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ 3 7 8 บทที่ 2 แนวคดิ ทฤษฎแี ละงานวจิ ัยทเี่ ก่ยี วขอ้ ง 13 1. พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 2. แนวคิดเกี่ยวกบั กระบวนการบรหิ าร 17 3. แนวคิดเกีย่ วกับความพงึ พอใจ 17 4. แนวคิดเกีย่ วกับการมสี ่วนรว่ ม 17 5. แนวคิดเกี่ยวกบั การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย 18 6. ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยเรอื่ งอาสาสมคั รป้องกันภยั ฝา่ ยพลเรอื น (อปพร.) 18 7. วรรณกรรมท่เี กี่ยวขอ้ ง 18 19 บทท่ี 3 ระเบยี บวธิ ีวิจัย ประชากร 20 เครือ่ งมอื ทใี่ ช้ในการศึกษา การตรวจสอบเคร่ืองมอื องค์ประกอบแบบสอบถาม การเกบ็ รวบรวมข้อมลู การแป รผลข้อมลู สถติ ิทีใ่ ช้ในการวเิ คราะห์ บทท่ี 4 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ส่วนท่ี 1 ขอ้ มูลส่วนบคุ คลของกลุ่มตวั อยา่ ง

ส่วนที่ 2 ระดับความคิดเหน็ ขอปง ระชาชน ง 23 สารบัญ (ตอ่ ) หน้า บทท่ี 5 บทสรุปผลการศกึ ษาวิจัยและขอ้ เสนอแนะ 7 สรุปผลการศกึ ษา 2 8 9 การอภปิ รายผล 2 ข้อเสนอแนะสาหรับการวจิ ัยครง้ั ตอ่ ไป 2 บรรณานกุ รม ภาคผนวก

บทที่ 1 บทนา ความสาคญั และทีม่ าของปญั หาวจิ ัย ในปจั จบุ ันสาธารณภยั ท้ังทเ่ี กดิ ขน้ึ เองตามธรรมชาตแิ ละท่เี กดิ ขึ้นจากการกระทาของมนุษย์ ได้กลายเป็นปญั หาสาคญั ของโลกรวมทงั้ ประเทศไทย โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยีท่ที า ให้เกดิ การขยายตัวของเศรษฐกจิ การค้า การลงทุน เปน็ ปัจจยั สาคัญท่ีส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อการ ทาลายสง่ิ แวดล้อมของโลก ทาให้ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งมนษุ ยก์ ับมนษุ ย์ และมนุษยก์ บั ธรรมชาติ เปลี่ยนแปลงไป เป็นปัจจยั เรง่ ให้โลกต้องเผชญิ กับวกิ ฤติดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม โดยเฉพาะสถานการณ์ภาวะโลกรอ้ น ส่งผลใหเ้ หตสุ าธารณภัยมแี นวโนม้ ว่าจะมีความรุนแรงและมคี วามถ่ี เพมิ่ มากขึน้ เช่น แผ่นดินไหว สึนามิ อุทกภัย วาตภยั ดนิ โคลนถลม่ อัคคีภยั ภัยแลง้ โรคระบาดทง้ั ในสตั ว์ พืช และมนษุ ยส์ ารเคมวี ัตถุอันตรายตลอดจนภยั จากคมนาคมขนส่งซงึ่ สร้างความเสยี หายใหก้ บั ชีวิตและ ทรัพยส์ ินของประชาชนจานวนมาก การเตรียมความพรอ้ มรับภยั พิบตั ดิ งั กล่าจึงเป็นสิ่งจาเป็นในการ ปอ้ งกันอนั ตรายและช่วยเหลอื ตนเองและชว่ ยเหลือผอู้ ่ืน ซึ่งจะช่วยลดความสูญเสียที่จะเกดิ ขนึ้ ได้ เป็นอยา่ งดี การปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ดังกล่าว ถอื เปน็ ภารกจิ ทส่ี าคัญและสง่ ผลตอ่ สภาพความ เป็นอย่คู ุณภาพชีวิต ความปลอดภยั ในชวี ิตและทรพั ย์สินของประชาชน รฐั บาลจึงออกกฎหมายในการ ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยฉบับแรก ช่อื วา่ พระราชบัญญัติปอ้ งกนั ภยั ฝา่ ยพลเรือน พ.ศ. 2522 ต่อมา ได้ยกเลกิ และออกพระราชบัญญตั ปิ ้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 มผี ลบังคบั ใช้ตงั้ แตว่ นั ท่ี 6 พฤศจิกายน 2550 โดยกาหนดให้องคก์ ารปกครองสว่ นท้องถน่ิ แห่งพืน้ ท่ี มหี นา้ ทีใ่ นการปอ้ งกัน และบรรเทาสาธารณภัยในเขตท้องถ่ินของตน ซึง่ มผี บู้ รหิ ารทอ้ งถ่ินแหง่ พนื้ ทน่ี นั้ เปน็ ผู้รับผดิ ชอบ (กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย, 2552) องคก์ ารปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน เป็นหนว่ ยงานบรหิ ารราชการ ส่วนท้องถ่นิ มอี านาจหน้าท่แี ละภารกจิ ตามพระราชบัญญัตกิ าหนดแผนและขน้ั ตอนการกระจายอานาจ ใหแ้ กอ่ งคก์ ารปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน พ.ศ. 2542 มาตรา 16 ให้เทศบาลเมืองพัทยาและองค์การบริหารสว่ นตาบล มีอานาจหน้าที่ในการจัดบรกิ ารสาธารณะเพอื่ ประโยชนข์ องประชาชนในทอ้ งถ่นิ ของตนเอง และพระราชบัญญัตปิ ้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 หมวด 4 มาตรา 41 ใหผ้ ู้อานวยการ จัดให้มอี าสาสมคั รในพื้นที่ท่รี บั ผิดชอบเพื่อปฏบิ ตั ิดงั ต่อไปนี้ (1) ใหค้ วามชว่ ยเหลือเจา้ พนกั งานในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย (2) ปฏิบัติหน้าทอ่ี นื่ ตามทผ่ี ้อู านวยการมอบหมายและตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยกาหนด การบรหิ ารจัดการสาธารณภัยที่นานาอารยประเทศถอื เปน็ หลกั สากลท่ตี อ้ งจัดใหม้ ขี ้นึ คือการ คดั เลือกและฝกึ อบรมอาสาสมคั รเพราะเม่ือเกดิ สาธารณภัยขนาดใหญข่ น้ึ ประชาชนผู้ประสบภัยมเี ป็น จานวนมาก เจ้าหนา้ ทบ่ี า้ นเมืองท่ีจะช่วยเหลอื ผู้ประสบภยั มีจานวนไม่เพยี งพอกบั การเข้าชว่ ยเหลอื

2 ผู้ประสบภัย จาเปน็ ทจ่ี ะต้องคดั เลือกประชาชนท่ีอยู่บรเิ วณเดียวกันนามาฝึกอบรมให้ความรู้ในการป้องกัน แจ้งเตอื น ปฏิบตั กิ ารระงบั บรรเทาภัย เพือ่ ให้การจัดการในสถานการณ์ฉกุ เฉนิ ไดด้ าเนนิ ไปอยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ ซง่ึ พระราชบัญญตั ิปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 กาหนดให้องคก์ รปกครอง สว่ นทอ้ งถนิ่ จัดตั้งหนว่ ยงานอาสาสมคั รป้องกันภยั ฝา่ ยพลเรือน เพื่อชว่ ยเหลอื สนบั สนุนหนว่ ยราชการใน การปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ท่วั ราชอาณาจักร โดยได้ดาเนินการตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่า ด้วยหนว่ ยอาสาสมคั รปอ้ งกนั ภยั ฝ่ายพลเรือน พ.ศ. 2553 (กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั , 2552) ประกอบกับ ในปัจจุบนั ได้เกิดสาธารณภยั บอ่ ยคร้ังขนึ้ ทง้ั ทีเ่ ปน็ ภัยทเี่ กิดข้ึนโดยธรรมชาติ และภยั ท่เี กิดข้ึน โดยจากการกระทาของมนุษย์ ซ่งึ สร้างความสูญเสียให้ แก่ชีวติ ทรัพยส์ นิ และส่งิ แวดล้อม เปน็ จานวนมาก การเกดิ สาธารณภัยจาเปน็ จะต้องมีหนว่ ยงานในภาครัฐ ภาคเอกชน รวมถึงอาสาสมัครทเี่ ปน็ พลังภาค ประชาชนทอ่ี ยใู่ นพนื้ ท่ี ชุมชน/หมู่บ้าน เข้ารว่ มปฏบิ ัตหิ น้าทช่ี ว่ ยเหลือในงานด้านการปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณภยั และกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายทจี่ ะพฒั นาศักยภาพเครือข่ายอาสาสมคั รป้องกนั ภัย ฝา่ ยพลเรือน (อปพร.) เพ่ือเปน็ กาลังหลักภาคประชาชนในการปอ้ งกนั สาธารณภยั ในทุกพนื้ ที่โดยให้องค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นสนับสนุนการฝึกอบรมเพม่ิ จานวนสมาชิกอาสาสมัครปอ้ งกนั ภยั ฝา่ ยพลเรอื น (อปพร.) ให้ครบตามเปา้ หมายรอ้ ยละ 2 ของประชากรในพ้นื ที่ ดังนัน้ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมอาสาสมัคร /เจ้าพนกั งานให้มคี วามรคู้ วามสามารถในการ ปฏบิ ตั หิ น้าท่ี พร้อมเผชิญกับสถานการณ์ภยั พิบตั ทิ ี่อาจจะเกดิ ขนึ้ ได้อย่างถูกตอ้ งมปี ระสทิ ธิภาพ และเพ่มิ จานวนอาสาสมคั รป้องกันภัยฝ่ายพลเรอื น (อปพร .) เพื่อสนับสนุนนโยบายกระทรวงมหาดไทย จงึ จาเป็นต้องมีการจดั อบรมอาสาสมัครปอ้ งกนั ภยั ฝ่ายพลเรอื น (อปพร.) ขึ้นในพ้ืนที่ซ่ึงศนู ยป์ ้องกนั และ บรรเทาสาธารณภยั เขต 15 เชยี งราย กไ็ ดจ้ ดั การอบรมในพื้นที่ และเพ่ือเป็นการสารวจว่าประชาชน ในพน้ื ที่มีความพงึ พอใจในการปฏิบัตงิ านของอาสาสมัครป้องกันภยั ฝา่ ยพลเรือน (อปพร.) ในพ้นื ทห่ี รอื ไม่ จากเหตผุ ลดังกลา่ ว จึงเป็นมูลเหตใุ หผ้ ูศ้ กึ ษามีความสนใจทจ่ี ะศึกษาเก่ียวกับความพึงพอใจของ ประชาชนในชุมชนวา่ มีความพงึ พอใจในการปฏิบัติงานของอาสาสมัครปอ้ งกนั ภยั ฝา่ ยพลเรอื น (อปพร.) ทไ่ี ด้ไดร้ ับการฝกึ อบรมจากศูนย์ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เขต 15 เชยี งราย กรณศี ึกษา ตาบลบา้ นแซว อาเภอเชียงแสน จงั หวดั เชยี งราย หรือไม่ วัตถุประสงค์ของการศกึ ษา 1. เพือ่ ศกึ ษาถึงกระบวนการให้บรกิ ารในพ้นื ที่ของอาสาสมคั รป้องกนั ภัยฝ่ายพลเรอื น (อปพร.) ตาบลบา้ นแซว อาเภอเชยี งแสน จงั หวัดเชยี งราย 2. เพ่อื ศกึ ษาความคิดเหน็ ของประชาชนตอ่ การปฏบิ ัตงิ านของอาสาสมคั รปอ้ งกนั ภัยฝา่ ยพลเรอื น (อปพร.) ตาบลบา้ นแซว อาเภอเชยี งแสน จงั หวัดเชยี งราย ท่ไี ดร้ บั การฝึกจากศนู ยป์ ้องกันและบรรเทา สาธารณภยั เขต 15 เชียงราย

3 ขอบเขตการศึกษา ผู้วจิ ัยใช้การวิจัยเชิงปรมิ าณสาหรับการศึกษาครง้ั นี้ โดยเลอื กใชว้ ธิ กี ารสารวจด้วยแบบสอบถามท่ี สรา้ งข้ึนและได้กาหนดขอบเขตของการวจิ ัยไวด้ งั น้ี คอื 1. ประชากรที่ใชศ้ ึกษาเปน็ ประชาชนในพื้นท่ตี าบลบ้านแซว อาเภอเชียงแสน จงั หวดั เชยี งราย 2. ตัวอยา่ งท่ีใช้ศึกษาเลือกจากกลุม่ ผู้นา จานวน 90 คน 3. ตวั แปรท่ีเกย่ี วขอ้ งกับการศึกษา ประกอบด้วย ตวั แปรตาม คือ ความพึงพอใจของประชาชน การปฏิบตั งิ าน ของ อาสาสมัครปอ้ งกันภัยฝา่ ย พลเรอื น (อปพร.) ที่ไดร้ บั การฝึกจาก ศูนย์ป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยเขต 15 เชยี งราย ตัวแปรอสิ ระ คือ ปัจจัยสว่ นบุคคล ไดแ้ กอ่ ายุ เพศ ระดับการศึกษาสถานภาพสมรสอาชีพ รายได้ 4. สถานทีศ่ ึกษาท่ีผูว้ ิจยั ใชเ้ ก็บรวบรวมขอ้ มลู คอื บรเิ วณ ตาบลบ้านแซว อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชยี งราย 5. ระยะเวลาในการศกึ ษา เริ่มตงั้ แต่เดือนมกราคม ถึงเดือนมีนาคม 2557 ประโยชน์ที่ใช้ในการศกึ ษา ผลจากการศกึ ษามีประโยชนต์ ่อฝา่ ยที่เกย่ี วขอ้ งดังน้ี คือ 1. ผจู้ ดั การฝกึ อบรมทราบถึงความพึงพอใจของประชาชนต่อการปฏบิ ัตงิ านของอาสาสมคั รปอ้ งกันภยั ฝ่ายพลเรือน (อปพร.) ทีไ่ ด้รบั การฝกึ จาก ศนู ยป์ ้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต 15 เชียงรายกรณศี กึ ษา ตาบลบ้านแซว อาเภอเชียงแสน จงั หวัดเชียงราย 2. นาเรยี นผ้บู ังคบั บญั ชาใหท้ ราบถึงความพงึ พอใจของประชาชนต่อการปฏิบัติงานของอาสาสมคั ร ป้องกนั ภยั ฝา่ ยพลเรือน (อปพร.) ที่ได้รับการฝึกจาก ศนู ยป์ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เขต 15 เชยี งราย กรณีศกึ ษา ตาบลบา้ นแซว อาเภอเชียงแสน จงั หวัดเชยี งราย เพอ่ื ใชเ้ ปน็ แนวทางการพัฒนาและปรบั ปรงุ หลกั สูตรการอบรม ให้มปี ระสิทธิภาพมากยิ่งขนึ้ นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ คานยิ ามศัพท์เฉพาะในการศึกษาในครงั้ นี้ ไดแ้ ก่ ประชาชน หมายถึง ประชาชนในพน้ื ที่ตาบลบา้ นแซว อาเภอเชียงแสน จงั หวัดเชยี งราย อปพร. หมายถงึ อาสาสมัครป้องกนั ภัยฝา่ ยพลเรอื น องค์การบรหิ ารส่วนตาบลบา้ นแซว อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ท่ีผ่านการฝึกอบรมจากศนู ยป์ อ้ งกันและบรรเทา สาธารณภยั เขต ๑๕ เชียงราย

บทที่ 2 แนวคดิ ทฤษฎแี ละงานวิจยั ทเี่ กย่ี วขอ้ ง บทนเี้ ป็นการนาเสนอ แนวคดิ ทฤษฎีและงานวิจยั ที่เกยี่ วขอ้ งกบั ตัวแปรของการศึกษาซึ่งผวู้ จิ ยั ได้ ทาการสืบค้น จากเอกสารทางวิชาการและงานวจิ ยั จากแหล่งต่างๆ โดยแบ่งเน้ือหาของบทเป็น ๗ สว่ น คอื ทฤษฎี แนวความคิด ระเบยี บกฎหมายทีใ่ ช้ในการศึกษา 1. พรบ.ปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 2. แนวคิดเก่ยี วกบั กระบวนการบรหิ าร 3. แนวคดิ เก่ียวกับความพงึ พอใจ 4. แนวคดิ เก่ยี วกับการมีสว่ นรว่ ม 5. แนวคดิ เกยี่ วกบั การปูองกนั และบรรเทาสาธารณภัย 6. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยเร่อื งอาสาสมคั รปอู งกนั ภัยฝาุ ยพลเรอื น (อปพร.) 7. วรรณกรรมท่เี กีย่ วข้อง 1. พระราชบญั ญตั ิป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 กรมปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ( 2553) อาสาสมัครปอู งกันภัยฝาุ ยพลเรอื น (อปพร.) ตรงกับภาษาองั กฤษว่า“ Civil Defence Volunteer ” คอื ประชาชนในท้องถน่ิทอ่ี าสาและสมัครใจ โดยไม่หวัง ผลตอบแทนใดๆ เพอ่ื ชว่ ยเหลือทางราชการ ในการปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เปน็ กาลังเสริมในการ ปฏบิ ตั ิหน้าท่ีเม่ือเกดิ ภัยพบิ ัตขิ ึน้ ภายใตแ้ นวคดิ ท่จี ะให้ประชาชนไดม้ สี ่วนร่วมในการจดั การภัยพิบหตั นิ ้าท่ีของ อาสาสมคั รปูองกันภัยฝุายพลเรือน (อปพร.) มีขอบเขตกว้างขวางมาก และเปน็ พลังสาคญั ในการ ขับเคล่ือนภารกจิ การปอู งกันและบรรเทาสาธารณภยั ในเขตพืน้ ที่รับผิดชอบ รวมท้งั สนับสนนุ การปูองกัน และบรรเทาสาธารณภัย ให้กบั พ้นื ท่ีใกล้เคียง ดังตอ่ ไปน้ี กอ่ นเกิดภยั ได้แก่ ( 1) สอดส่องดูแลส่ิงผิดปกติ ทีเ่ กิดขนึ้ (2) สารวจ ตรวจสอบจดุ เสี่ยงภยั (3) เตรยี มความพร้อมด้านคน วสั ดุ แจ้งเตอื นภัย (4) เป็นแกนนาในการสร้างจติ สานึกเกยี่ วกับความปลอดภยั (5) เฝาู ระวงั เหตุ (6) สร้างพันธมิตร ความร่วมมือของประชาชนต้ังแตใ่ นสภาวะปกติ (7) อืน่ ๆ ทไี่ ดร้ ับมอบหมาย ขณะเกิดภัย ได้แก่ (1) รว่ มปฏบิ ัตกิ ารในการบรรเทาภยั (2) ระดมความร่วมมอื จากประชาชนในการบรรเทาภยั (3) ปฏิบัติการอ่ืนๆ ทไี่ ด้รบั มอบหมาย และภายหลังเกดิ ภยั ไดแ้ ก่ ( 1) ช่วยปฏิบตั ิงานด้านการสงเคราะห์ ผปู้ ระสบภยั (2) ชว่ ยฟ้ืนฟสู ่ิงทีไ่ ดร้ ับความเสยี หาย ให้กลบั คนื สภาพปกติโดยเร็ว (3) ระดมความ ช่วยเหลือจากประชาชน ในปี พ.ศ. 2522 ไดม้ ีการประกาศใช้พระราชบญั ญัติปอู งกนั ภัยฝุายพลเรือน ในราชกิจจา-นุเบกษา เลม่ ที่ 96 ตอนท่ี 39 โดยมีผลบังคับใชต้ ง้ั แตว่ ันท2่ี2 มีนาคม 2522 ซึ่งได้กาหนดให้มี การจดั ตั้งหน่วยอาสาสมคั รปอู งกนั ภยั ฝุายพลเรอื น (อปพร.) ขน้ึ ทุกเขตในกรุงเทพมหานคร และทุกอาเภอ ทั่วราชอาณาจักร เพื่อช่วยเหลอื ในการปูองกันภยั ฝาุ ยพลเรอื น จงึ ได้ถือเอาวนั ท่ี 22 มนี าคมของทกุ ปเี ป็นวนั อาสาสมคั รปอู งกนั ภัยฝาุ ยพลเรอื น ในปี พ.2ศ5.31 กระทรวงมหาดไทย ได้กาหนดระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา่

5 ดว้ ยหน่วยอาสาสมคั รปอู งกนั ภัยฝาุ ยพลเรอื น พ.2ศ5.31 ขึ้นโดยได้ประกาศใช้เมือ่ วนั ท1ี่ 3 ตุลาคม พ.ศ.2531 จึงทาให้การดาเนนิ งานเก่ียวกับ อปพร. เปน็ ไปอยา่ งมรี ะบบและมีกฎหมายรองรับอย่างถูกตอ้ งและได้มีการ เปลีย่ นแปลงเรือ่ ยมา เช่น พ.ศ. 2540 พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2547 และปัจจุบันอยรู่ ะหวา่ งยกรา่ งแก้ไขระเบยี บ กระทรวงมหาดไทยวา่ ด้วยหน่วยอาสาสมัครปอู งกันภยั ฝุายพลเรือน เพอ่ื ให้สอดคลอ้ งกบั พระราชบญั ญตั ิ ปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ.2550 และเพื่อให้เหมาะสมกบั สภาพการปฏบิ ัติงานด้านการปูองกนั และ บรรเทาสาธารณภัย ซึง่ สาระสาคญั ของระเบียบกระทรวงมหาดไทย ท่ไี ดม้ ีการแก้ไข มผี ลใหอ้ งคก์ รปกครองส่วน ท้องถน่ิ ในระดบั องค์การบรหิ ารสว่ นตาบล และเทศบาลทั่วประเทศมฐี านะเป็นศนู ย์อาสาสมคั รปอู งกนั ภยั ฝาุ ยพล เรอื น ซ่งึ สอดคลอ้ งกบั หลักการกระจายอานาจ หลกั การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน และหลักการปูองกนั ภัยฝุายพล เรือนท่ีเนน้ บทบาทความสาคัญขององค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นและประชาชนใหเ้ ข้ามามีสว่ นรว่ มในการบรหิ าร จดั การเกี่ยวกับการปูองกันและบรรเทาสาธารณภยั ในพน้ื ท่ี ซง่ึ หน่วยอาสาสมคั รประกอบไปด้วย ศูนย์ อปพร. กลาง ศนู ย์ อปพร. เขต ศูนย์ อปพร.จงั หวดั ศูนย์ อปพร. อาเภอ ศูนย์ อปพร. ก่ิงอาเภอ ศนู ย์ อปพร. เทศบาล ศูนย์ อปพร. องคก์ ารบริหารส่วนตาบลศนู ย์ อปพร. กรุงเทพมหานคร ศูนย์ อปพร. เขตในกรุงเทพมหานคร ศนู ย์ อปพร.เมืองพัทยา ลกั ษณะการปฏิบตั ิหน้าทช่ี ่วยเหลือในการปอู งกันและบรรเทาสาธารณภัย 2. แนวความคิดและทฤษฎเี รื่องกระบวนการบรหิ าร เสนาะ ตเิ ยาว์ 2( 544) ไดใ้ หค้ วามหมายวา่ กระบวนการบริหาร คอื กระบวนการทางานกบั คนและโดย อาศยั คน เพอื่ บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ขององคก์ รภายใต้สภาพแวดลอ้ มท่ีเปล่ยี นแปลง โดยสรปุ ไว้เปน็ ประเด็นสาคญั คอื (1) การบรหิ ารเป็นการทางานกบั คนและโดยอาศยั คน2)( การบรหิ ารทาใหง้ านบรรลเุ ปาู หมายขององค์กร (3) การบรหิ ารเป็นความสมดุลระหวา่ งประสิทธผิ ลและประสทิ ธภิ า(4พ) การบรหิ ารเปน็ การใช้ทรพั ยากรทมี่ ีอยู่ อยา่ งจากัดใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ (5) การบริหารตอ้ งเผชญิ กบั สภาพแวดล้อมทเ่ี ปล่ียนแปลงเสมออยา่ งไรกต็ าม ศิริวรรณ เสรรี ัตน์ (2549) ได้กล่าวถงึ กระบวนการบรหิ ารแบบใหม่ ว่าการบรหิ ารองค์กรมีลักษณะท่ีเปน็ ระบบ และเปน็ กระบวนการทางานให้สาเร็จตามวตั ถุประสงค์ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผล โดยมปี ัจจยั นาเข้า คอื ปจั จยั ด้านกาลงั คน ปจั จัยการเงนิ และปจั จยั ดา้ นวสั ดอุ ุปกรณ์ ผ่านกระบวนการบรหิ าร ซ่ึงประกอบไปด้วย 5 ประการ คือ การวางแผน (Planning) การจัดองค์การ (Organizing) การบริหารงานบคุ คล (Staffing) การอานวยการ(Directing) และการควบคมุ (Controlling) กระบวนการบรหิ ารตามแนวคดิ ของWeichrich ซงึ่ มขี ั้นตอน ดงั นี้(1) การวางแผน(Planning) เก่ยี วขอ้ งกบั การคาดการณF์o(recasting) การกาหนดวตั ถุประสงค์ (Set objective) การพัฒนากลวธิ (ี Develop strategies) ในการวางแผนจาแนกแผนออกเป็นโครงก(าPรrogram) กาหนดงบประมาณ(Budget) และแนวการปฏิบตั (ิProcedure) ตลอดจนปรับปรุงนโยบาย(Policy) ให้สอดคลอ้ ง และทนั กับเหตุการณ์อยูเ่ สมอ กลา่ วโดยสรุปกค็ ือ เป็นการเตรียมการขนั้ แรกในการทจ่ี ะปฏิบตั งิ านนัน่ เอง (2) การจัดองค์การ(Organizing) เกีย่ วขอ้ งกบั การจดั โครงสร้างขององค์กา(รOrganization structure) การสรา้ ง ขอบเขตงาน และความสมั พันธข์ องงานตา่ ง ๆ ( Delineate relationships) การกาหนดตาแหน่งหน้าที่ (Create position descriptions) ตลอดจนการกาหนด คณุ สมบัติท่ีตอ้ งการตาแหน่งน้ันๆ กลา่ วโดยสรุป การดาเนนิ งานขน้ั นีเ้ ปน็ การจัดงานให้ประสานสอดคล้องเพอื่ บรรลวุ ัตถปุ ระสงคท์ ก่ี าหนด(ไ3ว)้ การบริหารงาน

6 บคุ คล (Staffing) เป็นข้ันตอนทเี่ กี่ยวกับการเลือกสรรS(elect) ปฐมนเิ ทศ(Orientation) การฝึกอบรม T( raining) และการพฒั นาบุคคล(Personnel development) เพ่อื ให้บคุ คลทีด่ ารงตาแหน่งตา่ งๆ มคี วามรูเ้ หมาะสมกับ ตาแหน่งหน้าทีค่ วามรับผิดชอบทม่ี ีอยู่ ซ่ึงอาจสรปุ กระบวนการขั้นนีไ้ ด้วา่ เปน็ การเลือกสรรบคุ คลเพ่อื ใหไ้ ดบ้ คุ คล ท่ีมคี วามรคู้ วามสามารถเหมาะสมกบั ตาแหน่งที่กาหนดไว4)้ (การอานวยการ(Directing) การบรหิ ารขน้ั น้ีเป็น หนา้ ทเ่ี กย่ี วกับการตัดสินใจ (Decision making) มอบหมายหน้าที่การงาน(Delegation) การจงู ใจ(Motivation) การประสานงาน(Coordination) การจดั ให้มสี ่วนรว่ ม (Participation) ในการปฏบิ ัตงิ านเพอื่ กอ่ ให้เกดิ การ เปลี่ยนแปลง (Change) ไปในทางสรา้ งสรรค์ ความเจริญกา้ วหน้าใหแ้ กอ่ งค์การ อันอาจกล่าวได้วา่ เปน็ การดาเนินการเพือ่ ใหภ้ ารกจิ ขององคก์ ารบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ที่กาหนดไว้ (5) การควบคุม(Controlling) ในการควบคมุ งานนั้นจะต้องกาหนดระบบการรายงาน(Establish reporting system) พฒั นามาตรฐานการ ปฏบิ ัตงิ าน(Develop performance standard) การวัดผล(Measurement result) ดาเนนิ การแก้ไขข้อบกพรอ่ ง (Correct) ท้ังนเ้ี พอื่ ให้งานดาเนินไปโดยถกู ต้อง ความมุ่งหมายสาคัญของการควบคุมงานก็คอื ต้องการให้งาน บรรลุวัตถปุ ระสงคท์ ่ีกาหนดไว้และหากไมบ่ รรลุวตั ถุประสงค์ก็จะไดท้ ราบอุปสรรคขอ้ ขัดขอ้ งได้ ซ่ึงถา้ แบ่งงานเป็นข้นั ตอนดว้ ยแล้วก็เป็นความสะดวกทจี่ ะแกไ้ ขอุปสรรคท่เี กดิ ขึน้ แตต่ น้ กอ่ นที่เหตเุ หลา่ นน้ั จะลุกลามเสียหายมากมายจนเกนิ แก้ 3. แนวคิดทฤษฎีเก่ยี วกบั ความพึงพอใจในการปฏบิ ัติงาน ทฤษฎีการจูงใจของมาสโลว์ ( Maslow’s generaltheory or human motivation) ทฤษฎี การจงู ใจของมาสโลว์ ( Maslow) ได้จัดลาดับความตอ้ งการของมนษุ ย์ได้ 5 ขนั้ โดยอยูภ่ ายใต้สมมุติฐาน ท่ีว่ามนุษย์มคี วามตอ้ งการไม่สนิ้ สุดต้ังแต่เกดิ จนตาย เมอื่ ไดร้ ับการตอบสนองความต้องการในระดบั ต่าแลว้ จะมคี วามต้องการการตอบสนองในระดับที่สูงขนึ้ อีก ความต้องการดังกล่าวประกอบดว้ ย (ศักดิ์ไทย สุรกจิ บวร.2545) 1. ความต้องการทางดา้ นร่างกาย (Physiological needs) เปน็ ความตอ้ งการข้ันพื้นฐานของ มนษุ ย์ซึ่งมี 2 ลักษณะ คอื ความตอ้ งการคงไวซ้ ึ่งสภาพเดิมของร่างกาย เช่น จานวน น้าเกลอื น้าตาล โปรตนี ไขมัน แคลเซยี ม ฯลฯ ส่วนอีกลกั ษณะหนึ่งคอื ความตอ้ งการทจ่ี ะแสวงอาหารในสงิ่ ทีร่ า่ งกาย ขาดแคลน เช่น สารเคมีบางอย่าง เปน็ ตน้ ดงั นั้นจึงกลา่ วได้วาความต้องการทางรา่ งกายเป็นส่งิ สาคัญท่ีสุด เป็นความตอ้ งการขน้ั พ้ืนฐานทจ่ี ะช่วยค้าจนุ ชีวิตโดยตรง เช่น เม่ือมนุษยม์ คี วามหิวจะไม่มีความสาคญั ใด เท่ากบั การได้รบั อาหาร เมื่อไดร้ บั การตอบสนองแลว้ ความหิวจึงไม่เปน็ ส่ิงสาคญั อกี ต่อไป 2. ความตอ้ งการความปลอดภัย ( Safety needs) เมอื่ ความต้องการทางด้านร่างกายได้รับ การตอบสนองแลว้ ความต้องการความปลอดภยั ได้แก่ ความม่ันคง 3 ความย่ังยนื 3 ความมีเสถียรภาพ ความมอี ิสระ การไดร้ ับความคมุ้ ครอง และการทาให้ปราศจากความหวาดกลัว ความกังวลใจและความ ยุ่งเหยิงทงั้ ปวงเป็นต้น 3. ความตอ้ งการทางสงั คม ( Social needs) เปน็ ความตอ้ งการด้านความรกั ความเอาใจใส่ ความผูกพนั การเปน็ สว่ นหนึง่ ของหมคู่ ณะซึ่งแสดงให้เหน็ ได้โดยความรูส้ ึกที่ไดร้ ับความกระทบกระเทอื น

7 ต่อการจากไปของมติ รสหาย คนรกั บตุ รและภรรยา หรือความรสู้ กึ ทีเ่ จ็บปวดอยา่ งมากต่อการทีถ่ กู ทอดท้ิง ให้อยอู่ ย่างโดดเดยี ว ถกู ตดั ขาดหรือสภาพทไี่ รญ้ าติขาดมติ ร ความตอ้ งการทางสงั คมน้ี หากได้รบั การ ขัดขวางจะเป็นเหตุให้เกิดความแตกแยกทางสังคมได้ และความตอ้ งการดงั กล่าวน้นั บคุ คลอยู่ในฐานะเปน็ ท้ังผ้ใู หแ้ ละผ้รู บั ด้วย 4. ความต้องการการยอมรบั นบั ถือ ( Esteem needs) ความตอ้ งการการยอมรับนับถือ สามารถ จาแนกเปน็ 2 ประเภท คอื 4.1 การยอมรับนบั ถือตนเองจากบคุ คลทวั่ ไป เช่น การไดร้ ับการเอาใจใส่ การได้รบั เกยี รติ ยกยอ่ ง 4.2 การยอมรับนบั ถือตนเอง เชน่ ปรารถนาจะไปส่คู วามสาเร็จ ความเปน็ ตัวของตัวเอง ความเช่อื มันในตนเอง ความมอี สิ รภาพ โดยปกตบิ ุคคลท่ัวไปจะวดั ความสาเร็จจากการทางาน เช่น การเลอื่ นขน้ั การเพิ่มกาไรใหบ้ รษิ ทั การได้รบั ผลประโยชนอ์ ืน่ ๆ ในการปฏบิ ัติงาน 5. ความตอ้ งการท่ี 3 จะเข้าใจตนเอง ( Self-actualization needs) หรือความต้องการการ แสวงหาความกาวหนา้ ใหแ้ ก่ตนเอง ความตอ้ งการในข้ันนี้ มนุษยจ์ ะมคี วามสขุ ในการทางาน มคี วามพงึ พอใจ ท่ีจะสร้างความสมบูรณใ์ ห้แก่ชวี ติ มคี วามต้องการให้ตนเจริญกาวหน้ายงิ่ ข้ึนจะเหน็ วาความต้องการขัน้ ที่ 1 – 3 เปน็ ความตอ้ งการข้ันต่า ความตอ้ งการขน้ั ท่ี 4 – 5 เปน็ ความตอ้ งการขน้ั สูง 4. แนวคิดเก่ยี วกบั การมสี ว่ นร่วม แนวคิดทฤษฎกี ารมสี ว่ นร่วมในการบริ หารงานของบุคลากรท่ีนามาใชใ้ นการศกึ ษาวิจยั คร้งั น้ี เปน็ ทฤษฎที ่ีมสี ่วนเก่ียวข้องและเชื่อมโยงกบั การมสี ว่ นรว่ ม ทฤษฎีสองปจั จัยของ เฮอร์เบริ ์ก ( Hertzberg) เปน็ ทฤษฎกี ารจูงใจทเ่ี ก่ียวขอ้ งและสามารถโยงไปสกู่ ระบวนการมีสว่ นร่วมได้ เป็นแนวคิดเกยี่ วกบั การจูงใจ ให้ผปู้ ฏบิ ตั งิ านเกดิ ความพึงพอใจ ทฤษฎนี ีเ้ ชอ่ื วา่ ผู้ปฏบิ ัติงานจะปฏิบตั งิ านไดผ้ ลดีมีประสทิ ธิภาพ ย่อมขึน้ อยกู่ บั ความพงึ พอใจของผ้ปู ฏิบตั งิ าน เพราะเขาจะเพมิ่ ความสนใจในงานและมคี วามรับผดิ ชอบ กระตอื รอื ร้นั ท่ีจะทางานซงึ่ เป็นการเพมิ่ ผลผลิตของงานให้มากข้นึ ในทางตรงกนั ขา้ มหากผู้ปฏิบัติงานไม่พึง พอใจในการทางาน ก็จะเกิดความทอ้ ถอยในการทางานและทาให้ผลงานออกมาไม่มปี ระสิทธภิ าพ ทฤษฎี ดังกลา่ วสอดคลอ้ งกบการเข้ามามสี ่วนร่วมในกจิ กรรมของบคุ ลากรในองคก์ ร กล่าวคอื ถ้าบุคลากรไดเ้ ข้า มามสี ่วนร่วมในการดาเนินงานได้รว่ มคดิ ตัดสนิ ใจจะส่งผลให้บุคลากรในองค์กรเกิดความรู้สกึ เป็นเจ้าของ ในกิจกรรมมากข้นึ ทาใหป้ ระสบผลสาเรจ็ ในการพฒั นาได้ นอกจากนีท้ ฤษฎกี าร สรา้ งผู้นาก็มคี วามสาคัญ คอื ผ้มู อี านาจทดี่ ี (Positive Leader) มกั จะนาการเคลือ่ นไหวในการทางานอยูเ่ สมอ ในขณะที่ผมู้ ีอานาจ ที่ไม่ดี (Negative Leader) จะไม่มีผลงานท่ีสร้างสรรค์เลย การสรา้ งผมู้ ีอานาจหรอื ผนู้ าจะช่วยจูงใจให้ บคุ ลากรเต็มใจที่จะทางานเพอ่ื ให้งานบรรลุวัตถปุ ระสงคร์ ว่ มกนั เนือ่ งจากผ้นู าเป็นผู้ทีม่ ีความสาคญั ในการ จงู ใจและรวมกลมุ่ คน ดงั นนั้ ทฤษฎีสองปจั จัยน้ีจงึ มสี ว่ นเกยี่ วขอ้ งกบการส่วนร่วมของบุคลากรในองคก์ ร เพราะทาให้เกิดการมสี ่วนร่วมในการชว่ ยเหลือร่วมมือร่วมแรงกันในการทางานอย่างมคี ุณภาพ แสดงให้

8 เห็นถึงการมีความคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรคข์ องบุคลากรและผู้นาร่วมกนั ซง่ึ กระบวนการมีส่วนร่วมจะตอ้ งมีผนู้ า ที่ดอี นั จะนาไปสูค่ วามสาเรจ็ ขององคก์ รได้ 5. แนวคิดเกี่ยวกับการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย กรมปูองกนั และบรรเทาสาธารณภัย (2550) ไดก้ าหนดว่า พระราชบัญญัติปอู งกันและบรรเทา สาธารณภัย พ.ศ. 2550 เป็นกฎหมายหลกั ในการบรหิ ารจดั การสาธารณภยั ในปัจจบุ นั โดยสรปุ สาระสาคญั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ดังนี้ มาตรา 4 กาหนดวา่ (1) สาธารณภยั หมายความวา่ อัคคภี ัย วาตภยั อทุ กภัย ภัยแล้ง โรคระบาดในมนุษย์โรคระบาดสัตว์ โรคระบาดสัตวน์ ้า การระบาดของศัตรูพชื ตลอดจนภยั อน่ื ๆ อนั มผี ลกระทบต่อ สาธารณชนไม่ว่าเกิดจากธรรมชาติ มีผ้ทู าให้เกดิ ข้นึ อุบัตเิ หตุ หรอื เหตุอืน่ ใด ซ่งึ ก่อใหเ้ กดิ อันตรายแกรช่าีวงกิตาย ของประชาชน หรอื ความเสียหายแก่ทรัพย์สนิ ของประชาชน หรือของรัฐ และให้หมายความรวมถึงภยั ทางอากาศ และการกอ่ วนิ าศกรรมดว้ ย(2) ภัยทางอากาศ หมายความว่า ภัยอันเกิดจากการโจมตีทางอากาศ แ(3ล)ะการกอ่ วินาศกรรม หมายความวา่ การกระทาใดๆ อนั เปน็ การมุ่งทาลายทรพั ยส์ ินของประชาชนหรอื ของรัฐ หรือสงิ่ อันเปน็ สาธารณูปโภค หรือการรบกวนขัดขวางหนว่ งเหนย่ี วระบบการปฏิบตั ิงานใดๆ ตลอดจนการ ประทษุ รา้ ยต่อบุคคลอนั เป็นการกอ่ ให้เกดิ ความป่ันปุวนทางการเมือง การเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ โดยมงุ่ หมาย ท่จี ะกอ่ ให้เกิดความเสียหายต่อความมัน่ คงแหง่ ร(ัฐ4) องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ หมายความว่า องคก์ ารบริหาร สว่ นตาบล เทศบาล องค์การบรหิ ารส่วนจังหวดั เมืองพทั ยา กรงุ เทพมหานคร และองคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ อน่ื ที่มกี ฎหมายจัดตงั้ (5) ผบู้ ริหารทอ้ งถิน่ หมายความว่า นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล นายกเทศมนตรี นายกเมืองพทั ยา และหวั หนา้ ผู้บรหิ ารขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ินแห่งพื้นทอ่ี ผนื่ ูอ้ านวยการ หมายความวา่ ผู้อานวยการกลาง ผอู้ านวยการจงั หวดั ผู้อานวยการอาเภอ ผู้อานวยการท้องถ่นิ และผู้อานวยการกรงุ เทพมหานคร (6) อาสาสมัคร หมายความวา่ อาสาสมัครปอู งกนั ภัยฝาุ ยพลเรือนมาตรา20 ให้องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น แหง่ พน้ื ท่ี มีหน้าทปี่ อู งกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขตท้องถนิ่ ของตนเอง โดยมผี ้บู ริหารทอ้ งถ่ินขององค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ แหง่ พ้นื ทน่ี ัน้ เปน็ ผรู้ บั ผิดชอบในฐานะผอู้ านวยการทอ้ งถิน่ และมหี น้าทีช่ ่วยเหลอื ผอู้ านวยการจงั หวดั และผอู้ านวยการอาเภอตามท่ีได้รบั มอบหมาย มาตรา21 เมื่อเกดิ หรือคากวา่ จะเกิด สาธารณภัยขึน้ ในเขตขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินแหง่ พนื้ ทใี่ ด ให้ผอู้ านวยการท้องถนิ่ มีหนา้ ทเ่ี ข้าดาเนนิ การ ปูองกนั และบรรเทาสาธารณภยั โดยเร็ว และมาต4ร1า ให้ผอู้ านวยการจดั ให้มอี าสาสมคั รในพื้นที่ทร่ี ับผิดชอบ เพือ่ ปฏบิ ัตหิ น้าที่ ดงั ตอ่ ไปนี้ (1) ให้ความชว่ ยเหลอื เจ้าพนักงานในการปูองกนั และบรรเทาสาธารณ(2ภ)ยั ปฏิบตั ิ หนา้ ที่อื่นตามที่ผู้อานวยการมอบหมายการบรหิ ารและกากบั ดแู ลอาสาสมคั ร การคดั เลือก การฝกึ อบรม สทิ ธหิ น้าท่ีและวนิ ัยของอาสมคั รให้เปน็ ไปตามระเบยี บกระทรวงมหาดไทยกาหนด 6. ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยเร่อื งอาสาสมคั รปอ้ งกันภยั ฝา่ ยพลเรือน (อปพร.) พระราชบญั ญัติปอู งกันและบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 ไดย้ กเลกิ พระราชบัญญัติปูองกัน ภัยฝุายพลเรอื น พ.ศ. 2522 และกาหนดให้ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าดว้ ยหน่วยอาสาสมัครปอู งกนั ภัย ฝาุ ยพลเรือน พ.ศ. 2547 และทแี่ กไ้ ขเพิม่ เติม ยงั ใชบ้ ังคบั ไดเ้ ฉพาะกาล ฉะน้ันจึงสมควรออกระเบยี บตาม พระราชบัญญัตปิ ูองกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 เพอ่ื ใชบ้ งั คบั แทนตอ่ ไปอาศัยอานาจ

9 ตามความในมาตรา 5 มาตรา 41 และมาตรา 45 แห่งพระราชบญั ญตั ปิ อู งกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 อันเปน็ กฎหมายที่มบี ทบัญญัติบางประการเกยี่ วกับการจากัดสิทธแิ ละเสรภี าพของบคุ คล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 33 มาตรา 34 มาตรา 38 และมาตรา 41 ของรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย บัญญัตใิ ห้กระทาได้ โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงมหาดไทยออกระเบยี บนีไ้ ว้ ดงั ต่อไปน้ี ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยกจิ การอาสาสมัครป้องกันภยั ฝา่ ยพลพเร.ศอื .น2553 ไดใ้ หค้ วามหมายไว้ ดงั น้ี ข้อ 3 ในระเบียบน้ี “อปพร.” หมายความวา่ อาสาสมคั รปอู งกนั ภยั ฝุายพลเรอื น “ศนู ย์ อปพร.” หมายความวา่ ศนู ย์ อปพร. กลาง ศูนย์ อปพร. เขต ศนู ย์ อปพร. จังหวัด ศูนย์ อปพร. กรงุ เทพมหานคร ศนู ย์ อปพร. อาเภอ ศูนย์ อปพร. เขตในกรุงเทพมหานคร ศนู ย์ อป พร. เมอื งพทั ยา ศูนย์ อปพร. เทศบาล และศูนย์ อปพร. องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล “ผบู้ ญั ชาการ” หมายความวา่ ผบู้ ญั ชาการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ “ผู้อานวยการ” หมายความว่า ผู้อานวยการกลาง ผู้อานวยการจงั หวัด ผู้อานวยการ อาเภอ ผ้อู านวยการท้องถ่ิน และผ้อู านวยการกรุงเทพมหานคร ขอ้ 4 ใหป้ ลดั กระทรวงมหาดไทย รักษาการตามระเบียบนี้ และใหม้ อี านาจตคี วามและ วนิ ิจฉัยปัญหา กาหนดหลกั เกณฑ์และวิธปี ฏิบัติเพอ่ื ดาเนนิ การใหเ้ ป็นไปตามระเบียบนี้ ข้อ 5 ให้มีคณะกรรมการอานวยการศูนย์ อปพร. กลาง ประกอบดว้ ย อธบิ ดกี รมปอู งกัน และบรรเทาสาธารณภยั เป็นประธานกรรมการ รองอธิบดีกรมปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ท่ีได้รบั มอบหมาย รองอธบิ ดกี รมการปกครอง ท่ีได้รบั มอบหมาย รองอธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถน่ิ ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย เป็นรองประธานกรรมการ ผอู้ านวยการสานักปอู งกันและบรรเทาสาธารณภัย กรงุ เทพมหานคร และผู้ทรงคณุ วุฒิ อีกไม่เกินหา้ คน ซ่ึงประธานกรรมการแต่งตง้ั จากผู้มคี วามรคู้ วามสามารถ ดา้ นการปอู งกันและบรรเทา สาธารณภัย เป็นกรรมการให้ผอู้ านวยการสานักส่งเสรมิ การปูองกนั สาธารณภยั กรมปอู งกันและบรรเทาสาธารณภัยเป็นกรรมการและเลขานุการ และผอู้ านวยการส่วนกจิ การอาสาสมัคร สานักส่งเสริมการปอู งกันสาธารณภัย กรมปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เปน็ กรรมการและ ผูช้ ว่ ยเลขานุการ ข้อ 6 ใหค้ ณะกรรมการอานวยการศูนย์ อปพร. กลาง มีอานาจหน้าที่ ดงั ตอ่ ไปน้ี (1) กาหนดนโยบายและแนวทางการบริหารกจิ การศนู ย์ อปพร. (2) เสนอแนวทางและ มาตรการเกี่ยวกับการดาเนนิ กิจการ อปพร. ใหศ้ ูนย์ อปพร. ถอื ปฏบิ ัติ (3) กากับ ดูแล และสนบั สนนุ การ ดาเนนิ งานของศนู ย์ อปพร. ให้เป็นไปดว้ ยความเรยี บร้อยในการปฏบิ ตั กิ ารตามอานาจหน้าที่ในวรรคหนง่ึ คณะกรรมการอานวยการศนู ย์ อปพร. กลาง อาจแตง่ ต้ังคณะอนกุ รรมการศนู ย์ อปพร. เพ่ือพจิ ารณาและ เสนอความเห็นในเรอ่ื งหนง่ึ เรือ่ งใดหรอื มอบหมายให้ปฏบิ ัติการอย่างหนึง่ อย่างใดแทนได้ ทัง้ น้ี ให้นาความ ในขอ้ 9 มาใช้บังคับกับการประชุมของคณะอนกุ รรมการศูนย์ อปพร. โดยอนุโลม

10 ขอ้ 10 ใหผ้ วู้ ่าราชการจังหวดั แต่งตัง้ คณะกรรมการอานวยการศูนย์ อปพร. จังหวดั ประกอบด้วย (1) ผวู้ า่ ราชการจังหวดั เป็นประธานกรรมการ (2) รองผวู้ ่าราชการจงั หวดั ซึง่ ผวู้ ่าราชการจงั หวดั มอบหมาย เปน็ รองประธาน กรรมการคนทีห่ นงึ่ (3) นายกองค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัด เป็นรองประธานกรรมการคนที่สอง (4) กรรมการอื่น ประกอบดว้ ย (ก) ผู้แทนหน่วยงานของรัฐทปี่ ระจาอยู่ในพน้ื ทจี่ งั หวดั ตามจานวนท่ีผูว้ า่ ราชการจงั หวัดเหน็ สมควรแต่งตง้ั (ข) ผู้แทนของศูนย์ อปพร. เขต ทีจ่ งั หวดั น้นั อยใู่ นเขตรบั ผิดชอบ (ค) ประธานกรรมการประสานงานศนู ย์ อปพร. จังหวัด ตามขอ้ 22 วรรคสอง (ง) ผแู้ ทนองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ในเขตจังหวดั ตามจานวนทผี่ วู้ ่า ราชการจงั หวัดเหน็ สมควรแตง่ ตั้ง (จ) ผทู้ รงคุณวฒุ ิ ซึง่ เปน็ ผมู้ ีความรูค้ วามสามารถ ดา้ นการปอู งกันและ บรรเทาสาธารณภัยจานวนไม่เกินสามคนโดยให้มผี ูแ้ ทนจากองคก์ ารสาธารณกุศลในเขตจงั หวดั รวมอยดู่ ว้ ย (5) หัวหนา้ สานักงานปอู งกันและบรรเทาสาธารณภยั จังหวัด เป็นกรรมการและ เลขานกุ าร ขอ้ 11 คณะกรรมการอานวยการศนู ย์ อปพร. จงั หวัด มีอานาจหน้าท่ี ดังนี้ (1) กาหนดยุทธศาสตร์ และแนวทางการดาเนินงานกิจการ อปพร. ใหเ้ ป็นไป ตามนโยบายและแนวทางทคี่ ณะกรรมการอานวยการศนู ย์ อปพร. กลางกาหนด (2) ใหก้ ารสนับสนุนส่งเสรมิ และกากบั ดูแลการดาเนนิ งานของศูนย์ อปพร. ภายในเขตจงั หวดั ให้เป็นไปดว้ ยความเรยี บร้อย (3) กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการดาเนนิ งานทีเ่ ก่ยี วกับกจิ การ อปพร. ทไ่ี มข่ ัดหรือ แยง้ กับทีศ่ ูนย์ อปพร. กลางกาหนด ข้อ 15 ใหผ้ ูบ้ ัญชาการ เป็นผบู้ ญั ชาการศูนย์ อปพร. กลาง รองผบู้ ัญชาการ เปน็ รอง ผู้บัญชาการศูนย์ อปพร.กลาง มอี านาจบงั คับบัญชาและสั่งการผูอ้ านวยการศูนย์ อปพร. รองผอู้ านวยการ ศูนย์ อปพร. ผชู้ ว่ ยผู้อานวยการศูนย์ อปพร. เจ้าหนา้ ท่ีประจาศูนย์ อปพร. และ อปพร. ทัว่ ราชอาณาจกั ร ใหผ้ ู้อานวยการกลาง เปน็ ผู้อานวยการศูนย์ อปพร. กลาง รองอธิบดกี รมปอู งกันและบรรเทาสาธารณภัย เปน็ รองผ้อู านวยการศนู ย์อปพร. กลาง และกรมปูองกันและบรรเทาสาธารณภยั เป็นศูนย์อปพร. กลาง โดยให้ เจา้ หน้าทขี่ องกรมปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทปี่ ฏิบตั ริ าชการประจณา ที่ต้ังกรมเป็นเจ้าหน้าท่ปี ระจาศนู ย์ ผู้อานวยการศูนย์ อปพร. กลาง มีอานาจควบคุมและกากบั การปฏบิ ัติหน้าท่ขี องผอู้ านวยการศนู ย์ อปพร.

11 รองผู้อานวยการศูนย์ อปพร. ผูช้ ่วยผ้อู านวยการศูนย์ อปพร. เจ้าหน้าทปี่ ระจาศูนย์ อปพร . และ อปพร. ได้ทัว่ ราชอาณาจักรและอาจแต่งตง้ั บุคคลหนง่ึ บคุ คลใดเป็นเจา้ หนา้ ทป่ี ระจาศนู ยเ์ พมิ่ เตมิ ไดต้ ามความเหมาะสม ข้อ 16 ให้ศูนย์ อปพร. กลาง มีอานาจหน้าที่ ดังตอ่ ไปน้ี (1) ดาเนนิ งานด้านธรุ การของคณะกรรมการอานวยการศนู ย์ อปพร. กลาง (2) สนบั สนุนงบประมาณ วัสดุ อปุ กรณ์ เครือ่ งมือเคร่ืองใช้ คูม่ อื ปฏิบัตงิ าน เอกสารและขา่ วสารเกย่ี วกับการบริหารกิจการ อปพร. (3) วางระเบียบ หลักเกณฑ์ และวิธีการดาเนินงานท่ีเกยี่ วกบั กจิ การ อปพร. รวมทัง้ สิทธแิ ละสวัสดิการแก่ อปพร. (4) ศกึ ษา ค้นควา้ และวจิ ัย ตลอดจนเผยแพรค่ วามรู้เก่ียวกับกิจการ อปพร. (5) จดั ทาหลกั สูตรการฝกึ อบรม อปพร. และหลักสูตรทเี่ กี่ยวกับกิจการ อปพร. พรอ้ มกาหนดรูปแบบวุฒบิ ัตร และเคร่อื งหมายแสดงความสามารถ หรือแสดงวทิ ยฐานะ รวมท้งั พจิ ารณา ทบทวนหรือปรบั ปรงุ หลักสตู รใหม้ ีความเหมาะสม (6) จดั ให้มกี ารฝึกอบรมและฝกึ ปฏบิ ตั หิ ลักสตู รตามที่กาหนดใน (๕) (7) จัดทาแผนพฒั นาอตั รากาลังของ อปพร. รวมทัง้ พิจารณาทบทวน และ ปรับปรงุ แผนใหม้ ีความเหมาะสม (8) ประสานงาน ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการปฏิบัติงานของ อปพร. ทว่ั ราชอาณาจักร (9) ปฏิบัตกิ ารอืน่ ตามทค่ี ณะกรรมการอานวยการศนู ย์ อปพร. กลาง มอบหมาย ขอ้ 17 ให้ผู้อานวยการศูนยป์ ูองกันและบรรเทาสาธารณภยั เขต กรมปอู งกันและบรรเทา สาธารณภยั เปน็ ผู้อานวยการศูนย์ อปพร. เขต และศนู ย์ปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต กรมปูองกนั และบรรเทาสาธารณภัย เป็นศูนย์ อปพร. เขต โดยให้เจ้าหน้าที่ของศนู ยป์ อู งกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต กรมปูองกนั และบรรเทาสาธารณภัย เปน็ เจ้าหน้าท่ีประจาศนู ยใ์ ห้ศูนย์ อปพร. เขต มอี านาจหนา้ ท่ี สนับสนุนการดาเนินกจิ การ อปพร. ภายในเขตท้องท่ีที่รับผิดชอบ และสนบั สนนุ ศนู ย์ อปพร. เขตข้างเคยี ง ในการปอู งกันและบรรเทาสาธารณภยั ข้อ 18 ใหผ้ ู้อานวยการจงั หวัด เปน็ ผ้อู านวยการศูนย์ อปพร. จงั หวดั และสานกั งาน ปูองกนั และบรรเทาสาธารณภัยจงั หวดั เปน็ ศูนย์ อปพร. จังหวดั โดยใหเ้ จา้ หน้าทีข่ องสานกั งานปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภัยจงั หวดั เป็นเจา้ หน้าทป่ี ระจาศูนยใ์ หร้ องผอู้ านวยการจงั หวัด เปน็ รองผู้อานวยการ ศูนย์ อปพร. จังหวดั มหี นา้ ท่ีชว่ ยเหลือผู้อานวยการศนู ย์ อปพร. จงั หวดั ในการดาเนนิ การกิจการ อปพร. และปฏิบตั หิ น้าท่ีอื่นตามท่ผี ้อู านวยการศูนยอ์ ปพร. จังหวัด มอบหมายให้หวั หนา้ สานักงานปอู งกนั และบรรเทา สาธารณภยั จงั หวัดเป็นผู้ชว่ ยผ้อู านวยการศูนย์อปพ. รจงั หวดั มหี นา้ ทชี่ ่วยเหลือผ้อู านวยการศูนอย์ปพร. จงั หวดั ข้อ 19 ให้ผู้อานวยการอาเภอ เป็นผู้อานวยการศูนย์ อปพร. อาเภอ และท่ีทาการ ปกครองอาเภอ เปน็ ศนู ย์ อปพร. อาเภอ โดยใหเ้ จ้าหน้าท่ขี องท่ที าการปกครองอาเภอ เปน็ เจ้าหน้าที่ ประจาศูนย์

12 ข้อ 20 ใหผ้ ู้อานวยการทอ้ งถ่นิ เปน็ ผ้อู านวยการศนู ย์ อปพร. ดังน้ี (1) ให้นายกเทศมนตรีเป็นผู้อานวยการศนู ย์อปพร. เทศบาลรองนายกเทศมนตรี ซ่งึ นายกเทศมนตรีมอบหมาย เปน็ รองผู้อานวยการศนู ย์ อปพร. เทศบาล ปลัดเทศบาล เป็นผูช้ ว่ ย ผู้อานวยการศูนย์ อปพร. เทศบาล และสานกั ปลดั เทศบาล เป็นศนู ย์ อปพร. เทศบาล โดยใหเ้ จ้าหน้าท่ี ของสานักปลัดเทศบาล เป็นเจ้าหนา้ ท่ีประจาศนู ย์ (2) ให้นายกองค์การบรหิ ารสว่ นตาบล เปน็ ผู้อานวยการศูนย์ อปพร. องค์การ บริหารส่วนตาบล รองนายกองคก์ ารบริหารสว่ นตาบล ซงึ่ นายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลมอบหมายเป็น รองอานวยการศนู ย์ อปพร. องค์การบรหิ ารส่วนตาบล ปลดั องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล เป็นผู้ชว่ ย ผู้อานวยการศูนย์ อปพร. องค์การบริหารสว่ นตาบล และสานกั ปลัดองค์การบริหารสว่ นตาบลเปน็ ศนู ย์ อปพร. องคก์ ารบริหารสว่ นตาบล โดยใหเ้ จ้าหน้าทข่ี องสานักปลดั องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลเปน็ เจา้ หนา้ ที่ ประจาศูนย์ ข้อ 22 ใหผ้ อู้ านวยการศนู ย์ อปพร. ตามขอ้ 18 ข้อ 19 ขอ้ 20 และขอ้ 21 มีอานาจ หนา้ ที่สั่งการ ควบคมุ และกากบั ดแู ล เจา้ หนา้ ทีป่ ระจาศูนย์ อปพร. และ อปพร. ในสังกดั ตลอดจนใหก้ าร สนบั สนุนการดาเนนิ กิจการ อปพร. ภายในเขตพ้ืนที่ทรี่ ับผิดชอบ และสนบั สนนุ ศูนย์ อปพร. ข้างเคียงใน การปอู งกันและบรรเทาสาธารณภัย รวมท้งั มีอานาจแต่งตั้งบคุ คลหน่งึ บคุ คลใดเป็นเจา้ หน้าทป่ี ระจาศนู ย์ เพ่ิมเติมไดต้ ามความเหมาะสมให้ผ้อู านวยการศูนย์ อปพร. ตามวรรคหนึง่ จดั ให้ อปพร. เข้ามามีส่วนร่วม ในรูปของคณะกรรมการประสานงานศนู ย์ อปพร. โดยการจัดต้งั และอานาจหน้าทขี่ องคณะกรรมการ ประสานงานศนู ย์ อปพร. ให้เปน็ ไปตามทีศ่ นู ย์ อปพร. กลาง กาหนด ขอ้ 23 ให้ศนู ย์ อปพร. เทศบาล ศูนย์ อปพร. องค์การบริหารส่วนตาบล ศูนย์ อปพร. เขตในกรุงเทพมหานคร และศนู ย์ อปพร. เมืองพทั ยา จัดตงั้ ฝาุ ยต่าง ๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี (1) ฝาุ ยปอู งกันและ บรรเทาสาธารณภยั (2) ฝุายรกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ย (3) ฝาุ ยสงเคราะห์ผู้ประสบภัย (4) ฝุายปฏิบัตกิ าร กชู้ พี กูภ้ ัย (5) ฝุายอ่นื ๆ ตามความจาเป็น โดยให้ผอู้ านวยการศูนย์ อปพร. ตามวรรคหนึ่ง แต่งตัง้ หัวหน้า ฝุายหน่งึ คน และรองหวั หน้าฝุาย สองคนจากเจา้ หนา้ ทปี่ ระจาศูนย์ หรือ อปพร. โดยแต่ละฝาุ ยให้มี อปพร. ตามความเหมาะสมทั้งน้ี โครงสรา้ ง อานาจหน้าท่ขี องฝุายตา่ ง ๆ ในศนู ย์ อปพร. ให้เป็นไปตาม หลกั เกณฑแ์ ละวิธดี าเนนิ งานทีศ่ ูนย์ อปพร. กลางกาหนด ข้อ 24 ให้ อปพร. อยูภ่ ายใต้การควบคมุ และกากับดแู ลของหวั หนา้ ฝาุ ย อปพร. ใหห้ ัวหน้าฝุายในศนู ย์ อปพร. แตล่ ะแห่งอยู่ภายใต้การสั่งการ ควบคุม และกากับดูแลของผอู้ านวยการ ศนู ย์ อปพร. เทศบาล ผอู้ านวยการศนู ย์ อปพร. องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล ผู้อานวยการศนู ย์ อปพร.เขต ในกรุงเทพมหานคร หรือผู้อานวยการศนู ย์ อปพร. เมอื งพทั ยา แลว้ แตก่ รณใี หผ้ อู้ านวยการศนู ย์ อปพร. เทศบาล ผูอ้ านวยการศนู ย์ อปพร. องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลและผอู้ านวยการศูนย์ อปพร. เมอื งพทั ยา อยูภ่ ายใตก้ ารสงั่ การ ควบคุม และกากับดแู ลของผู้อานวยการศูนย์ อปพร. อาเภอ ใหผ้ ้อู านวยการ อปพร. อาเภอ และผู้อานวยการศนู ย์ อปพร. เขตในกรงุ เทพมหานคร อยู่ภายใตก้ ารส่งั การ ควบคมุ และ กากับดูแลของผู้อานวยการศนู ย์ อปพร. จงั หวัด หรือผ้อู านวยการศนู ย์ อปพร . กรุงเทพมหานคร แลว้ แต่

13 กรณี ให้ผูอ้ านวยการศนู ย์ อปพร. จังหวัด และผู้อานวยการศนู ย์ อปพร. กรงุ เทพมหานครอยูภ่ ายใต้การ ควบคมุ และกากบั ดแู ลของผอู้ านวยการศูนย์ อปพร. กลาง ให้ผู้อานวยการศูนย์ อปพร. จงั หวัด และ ผู้อานวยการศนู ย์ อปพร. กรงุ เทพมหานคร อยูภ่ ายใต้การบงั คับบญั ชาและสงั่ การของผูบ้ ญั ชาการศนู ย์ อปพร. กลาง ขอ้ 25 เพอื่ ประโยชน์ในการปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภผัยูอ้ านวยการศนู ย์อปพร. จงั หวัด ผ้อู านวยการศนู ย์ อปพร. กรงุ เทพมหานคร และผู้อานวยการศูนย์ อปพร. กลาง อาจรับสมคั รและ คดั เลอื กบคุ คลเขา้ เปน็ อปพร. ในสังกัดของตน รวมทงั้ รับ อปพร. ท่ขี อย้ายจากศูนย์ อปพร. อ่ืน เขา้ มา เป็น อปพร. ในสังกดั และในการน้ีให้ออกบัตรประจาตวั ใหแ้ ก่ อปพร. ในสังกดั ของตนด้วย ขอ้ 26 ใหผ้ ้อู านวยการศนู ย์ อปพร. จัดให้มธี งประจาศนู ย์ อปพร. เพอ่ื เป็นสัญลักษณ์ ประจาศนู ย์ อปพร. ตามหลักเกณฑ์และรูปแบบทศ่ี ูนย์ อปพร. กลาง กาหนด ขอ้ 27 ผอู้ านวยการศนู ย์ อปพร. กลาง ผู้อานวยการศนู ย์ อปพร. จังหวดั และอานวยการ ศนู ย์ อปพร. กรุงเทพมหานคร แลว้ แต่กรณี อาจพิจารณามอบรางวัลเชิดชูเกยี รติ สาหรบั ศนู ย์ อปพร. ในสังกดั ทม่ี ีผลการปฏบิ ัติงานดเี ดน่ ผู้อานวยการศูนย์ อปพร. อาจพจิ ารณามอบประกาศเกยี รตคิ ณุ สรรเสริญและเครื่องหมายเชดิ ชูเกียรติ แก่ อปพร . ทปี่ ฏบิ ัตงิ านดเี ดน่ หรอื ผูท้ ี่ใหก้ ารสนับสนุนชว่ ยเหลอื กิจการ อปพร. จนเกดิ ผลดยี ่ิง เพ่ือเป็นการสง่ เสริมและยกย่องในการปฏบิ ัติหนา้ ทขี่ อง อปพร. ที่มีผลการ ปฏิบัตงิ านดีเดน่ เปน็ พิเศษ ผ้บู ัญชาการศนู ย์ อปพร. กลาง อาจพจิ ารณามอบประกาศเกยี รติคณุ สรรเสรญิ และเครอื่ งหมายเชดิ ชูเกยี รตแิ ก่ อปพร. การดาเนินการตามวรรคหนงึ่ วรรคสอง และวรรคสามให้เป็นไป ตามหลักเกณฑ์ วธิ กี ารและรปู แบบทศ่ี ูนย์ อปพร. กลางกาหนด ข้อ 35 อปพร. มีสิทธิ ดงั ต่อไปน้ี (1) แตง่ เครอื่ งแบบและประดบั เครือ่ งหมาย อปพร. (2) ใชว้ ทิ ยสุ ่ือสารของทางราชการในการปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ตามที่ได้รบั มอบหมายเปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษร (3) ไดร้ ับ การคุม้ ครองตามระเบียบและกฎหมายในการปฏิบตั ิหนา้ ทป่ี อู งกันและบรรเทาสาธารณภยั และหน้าท่ีอน่ื ตามคาสัง่ โดยชอบดว้ ยกฎหมายของผูบ้ ญั ชาการ รองผู้บัญชาการ ผูอ้ านวยการ รองผูอ้ านวยการ ผชู้ ่วย ผ้อู านวยการ หรือเจ้าพนักงาน ตามกฎหมายว่าดว้ ยการปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ขอ้ 36 อปพร. จะต้องรักษาและปฏบิ ตั ติ ามวินัยโดยเคร่งครดั ดงั ตอ่ ไปน้ี (1) สนบั สนนุ และดารงรักษาการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์ ทรงเป็นประมขุ (2) ปฏิบัติตามคาสงั่ โดยชอบด้วยกฎหมายของผบู้ งั คบั บญั ชาโดยเคร่งครดั และสนับสนุน การปฏิบตั ิงานของศนู ย์ อปพร. ทต่ี นสังกดั (3) แตง่ เคร่ืองแบบให้ถกู ต้องตามระเบยี บในขณะปฏิบตั หิ น้าที่ (4) ปฏบิ ตั หิ นา้ ทดี่ ้วยความซอ่ื สัตย์ สุจริต อดทน ไม่เหน็ แกค่ วามเหน็ดเหน่ือยและไม่หวังผลประโยชนใ์ ด ๆ เป็นการตอบแทน (5) รกั ษาความสามัคคใี นหมคู่ ณะและเสียสละประโยชน์สว่ นตวั เพื่อสว่ นรวม (6) ประพฤติปฏิบัติตนอยู่ในศลี ธรรมอนั ดี (7) ไมเ่ สพสุราของมึนเมาในขณะปฏบิ ตั ิหน้าที่ (8) ไม่ใชก้ ิริยาวาจา ท่ไี ม่สภุ าพตอ่ ประชาชน (9) ไม่รายงานเท็จตอ่ บังคบั บญั ชา (10) ไม่เปิดเผยความลับทางราชการ (11) ไมแ่ สวงหาผลประโยชน์อนั มชิ อบดว้ ยกฎหมายเพื่อตนเอง หรือผู้อื่นจากการปฏิบัตหิ น้าท่ี กรณี อปพร.

14 กระทาผดิ วนิ ยั ตามวรรคหนง่ึ และเป็นเหตใุ หเ้ กิดความเสียหายแก่ทางราชการหรอื กิจการ อปพร. ให้ผ้อู านวยการศนู ย์ อปพร. ทผ่ี ูน้ น้ั สงั กดั มีอานาจส่ังให้ อปพร. ผู้กระทาผิดพ้นจากสมาชิกภาพ ขอ้ 37 อปพร. มหี นา้ ที่ปฏิบตั ิการตามคาสัง่ ของผบู้ งั คับบัญชา และเจา้ พนกั งาน ในการ ปอู งกันและบรรเทาสาธารณภัย และปฏิบตั ติ ามระเบยี บน้ี ในการปฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้ อปพร. ไปรายงานตัวตอ่ ผูบ้ งั คับบญั ชา หรอื เจ้าพนกั งานโดยไมช่ ักชา้ และขณะปฏบิ ัติหน้าท่ใี หแ้ ตง่ เคร่ืองแบบ อปพร. เว้นแต่เปน็ กรณเี ร่งด่วนจะประดบั เฉพาะเครือ่ งหมาย อปพร . กไ็ ด้ และต้องมีบตั ร ประจาตัว อปพร. ไวเ้ พื่อแสดงตนดว้ ย ขอ้ 38 กรณผี ูอ้ านวยการศูนย์ อปพร. ใกลเ้ คยี งร้องขอ และผอู้ านวยการศนู ย์ อปพร. เห็นเปน็ การสมควรอาจสง่ั อปพร. ไปปฏบิ ตั ิภารกิจนอกเขตรับผดิ ชอบก็ได้ และให้รายงานผ้อู านวยการ ศูนย์ อปพร. ตามลาดับชัน้ ในกรณีทม่ี คี วามจาเปน็ ใหผ้ ูอ้ านวยการศูนย์ อปพร. จังหวดั หรอื ผู้อานวยการ ศนู ย์ อปพร.กรุงเทพมหานคร แลว้ แตก่ รณี มีอานาจสั่งการ อนุมัติ หรืออนญุ าตให้ อปพร . ไปปฏบิ ัติ ภารกิจนอกเขต จังหวดั หรอื กรงุ เทพมหานครไดข้ ้อ ข้อ 39 ในกรณีจาเปน็ และเรง่ ด่วนเพือ่ ใหท้ นั ตอ่ เหตกุ ารณ์ และหัวหน้าฝาุ ย อปพร. ผู้อานวยการศูนย์ อปพร. องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล ผ้อู านวยการศนู ย์ อปพร. เทศบาล ผอู้ านวยการศนู ย์ อปพร. เมืองพทั ยา ผู้อานวยการศนู ย์ อปพร. เขตในกรุงเทพมหานคร ผ้อู านวยการศนู ย์ อปพร. อาเภอ ผอู้ านวยการศูนย์ อปพร. กรุงเทพมหานคร หรอื ผู้อานวยการศูนย์ อปพร. จงั หวดั ไมอ่ ยู่ หรอื ไมส่ ามารถ ปฏิบัติหน้าทไี่ ด้ ให้รองหัวหนา้ ฝาุ ย อปพร. หรือรองผูอ้ านวยการศนู ย์ อปพร. ของศูนย์ อปพร . นนั้ เปน็ ผสู้ ่งั การอนุมตั ิ อนุญาตแทนไปพลางกอ่ นได้ ข้อ 40 การรายงานใหก้ ระทา ตามลา ดับชั้นการบงั คับบัญชา เว้นแตก่ รณีฉุกเฉินหรือ จาเปน็ อาจรายงานผู้บงั คบั บญั ชาเหนอื ช้นั ขึน้ ไปได้ แต่ต้องรีบรายงานใหผ้ บู้ งั คบั บัญชาโดยตรงทราบ ในทนั ทที สี่ ามารถจะกระทาได้ ขอ้ 41 เครือ่ งแบบอปพร. ให้เปน็ ไปตามรูปแบบแนบทา้ ยระเบียบผนูบ้ ้ีญั ชาการรองผู้บัญชาการ ผูอ้ านวยการรองผูอ้ านวยการและผชู้ ่วยผอู้ านวยการเจ้าหนา้ ทป่ี ระจาศูนอยป์ พร. มีสิทธแิ ต่งเครอื่ งแบบอปพร. ข้อ 42 เครอื่ งหมาย อปพร. การใช้และการประดับ ให้เปน็ ไปตามรปู แบบและ หลักเกณฑ์ แนบท้ายระเบียบนี้ การใช้และการประดบั เครอ่ื งหมายอปพร. นอกจากทก่ี าหนดไว้ในระเบยี บนี้ ต้องไดร้ บั อนญุ าตจากผอู้ านวยการศูนย์ อปพร.กลาง ข้อ 43 ใหศ้ ูนย์ อปพร. เทศบาล ศูนย์ อปพร. องค์การบริหารสว่ นตาบล ศนู ย์ อปพร. เขตในกรุงเทพมหานคร และศูนย์ อปพร. เมืองพัทยา จัดทาบตั รประจาตวั อปพร. ตามแบบทา้ ยระเบยี บ น้ี เสนอให้ผู้อานวยการศนู ย์ อปพร. จงั หวัด หรอื ผ้อู านวยการศนู ย์ อปพร. กรุงเทพมหานครออกบัตร ประจาตวั อปพร. เพ่อื มอบให้แก่ อปพร. นอกจากบตั รประจาตัว อปพร. ตามวรรคหน่ึง ศูนย์ อปพร. กลาง อาจกาหนดให้มบี ตั รประจาตัวอปพร. เพ่มิ เติมเปน็ กรณพี เิ ศษไดโ้ ดยหลักเกณฑก์ ารออกบตั รอายุของบตั รและ รูปแบบบตั รใหเ้ ป็นไปตามท่ีศูนย์ อปพร. กลางกาหนด

15 ข้อ 44 บตั รประจาตัว อปพร. ตามข้อ ๔๓ วรรคหน่ึง ใหม้ ีอายสุ ่ปี ี เม่อื บัตรประจาตวั ชารดุ สญู หาย หมดอายุ หรือมีการเปลี่ยนแปลงในสาระสาคัญ เชน่ ชอ่ื ตวั ช่ือสกุล ให้ อปพร. ผู้นนั้ ยนื่ คา รอ้ งตามแบบท่ศี นู ย์ อปพร. กลางกาหนดตอ่ ผู้อานวยการศูนย์ อปพร. เทศบาล ผู้อานวยการศูนย์ อปพร. องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล ผอู้ านวยการศนู ย์ อปพร. เขตในกรงุ เทพมหานคร หรอื ผู้อานวยการศนู ย์ อปพร. เมอื งพทั ยา แล้วแต่กรณี เพือ่ เสนอให้ผู้อานวยการศนู ย์ อปพร. จงั หวดั หรอื ผูอ้ านวยการศนู ย์ อปพร. กรงุ เทพมหานคร พจิ ารณาดาเนินการออกบตั รประจาตัวใหม่ให้ตอ่ ไปให้ศูนย์อปพร. เทศบาล ศนู ย์ อปพร. องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล ศูนย์ อปพร.เขตในกรงุ เทพมหานคร และศูนย์ อปพร. เมืองพัทยา จดั ทา ทะเบียนควบคมุ บตั รประจาตัว อปพร. ใหเ้ ป็นปจั จุบันอย่เู สมอ 7. งานวจิ ัย ทเ่ี กย่ี วข้อง เรือ่ ง ปญั หาและอปุ สรรคในการบรหิ ารศนู ย์อาสาสมัคร ป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ธิดารัตน์ รวยอบกลน่ิ (2553) ไดศ้ กึ ษาปญั หาและอุปสรรคในการบรหิ ารศูนยอ์ าสาสมคั รปูองกัน ภยั ฝาุ ยพลเรือน ศึกษากรณีองค์การบริหารส่วนตาบลวังทอง อาเภอวังทอง จงั หวัดพษิ ณโุ ลก พบวา่ ปจั จยั ดา้ นการ บรหิ ารจดั การ ประกอบด้วย โครงสรา้ งศนู ย์อาสาสมคั รปอู งกันภยั ฝุายพลเรมอื ีปนญั หาอปุ สรรคอยู่ในระดบั น้อย ดา้ นบคุ ลากร ดา้ นงบประมาณ ดา้ นอาคารสถานท่ี วัสดอุ ุปกรณ์ มีปัญหาอุปสรรคอยูใ่ นระดับปานกลาง นอกจากนี้ ยงั พบปัญหาด้านเคร่อื งมอื ส่อื สารมีจานวนไมเ่ พียงพอ ขาดความชัดเจนในการประชาสัมพันธ์ ดา้ นอาคารสถานทต่ี งั้ ศูนย์ ยงั ขาดความพรอ้ มสาหรับดาเนนิ กจิ กรรม และด้านความรูค้ วามเขา้ ใจและการมสี ่วนรว่ มในการปฏิบัติงาน ต้องการใหศ้ ูนยฯ์ จดั สวัสดิการตา่ งๆ และมีคา่ ตอบแทนในการประชุม ตอ้ งการใหศ้ นู ย์ อปพร.จัดชุดเคลือ่ นทเ่ี รว็ ในการแจ้งข้อมูลข่าวสารได้ทันเหตุการณ์ และเสรี พนั ธ์เุ จร2ิญ550( ) ได้ศึกษาการพฒั นาศกั ยภาพการบริหารศนู ย์ อปพร.ขององค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ ในอาเภอปลวกแดง จงั หวัดระยอง พบว่า อาสาสมคั รปอู งกนั ภยั ฝาุ ยพลเรอื น มีความร้คู วามเข้าใจในการปฏบิ ตั ิงานในระดับปานกลางถงึ ค่อนข้างน้อย จะมีผลตอ่ ศกั ยภาพในการใหค้ วาม ชว่ ยเหลอื และบรรเทาสาธารณภยั ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ทาให้ไม่สามารถดแู ลและสองตอ่ ความต้องการ ของประชาชนในท้องถิ่นไดต้ ามเจตนารมณ์ ขณะเดยี วกัน อรชร หมนั่ นางรอง ( 2554) ได้ศกึ ษาการบริหารจัดการศนู ยอ์ าสาสมคั รปอู งกันภยั ฝาุ ยพลเรือน เทศบาลตาบลอบุ ล อาเภอเมอื ง จงั หวดั อุบลราชธานี พบวา่ ในดา้ นงบประมาณผ้บู ริหารไม่ใหค้ วามสาคัญในการ ต้งั จา่ ยงบประมาณ ดา้ นการจดั องคก์ รไม่มีการประชมุ ชแ้ี จงบทบาทหนา้ ที่ของอาสาสมัครปอู งกันภัยฝาุ ยพลเรอื น ไม่มีระเบียบขอ้ บงั คับของศูนยท์ ี่ชัดเจน ไมม่ กี ารจัดทาแผนฝึกอบรมเพิ่มจานวนสมาชกิ ใหไ้ ด้รอ้ ยล2ะ สาหรับ สนุ ทร นาเมอื งรักษ์ ไดศ้ ึกษา กระบวนการบริหารทน่ี าไปสคู่ วามสาเรจ็ ของการดาเนนิ งานตามระบบบริหาร คุณภาพISO 9001 : 2000 กรณีศึกษาธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์ในจังหวัดขอนแก่น พบว่า แนวทางการ บริหารท่ีนาไปสูค่ วามสาเร็จการดาเนนิ งานให้บรรลวุ ตั ถุประสงค์ การวางแผน ถือเปน็ หนา้ ท่ีสาคัญอันดบั แรก ซึง่ เป็นการกาหนดทางเลือกในการปฏิบตั ลิ ว่ งหน้า และต้องจัดให้มีการประชุมชี้แจงให้พนักงานทุกระดบั ได้รบั ทราบ ขน้ั ตอน วิธีปฏิบัติต่างๆ จัดเตรยี มอปุ กรณ์ เครอ่ื งมืออุปกรณ์ ใหเ้ พยี งพอพร้อมใช้งาน และปรบั ปรงุ ขัน้ ตอนการ

16 ปฏบิ ตั งิ านใหเ้ หมาะสม กาหนดตัวชว้ี ัดผลการปฏิบัติงานให้ชดั เจน พรอ้ มเปิดโอกาสใหท้ กุ คนไดม้ สี ว่ นรว่ มในการ กาหนดขัน้ ตอน กระบวนการปฏิบัติงานและปรับปรงุ แก้ไขอย่างตอ่ เนอื่ ง ซึง่ สอดคลอ้ งกับนวลศรี วิจา(ร2ณ54์ 0) ไดศ้ ึกษาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งกระบวนการบรหิ ารจัดการและประสิทธผิ ลโครงการผู้นาเยาวชนสาธารณสุข ในโรงเรยี น ของจงั หวัดในเขตสาธารณสุขท่ี 2 พบวา่ กระบวนการบริหารจัดการโครงการฯ ฝุายสาธารณสขุ อยูใ่ นระดับดี ฝาุ ยการศึกษาอยใู่ นระดับพอใช้ และไม่มีความแตกต่างกันระหวา่ งจงั หวดั เม่อื พจิ ารณารายด้านพบวา่ ดา้ นการจดั องคก์ ารของคณะปฏบิ ตั ิงานฯ ฝุายการศกึ ษาระหว่างจงั หวัดมคี วามแตกตา่ ง กนั นอกจากน้ียังพบว่ากระบวนการบรหิ ารจดั การระหวา่ งกลมุ่ ผปู้ ฏิบัติ งานฯ ทงั้ สองฝุายมคี วามแตกตา่ งกัน โดยเฉพาะดา้ นการวางแผนการจัดองค์การและการควบคุมงาน สว่ นผลการปฏิบตั กิ ิจกรรมผู้นา ยสร. พบว่า ผนู้ า ยสร. มีผลการปฏิบตั ิกิจกรรมนอกโรงเรยี นดกี วา่ ผลการปฏิบัติกจิ กรรมในโรงเรยี น ผลการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม รวมทกุ ด้านและผลการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมในโรงเรยี นอยู่ในระดับตา่ ผลการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมนอกโรงเรยี นอย่ใู นระดบั ปานกลาง เมื่อเปรยี บเทยี บผลการปฏบิ ตั ิกิจกรรมผู้นา ยสร. ระหวา่ งจังหวดั พบว่ามีความแตกตา่ งกัน และความสัมพันธข์ องกระบวนการบรหิ ารจัดการและประสทิ ธผิ ลโครงการฯพบว่าไม่มีความสมั พันธ์กัน ขอ้ เสนอแนะจากการวจิ ัย คือ นอกจากนโยบายของ ทัง้ สองหน่วยงานควรมคี วามชดั เจนแล้ว ผ้บู ริหารและ ผปู้ ฏบิ ตั ิงานโครงการฯทง้ั สองฝาุ ยควรบริหารโครงการด้วยความตระหนักถึงความสาคญั ด้านการวางแผน การจดั องคก์ ารอานวยการและการควบคุมงานเพ่ือปรบั ปรุงโครงการให้มีประสิทธภิ าพตอ่ ไป ต่อมาวีระศกั ด์ิ บุญประกอบ ( 2541) ไดศ้ กึ ษากระบวนการบรหิ ารกับผลสัมฤทธข์ิ องการจดั การ ศนู ยอ์ บรมเด็กก่อนเกณฑใ์ นวัด จังหวัดหนองคาย ผลการวิจัยพบวา่ ศูนยอ์ บรมเดก็ ก่อนเกณฑ์ในวดั ได้นา กระบวนการบริหาร4 ด้าน คือ การวางแผน การมอบหมายงาน การประสานงาน และการประเมินผล มาปฏบิ ัติอยู่ ในระดับปานกลาง ปัจจัยสง่ิ แวดล้อมด้านวฒั นธรรมองค์กร บคุ ลากร อาคารสถานที่ งบประมาณ และความสมั พันธ์ กับชุมชน จะมีปัญหาอยู่ในระดับนอ้ ย ขณะเดียวกนั ปยิ นุช ภคู า (2545) ได้ทาการศึกษา เรื่อง การศึกษา เปรยี บเทยี บกระบวนการบริหารท่ีมีผลต่อการดาเนินงานของคณะกรรมการบริหารศนู ย์สงเคราะหร์ าษฎรประจา หมู่บ้าน ในอาเภอกุมภวาปี จงั หวัดอดุ รธานี พบว่า กระบวนการบรหิ ารและผลการดาเนินงานของคณะกรรมการ บรหิ ารศูนย์สงเคราะหป์ ระจาหมู่บ้านทีม่ ีความเขม้ แขง็ มากและศนู ยส์ งเคราะห์ประจาหมูบ่ ้านที่ไม่มีความเข้มแขง็ มี คา่ เฉลี่ยอยู่ในระดบั ปานกลาง ซึง่ ประกอบด้วยความเข้าใจกระบวนการบรหิ ารด้าน นโยบาย การวางแผน การจัดองค์กร การประสานงาน การควบคมุ การตดิ ตามและประเมินผล กระบวนการบริหารมีความสัมพนั ธก์ บั การ ดาเนนิ งานของคณะกรรมการบริหารศนู ย์สงเคราะห์ประจาหม่บู า้ นทกุ ดา้ นกระบวนการบรหิ ารทส่ี ามารถ พยากรณ์ผลการดาเนินงานของคณะกรรมการบรหิ ารศนู ยส์ งเคราะห์ ประจาหมบู่ า้ น คือ การติดตามและ ประเมินผล และการประสานงาน ซึง่ สามารถนาเขา้ รว่ มทานายผลการดาเนนิ งานได้รอ้ ยละ 86 ส่วนการบริหารของ ศนู ย์สงเคราะห์ราษฎรประจาหมบู่ า้ น มปี ญั หาคือ รัฐมขี ้อจากัดดา้ นงบประมาณ ไม่สามารถประสานงานเพอ่ื แจง้ ข้อมลู ขา่ วสาร และการปรบั เปลย่ี นระเบียบการดาเนนิ งานศูนยส์ งเคราะหร์ าษฎรประจาหมบู่ า้ นให้ประชาชนใน หมบู่ า้ นรบั รูไ้ ด้อย่างท่ัวถึง ประกอบกบั ในระดบั หมบู่ ้านเองยงั ขาดความพร้อมดา้ นอุปกรณ์ สถานท่ี และบคุ ลากรที่ มีความรูค้ วามสามารถ ดังนนั้ แนวทางการแกไ้ ขปัญหา รฐั ควรทบทวนนโยบายเพอ่ื กระตุ้นส่งเสรมิ เงินอดุ หนนุ ศูนย์สงเคราะหร์ าษฎรประจาหมบู่ ้าน และควรกาหนดแผนเพ่ือนาไปสู่การปฏบิ ัตเิ พื่อแก้ไขปัญหา โดยใหค้ วามรู้กบั

17 ประชาชนและคณะกรรมการเพือ่ เพมิ่ ขีดความสามารถทางการพัฒนากระบวนการบริหาร ให้ความรู้กับประชาชน และคณะกรรมการเพื่อเพม่ิ ขีดความสามารถทางการพัฒนากระบวนการบรหิ าร โดยการฝกึ อบรม สมั มนา ศกึ ษาดูงาน และกระตุน้ ให้ประชาชนเข้ามามสี ว่ นรว่ มในการติดตามและประเมินผล การประสานงาน เช่นเดยี วกนั ร้อยตารวจโทชนิ วัฒน์ ศรีสวสั ดิ์ (2547) ได้ทาวจิ ัยเรื่อง กระบวนการบรหิ ารจดั การของ สถานีตารวจภธู รอาเภอเมอื ง จงั หวัดกาฬสินธุ์ พบว่า ขา้ ราชการตารวจมีระดับความคดิ เห็นเกี่ยวกับการบริหาร จดั การของสถานีตารวจภูธรอาเภอเมืองกาฬสินธ์ุ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และมีความคดิ เหน็ เกีย่ วกับ การบรหิ ารจดั การของสถานีตารวจภูธรอาเภอเมอื งกาฬสนิ ธุ์โดยรวมและรายด้านไมแ่ ตกตา่ งกัน ซง่ึ จติ ราภรณ์ แสงรงุ่ นภาพรรณ(2549) ไดศ้ ึกษา เร่ือง ปจั จยั ทางการบรหิ ารและกระบวนการบริหารที่มผี ลต่อ การดาเนนิ งานเฝูาระวังทางระบาดวิทยาของเจ้าหนา้ ทสี่ าธารณสขุ ในศนู ยส์ ขุ ภาพชุมชน จังหวัดนครราชสีมา พบว่า ปัจจยั ท่ีมีความสมั พันธ์กบั การดาเนินงานเฝูาระวังทางระบาดวทิ ยาของเจา้ หน้าทส่ี าธารณสขุ ในศนู ยส์ ขุ ภาพชมุ ชน ไดแ้ ก่ (1) ปัจจยั ลักษณะประชากร ประกอบด้วย ด้านประสบการณ์การฝึกอบรมการเฝูาระวงั ทางระบาดวทิ ยา (2) ปจั จยั ทางการบรหิ าร ประกอบดว้ ย ดา้ นกาลังคน ดา้ นงบประมาณ ด้านวัสดอุ ุปก(3ร)ณก์ ระบวนการบรหิ าร ประกอบด้วย ดา้ นการจัดองค์กร การบังคบั บัญชาสั่งการ การประสานงาน และการควบคุม นอกจากน้ยี งั พบว่า ปจั จยั ด้านกระบวนการบรหิ าร ได้แก่ การจดั องคก์ ร การควบคุม การวางแผน และการบงั คับบญั ชาสั่งการมผี ลตอ่ การดาเนนิ งานเฝูาระวงั ทางระบาดวทิ ยาของเจ้าหนา้ ที่สาธารณสุขในศนู ย์สขุ ภาพชุมชน โดยสามารถรว่ มทานายการ ดาเนินงานเฝาู ระวงั ทางระบาดวทิ ยาในศูนย์สขุ ภาพชุมชนจงั หวดั นครราชสมี าได้ร้อยละ 67 สมชาย อุทัยประดษิ ฐ์ ( 2551) ไดศ้ กึ ษาบทบาทขององค์การบริหารส่วนตาบลต่อการพฒั นาทกั ษะการ ปฏบิ ตั หิ นา้ ทขี่ องอาสาสมคั รปูองกันและบรรเทาสาธารณภยั (อปพร.) กรณศี ึกษา องคก์ ารบริหาร สว่ นตาบลโนนธาตุ พบวา่ สามารถตอบคาถามเกีย่ วกบั บทบาทขององคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล ตอ่ การ พฒั นาทักษะการปฏิบัตหิ นา้ ทขี่ องอาสาสมัครปอู งกันภัยฝุายพลเรอื น (อปพร.) ซึง่ มอี งคป์ ระกอบทีส่ าคญั คือ การกาหนดนโยบายของผู้บริหาร ท่ีจะนาไปสู่ความสาเร็จ การติดต่อประสานงานและการสร้าง แรงจูงใจเพ่ือให้อาสาสมคั รปูองกนั ภัยฝุายพลเรือน (อปพร.) มีการปรบั ปรุงเปล่ยี นแปลงทศั นคตใิ หเ้ กดิ ผลดีตอ่ หน่วยงานได้ สาหรับการนานโยบายไปปฏิบัตนิ ัน้ มปี ัญหาในการปฏิบตั ิอยู่บา้ งแต่กม็ ีแนวทางใน การแกไ้ ขเพ่อื ใหม้ ีประสทิ ธิภาพ และมที ักษะในการปฏบิ ตั หิ น้าที่ สามารถชว่ ยเหลอื ประชาชนในดา้ นการ ปูองกนั และบรรเทาสาธารณภยั ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ดังน้ัน เพอื่ ใหก้ ารช่วยเหลือประชาชนในด้านการ ปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เป็นไปอย่างทวั่ ถึง

18 กรอบแนวคดิ ภาพที่ 2.1 ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งปจั จยั ส่วนบุคคลต่อความพึงพอใจของประชาชน การปฏบิ ตั ิงาน ของ อาสาสมัครปอู งกนั ภยั ฝุายพลเรือ(อนปพร.) ที่ไดร้ ับการฝกึ จาก ศนู ย์ปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต 15 เชยี งราย ตวั แปรอสิ ระ ตวั แปรตาม ปัจจัยสว่ นบุคคล ไดแ้ ก่ ความพึงพอใจของประชาชน การ 1. เพศ 2. อายุ ปฏิบตั งิ าน ของ อาสาสมคั รป้ องกนั 3. ระดับการศกึ ษา ภยั ฝ่ ายพลเรือน(อปพร.) 4. สถานภาพสมรส ท่ีไดร้ บั การฝกึ จาก ศูนยป์ ูองกนั และ 5. รายได้ บรรเทาสาธารณภยั เขต 15 เชยี งราย

10 บทท่ี 3 ระเบยี บวธิ วี ิจัย ในการศึกษา เรอ่ื ง ความคิดเห็นของประชาชนตอ่ การปฏิบัตงิ านของอาสาสมคั รปอ้ งกันภัย ฝา่ ยพลเรือน (อปพร.) ท่ไี ด้รบั การฝกึ จาก ศนู ย์ป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั เขต 15 เชยี งรายในครงั้ นีไ้ ด้ กาหนดขอบเขตการศกึ ษาเฉพาะพืน้ ที่องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลบ้านแซว อาเภอเชียงแสน จังหวดั เชยี งราย เพอื่ ศกึ ษาความคดิ เห็นของประชาชนต่อการปฏิบัติงานของอาสาสมคั รปอ้ งกนั ภัยฝ่ายพลเรือน(อป พร.) ท่ไี ด้รับการฝกึ จากศนู ย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั เขต 15 เชยี งราย ดังต่อไปน้ี ประชากร ประชากรที่ใช้ศกึ ษา คอื ประชาชนกลมุ่ ผูน้ าในพ้ืนทตี่ าบลบา้ นแซว อาเภอเชยี งแสน จงั หวดั เชยี งราย ตัวอย่าง การศึกษาครงั้ น้ีเปน็ การวจิ ยั เชงิ ปรมิ าณ (Quantitative Research) ตัวอย่างทีใ่ ช้ในการศกึ ษา ได้มาจากการทุกหมบู่ า้ น ประกอบด้วยผใู้ หญ่บ้านหมูบ่ ้าน,ประธานกลมุ่ แมบ่ า้ น,ประธานอาสาสมัคร สาธารณสขุ ,ประธานผู้สงู อายุ,ประธานกลมุ่ เยาวชน,หมบู่ ้านละ 1 คน รวม 15 หมูบ่ ้าน สมาชกิ สภา เทศบาล จานวน 12 ท่าน และทมี ผูบ้ ริหาร จานวน 3 ท่าน รวม 90 คน เครือ่ งมือท่ีใช้ในการศึกษา ผูว้ ิจยั ใช้แบบสอบถามเปน็ เครอ่ื งมือเพ่อื เกบ็ รวบรวมข้อมลู จากตัวอยา่ ง โดยมรี ายละเอียดเกี่ยวกบั การสร้างแบบสอบถามเปน็ ขนั้ ตอน ดงั น้ี 1. ศึกษาวิธกี ารสร้างแบบสอบถามจากเอกสาร งานวจิ ัย และทฤษฎีท่ีเก่ยี วขอ้ ง 2. สรา้ งแบบสอบถามเพอ่ื ถามความคิดเห็นในประเดน็ ต่าง ๆ 3 ประเด็น คือ 2.1 ขอ้ มูลทั่วไปเก่ียวกับผู้ตอบแบบสอบถาม 2.2 ความคดิ เหน็ ตอ่ การปฏิบัติงานของ อาสาสมคั รป้องกนั ภัยฝ่ายพลเรือน ( อปพร.) ทไี่ ด้รบั การฝกึ จาก ศูนยป์ ้องกันและบรรเทาสาธารณภยั เขต 15 เชยี งราย 2.3 ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะอนื่ ๆ ในการปฏบิ ตั งิ านของอาสาสมคั รป้องกนั ภยั ฝ่ายพล เรอื น ( อปพร.) ทไ่ี ด้รบั การฝึกจาก ศนู ย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต 15 เชียงราย 3. นาแบบสอบถามทไ่ี ด้สร้างข้นึ มาเสนอต่ออาจารยท์ ป่ี รึกษา เพอ่ื ปรับปรุงแก้ไข 4. ทาการปรบั ปรุงแกไ้ ขและนาเสนอให้อาจารยท์ ปี่ รึกษาตรวจสอบความถูกตอ้ งอีกครงั้ หนง่ึ เพอ่ื ใหอ้ าจารย์ทีป่ รึกษาอนุมตั ิก่อนแจกแบบสอบถาม 5. นาแบบสอบถามไปทดลองกบั ตวั อยา่ งจานวน 10 ราย เพือ่ หาคา่ ความเชือ่ มัน่ 6. ทาการปรบั ปรงุ และนาเสนอให้อาจารยท์ ปี่ รกึ ษาอนมุ ตั ิกอ่ นแจกแบบสอบถาม 7. แจกแบบสอบถามไปยังตวั อย่าง

19 การตรวจสอบเคร่ืองมือ การตรวจสอบเน้ือหา ผ้วู ิจยั ได้นาเสนอแบบสอบถามท่ีได้สร้างข้นึ ตอ่ าจารย์ท่ปี รึกษาเพ่อื ตรวจสอบความครบถ้วนและความสอดคล้องของเนื้อหาของแบบสอบถามท่ตี รงกับเรื่องท่จี ะศึกษา การตรวจสอบความเชื่อม่นั ผูว้ ิจัยพจิ ารณาจากค่าสัมประสิทธิค์ วามเช่อื ม่ันครอนแบค็ อัลฟา่ (Cronbach’s Alpha Coefficient) ซ่ึงมรี ายละเอยี ด ดงั นี้ สว่ นของคาถาม ค่าสัมประสทิ ธคิ์ วามเชอ่ื มน่ั ขอ้ มูลท่วั ไปเกีย่ วกับผู้ตอบแบบสอบถาม 95 ความพึงพอใจต่อการปฏบิ ัตงิ านและการดาเนินงาน 95 ของอปพร.ท่ไี ดร้ บั การฝึกจากศูนย์ ปภ.เขต 15 ค่าความเชื่อม่ันรวม คอื 95 องคป์ ระกอบของแบบสอบถาม ผู้ทาวิจยั ได้ออกแบบสอบถามซงึ่ ประกอบดว้ ย 3 ส่วนพรอ้ มกบั วธิ ีการตอบคาถามดงั ต่อไปน้ี คอื ส่วนที่ 1 เปน็ คาถามเกย่ี วกบั ขอ้ มลู ทั่วไปของผู้ตอบคาถาม ไดแ้ ก่ เพศ อายุ ระดบั การศกึ ษา สถานภาพ อาชีพ และรายได้ ลกั ษณะเปน็ คาถามปลายปดิ แบบใหเ้ ลอื กตอบ สว่ นท่ี 2 เป็นคาถามเกย่ี วขอ้ งกับ ความพงึ พอใจตอ่ การปฏิบตั ิงานและการดาเนินงาน ของอาสาสมคั ร ป้องกันภยั ฝา่ ยพลเรือน ( อปพร.) ทไ่ี ดร้ ับการฝึกจาก ศูนย์ปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต 15 เชยี งราย ลักษณะเป็นคาถามปลายปิดโดยคาถามแบง่ เป็น 5 ระดบั ตัง้ แต่น้อยทีส่ ุดถงึ มากที่สุด การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ผวู้ ิจัยได้ดาเนนิ การเก็บขอ้ มลู ตามข้นั ตอนตอ่ ไปน้ี คือ 1. ผู้วิจัยอธบิ ายรายละเอียดเกย่ี วกบั เน้อื หาภายในแบบสอบถามและวิธีการตอบแกต่ วั แทน และทีมงาน 2. ผูว้ จิ ัยหรือตวั แทนและทมี งาน เข้าไปในสถานที่ตา่ งๆที่ต้องการศกึ ษาตามทร่ี ะบไุ ว้ขา้ งตน้ 3. ผวู้ จิ ัยหรือตัวแทนและทีมงาน ไดแ้ จกแบบสอบถามให้กลุ่มเปา้ หมายและรอจนกระท่งั ตอบ คาถามครบถ้วน ซง่ึ ในระหว่างน้นั ถ้ามผี ู้ตอบข้อสงสยั เก่ยี วกับคาถาม ผ้วู ิจยั หรอื ทีมงานจะตอบข้อสงสยั นนั้ การแปรผลขอ้ มลู ผทู้ าวจิ ยั ไดก้ าหนดค่าอันตรภาคช้ัน สาหรบั การแปลผลขอ้ มูลโดยคานวณคา่ อันตรภาคชั้น เพื่อ กาหนดช่วงช้ัน ด้วยการใช้สูตรคานวนและคาอธบิ ายสาหรับแต่ละชว่ งชน้ั ดงั นี้ อันตรภาคช้นั = = = 0.80

19 ช่วงช้ัน คาอธิบายสาหรบั การแปลผล 1.00 – 1.80 ระดับนอ้ ยท่ีสดุ 1.81 – 2.61 ระดับนอ้ ย 2.62 – 3.42 ระดบั ปานกลาง 3.43 – 4.23 ระดบั มาก 4.24 – 5.00 ระดบั มากที่สดุ สถติ ทิ ่ใี ชใ้ นการวเิ คราะห์ นาข้อมลู ที่ได้จากแบบสอบถาม ตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนสมบรู ณ์ในการตอบแบบสอบถาม แลว้ จึงนาผลไปประมวลวิเคราะห์ ด้วยโปรแกรม สาเรจ็ รปู ทางสถติ ิ และแปรผลขอ้ มูลต่อไป สถิติทใ่ี ช้ใน การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ได้แก่ ค่าร้อยละ และคา่ เฉล่ยี

บทที่ 4 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู การศึกษาเรือ่ งความพึงพอใจของประชาชน ตอ่ การปฏิบัติงาน ของ อาสาสมคั รป้องกนั ภยั ฝ่าย พลเรือน (อปพร.) ที่ไดร้ ับการฝึกจาก ศนู ย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต 15 เชียงราย กรณีศกึ ษา พื้นท่ีองค์การบรหิ ารส่วนตาบลบา้ นแซว อาเภอเชียงแสน จงั หวัดเชียงราย ผู้ศกึ ษานาเสนอผลการวิจยั ซง่ึ ประกอบด้วยข้อมลู 2 สว่ น ตามลาดบั ดังน้ี ส่วนที่ 1 ข้อมลู ส่วนบคุ คลของกลุ่มตวั อยา่ ง ดังตารางท่ี61 - สว่ นที่ 2 ระดบั ความคดิ เห็นของประชาชนในพอ้นื งทคี่ ก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลบ้านแซว อาเภอเชียงแสน จงั หวัดเชียงรายตอ่ การปฏบิ ัตงิ าน ของ อาสาสมัครปอ้ งกันภัยฝ่ายพลเรอื น (อปพร.) ทไ่ี ดร้ บั การฝกึ จาก ศนู ย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต 15 ส่วนที่ 1 ขอ้ มลู ส่วนบคุ คลของกลมุ่ ตัวอยา่ ง ตารางท1่ี จานวนและร้อยละของกลมุ่ ตัวอยา่ งจาแนกตามเพศ ร้อยละ เพศ จานวน 74.4 ชาย 67 25.6 หญิง 23 100 รวม 90 ผลการศึกษาตามตารางท่ี1 พบว่ากลุม่ ตัวอย่างสว่ นใหญ่ร้อยละ 74.4 เป็นเพศชาย และรอ้ ยละ25.6 เป็นเพศหญงิ ตารางท2่ี จานวนและร้อยละของกลุ่มตวั อย่างจาแนกตามอายุ อายุ จานวน รอ้ ยละ 18-29 ปี 15 16.6 30-39 ปี 25 27.7 40-49 ปี 26 28.8 50-59 ปี 8 9.2 60 ปขี น้ึ ไป 16 17.7 90 100 รวม ผลการศกึ ษาตามตารางที่2 พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญร่ อ้ ยละ28.8 มีอายุระหว่าง40-49 ปี รองลงมา ร้อยละ27.7 มีอายรุ ะหว่าง30-39 ปี ร้อยละ 17.7 มอี ายรุ ะหวา่ ง60 ปีขนึ้ ไป และมีอาย5ุ 0-59 ปี น้อยทส่ี ดุ เพยี ง รอ้ ยละ9.2

26 ตารางท3่ี จานวนและรอ้ ยละของกลมุ่ ตัวอย่างจาแนกตามระดบั การศกึ ษา ระดบั การศกึ ษา จานวน ร้อยละ ประถมศกึ ษา- มธั ยมศกึ ษาปีท3ี่ 21 23.3 มัธยมศกึ ษาตอนปลายหรอื เทียบเท่า ปวช. 45 50 อนปุ รญิ ญา 9 10.1 ปริญญาตรี 15 16.6 90 100 รวม ผลการศึกษาตามตารางท่ี 3 พบว่ากลุ่มตวั อยา่ งสว่ นใหญ่ร้อยละ 50 จบการศกึ ษาสูงสุดระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายหรือเทยี่ บเท่า ปวช รองลงมาร้อยละ 23.3 จบการศึกษาในระดบั ประถมศึกษา - มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ร้อยละ 16.6 จบการศกึ ษาในระดับปริญญา ร้อยละ 10.1 และจบการศกึ ษาในระดับ อนปุ ริญญา สงู กวา่ ระดับ ปริญญาตรไี ม่มี ตารางท4่ี จานวนและรอ้ ยละของกล่มุ ตัวอยา่ งจาแนกสถานภาพสมรส สถานภาพ จานวน ร้อยละ สมรส 40 44.4 โสด 45 50 หย่าร้าง 5 5.6 90 100 รวม ผลการศกึ ษาตามตารางท4่ี พบวา่ กลมุ่ ตวั อยา่ งส่วนใหญร่ ้อยละ50 มสี ถานภาพโสด รองลงมาร้อยละ 44.4 สถานภาพสมรส สถานภาพหย่ารา้ ง นอ้ ยทส่ี ุดเพียงรอ้ 5ย.ล6ะ ตารางท5่ี จานวนและรอ้ ยละของกลมุ่ ตัวอยา่ งจาแนกตามอาชพี อาชพี จานวน ร้อยละ เกษตรกร 52 57.7 รบั จ้าง 12 13.3 พนกั งาน/ลกู จ้าง 4 4.6 คา้ ขาย 10 11.1

ธรุ กจิ ส่วนตัว 12 26 รวม 90 13.3 100 ผลการศกึ ษาตามตารางท่ี 5 พบวา่ กลุ่มตวั อย่างสว่ นใหญ่ร้อยละ 57.7 ประกอบอาชีพเกษตรกร รองลงมา รอ้ ยละ 13.3 ประกอบอาชีพรับจ้างและธุรกจิ ส่วนตัว ร้อยละ 11.1 ประกอบอาชพี ค้าขายและ ประกอบอาชีพ พนกั งาน/ลกู จ้าง น้อยทส่ี ุดเพยี งรอ้ ยละ 4.6 ตารางท6่ี จานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามรายได้ รายได้/เดอื น จานวน ร้อยละ ตา่ กว่า5,000 บาท 5 5.5 5,001 - 10,000 บาท 42 46.6 10,001 - 20,000 บาท 40 44.4 มากกวา่ 20,000 บาท 3 3.5 รวม 184 100 ผลการศึกษาตามตาตารางที่ 6 พบวา่ กล่มุ ตวั อย่างส่วนใหญ่ ร้อยละ 46.6 มรี ายไดร้ ะหวา่ ง 5,001-10,000 บาท รองลงมารอ้ ยละ 44.4 มีรายได้ระหว่าง 10,00 1-20,000 บาท ร้อยละ 5.5 มรี ายได้ ต่าว่า 5,000 บาท และมีรายได้มากกว่า 20,000 บาท น้อยทีส่ ุดเพยี งร้อยละ 3.5

26 ส่วนที่ 2 ระดับความคิดเหน็ ขอปงระชาชนด้านต่างๆ ต่อการปฏบิ ตั ิงาน ของ อาสาสมัครปอ้ งกนั ภยั ฝา่ ยพลเรอื น (อปพร.) ทีไ่ ดร้ บั การฝึกจาก ศูนยป์ ้องกันและบรรเทาสาธารณภยั เขต 15 เชียงราย กรณศี ึกษา พน้ื ทอี่ งคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลบา้ นแซว อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ตารางท7่ี ความถ่ี ร้อยละ และคา่ เฉลยี่ ของระดับความคิดเปหัจน็ จัยดา้ นองค์ความรู้ ปัจจัยด้านองค์ความรู้ มาก ระดบั ความคดิ เห็น(n=90) SD แปล ทีส่ ดุ มาก ปาน น้อย นอ้ ย ความ 1. เรื่อง พรบ.ป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย 8 กลาง ทีส่ ุด 2. ระเบียบ มท.วา่ ด้วย อปพร 31 65 15 2 0 3.87 0.57 มาก 52 7 0 0 4.26 0.59 มาก ที่สุด 3. เงือนเชือกในงาน 18 62 9 1 0 4.07 0.58 มาก สาธารณภัย 19 53 16 2 0 3.98 0.69 มาก 4.ระเบียบแถว 5.การปฐมพยาบาลและ 12 67 10 1 0 4 0.53 มาก การเคล่อื นยา้ ยผ้ปู ว่ ย 15 63 10 2 0 4.01 0.60 มาก 6.การแจ้งเตือนภัยและ 18 57 12 3 0 4 0.68 มาก การงานขา่ ว 7.ปัญหายาเสพตดิ และผู้ มีอิทธพิ ล

26 ระดับความคดิ เห็น(n=90) ปัจจัยด้านองค์ความรู้ มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย SD แปล กลาง ทส่ี ุด ความ ทส่ี ุด 8.การชว่ ยเหลอื และ 18 58 12 2 0 4.02 0.64 มาก สงเคราะหผ์ ปู้ ระสบภัย 9.การจดั การภยั พบิ ตั ิโดย 15 62 12 1 0 4.01 0.58 มาก ใชช้ ุมชนเป็นฐาน 57 18 1 0 3.93 0.62 มาก 10.หลกั การกู้ภยั 14 11.การเคลอ่ื นย้ายบคุ คล 12 72 5 1 12 4.05 0.47 มาก จากพน้ื ทสี่ ูง 12.ความรเู้ บ้ืองตน้ 26 61 2 1 25 4.24 0.54 มาก เก่ยี วกบั สารเคมี ทีส่ ุด 13.การปอ้ งกนั และระงบั 12 67 11 0 12 4.01 0.50 มาก อัคคีภยั 15 62 12 1 0 4.01 0.58 มาก 14.ความปลอดภยั ทาง รวม ถนน ผลการศึกษาตามตารางท่ี 7 พบวา่ ความคดิ เห็น ของประชาชนมคี วามเหน็ วา่ อปพร.ทไ่ี ดร้ บั การ อบรมจากศนู ย์ป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยเขต 15 เชยี งราย ตอ่ ปัจจยั ดา้ นปจั จยั ดา้ นองค์ความรู้ เก่ียวกับเรอ่ื งระเบยี บ มท.วา่ ดว้ ย อปพร และ เร่อื งความรดู้ า้ นสารเคมมี คี วามคิดเหน็ พงึ พอใจในระดับ มากที่สดุ มีค่าเฉล่ีย 4.2 6 และ 4.2 4 ตามลาดบั นอกจากนย้ี ังนาความรเู้ รื่องตา่ งๆไปใช้มคี วามพึงพอใจ ในระดบั มากใน เรื่อง พรบ.ปอ้ งกันและบรรเทา สาธารณภัย , เงือนเชือกในงานสาธารณภัย,ระเบยี บแถว, การปฐมพยาบาลและการเคล่อื นย้ายผู้ปว่ ย,การแจ้งเตอื นภัยและการงานขา่ ว,ปัญหายาเสพตดิ และ ผูม้ ีอทิ ธิพล , การชว่ ยเหลอื และสงเคราะหผ์ ปู้ ระสบภัย,การจัดการภยั พิบัตโิ ดยใชช้ ุมชนเปน็ ฐาน,หลกั การ กู้ภยั ,การเคลื่อนยา้ ยบคุ คลจากพน้ื ทส่ี งู ,การป้องกันและระงบั อัคคีภยั ,ความปลอดภัยทางถนน ตารางท8ี่ ความถ่ี รอ้ ยละ และคา่ เฉลยี่ ของระดับความคดิ เปหจั็นจยั ดา้ นอุปกรณ์ เครื่องมอื การปฏิบัติงานของ ระดับความคิดเหน็ n=90) อปพร. มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย SD แปล ความ ทส่ี ดุ กลาง ทส่ี ุด

26 การปฏิบัติงานของ ระดบั ความคดิ เห็นn=90) SD แปล อปพร. มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย ความ ท่สี ุด กลาง ท่ีสุด 1. มกี ารใชเ้ ครอ่ื งมอื กู้ภัยท่ีถูกต้อง 16 60 14 0 0 4.02 0.57 มาก 2. มีเครือ่ งมือกภู้ ยั ท่ี 15 67 8 0 0 4.07 0.49 มาก เพียงพอ รวม ผลการศึกษาตามตารางท่ี8 พบวา่ ประชาชนในเขต รบั ผิดชอบขององคก์ ารบริหารสว่ นตาบลบ้านแซว มีความคดิ เห็นปัจจยั ดา้ นอุปกรณ์ เครื่องมอื ในเรอื่ งการใชเ้ คร่ืองมือกู้ภัยที่ถูกต้องและการมเี ครอื่ งมอื กภู้ ยั ท่ี เพยี งพอประชาชนมคี วามคดิ เห็นพึงพอใจอยา่ งมากมีค่าเฉลยี่ 4.02และ4.07 ตามลาดบั ตารางท9ี่ ความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลยี่ ของระดับความคดิ เปหัจน็ จยั ดา้ นการบรกิ าร การดาเนินงานของศูนยฯ์ ระดับความคดิ เห็น(n=90) ด้านการจัดองค์กร มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย SD แปล ทีส่ ุด กลาง ท่ีสุด ความ 1. ผ้บู รหิ ารใหค้ วามสาคญั และสนบั สนนุ การบริหาร 18 60 12 0 0 4.06 0.57 มาก กจิ การ อปพร. 2. จดั ประชมุ ชแ้ี จง ทาความ เข้าใจกฎหมาย ที่ 18 60 12 0 0 4.06 0.57 มาก

การดาเนินงานของศูนย์ฯ มาก ระดบั ความคดิ เหน็ (n=90) 26 ด้านการจัดองค์กร ทส่ี ุด มาก ปาน น้อย นอ้ ย SD แปล เก่ยี วขอ้ งในการปฏิบตั งิ าน กลาง ที่สดุ ความ 3. คดั เลือกและแต่งตงั้ คณะกรรมการประสานงาน 19 61 9 1 0 4.08 0.58 มาก โดยมอบหมายหนา้ ที่ความ รบั ผิดชอบชัดเจน 4. จดั ตง้ั งบประมาณสาหรับ รองรบั การบรหิ ารกิจการ 14 59 15 2 0 3.94 0.63 มาก อปพร. 5. จัดทาแผนพัฒนา 18 66 5 1 0 4.12 0.53 มาก ศกั ยภาพ อปพร. 6. จัดระบบงานเอกสาร 31 51 8 0 0 4.25 0.60 มาก ทะเบียนหนงั สอื รับ-ส่ง ท่ีสดุ ทะเบียนฐานข้อมลู สมาชกิ และแฟ้มรวบรวมผลงาน ของสมาชกิ 7. การส่ังใช้ทกุ คร้งั ถูกต้อง 12 67 10 1 0 4 0.53 มาก ตามระเบยี บฯ 8. วางระบบเพ่อื รองรับการ บรกิ ารประชาชนสถานที่ 19 55 16 0 0 4.03 0.62 มาก ติดต่อ และ ระบบ Call Centerหรอื ศนู ยร์ บั แจ้งเหตุ 9. จดั เจา้ หน้าทีป่ ฏิบัตงิ าน 12 67 10 1 0 4 0.53 มาก ด้านรักษาความสงบ

การดาเนินงานของศูนย์ฯ มาก ระดับความคดิ เหน็ (n=90) 26 ดา้ นการจดั องค์กร ทีส่ ดุ มาก ปาน น้อย น้อย SD แปล เรียบร้อย และร่วมกิจกรรม กลาง ท่ีสดุ ความ รณรงค์ ความปลอดภัย ภายในพืน้ ท่ีและรว่ มกบั ศนู ย์ อปพร. จงั หวดั รวม ผลการศกึ ษาตามตารางท่ี 9 พบวา่ ประชาชนในเขตรบั ผดิ ชอบขององค์การบริหารส่วนตาบลบา้ นแซว มีความคิดเห็นด้านการจดั องค์กรโดยรวม อยใู่ นระดบั มากและมากทส่ี ดุ พบวา่ เรื่องท่ีประชาชนพึงพอใจมากที่สดุ ไดแ้ ก่ขอ้ จัดระบบงานเอกสาร ทะเบยี นหนังสือรับ -สง่ ทะเบียนฐานขอ้ มูลสมาชกิ และแฟม้ รวบรวมผลงาน ของสมาชกิ ซึ่งมคี า่ เฉล่ียที่ 4. 25 และเรอ่ื งอนื่ ประชาชนมคี วามพงึ พอใจในระดบั มากไดแ้ ก่เรอ่ื งผบู้ ริหาร ให้ความสาคัญและสนับสนุนการบรหิ ารกิจการ อปพร. จดั ประชุมชีแ้ จงทาความเข้าใจกฎหมายทเ่ี กยี่ วข้อง ในการปฏิบตั ิงาน , คัดเลอื กและแตง่ ตงั้ คณะกรรมการประสานงาน โดยมอบหมายหนา้ ที่ความรับผิดชอบ ชดั เจน,จัดตง้ั งบประมาณสาหรับรองรับการบรหิ ารกจิ การ อปพร . , จัดทาแผนพัฒนาศกั ยภาพ อปพร . , การสัง่ ใช้ทุกครัง้ ถกู ต้องตามระเบียบฯ , วางระบบเพือ่ รองรับการบริการประชาชนสถานที่ติดตอ่ และ ระบบ Call Center หรอื ศนู ย์รบั แจ้งเหตุ , จัดเจา้ หน้าทป่ี ฏิบัติงานดา้ นรักษาความสงบเรียบร้อย และรว่ ม กิจกรรมรณรงค์ ความปลอดภยั ภายในพื้นท่แี ละร่วมกบั ศูนย์ อปพร. จงั หวัด

24 บทที่ 5 สรุปและอภปิ รายผล ในการศึกษาคร้ังน้ี เป็นการศึกษคาวามพงึ พอใจของประชาชน ต่อการปฏิบัติงาน ของ อาสาสมัคร ป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) ท่ีไดร้ บั การฝึกจาก ศนู ย์ป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยเขต 15 เชียงราย กรณศี ึกษา พ้นื ทอ่ี งคก์ ารบริหารส่วนตาบลบ้านแซว อาเภอเชยี งแสน จงั หวัดเชียงราย โดยศกึ ษาความพึงพอใจของประชาชน ตอ่ การปฏิบตั งิ าน ของ อาสาสมคั รปอ้ งกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) ทไี่ ด้รับการฝกึ จาก ศูนย์ป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยเขต 15 เชียงราย ในเขตพื้นที่รับผิดชอบขององคก์ าร บริหารส่วนตาบลบา้ นแซว อาเภอเชยี งแสน จังหวดั เชียงราย การศกึ ษาคร้ังน้ี เปน็ การศึกษาเชงิ ปรมิ าณ ประชากรทีศ่ ึกษา ไดแ้ ก่ ประชาชนในเขตพน้ื ที่ องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลบ้านแซว อาเภอเชยี งแสน จังหวัดเชียงราย ซึ่งใช้วธิ กี ารกาหนดกลุ่มตวั อย่าง คอื การศึกษาเชงิ ปรมิ าณ โดยไดก้ าหนดกลุ่มตวั อยา่ งโดยใชก้ ลุ่มตัวอย่างประกอบดว้ ยผูใ้ หญ่บา้ นหมบู่ า้ น, ประธานกลุม่ แมบ่ ้าน , ประธานอาสาสมัครสาธารณสุข,ประธานผสู้ ูงอาย,ุ ประธานกลมุ่ เยาวชน, หมูบ่ ้านละ 1 คน รวม 15 หมบู่ ้าน สมาชิกสภาเทศบาล จานวน 12 ทา่ น และทมี ผบู้ รหิ าร จานวน 3 ท่าน รวม 90 คน โดยไดต้ รวจสอบความสมบรู ณ์ถกู ตอ้ งครบถ้วน แล้วนาขอ้ มลู จากแบบสอบถามมาวเิ คราะห์โดยใช้ โปรแกรมสาเรจ็ รูป SPSS for Windows version ใชส้ ถติ บิ รรยาย ได้แก่ ค่าร้อยละ คา่ เฉลี่ย ซงึ่ สรุป ผลการวิจัย ดังนี้ สรุปผลการศึกษา สรปุ ผลการวจิ ัย จากการศกึ ษาครง้ั นสี้ ามารถสรปุ ผลได้ ดงั นี้ 1. ขอ้ มลู ส่วนบคุ คล ผลการศึกษา พบว่า จากกลมุ่ ตัวอย่าง 90 คน มเี พศชายมากกว่าเพศหญงิ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 74.4 และ 25.6 ตามลาดับ มีช่วงอายุมากที่สดุ คือชว่ ง 40-49 ปี คดิ เปน็ ร้อยละ 28.8 และ รองลงมา ได้แก่ชว่ งอายุ 30-39 ปี , 60 ปีข้ึนไป , อายุ 18-29 ปี และมอี ายุ50-59 ปี คดิ เปน็ ร้อยละ 27.7, 17.7 และ 16.6 และ 9.2 ตามลาดับ มีระดับการศกึ ษาระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลายหรอื เทียบเท่า ปวช. มากทสี่ ดุ คิดเปน็ รอ้ ยละ 50 รองลงมาระดับการศึกษาระดบั ประถมศกึ ษาถึงมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ระดบั ปริญญาตรี ระดับอนุปริญญา คิดเป็นรอ้ ยละ 23.3, 16.6 , 10.1 ส่วนสถานภาพมสี ถานภาพโสดมากท่ีสดุ คอื ร้อยละ 50 รองลงมาสมรส และหยา่ ร้าง 44.4 และ 5.6 ตามลาดบั ส่วนอาชีพส่วนใหญ่ประกอบอาชพี เกษตรกรรม คดิ เป็นรอ้ ยละ 57.7 รองลงมาประกอบอาชพี รบั จ้าง รับราชการ ค้าขายและพนกั งาน/ลกู จา้ ง คิดเป็นร้อยละ 13.3,13.3, 11.1 และ 4.6 ตามลาดบั มสี ถานภาพสมรสมากทีส่ ดุ คอื รอ้ ยละ 81.5 รองลงมาโสด อย่ารา้ ง และหมา้ ย คดิ เป็นรอ้ ยละ 13.0, 3.8 และ 1.7 ตามลาดับ การจาแนกตามรายได้ มรี ายได้ระหวา่ ง 5,001-10,000 บาท มากท่สี ดุ จานวน 46.6 และมีรายได้นอ้ ยทส่ี ุดที่ มากกว่า 20,000 บาท จานวน รอ้ ยละ 3.5 2.ระดับความคิดเหน็ ของประชาชนดา้ น องค์ความรคู้ วามคิดเหน็ ของประชาชนจากการศึกษาพบว่า อปพร.ทไี่ ดร้ ับการอบรมจากศูนยป์ ้องกันและบรรเทาสาธารณภยั เขต 15 เชียงราย ตอ่ ปัจดจา้ ัยนปัจจยั ดา้ นองค์

29 ความรเู้กีย่ วกับเรอื่ งระเบยี บ มท.วา่ ด้วย อปพร และ เรอ่ื งความรดู้ า้ นสารเคมีมคี วามคดิ เหน็ พงึ พอใจในระดบั มาก ทสี่ ดุ มีคา่ เฉลี่ย 4.21และ4.23ตามลาดบั นอกจากนีย้ งั นาความรเู้ รอ่ื งตา่ งๆไปใช้มีความพงึ พอใจในระดบั มาก ใน เรื่อง พรบ.ปอ้ งกันและบรรเทา สาธารณภัย , เงอื นเชอื กในงานสาธารณภยั ,ระเบียบแถว,การปฐมพยาบาลและการ เคล่ือนย้ายผปู้ ่วย,การแจง้ เตือนภยั และการงานขา่ ว,ปัญหายาเสพตดิ และผมู้ ีอิทธพิ ล,การชว่ ยเหลอื และสงเคราะห์ ผู้ประสบภยั ,การจัดการภัยพบิ ตั ิโดยใชช้ ุมชนเป็นฐาน,หลกั การกภู้ ยั ,การเคล่ือนยา้ ยบุคคลจากพนื้ ทสี่ งู ,การปอ้ งกนั และระงบั อคั คภี ยั ,ความปลอดภยั ทางถนน ด้านอุปกรณเ์ ครื่องมอื จากการศกึ ษาพบว่าประชาชนในเขตตาบลบา้ นแซมวีความพงึ พอใจตอ่ การใช้ เครอื่ งมือกภู้ ยั ท่ีถกู ต้อง 4.02 และมีความพึงพอใจมเี คร่ืองมือกภู้ ยั ท่เี พียงพอ จานวน 4.07 ดา้ นการจัดองคก์ รโดยรวม อยใู่ นระดับมากและมากทส่ี ุด พบว่าเรือ่ งที่ประชาชนพงึ พอใจมากท่สี ุดไดแ้ ก่ ขอ้ จดั ระบบงานเอกสาร ทะเบยี นหนงั สือรับ-ส่ง ทะเบยี นฐานขอ้ มูลสมาชิก และแฟม้ รวบรวมผลงานของ สมาชิก ซ่ึงมคี า่ เฉลย่ี ที่ 4.25 และเรือ่ งอน่ื ประชาชนมีความพึงพอใจในระดับมากได้แก่เรอ่ื งผบู้ รหิ ารให้ ความสาคัญและสนบั สนนุ การบรหิ ารกิจการ อปพร, จัดประชมุ ช้ีแจง ทาความเขา้ ใจกฎหมายทีเ่ กี่ยวขอ้ ง ในการปฏิบตั ิงาน,คดั เลือกและแตง่ ตงั้ คณะกรรมการประสานงาน โดยมอบหมายหนา้ ที่ความรับผดิ ชอบ ชัดเจน,จดั ตัง้ งบประมาณสาหรับรองรับการบรหิ ารกิจการ อปพร.,จดั ทาแผนพฒั นาศักยภาพ อปพร.,การ สั่งใช้ทกุ ครง้ั ถูกตอ้ งตามระเบียบฯ,วางระบบเพอื่ รองรับการบริการประชาชนสถานท่ีติดตอ่ และ ระบบ Call Centerหรอื ศูนย์รับแจ้งเหตุ,จัดเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานดา้ นรกั ษาความสงบเรยี บร้อย และรว่ มกจิ กรรม รณรงค์ ความปลอดภัยภายในพืน้ ทีแ่ ละรว่ มกบั ศนู ย์ อปพร. จังหวัด การอภปิ รายผล ระดบั ความ การศึกษาความพึงพอใจของประชาชน ต่อการปฏบิ ัติงาน ของ อาสาสมัครป้องกันภัย ฝ่ายพลเรอื น (อปพร.) ท่ไี ดร้ บั การฝึกจากศนู ย์ปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั เขต 15 เชียงราย จากการ วเิ คราะห์ข้อมลู ดังกล่าวข้างต้น พบว่าประชาชน มคี วามเหน็ ว่า อปพร.ทีผ่ า่ นการอบรมสามารถนาความรู้ทไ่ี ด้จาก การอบรมด้านตา่ ง ๆ ไปดาเนินการในชมุ ชนเพอื่ ชว่ ยเหลอื ประชาชนไดโ้ ดยมีความพงึ พอใจในระดับมาทีส่ ุด ใน เรอื่ งระเบยี บ มท.ว่าด้วย อปพรและเรือ่ งความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกับสารเคมีมคี วามคดิ เหน็ ในระดบั มากทส่ี ดุ คดิ เป็น 4.26 และ4.24 ตามลาดับ และมีข้อที่ประชาชนมคี วามพงึ พอใจในระดบั มาก มจี านวน 12 ข้อได้แเกรอ่ื ง เรอื่ ง พรบ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณ,ภเัยงอื นเชอื กในงาน สาธารณภ,ัยระเบยี บแถว, การปฐมพยาบาลและการ เคล่ือนย้ายผูป้ ่วย , การแจ้งเตอื นภยั และการงานขา่ ว , ปญั หายาเสพติดและผ้มู ีอิทธพิ ล , การชว่ ยเหลอื และ สงเคราะหผ์ ปู้ ระสบภัย, การจดั การภัยพิบตั ิโดยใช้ชมุ ชนเป็นฐาน, หลกั การกู้ภัย, การเคลอ่ื นย้ายบคุ คลจากพื้นที่ สงู ,การป้องกนั และระงับอัคคีภยั ,ความปลอดภยั ทางถนนความปลอดภัยทางถนน ในสว่ นของปจั จัยดา้ นวสั ดุอปุ กรณพ์ บว่าประชาชนมคี วามพงึ พอใจในระดบั มาก ท้งั ในเรื่องการใช้เครอื่ งมือ ก้ภู ยั ที่ถูกตอ้ งและมเี ครือ่ งมือกู้ภัยที่เพยี งพอคดิ เปน็ 4.0แ2ละ4.07

29 นอกจากน้ี ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู พบว่า ประชาชนยังมีความเหน็ วา่ ปจั จัยดา้ นการบริการ มีการดาเนนิ การ ให้บริการแกป่ ระชาชนได้อยา่ งมากทสี่ ดุ โดยศนู ย์มีการบริหารจดั การได้ดใี นเร่อื งตอ่ ไปจนดั ้ีระบบงานเอกสาร ทะเบยี นหนังสือรบั -สง่ ทะเบยี นฐานข้อมูลสมาชิกซ่ึงมคี า่ เฉล่ียท่ี 4.25 และแฟม้ รวบรวมผลงานของ สมาชกิ และเร่อื งท่ีสามารถทาไดด้ เี ชน่ ผู้บริหารให้ความสาคญั และสนับสนนุ การบรหิ ารกจิ การ อปพร ., จัดประชมุ ชี้แจง ทาความเข้าใจกฎหมายทเี่ ก่ียวขอ้ งในการปฏบิ ัตงิ าน ,คัดเลอื กและแตง่ ต้งั คณะกรรมการ ประสานงาน โดยมอบหมายหน้าทีค่ วามรบั ผิดชอบชดั เจน,จัดต้ังงบประมาณสาหรับรองรับการบรหิ าร กจิ การ อปพร. , จัดทาแผนพฒั นาศักยภาพ อปพร . , การส่ังใช้ทกุ คร้ังถูกต้องตามระเบียบฯ ,วางระบบเพอ่ื รองรับการบริการประชาชนสถานทต่ี ิดตอ่ และระบบ Call Center หรอื ศูนยร์ บั แจ้งเหตุ ,จัดเจา้ หน้าท่ี ปฏิบตั งิ านดา้ นรักษาความสงบเรยี บรอ้ ย และรว่ มกิจกรรมรณรงค์ ความปลอดภัยภายในพนื้ ที่และรว่ มกบั ศูนย์ อปพร. จังหวดั จากผลการวเิ คราะหข์ า้ งต้น แสดงให้เหน็ วา่ ประชาชน มองการนาความรู้ไปใช้ในการให้ความช่วยเหลอื ประชาชน ของ อปพร. ในระดบั คอ่ นข้างดีมาก และมองภาพการดาเนนิ งานของศูนย์ อปพร มคี วามเป็นระบบ อยใู่ นระดบั ที่ดี ซงึ ทาให้ผู้วิจัย สามารถอนุมานได้วา่ ประชาชนนา่ จะมคี วามพึงพอใจตอ่ การปฏิบตั ิงานของ อปพร. พอสมควร ทัง้ นปี้ จั จยั ที่สนบั สนนุ การปฏิบตั ิงานของ อปพร.ตอ่ การให้บรกิ ารประชาชน ซ่ึงผู้วจิ ยั คิดว่าน่าจะมผี ล เปน็ อย่างย่ิงได้แกก่ ารฝึกอบรม อปพร ใหม้ ีความรู้ ในด้านตา่ งๆ ซง่ึ จะสามารถ สนบั สนนุ การปฏิบัตงิ านได้เป็น อยา่ งดีเหน็ ได้จากผลการวิเคราะหข์ ้อมูลข้างตน้ ซ่ึงตรงกบั ผลการวิจยั ของทฤษฏีสองปจั จยั ของเฮอร์เบิร์ก (Hertzberg) เกดิ ความพึงพอใจ ทฤษฏนี เี้ ชอื่ ว่าผูป้ ฏิบัติงานจะปฏบิ ัติงานได้ผลดมี ปี ระสทิ ธภิ าพยอ่ มขน้ึ อยกู่ บั ความพงึ พอใจของผปู้ ฏิบัติงานท่ีแสดงใหเ้ ห็นว่า การฝึกอบรมมผี ลตอ่ การปฏบิ ตั ิงานของ อปพร. ขอ้ เสนอแนะสาหรบั การวิจยั ครั้งต่อไป จากการทาวจิ ัยในครั้งนีท้ าใหท้ ราบถึงความพงึ พอใจของประชาชนในเขตพ้ืนทอี่ งค์การบรหิ าร ส่วนตาบลบ้านแซว อาเภอเชียงแสนจังหวดั เชียงราย ซงึ่ เป็นชาวไทยพืน้ ราบ ทางผูว้ ิจยั เหน็ วา่ ในพ้นื ท่ี ของศูนยป์ อ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต 15 เชียงรายในบางพ้นื ที่เปน็ ชาวไทยภูเขา ซ่งึ ทางผู้วจิ ัยเห็น วา่ ควรจะทาการสารวจในพ้นื ท่ีชาวไทยภเู ขาตอ่ ไปว่ามีความพึงพอใจเหมอื นกนั หรือไม่

บรรณานกุ รม กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย . ( 2552). คู่มือการปฏิบตั งิ านกระบวนงานการฝกึ ซอ้ มแผน การป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ตามสภาพพื้นทเี่ สย่ี งภยั . กรงุ เทพฯ : สว่ นนโยบาย ภัย ธรรมชาติ สานกั นโยบายป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั . . (ม.ป.ป.). คู่มือการพัฒนาระบบความปลอดภัยให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินท่ีมี ผังเมืองรวม. กรงุ เทพฯ : กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย. . (2554). คู่มือการปฏิบตั ิงานด้านการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย . กรงุ เทพฯ : กระทรวงมหาดไทย . (2550). พระราชบญั ญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 . กรงุ เทพฯ : กระทรวงมหาดไทย . (2553). แผนป้องกันภยั ฝ่ายพลเรือนแหง่ ชาติ ปี พ.ศ. 2553-2557 . กรุงเทพฯ : กระทรวงมหาดไทย . (2555). ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2555-2557 . กรงุ เทพฯ : กระทรวงมหาดไทย กระทรวงมหาดไทย. (2553). ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหนว่ ยอาสาสมัครปอ้ งกันภยั ฝา่ ยพลเรือน พ.ศ. 2553. กรงุ เทพฯ: กระทรวงมหาดไทย จติ ราภรณ์ แสงรงุ่ นภาพรรณ. (2549). ปัจจัยทางการบริหารจดั การและกระบวนการบรหิ ารงานท่มี ีผล ตอ่ การดาเนนิ งานเฝา้ ระวังทางระบาดวทิ ยาของเจ้าหน้าทีส่ าธารณสุขในศูนยส์ ุขภาพชุมชน จงั หวดั นครราชสมี า. วทิ ยานิพนธศ์ ิลปศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ . นรนิ ทร์ชยั พัฒนพงศา. (2547). การมีสว่ นรว่ มหลักการพนื้ ฐานเทคนคิ และกรณตี วั อยา่ ง. พิมพ์ครง้ั ท่ี 2. เชียงใหม่ : สิรลิ กั ษณก์ ารพิมพ์, ปยิ นุช ภคู า. (2545). การศึกษาเปรยี บเทียบกระบวนการบริหารท่มี ีผลต่อการดาเนินงานคขณอะงกรรมการ บริหารศูนย์สงเคราะห์ราษฎรประจาหมู่บ้านในอาเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี . วทิ ยานิพนธ์ ศลิ ปศาสตรม์ หาบณั ฑติ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม. รอ้ ยตารวจโทชนิ วัฒน์ ศรสี วสั ด์ิ. (2547). กระบวนการบรหิ ารกบั ผลสัมฤทธ์ิของการจัดการศนู ย์อบรม เดก็ กอ่ นเกณฑใ์ นวดั จังหวัดหนองค.าวยิทยานพิ นธ์ศิลปศาสตรม์ หาบัณฑ, ิตมหาวิทยาลยั ขอนแกน่ . สมชาย อุทยั ดษิ ฐ์. (2551). บทบาทขององคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลต่อการพฒั นาทักษะการปฏิบัติหน้าท่ี ของอาสาสมคั รปอ้ งกนั ภัยฝ่ายพลเรอื น (อปพร.) กรณศี ึกษา องค์การบรหิ ารส่วนตาบลโนนธา.ตุ สารนพิ นธ์รฐั ศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลยั รามคาแหง วรี ะพล บุญประกอบ. (2541). กระบวนการบรหิ ารกับผลสมั ฤทธ์ขิ องการจัดการศูนยอ์ บรมเดก็ กอ่ น เกณฑใ์ นวดั จังหวดั หนองคาย. วทิ ยานพิ นธ์ศลิ ปศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น. ธดิ ารตั น์ รวยอบกลิน่ . (2553).ปัญหาอปุ สรรคในการบริหารศูนย์ อปพร.องค์การบรหิ ารส่วนตาบลวงั ทอง จังหวัดพิษณุโลก. คณะสงั คมศาสตร์, มหาวทิ ยาลยั นเรศวร.

2

ภาคผนวก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook