Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 07 งานวิจัย นบ.ปภ.10 ดำรงฉบับสมบูรณ์

07 งานวิจัย นบ.ปภ.10 ดำรงฉบับสมบูรณ์

Published by Hommer ASsa, 2021-04-30 04:37:25

Description: 07 งานวิจัย นบ.ปภ.10 ดำรงฉบับสมบูรณ์

Search

Read the Text Version

รายงานการศึกษา เรื่อง ความพงึ พอใจของประชาชนตอความชวยเหลอื ในระหวางและหลัง ประสบอุทกภัยจากหนว ยงานภาครัฐ อาํ เภอชนบท จังหวัดขอนแกน จดั ทําโดย วาท่ี ร.ต.ดาํ รง คงอริยะ รหัสประจาํ ตัวนกั ศึกษา 07 เอกสารฉบับนเี้ ปนสวนหนึ่งในการศกึ ษาอบรม หลกั สตู ร นกั บรหิ ารงานปองกนั และบรรเทาสาธารณภยั (นบ.ปภ.) รนุ ท่ี 10 วทิ ยาลยั ปอ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย กรมปองกนั และบรรเทาสาธารณภัย

คํานํา การศึกษาวิจัย เรอื่ งความพงึ พอใจของประชาชนตอ ความชว ยเหลอื ในระหวา ง และหลงั ประสบอทุ กภยั จากหนวยงานภาครัฐ อําเภอชนบท จังหวดั ขอนแกน ฉบับนี้เปนสว นหนึ่งของการศึกษาวจิ ัย สวนบคุ คลหลกั สตู รนักบริหารงานปอ งกันและบรรเทาสาธารณภยั (นบ.ปภ.) รนุ ที่ 10 วิทยาลัยปอ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภยั โดยเปนการศกึ ษาคน ควา วา ประชาชนที่ ไดรับผลกระทบจากอุทกภยั นั้นมีความพึงพอใจมาก นอ ย อยางไร ตอการชวยเหลือจากหนว ยงานภาครัฐ เพ่อื นําเสนอเปนขอมลู ใหห นวยงานท่ีรบั ผิดชอบในการชว ยเหลือประชาชนท่ีประสบอทุ กภยั ใชเปน ขอมูล เบ้ืองตนในการพัฒนา ปรบั ปรุงการใหค วามชวยเหลอื ในโอกาสตอไป ดังนั้น หากเอกสารงานวิจัยสวนบุคคลฉบับนี้ มีขอบกพรอง หรือผิดพลาดประการใดผู ศึกษาวิจยั ขอนอมรับดว ยความเคารพ และจะนาํ ไปพัฒนาปรับปรุง แกไข ในโอกาสตอ ไป ดาํ รง คงอรยิ ะ นกั ศกึ ษาหลกั สูตร นบ.ปภ. รุนท่ี 10 มีนาคม 2557

ข กติ ติกรรมประกาศ เอกสารการศึกษาวิจัยสวนบุคคลเรื่องความพึงพอใจของประชาชนตอความชวยเหลือใน ระหวางและหลังประสบอุทกภัยจากหนวยงานภาครัฐ อําเภอชนบท จังหวัดขอนแกน ฉบับนี้สําเร็จลุลวง ดวยดี เพราะไดรับความเมตตาและความกรุณาใหคําแนะนํา จากทานอาจารย ดร.ปยวัฒน ขนิษฐบุตร และอาจารยวรชพร เพชรสวุ รรณ อาจารยที่ปรึกษางานวิจัยนักศึกษา นบ.ปภ. รุนท่ี 10 อยางใกลชิด และ ขอขอบพระคุณผูบริหารกรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัยที่เก่ียวของทุกทาน ที่ไดกรุณาคัดเลือกให ผวู จิ ัยไดเ ขา รบั การฝก อบรมในหลักสูตรนักบริหารงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุนท่ี 10 ในครั้งน้ี โดยเฉพาะ ผูอํานวยการวิทยาลัยปองกันและบรรเทาสาธารณภัย (นางสาวลักขณา มนิมนากร) รองผูอํานวยการวิทยาลัยปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ฝายฝกอบรม (นายวิจารณ เหลาธรรมยิ่งยง) และเจาหนา ทีว่ ิทยาลัยปอ งกันและบรรเทาสาธารณภัย ทกุ คน นอกจากนี้ ขอขอบพระคุณหัวหนาสํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด ขอนแกน และเจาหนาท่ีทุกคน รวมถึงหัวหนาครอบครัวผูไดรับความเดือดรอนจากอุทกภัยที่ใหความ กรุณาตอบแบบสอบถาม ตลอดจนเพ่ือน ๆ นบ.ปภ. รุนท่ี 10 ทกุ ทาน ท่ีไดใหขอมูล และคําแนะนําในการ ศึกษาวิจัยในครั้งน้ี หากเอกสารงานวิจัยสวนบุคคลฉบับน้ี มีขอบกพรองผิดพลาดประการใด ผูศึกษา ขอนอมรบั ดวยความเคารพ และจะนาํ ไปปรบั ปรงุ แกไข ในโอกาส ตอ ไป ดํารง คงอริยะ นักศกึ ษาหลักสตู ร นบ.ปภ. รุนท่ี 10 มีนาคม 2557

ค บทสรุปสาํ หรับผูบรหิ าร จากการศึกษาวิจัยเร่ือง ความพึงพอใจของประชาชนตอความชวยเหลือในระหวางและหลัง ประสบอุทกภัยจากหนวยงานภาครัฐ อําเภอชนบท จังหวัดขอนแกน ในครั้งน้ี ผูศึกษาไดกําหนด วัตถุประสงคสําหรบั ในการศึกษาไว 2 ประการดว ยกัน กลา วคือ 1) เพ่อื ศกึ ษาความพึงพอใจของประชาชน ตอความชวยเหลอื ในระหวา งและหลงั ประสบอุทกภยั จากหนว ยงานภาครัฐ อาํ เภอชนบท จังหวัดขอนแกน 2) เพ่ือศกึ ษาปญ หา และอปุ สรรค ที่มผี ลตอความพงึ พอใจของประชาชนตอ ความชวยเหลือในระหวางและ หลังประสบอทุ กภัย อําเภอชนบท จังหวัดขอนแกน ตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได และ ระยะทาง ซึ่งผูศึกษาไดกําหนดวิธีการศึกษาวิจัยในเชิงปริมาณ โดยกําหนดกลุมประชากรตัวอยางท่ีศึกษา ซึ่งเปนหัวหนาครัวเรือน ในแตละครัวเรือนอาศัยอยูในพื้นท่ีที่ไดรับผลกระทบจากอุทกภัยซ้ําซาก อําเภอ ชนบท จังหวัดขอนแกน จาก 4 ตําบล 40 หมูบาน 4,485 ครัวเรือน เพ่ือใหไดขอมูลท่ีเปนประโยชนตอ การนํามาใชประกอบทําการศึกษาหาความพึงพอใจของประชาชนตอความชวยเหลือในระหวางและหลัง ประสบอทุ กภยั จากหนวยงานภาครัฐ ทั้งในดานการอพยพ คน สัตว และทรัพยสิน การจัดหาที่พักอาศัย ชั่วคราว การใหความชวยเหลือดานปจจัยพื้นฐาน การใหความชวยเหลือดานการบูรณะและฟนฟู ทํา การเกบ็ รวบรวมขอมูลโดยใชแบบสอบถามวิเคราะหข อ มลู ดวยสถิติท่ใี ชใ นการวเิ คราะหข อ มลู สรุปผลการศึกษาเร่ือง ความพึงพอใจของประชาชนตอความชวยเหลือในระหวางและหลัง ประสบอทุ กภัยจากหนว ยงานภาครัฐ อําเภอชนบท จงั หวดั ขอนแกน ผลสรปุ ตามวตั ถปุ ระสงค มดี งั น้ี 1. ประชากรกลุมตัวอยางของจํานวนประชากรที่เปนหัวหนาครอบครัว จาก 4 ตําบล 40 หมบู าน 4,485 ครัวเรือน สวนใหญเปนเพศชาย มีอายุ 45 ปขน้ึ ไป คดิ เปน รอยละ 87.90 ระดับการศึกษา ประถมศึกษา หรือต่ํากวา รอยละ 85.70 สวนมากประกอบอาชีพดานเกษตรกรรม ราษฎรสวนมากมี รายไดอยูระหวาง 15,000-20,000 บาทตอป รอยละ 57.50 และมีระยะทางจากบานถึงศูนยอํานวยการ ชวยเหลอื ผูประสบอทุ กภัยตาํ่ กวา 5 กโิ ลเมตร รอยละ 80.00 2. จากการศึกษาความพึงพอใจของประชาชนตอความชวยเหลือในระหวางและหลังประสบ อุทกภัยจากหนวยงาน ภาครัฐ อาํ เภอชนบท จังหวัดขอนแกน โดยภาพรวมอยูในระดับมีความพึงพอใจอยู ในระดับพึงพอใจ ดานการใหความชวยเหลือดานปจจัยพ้ืนฐานมากที่สุด รองลงมาคือ ดานการใหความ ชว ยเหลอื ดานการฟนฟูและบูรณะและตาํ่ ทส่ี ดุ คอื ดานจัดหาที่พักอาศัยชั่วคราว และเม่ือพิจารณาเปนราย ดา น พบวา 2.1 ดานการอพยพ คน สัตว และทรัพยสิน ท่ีผูประสบภัยมีความพึงพอใจมากท่ีสุด ไดแก ดานความสุภาพออนโยนของเจาหนาที่มากที่สุด รองลงมาคือ มีความเสมอภาคในการใหบริการ และขอท่ตี าํ่ สดุ คือ ความชัดเจนของขาวสารประชาสมั พันธ 2.2 ดานจดั หาที่พกั อาศยั ช่วั คราวโดยภาพรวมอยใู นระดับเฉย ๆ และเมื่อพิจารณาราย ขอ พบวา ขอ ความสุภาพออ นโยนของเจาหนา ที่ผใู หบริการมากที่สุด รองลงมาคือ ขอสถานท่ีและสิ่งอํานวย ความสะดวกทใ่ี หบรกิ าร และขอ ทตี่ ํ่าสดุ คือ ขอความรวดเร็วทันตอ เหตกุ ารณของการใหบ รกิ าร 2.3 ดานการใหค วามชวย เหลือดานปจจัยพ้นื ฐาน โดยภาพรวมอยูในระดับพึงพอใจ และเม่ือพิจารณารายขอพบวา ขอ ความสภุ าพออนโยนของเจา หนาที่มากท่ีสดุ รองลงมาคือขอความทัว่ ถงึ และเสมอภาคของการใหบ รกิ ารและขอทต่ี ่ําสดุ คือขอความตอเนือ่ งในการใหบรกิ าร

ง 2.4 ดานการใหความชวยเหลือดานการบูรณะและการฟนฟู โดยภาพรวมอยูในระดับ พึงพอใจ และเม่ือพิจารณารายขอพบวา ขอความสุภาพออนโยนของเจาหนาท่ีผูใหบริการมากท่ีสุด รองลงมาคือ ขอความซื่อสัตย สุจริต โปรงใสของผูใหบริการ และขอท่ีต่ําสุด คือ ขอความรวดเร็วในการ ใหบ ริการ 3. จากการศึกษาปญหา และอุปสรรค หรือขอเสนอแนะและความคิดเห็นในการตอบ แบบสอบถาม ของประชาชนเกี่ยวกบั การใหค วามชว ยเหลือผูประสบอุทกภัยโดยใชขอมูลจากแบบสอบถาม ในสวนของคําถามปลายเปด (Open end) จากแบบสอบถามทั้งหมด ผูท่ีตอบแบบสอบถามปลายเปด จาํ นวน 280 คน คดิ เปน รอยละ 36.20 ของทงั้ หมด สรปุ เปนขอ ๆ ดงั นี้ 3.1 ความรวดเรว็ และทนั ตอ เหตุการณของการใหความชว ยเหลือดานเมล็ดพันธุพืชให ทนั ตามฤดกู าลเพาะปลกู เชน เมลด็ พันธุขาวหลังน้ําลด พื้นดินยังมีความชุมช้ืนอยู ถาไดเมล็ดพันธุพืชก็จะ สามารถเพาะปลูกได เมล็ดพันธุผักตาง ๆ ก็สามารถปลูกไดจนกวานํ้าจะแหงแลงเขาสูฤดูหนาว เราก็ สามารถเก็บเกยี่ วผลผลิตได 3.2 ดานปจจัยพื้นฐานในชวงนํ้าทวมตองการใหความชวยเหลืออยางทั่วถึง และ. โปรง ใส กรณีครอบครัวที่อยหู างไกลศูนยช ว ยเหลือผปู ระสบภัยไมมพี าหนะมารบั พอมารบั วนั หลังก็หมดไป แลว ทําใหไมไ ดรบั ความชว ยเหลอื อยา งท่ัวถึง 3.3 ในระหวางนํ้าทวม อยากใหชวยเหลือดานปจจัยพ้ืนฐานอยางตอเน่ือง เพราะทาง ครอบครัวต้ังแตน้ําทวมจนน้ําลดไดรับการชวยเหลือถุงยังชีพเพียงครั้งเดียวควรจะใหความชวยเหลือเปน ระยะอยางนอยสปั ดาหละ 1 คร้ัง จนกวานํา้ จะลดเขาสูสภาวะปกติ 3.4 การใหความชวยเหลือหลังนํ้าลด ตองการใหความชวยเหลือวัสดุซอมแซม บานเรือน หองนํ้า หองสวม ความเสียหายของพืชผลทางการเกษตรใหคุมคากับขอมูลความ เสยี หายที่เปน จริง ขอ เสนอแนะในการทาํ วจิ ัยครงั้ ตอ ไป ควรศึกษาวิจัยเพิ่มเติมในประเด็นความพึงพอใจของประชาชนตอความชวยเหลือใน ระหวา งและหลังประสบอุทกภยั จากหนวยงานภาครัฐ อําเภอชนบท จังหวัดขอนแกน โดยเจาะลึกลงไปใน รายละเอยี ด และขอ มลู การชว ยเหลอื ผูป ระสบอทุ กภยั ท่ีชัดเจนยิ่งขึ้น ซึ่งจะเปนประโยชนตอการปรับปรุง และพัฒนาเอกสาร เพ่ือใชเปนขอมูลแนวทางการวางแผนใหการชวยเหลือประชาชน ซ่ึงจะเกิดประโยชน สูงสดุ ตอ หนว ยงาน และตรงกับความพึงพอใจของประชาชนมากย่ิงขน้ึ

จ หนา ก สารบญั ข ค คํานํา จ กติ ติกรรมประกาศ ช บทสรุปสาํ หรับผบู ริหาร ฌ สารบัญ 1 สารบัญตาราง 1 สารบญั ภาพประกอบ 2 บทท่ี 1 บทนาํ 2 3 1.1 ความสาํ คัญและทม่ี าของปญ หาวจิ ัย 3 1.2 วัตถปุ ระสงคของการศึกษา 4 1.3 ขอบเขตการศึกษา 4 1.4 ประโยชนท ีค่ าดวา จะไดร บั 5 1.5 นิยามศัพทเฉพาะ 11 บทท่ี 2 แนวคดิ ทฤษฎีและงานวิจัยทเ่ี กีย่ วของ 13 2.1 แนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจและความตองการ 17 2.2 แนวคิดเกย่ี วกับสาธารณภัย 19 2.3 ทฤษฎที ่เี ก่ยี วขอ ง 19 2.4 งานวิจัยท่เี กีย่ วของ 20 2.5 กรอบแนวคิดของการวจิ ยั 21 บทที่ 3 ระเบยี บวธิ วี จิ ัย 21 3.1 ประชากรและกลุม ตัวอยา ง 22 3.2 เคร่ืองมอื ที่ใชในการรวบรวมขอมลู 22 3.3 การสรางเคร่ืองมือ 23 3.4 การเกบ็ รวบรวมขอมลู 23 3.5 การวเิ คราะหขอ มลู 25 3.6 สถิติทใี่ ชในการวิเคราะหขอมูล บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหขอมูล 33 4.1 ขอ มูลทว่ั ไปของกลุมตวั อยาง 33 4.2 ผลการวเิ คราะหความพงึ พอใจของประชาชนตอ ความชวยเหลือ 34 36 ในระหวา งและหลังประสบอุทกภัยจากหนวยงานภาครัฐ อําเภอชนบท จงั หวดั ขอนแกน บทที่ 5 สรปุ และอภิปรายผล 5.1 สรุปผลการศึกษา 5.2 อภิปรายผล 5.3 ขอ เสนอแนะ

ฉ หนา 38 สารบัญ (ตอ ) 41 42 บรรณานกุ รม 45 ภาคผนวก 49 แบบสอบถาม แบบการเสนอโครงรา งการศกึ ษาวิจัยสว นบุคคล ประวัตผิ ูวจิ ัย

ช สารบญั ตาราง หนา 12 ตารางท่ี 19 1 แสดงเปรยี บเทียบความตอ งการของมนุษยต ามทฤษฎขี องแอลเดอรเ ฟอร 20 กับทฤษฎคี วามตองการของมาสโลว 23 2 แสดงจาํ นวนตาํ บล หมบู านและหวั หนาครวั เรอื นที่ใชเ ปน ประชากร 25 ท่ีไดร บั ความเสยี หายจากอทุ กภัยในเขตพืน้ ที่อาํ เภอชนบท จงั หวดั ขอนแกน 3 แสดงจาํ นวน ตาํ บล หมบู าน หัวหนาครัวเรือนและหวั หนาครัวเรือนที่ใช 25 เปน กลุมตัวอยาง 4 แสดงจํานวนและรอยละของขอมลู ทั่วไปของกลมุ ตัวอยา ง อาํ เภอชนบท 26 จงั หวัดขอนแกน 5 แสดงคา เฉล่ยี และสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจของประชาชนตอ 27 ความชว ยเหลอื ในระหวางและหลังประสบอุทกภัยจากหนวยงาน ภาครัฐ อาํ เภอชนบท จงั หวดั ขอนแกน โดยภาพรวมและรายดา น 27 6 แสดงคา เฉล่ยี และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพงึ พอใจของประชาชนตอ ความชวยเหลือในระหวา งและหลังประสบอทุ กภัยจากหนว ยงาน ภาครฐั 28 อําเภอชนบท จังหวัดขอนแกน ดานการอพยพ คน สตั ว และทรพั ยส นิ 7 แสดงคาเฉล่ียและสวนเบย่ี งเบนมาตรฐานของความพึงพอใจของประชาชนตอ 29 ความชวยเหลือในระหวางและหลังประสบอุทกภัยจากหนว ยงาน ภาครฐั อําเภอชนบท จังหวดั ขอนแกน ดานจัดหาท่ีพักอาศยั ช่วั คราว 8 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบย่ี งเบนมาตรฐานของความพึงพอใจของประชาชน ตอ ความชวยเหลอื ในระหวางและหลังประสบอุทกภัยจากหนวยงานภาครฐั อําเภอชนบท จงั หวัดขอนแกน ดานการใหค วามชวยเหลอื ดา นปจจัยพื้นฐาน 9 แสดงคาเฉลีย่ และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจของประชาชน ตอความชวยเหลือในระหวา งและหลงั ประสบอุทกภัยจากหนว ยงานภาครฐั อําเภอชนบท จงั หวดั ขอนแกน ดา นการใหค วามชว ยเหลอื ดานการบูรณะและ การฟนฟู 10 แสดงการเปรยี บเทยี บคาเฉลยี่ และสว นเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของ ประชาชนตอความชวยเหลือในระหวางและหลังประสบอทุ กภยั จากหนว ยงาน ภาครฐั อาํ เภอชนบท จงั หวดั ขอนแกน โดยภาพรวมและรายดาน จาํ แนกตามอายุ 11 แสดงการเปรียบเทยี บคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของ ประชาชนตอ ความชวยเหลอื ในระหวางและหลงั ประสบอทุ กภัยจากหนวยงาน ภาครฐั อําเภอชนบท จงั หวดั ขอนแกน โดยภาพรวมและรายดา น จาํ แนกตาม ระดบั การศกึ ษา

ซ หนา 30 สารบญั ตาราง (ตอ) 31 ตารางที่ 12 แสดงการเปรียบเทียบคาเฉลย่ี และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของ 32 ประชาชนตอความชวยเหลือในระหวา งและหลงั ประสบอุทกภยั จากหนวยงาน ภาครัฐ อําเภอชนบท จังหวดั ขอนแกน โดยภาพรวมและรายดา น จาํ แนกตามอาชีพ 13 แสดงการเปรียบเทยี บคา เฉลี่ยและสว นเบี่ยงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของ ประชาชนตอความชวยเหลือในระหวางและหลังประสบอุทกภัยจากหนว ยงาน ภาครัฐ อําเภอชนบท จงั หวัดขอนแกน โดยภาพรวมและรายดา น จําแนกตามรายได 14 แสดงการเปรียบเทียบคาเฉลี่ยและสว นเบ่ยี งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของ ประชาชนตอความชว ยเหลอื ในระหวางและหลังประสบอุทกภยั จากหนว ยงาน ภาครัฐ อาํ เภอชนบท จังหวดั ขอนแกน โดยภาพรวมและรายดาน จําแนกตาม ระยะทางจากบา นถงึ ศูนยอาํ นวยการชว ยเหลอื ผปู ระสบอทุ กภัย

ฌ หนา 17 สารบญั ภาพประกอบ ภาพประกอบท่ี 1 แผนภมู ิแสดงกรอบแนวคดิ ของการวิจัย

บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความสําคัญและทีม่ าของปญ หาวจิ ยั อุทกภัย (Flood) เปนภัยธรรมชาติท่ีเกิดจากหลายสาเหตุ ไดแก การเกิดฝนตกหนัก ตอเนื่องกันเปนเวลานานและเปนบริเวณกวาง เนื่องจากพายุหมุนเขตรอนที่พัดผานทําใหเกิดนํ้า ทวมในบริเวณดังกลาว การเกิดน้ําหลากจากภูเขาท่ีเปนตนน้ําลําธาร ทําใหเกิดนํ้าทวมฉับพลัน เนอื่ งจากดนิ ระบายนาํ้ ไมทันจึงเออลนลงมาทวมพื้นท่ีดานลาง การเกิดตะกอนในลําน้ําทําใหน้ําต้ืน เขิน เมื่อเกิดฝนตกมาอยางหนักจึงทําใหนํ้าเออลนทวมพ้ืนท่ีบริเวณริมฝงลําน้ํา ความสามารถใน การอุมนํ้าของดินนอยทําใหนํ้าฝนท่ีตกลงมาซึมลงสูดินไดนอยและสวนท่ีเหลือก็เออทวม พ้ืนท่ี บริเวณดังกลาวไดอยางรวดเร็ว เปนตน สวนสาเหตุอื่น ๆ ซ่ึงมีโอกาสเกิดขึ้นไดนอย เชน เหตุการณเข่ือนราวและพังเม่ือเกิดฝนตกลงมาอยางหนัก ทําใหเกิดนํ้าทวมอยางฉับพลันสราง ความเสียหายแกประชาชนในชุมชนใกลเคียง และหากไมทราบลวงหนาอาจแกไขเหตุการณไมทัน สงผลใหเกิดทรัพยสินเสียหายหรือเสียชีวิตได เพราะนํ้าที่กักเก็บไวในเขื่อนมีปริมาณมากและไหล มาอยางรวดเร็ว ทําใหกระแสนํ้าที่รุนแรงสามารถพัดพาบานเรือน สัตวหรือ คน ไปไดอยาง งายดาย นอกจากน้ียังมีสาเหตุทางออมท่ีกอใหเกิดอุทกภัยหลายสาเหตุ ท้ังจากการเปล่ียนแปลง การใชที่ดินโดยสวนใหญจะเปลี่ยนจากพ้ืนท่ีปาไมหรือพ้ืนที่เกษตรกรรมไปเปนพื้นที่ชุมชน เน่ืองจากการมีประชากรเพ่ิมมากขึ้นหรือการตัดไมทําลายปาเพ่ือนําไปใชประโยชนโดยไมสนใจ ระบบนิเวศวทิ ยาที่เปล่ยี นแปลงไปสงผลใหเมื่อเกดิ ฝนตกลงมาแลว ไมมีปาไมคอยอุมนํ้าหรือชะลอ ความแรงของนํา้ ฝนท่ตี กลงมา นํ้าจึงไหลทวมพ้ืนท่ีอยางรวดเร็วหรือการกอสรางถนนขวางทางน้ํา กอใหเกิดการระบายน้ําไมทันและเกิดน้ําทวมในที่สุด ซ่ึงจะเห็นวาเม่ือเกิดขึ้นแลวยอมทําใหเกิด ความสูญเสียอยางใหญหลวง ทรัพยสินของประชาชนพลเมืองและของรัฐถูกทําลายเสียหาย ผปู ระสบภัยอาจไดรับบาดเจ็บ เกิดความพิการและเสียชีวิตได เมื่ออุทกภัยเกิดข้ึนและแผขยายวง กวา งออกไป ปรมิ าณความสูญเสยี ยอมเพิม่ ขึน้ เปนเงาตามตวั จังหวดั ขอนแกน เปนจงั หวัดหน่ึงซ่ึงอยูในเขตพืน้ ที่เส่ยี งอุทกภัยระดบั รุนแรง เกิดอุทกภัย เปนประจําทุกป และแผบริเวณกวางทําใหเกิดผลเสียหายตอบานเรือนและสิ่งปลูกสราง ตลอดจน ผลิตผลทางการเกษตร การปศุสตั ว สัตวเลย้ี งตา ง ๆ ตนไมใ นสวน ตลอดจนพชื ผลตา ง ๆ จมนํ้าตาย ไปหมด จากผลสรุปสถานการณอุทกภัย ณ วันที่ 25 พฤศจิกายน 2556 จังหวัดขอนแกนเกิด อทุ กภัยในพน้ื ทีร่ วม 9 อําเภอ 33 ตําบล 230 หมูบาน ไดแก อําเภอแวงนอย แวงใหญ มัญจาคีรี ชนบท บานไผ บานแฮด โคกโพธ์ิไชย พระยืน และอําเภอเมืองขอนแกน ความเสียหายมี ราษฎรเดือดรอน 19,511 ครัวเรือน เสียชีวิต 7 คน ถนน 102 สาย พ้ืนที่การเกษตรเสียหาย 95,020 ไร อาํ เภอชนบท เปนอําเภอหน่ึงในหลาย ๆ อําเภอ ของจังหวัดขอนแกนที่ไดรับผลกระทบ จากการเกิดอทุ กภัยทกุ ๆ ป เนอ่ื งจากมีแมน า้ํ สายสาํ คญั ท่เี ปน แมน้ําสายหลักและแมน้ําสาขา เชน แมน้ําชี ท่ีมีตนกําเนิดจากเทือกเขาในพ้ืนท่ีจังหวัดชัยภูมิ ไหลผานจังหวัดขอนแกน มหาสารคาม

2 รอยเอ็ด และยโสธร ไหลไปรวมกับแมน้ํามูลท่ีจังหวัดอุบลราชธานี แมน้ําชีไหลผานอําเภอชนบท และอําเภอดงั กลาวขางตน ถือเปนแมนํ้าสายหลักของจังหวัดท่ีประชาชนใชในการอุปโภคและเพื่อ การเกษตร ทําใหพื้นที่การเกษตรไดรับความเสียหาย ประชาชนที่อาศัยอยูริมฝงแมนํ้าชีไดรับ ความเดือดรอน ในฤดูฝนจะมีปริมาณนํ้ามากและไหลหลากอยางรวดเร็วและน้ําจะมักเออลนทวม พ้นื ทีก่ ารเกษตรทําใหพื้นทก่ี ารเกษตรไดรับความเสียหายเปนประจําทุกๆ ป จัดไดวาอําเภอชนบท เปน อําเภอทีไ่ ดร ับภัยจากน้าํ ทวมบอยครง้ั และทําใหป ระชาชนในพื้นทไ่ี ดร ับความเดอื ดรอน ดังนั้น จึงมีความจําเปนที่จะตองทําการศึกษาคนควา จากความเปนมาและความสําคัญ ของปญหาขางตน ผูวิจัยจึงสนใจท่ีจะศึกษาความพึงพอใจของประชาชนในเขตพื้นท่ีที่ไดรับ ผลกระทบจากปญหาเกิดอุทกภัย อําเภอชนบท จังหวัดขอนแกน ซึ่งเปนผูท่ีไดรับบริการจาก หนว ยงานทางภาครฐั ท่ีเขามาใหความชว ยเหลือในดานตางๆ เชน การใหความชวยเหลืออพยพ คน สัตวและทรัพยสินไปอยูในที่ปลอดภัย การจัดหาท่ีพักชั่วคราว การแจกถุงยังชีพเครื่องอุปโภค- บริโภค ขณะเกิดอุทกภัยและหลังจากนํ้าลดสูสภาพปกติแลวมีการใหความชวยเหลือฟนฟู ซอมแซมสิ่งท่ีชํารุดเสียหายใหกลับคืนสูสภาพปกติ ซ่ึงผูวิจัยมีความสนใจวา ประชาชนหรือชุมชน อําเภอชนบท จังหวัดขอนแกน ท่ีไดรับความเสียหายจากอุทกภัยนั้นมีความพึงพอใจตอการใหความ ชวยเหลือจากหนว ยงานทางภาครัฐหรอื ไม 1.2 วัตถปุ ระสงคของการศึกษา 1.2.1 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของประชาชนตอความชวยเหลือในระหวางและหลัง ประสบอทุ กภัยจากหนว ยงานภาครฐั อําเภอชนบท จังหวัดขอนแกน 1.2.2 เพื่อศึกษาปญหา และอุปสรรค ท่ีมีผลตอความพึงพอใจของประชาชนตอความ ชวยเหลือในระหวางและหลังประสบอุทกภัย อําเภอชนบท จังหวัดขอนแกน ตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได และระยะทาง 1.3 ขอบเขตการศึกษา เพ่ือใหการศึกษาวิจัยครั้งน้ีเปนไปตามวัตถุประสงคที่วางไว ผูวิจัยไดกําหนดขอบเขตการวิจัย ดงั นี้ 1.3.1 ประชากร ไดแก ครัวเรือนประชาชนที่ไดรับผลกระทบจากภัยอุทกภัยในเขตอําเภอชนบท จังหวดั ขอนแกน จํานวน 4 ตําบล 40 หมบู าน จาํ นวน 4,485 ครวั เรอื น 1.3.2 ตัวแปรทใ่ี ชใ นการศกึ ษาวจิ ัย มีดงั น้ี 1.3.2.1 ตัวแปรตน ( Independent variables ) ไดแก เพศ อายุ ระดับ การศึกษา รายได และระยะทาง 1.3.2.2 ตัวแปรตาม ( Dependent variables ) ไดแก ความพึงพอใจของ ประชาชนตอความชวยเหลือในระหวางและหลังประสบอุทกภัยจากหนวยงานภาครัฐ อําเภอ ชนบท จังหวัดขอนแกน

3 1.4 ประโยชนทค่ี าดวา จะไดรับ เพือ่ นาํ ผลงานวจิ ยั ขอ มลู ทจ่ี ะเปนประโยชนต ออาํ เภอ เทศบาล และองคการบริหารสวน ตาํ บล นาํ ไปใชเ ปน ขอมูลเบื้องตนในการประกอบพิจารณาในการปฏิบัติหนาท่ีชวยเหลือประชาชน ทไ่ี ดร ับผลกระทบของภยั พบิ ัติจากนํา้ ทว ม ทง้ั ในเขตอําเภอชนบท จงั หวัดขอนแกนและบริเวณอื่นๆ ทีม่ ลี ักษณะทํานองเดียวกนั 1.5 นิยามศัพทเฉพาะ 1.5.1 ความพึงพอใจของประชาชนตอการใหความชวยเหลือในระหวาง และ หลงั ประสบอุทกภัยจากหนวยงานของรัฐ หมายถึง ความรสู ึกชอบหรือยินดีของหัวหนาครัวเรือน ที่ไดรับบริการการชว ยเหลอื จากภาครฐั (ความรวดเร็ว ความท่ัวถงึ ความสุภาพออนโยน) ในขณะ เกิดอุทกภยั และภายหลังน้ําลดในเขตอาํ เภอชนบท จังหวัดขอนแกน ป 2556 ในดานตอไปน้ี 1.5.1.1 การอพยพ คน สัตวและทรพั ยสิน 1.5.1.2 การจัดหาทพ่ี กั อาศยั ช่ัวคราว 1.5.1.3 การใหค วามชวยเหลอื ดานปจจัยพนื้ ฐาน 1.5.1.4 การใหความชว ยเหลือดานการบรู ณะและฟน ฟู 1.5.2 อายุ หมายถึง อายุจริง นับจํานวนปเต็มของหัวหนาครัวเรือนท่ีไดรับ ผลกระทบจากอุทกภัยในอาํ เภอชนบท จังหวดั ขอนแกน 1.5.3 ระดับการศึกษา หมายถึง วุฒิการศึกษาของหัวหนาครัวเรือนในเขตพื้นท่ี ประสบอุทกภัย อําเภอชนบท จังหวัดขอนแกน ไดรับจากการศึกษาเลาเรียนในสถาบันการศึกษา 1.5.4 อาชีพ หมายถึง กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่หัวหนาครัวเรือนในเขตพื้นท่ี ประสบอุทกภัย อําเภอชนบท จังหวัดขอนแกน ที่ทําอยูซึ่งกอใหเกิดรายไดเพื่อการครองชีพท่ีได คา ตอบแทนในรูปแบบตาง ๆ เชน เงินทอง สงิ่ ของ หรือสงิ่ ตอบแทนอื่น 1.5.5 รายได หมายถึง จํานวนเงินท่ีหัวหนาครัวเรือนในเขตพื้นท่ีประสบอุทกภัย อาํ เภอชนบท จังหวัดขอนแกน ไดร ับจากการประกอบอาชีพตา งๆ คิดเฉล่ียเปน รายเดือน 1.5.6 ระยะทาง หมายถึง ระยะทางจากบานผูประสบอุทกภัยถึงศูนยอํานวยการ ชวยเหลอื ผูป ระสบอุทกภยั

บทท่ี 2 แนวคดิ ทฤษฎแี ละงานวจิ ัยทเี่ กีย่ วของ การศึกษาเก่ียวกับความพึงพอใจของประชาชนตอความชวยเหลือในระหวางและหลัง ประสบอุทกภัยจากหนวยงานภาครัฐ อําเภอชนบท จังหวัดขอนแกน ในคร้ังนี้ ผูวิจัยไดศึกษา ทบทวนเอกสาร แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยตางๆ ซึ่งผูวิจัยไดกําหนดหัวขอตางๆ ที่เก่ียวของ โดยมสี าระสําคญั ดังน้ี 2.1 แนวคดิ เก่ยี วกบั ความพึงพอใจและความตอ งการ 2.2 แนวคดิ เกี่ยวกับสาธารณภยั 2.3 ทฤษฎที ีเ่ กี่ยวของ 2.4 งานวจิ ยั ท่ีเกย่ี วขอ ง 2.5 กรอบแนวคดิ ของการวจิ ัย 2.1 แนวคิดเก่ยี วกับความพึงพอใจและความตองการ ความพึงพอใจของประชาชนตอความชวยเหลือในระหวางและหลังประสบอุทกภัย จาก หนวยงานภาครัฐ อําเภอชนบท จังหวัดขอนแกน ความพึงพอใจ ซ่ึงตรงกับคําในภาษาอังกฤษ วา Satisfaction ไดมผี ใู หความหมายของความพงึ พอใจไวห ลายทาน โดยนาํ มาพอสังเขป ดงั น้ี ความพึงพอใจในชีวิตของคนเราน้ันไดมีการศึกษาโดย มารศรี นุชแสงพลี (2532 : 25) พบวา ความพึงพอใจในชีวิต การประเมินภาพรวมของชีวิตบุคคลหรือเปนการเปรียบเทียบที่ สะทอนใหเห็นการรับรูถึงความไมสอดคลองกันระหวางความมุงหวังกับสัมฤทธ์ิผลของบุคคลที่ แสดงใหเห็นวา ความพึงพอใจเปนกระบวนการรับรู แตความสุขแสดงถึงสภาพความรูสึก (Affective) หรืออารมณ (Mood) คําถามท่ีเกี่ยวกับความพึงพอใจในชีวิตมักรวมถึงกลุม เปรียบเทียบท้ังที่แจมชัดและไมแจมชัด ซ่ึงเปนการเปรียบเทียบกับผูอื่นหรือรวมถึงดานเวลาและ มักรวมถงึ ความพอใจในมิตติ า งๆ ท่ีปรากฏ ความหมายของความพึงพอใจนั้นไดมีผูใหความหมายที่นาสนใจโดย สุรพล เย็นเจริญ (2543 : 6) ไดใหความหมายของความพึงพอใจไววา ความรูสึกที่เกิดข้ึนเม่ือไดรับผลสําเร็จตาม ความมุงหมาย ความพึงพอใจเปนกระบวนการทางจิตวิทยา ไมสามารถมองเห็นไดชัดเจน แต สามารถคาดคะเนไดวามีหรือไมมี จากการสังเกตพฤติกรรมของคนเทานั้น การที่จะทําใหเกิด ความพึงพอใจจะตองศึกษาปจจัยและองคประกอบท่ีเปนสาเหตุแหงความพึงพอใจเมื่อไดรับการ ตอบสนองตามความตองการ มนุษยเกดิ มามคี วามตอ งการกันทุกคน ซ่ึงอางถึงโดย แอลเดอรเฟอร (Alderfer, 2002 : 112) ไดใ หค วามเห็นวา ความตอ งการของมนษุ ยแ ยกเปน 3 ประเภท ไดแก 1. ความตองการการอยูรอด (Existence needs) เปนเร่ืองที่เก่ียวกับความ ตองการทางดานรางกายและปรารถนาอยากมีสิ่งของเครื่องใชตางๆ ซ่ึงชีวิตจริงในองคการน้ันมี ความตอ งการคา จาง โบนัส และผลตอบแทน ตลอดจนสภาพเงื่อนไขการทํางานที่ดีและสัญญาการ วาจา ง เหลา นี้ลว นแตเ ปนเคร่อื งมอื ตอบสนองส่งิ จงู ใจท้ังสน้ิ

5 2. ความตองการความสัมพันธทางสังคม (Relatedness needs) เปนเร่ืองที่ เก่ียวของกับความสัมพันธตางๆ ที่มีอยูตอกันระหวางบุคคลในองคการและความสัมพันธเหลานี้ หมายถึงความตองการทุกชนิดท่ีมีความสําคัญในเชิงมนุษยสัมพันธ ซ่ึงชีวิตจริงในองคการ ความ ตองการของคนท่ีตองการจะเปนผูนําหรือมียศฐานะเปนหัวหนา ความตองการท่ีจะเปนผูตามและ ความตอ งการอยากมีสายสัมพันธท างมิตรภาพกับใครๆ ลวนจดั อยใู นความตอ งการประเภทนี้ 3. ความตองการกาวหนาและเติบโต (Growth needs) ความตองการชนิดนี้ เปนความตองการท่ีเกี่ยวกับเรื่องราวของการพัฒนาเปลี่ยนแปลงฐานะสภาพและการเจริญเติบโต กาวหนาของคนทํางาน ซ่ึงชีวิตจริงในองคการ จะเปนความตองการในการมีความรับผิดชอบเพิ่ม หรือความตองการอยากไดก จิ กรรมใหมๆ ท่ีมีโอกาสใชความรูความสามารถใหมๆ และมีโอกาสเขา ไปสมั ผัสกบั งานใหมๆ ในหลายๆ ดานไดม ากขนึ้ จากความหมายของความพึงพอใจท่ีกลาวมา สรุปไดวา ความพึงพอใจหมายถึงทาที ความรสู ึก หรอื ทศั นคตใิ นทางที่ดขี องบุคคลทมี่ ตี องานทปี่ ฏิบัติ รวมกันปฏิบัติ หรือไดรับมอบหมาย ใหปฏิบัติ โดยผลตอบแทนท่ีไดรับ รวมท้ังสภาพแวดลอมตางๆ ที่เกี่ยวของซ่ึงเปนปจจัยทําใหเกิด ความพึงพอใจหรือไมพึงพอใจการที่จะเกิดความพึงพอใจของประชาชนในพื้นท่ีอําเภอชนบท จังหวัดขอนแกน ประชาชนจะตองมีความรูสึกหรือทัศนคติของบุคคลท่ีมีตอส่ิงใดส่ิงหนึ่ง อันเกิด จากพื้นฐานของการรับรู คานิยม และประสบการณท่ีแตละบุคคลไดรับ และจะเกิดขึ้นก็ ตอเม่อื สิ่งนนั้ สามารถตอบสนองความตอ งการใหแ กบ ุคคลนน้ั ได ซง่ึ ระดับความพึงพอใจของแตล ะ บุคคลยอ มมีความแตกตา งกันไปตามความตอ งการ 2.2 แนวคดิ เกี่ยวกบั สาธารณภัย สาธารณภัย (Disaster) เปนภัยท่ีเกิดข้ึนมาพรอมมนุษยชาติ ซ่ึงไดเริ่มศึกษาเก่ียวกับ สาธารณภยั ในครง้ั แรกเมื่อ ค.ศ. 1917 (พ.ศ. 2460) โดยผูศึกษาคือ ซามูเอล เอช. พริ้น (Samuel H. Prince) ไดศึกษาเก่ียวกับผลกระทบทางสังคมจากการระเบิดของเรือบรรทุกอาวุธที่อาว ฮาลิแฟกซในวาสโกเดีย ผลจากการศึกษาดังกลาวทําใหนักวิชาการรุนหลังใหความสนใจและให เปนพ้ืนฐานในการศึกษาทางดานสาธารณภัยและไดกลายเปนปญหาสําคัญของประเทศที่กําลัง พัฒนารวมทง้ั ประเทศไทย กลา วคอื ย่ิงมีการพัฒนาประเทศดานเทคโนโลยีสมัยใหมมากขึ้นเพียงใด สาธารณภัยก็ยิง่ เพิม่ ความรุนแรงมากยิง่ ข้ึนเปนเงาตามตัว จนเปนที่กลาวโดยทั่วไปวา สาธารณภัย คือโรคท่ีเกิดจากการพัฒนาประเทศอยางไมเปนระบบและไรทิศทาง ยิ่งสถานการณของโลกใน ปจจุบันมีการเปลยี่ นแปลงตลอดเวลาหลายประเทศตอ งประสบภยั พิบัติตา งๆ เชน ภยั จากธรรมชาติ จากสงคราม จากการจลาจล จากส่ิงแวดลอมเปนพิษ เปนตน สาธารณภัยเหลาน้ีเมื่อเกิดข้ึนแลว ยอมกอใหเกิดความสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพยสินของประชาชน ทําใหสภาพการดําเนินชีวิต เปลี่ยนแปลงไป ผูประสบภัยไดรับบาดเจ็บ พลัดพรากจากกันไดรับความทุกขทรมานทั้งรางกาย และจิตใจ เกิดการขาดแคลนอาหาร ท่ีพักอาศัย เคร่ืองนุงหม ยารักษาโรคและส่ิงจําเปนตอการ ดํารงชีพ ซ่ึงเราควรจะไดมีความสนใจศึกษางานเกี่ยวกับสาธารณภัยมากยิ่งข้ึนเพ่ือใหเกิดความรู และแนวความคิดในการรวมกนั ปฏบิ ัติงานบรรเทาสาธารณภัย จะไดลดอันตรายและความเสียหาย ของผูประสบภยั

6 2.2.1 ความหมายของสาธารณภัย ตามพระราชบัญญัติปองกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 มาตรา 4 สาธารณภยั หมายความวา อคั คภี ยั วาตภัย อทุ กภัย ภัยแลง โรคระบาดในมนุษย โรคระบาดสัตว โรคระบาดสัตวน ํา้ การระบาดของศัตรูพืช ตลอดจนภัยอ่ืนๆ อันมีผลกระทบตอสาธารณชน ไมวา เกดิ จากธรรมชาติ มผี ูทําใหเกิดข้ึน อุบัติเหตุ หรือเหตุอ่ืนใด ซ่ึงกอใหเกิดอันตรายแกชีวิต รางกาย ของประชาชน หรือความเสียหายแกทรัพยสินของประชาชนหรือของรัฐ และใหหมายความรวมถึง ภยั ทางอากาศ และการกอ วนิ าศกรรมดว ย “ภยั ทางอากาศ” หมายความวา ภัยอันเกิดจากการโจมตที างอากาศ “การกอวินาศกรรม” หมายความวา การกระทําใดๆ อันเปนการมุงทําลาย ทรัพยสินของประชาชนหรือของรัฐ หรือสิ่งอันเปนสาธารณูปโภค หรือการรบกวน ขัดขวางหนวง เหนี่ยวระบบการปฏิบัติงานใดๆ ตลอดจนการประทุษรายตอบุคคลอันเปนการกอใหเกิดความ ปน ปวนทางการเมอื ง การเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ โดยมุง หมายทีจ่ ะกอใหเ กิดความเสียหายตอ ความม่นั คงของรัฐ นิยามของคําวา สาธารณภัยที่นาสนใจอีกนิยามหนึ่งเปนของ สคีท เอ็ม (Skeet M.) หัวหนาพยาบาลสภากาชาดของอังกฤษ ไดใ หน ยิ ามของสาธารณภัยไววา ภยั หรือเหตกุ ารณที่สําคัญ ซึ่งทําใหสภาพการดําเนินชีวิตท่ีปกติในชุมชนมีการเปลี่ยนแปลงไปอยางกะทันหันเปนผลทําให ประชาชนตองขาดที่พ่ึงและไดรับความทุกข เกิดความจําเปนรีบดวนเก่ียวกับอาหาร ที่พักอาศัย เสื้อผา การดูแลจากแพทย การคุมกันความปลอดภัยและส่ิงจําเปนตอการดํารงชีพอื่นๆ นิยามของ สคีท เปนลักษณะเวลาขณะเกิด สภาพของประชาชนที่ประสบภัยและความจําเปนพ้ืนฐานของ ผูประสบภยั พบิ ัติท่คี วรไดร ับการชว ยเหลอื จากนยิ ามของสาธารณภัยตางๆ ท่ีกลา วมาจะเหน็ ไดวา ความหมายของคําวา สาธารณภยั ประกอบดวยประเด็นสําคญั ๆ ดังน้ีคือ 1. ภัยที่เกดิ แกค นหมมู าก 2. เกิดขน้ึ ไดท กุ เวลาและทกุ สถานท่ีอยางกะทนั หนั หรอื คอ ยๆ เกิดขนึ้ 3. เปน อันตรายตอชีวติ และรา งกายของประชาชน 4. เกดิ ความเสียหายแกทรพั ยส นิ ของประชาชนหรอื ของรัฐ 5. เกดิ ความตอ งการในสงิ่ จาํ เปน พ้ืนฐานอยา งรบี ดว นสาํ หรบั ผปู ระสบภยั 2.2.2 ประเภทของสาธารณภยั การแบงแยกประเภทของสาธารณภัยตามลกั ษณะการเกิด หรอื สาเหตุ ไดเปน 2 ประเภทคือ 1. สาธารณภัยธรรมชาติ เปนสาธารณภัยท่ีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มักเกิดขึ้น ตามฤดูกาลเปนสวนใหญ แตบางคร้ังก็เกิดขึ้นโดยไมรูตัว กอใหเกิดความเสียหายแกทรัพยสิน ชีวติ รา งกาย จติ ใจและความมนั่ คงของชาติ ซึ่งไดแก 1.1 สาธารณภัยเชิงอุตุนิยมวิทยา เปนสาธารณภัยที่เกิดขึ้นตามฤดูกาลเปน สว นใหญและเกดิ จากการเปลีย่ นแปลงของสภาพอากาศ เชน

7 1) วาตภัย หมายถึงภัยที่เกิดจากแรงลมและพายุ เชน พายุดีเปรสช่ัน พายุโซนรอ น พายุไตฝุน ซึ่งพายุไตฝุนมีอํานาจทําลายสูงมาก สามารถทําให ตนไมถอนรากถอน โคนไดท้ังตน บานพังระเนระนาด เสาไฟฟา ลม ฯลฯ 2) อากาศหนาวผิดปกติ เชน ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของประเทศไทยซ่ึงไดรับอิทธิพลจากมรสุมท่ีพัดผานความหนาวเย็นจากประเทศจีนเขาสูพื้นท่ี ดังกลาวทําใหประชาชนที่อยูบริเวณหุบเขาและเชิงเขาหนาวมาก ซ่ึงพบวาในบางปอุณหภูมิลด ตา่ํ ลงมากเกือบใกลศนู ยอ งศา 3) คลื่นความรอนกอใหเกิดความรอนผิดปกติในประเทศเขตหนาวทําให ผปู ว ยโรคหัวใจเสียชวี ิตมากขึน้ 4) ฝนแลง เปนภัยที่ทําใหขาวและพืชผลทางการเกษตรเสียหายมาก เกิด ความขาดแคลนและอดอยาก เน่อื งจากขาดแคลนนํ้า เปนตนเหตขุ องทุพภกิ ขภัยอยา งหน่ึง 1.2 สาธารณภัยตามสภาพภมู ปิ ระเทศ เปนสาธารณภัยท่ีเกิดข้ึนตามลักษณะ หรือตามสภาพภูมิประเทศ พื้นท่ีใดที่เปนที่ต่ํากวาระดับน้ําทะเลมาก มักจะมีน้ําทวมเปนประจํา สาธารณภยั ประเภทนี้ ไดแ ก 1) อุทกภัย เปนภัยอันเกิดจากนํ้าทวมจากพายุฝนตกหนัก ประเทศไทย จะประสบปญหานํ้าทวมทุกป เน่ืองจากมีการตัดไมทําลายปา การทรุดตัวของดินมีลมพายุและลม มรสุมแรง ฝนตกหนักและนา้ํ ทะเลหนนุ 2) หิมะถลม ถาไมมีอันตรายตอชีวิต และทรัพยสินก็ยังไมถือวาเปนใ .สาธารณภยั 1.3 สาธารณภยั ทีเ่ กดิ จากการเปล่ยี นแปลงของผิวโลก การเปล่ียนแปลงของ ผิวโลกทําใหเ กดิ แผนดนิ เลื่อน แผนดนิ ไหว ภเู ขาไฟระเบดิ เปน ตน 1) แผนดินเล่ือนหรือแผนดินถลม การเปล่ียนระดับของช้ันผิวโลกทําให เกดิ การไหวสะเทอื นของอาคารบานเรอื น บางครงั้ เมื่อมีฝนตกหนกั ดนิ บริเวณภูเขาอุมน้ําไวมากจน เกิดการอิ่มตัวและไมสามารถอุมไวไดอีกจึงพังทลายลงมาไมมีการยึดเหนี่ยวของช้ันดิน ท้ังน้ี คุณสมบัติของการอุมนํ้าของดินอาจมีปจจัยอ่ืนเก่ียวของดวย เชน ดินโคลนถลมท่ีบานน้ํากอ อําเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ และท่ีอําเภอวังช้ิน จังหวัดแพร ซ่ึงสวนมากจะเกิดพรอม อทุ กภัย 2) แผนดินไหว เปนการเปล่ียนแปลงของผิวโลกที่มีการส่ันสะเทือนเปน ลูกคลื่น เปนระลอกเคลื่อนที่จากจุดศูนยกลางออกไปทุกทิศ ทุกทาง สวนมากมักจะเกิดข้ึนใน บริเวณมหาสมุทรแปซกิ ฟก ทเ่ี รียกวา “Ring of fire” ซ่ึงแผนดินมักจะเกิดข้ึนท่ีบริเวณรอยตอของ ช้ันหินใตดินท่ีเรียกวา “Pacific Plate กับ Philippines Plate” และ Eurasian กับ Indo- Australians Plate พื้นที่บริเวณรอยตอของชั้นหินใตดินน้ีอยูในประเทศตางๆ เชน อินเดีย ปากสี ถาน เนปาล ญีป่ นุ ปาปว นิวกนี ี อินโดนเี ซยี ฟล ปิ ปน ส และจนี เปน ตน เมื่อเดือนมกราคม ค.ศ.1995 ไดเ กิดแผนดินไหวท่ีเมืองโกเบ ประเทศ ญปี่ นุ ทําใหม ีคนตายมากกวา 5,501 คน ทําลายบานเรือนกวา 106,000 หลัง และทําใหคนไรท่ีอยู อาศัยอยางนอย 319,000 คน ซ่ึงมีมูลคาความเสียหายมากกวา 100,000 เหรียญสหรัฐ (IFRE 1996) ลาสุดเกิดข้นึ ท่ีมหาสมุทรแปซิฟก เมือ่ วนั ท่ี 26 ธนั วาคม 2547 โดยมีศนู ยก ลางท่ี หมเู กาะ

8 สุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย วัดแรงสั่นสะเทือนได 8.9 ริกเตอร รูสึกไดในหลายจังหวัดของ ประเทศไทย ตอมาไดเกิดคล่ืนยักษหรือที่เรียกวา “สึนามิ” (Tsunami) เปนครั้งแรกในประเทศ ไทยในหลายจังหวัดในแถบทะเลอันดามัน เชน ภูเก็ต พังงา กระบี่ ระนอง สตูล และเปนภัย ธรรมชาตทิ ่รี นุ แรงท่สี ดุ ในประวัตศิ าสตรข องไทยและแผน ดนิ ไหวคร้ังน้ถี กู ระบุวามีความรุนแรงที่สุด ในศตวรรษที่ 21 และเปน แผน ดินไหวที่มีความรุนแรงเปนอันดับ 5 ของโลก สรุป สาธารณภัย หมายความวา อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ภัยแลง โรคระบาดในมนุษย โรคระบาดสัตว โรคระบาดสัตวน้ํา การระบาดของศัตรูพืช ตลอดจนภัย อืน่ ๆ อนั มีผลกระทบตอสาธารณชน ไมวา เกิดจากธรรมชาติ มีผูทําใหเกิดข้ึน อุบัติเหตุ หรือเหตุอื่น ใด ซึ่งกอใหเกิดอันตรายแกชีวิต รางกายของประชาชน หรือความเสียหายแกทรัพยสินของ ประชาชนหรือของรัฐ และใหหมายความรวมถงึ ภัยทางอากาศ และการกอวนิ าศกรรมดวย 2.2.3 การเกดิ อุทกภัย อุทกภัย คือภัยธรรมชาติท่ีเกิดจากน้ําทวม เมื่อระดับน้ําในแมน้ําหรือลําคลองสูง มากข้ึนจนลนตล่ิง แลวไหลออกมาทวมภายนอก ทําใหเกิดความสูญเสียแกชีวิตและทรัพยสิน เกิดผลกระทบตอมนษุ ย สตั ว พชื พนั ธุธ ัญญาหาร และการสญู เสียหนาดินไปกบั กระแสนํา้ (อาทิตย เลศิ ล้าํ , 2546 : 8) 2.2.3.1 สาเหตุของการเกิดอทุ กภัย ฝนตกหนกั ฝนตกหนักพรอ มพายุ (1) ลมมรสุมตะวันออกเฉียงใต (2) ลมมรสมุ ตะวันออกเฉียงเหนอื (3) พายเุ ขตรอน ไดแก พายุดเี ปรสช่นั พายโุ ซนรอ น พายไุ ตฝ ุน (4) พายุฟาคะนอง (5) รอ งความกดอากาศต่าํ กาํ ลงั แรงพาดผานหรอื รองมรสมุ (6) นํ้าทะเลหนุน (7) แผน ดินไหวหรือภเู ขาไฟระเบิด (8) หมิ ะละลาย 2.2.3.2 ลักษณะของอุทกภยั แบงตามลกั ษณะการเกดิ มดี ังนี้ 1) น้ําทวมฉับพลัน เกิดจากฝนตกหนักบนภูเขาหรือท่ีสูงเปน เวลานานแลวไหลลงสูท่ีราบ เปนกระแสน้ําไหลเช่ียวมากทําใหที่ราบลุมน้ําไมสามารถระบายน้ําได ทนั จงึ กอใหเกดิ น้าํ ทวมทาํ ความเสยี หายแกชีวติ และทรพั ยส นิ อยางมาก 2) นาํ้ ทวมจากน้าํ ลนตลง่ิ เน่อื งจากระดบั น้าํ ในแมนํ้าหรือคลองขึ้น สงู กวาตลงิ่ จนเออ ลน เขา ไปทวมบริเวณลุมนํ้าทั้งสองฝง 3) น้ําทวมจากฝนตกหนกั เมือ่ ฝนตกหนักติดตอกันระดับน้ําใตดินก็ จะสงู ขน้ึ จนเกดิ น้าํ ทวมขัง

9 4) นํ้าข้ึนน้ําลง เกิดจากระดับน้ําทะเลที่เรียกวา นํ้าเกิด ทําใหนํ้า ทะเลไหลเขาสูแ มนํา้ หรือคลองในขณะทีน่ าํ้ ขนึ้ เกิดนา้ํ เออ ลน ตลิ่งไปทวมพ้ืนที่สองฝง 5) คลนื่ พายุซดั ฝง เกดิ เม่ือพายุหมนุ เขตรอนเคล่อื นตัวข้ึนฝง ทําให เกดิ คลนื่ ขนาดใหญมากกระทบเขาสฝู งเปนอนั ตรายตอ ชมุ ชน ทาํ ใหเกิดนาํ้ ทว มฉบั พลนั ได 6) คลนื่ ใตน ํ้าเกดิ จากความสั่นสะเทอื นของแผน ดินไหวหรอื ภูเขาไฟ ระเบิดใตทะเลหรือบนแผนดินใกลชายฝง ทําใหเกิดคลื่นใตนํ้า เมื่อกระทบฝงจะยกตัวสูงข้ึนซัดฝง เกิดน้ําทว มฉบั พลัน สงผลเสยี หายใหกับชุมชนเปนอยา งมาก 2.2.3.3 ระยะของการเกิดอุทกภัย ในการเกิดอุทกภัยแตละคร้ังสามารถ แบง ยอยไดเปน 3 ระยะดังน้ี 1) ระยะวิกฤติ คือระยะที่น้ําเร่ิมทวม ซึ่งระยะน้ีจะเปนระยะที่นํ้า เร่ิมเออลนหรือไหลบามา ยังไมสามารถที่จะคาดการณไดวาระดับนํ้าจะมีมากนอยเทาใด ทวมถึง ระดับไหนซึง่ ตอ งมีการเฝา ระวังระดับนํ้าอยูต ลอดเวลา 2) ระยะทรงตัว คือระยะที่นํ้าเริ่มทรงตัวระดับนํ้าขึ้นสูงสุดแลวไม เพ่ิมอีก แตก็ไมไดลดลง ถาหากมีปจจัยเสริม เชน ฝนตกหนักนํ้าไหลบาเพ่ิมอีกก็จะเขาสูระยะ วิกฤติใหม 3) ระยะน้ําลด เม่ือนา้ํ อยูในระยะทรงตัวถาไมมีปจ จัยเสริมอ่ืนเขา มา นา้ํ ทว มกจ็ ะเขาสูระยะนาํ้ ลด ซ่งึ บางคร้งั เรยี กระยะนีว้ าระยะหลังวิกฤตเิ พราะไดผา นพน อันตรายจาก นาํ้ ทว มไปแลว 2.2.3.4 อนั ตรายและความเสียหายจากอทุ กภยั ไดแก 1) อนั ตรายตอ มนุษย (1) จมนํา้ ตาย ถาน้ําไหลเชีย่ วและลกึ จะทาํ ใหค นจมน้ําตายไดมาก (2) บาดเจ็บ อาจเกิดจากส่ิงที่ลอยมากับนํ้า หรือสิ่งท่ีจมอยูใตนํ้า ท่ิมแทงหรืออาจเกิดจากสัตวท่ีลอยมากับน้ําหรือหนีข้ึนมาอาศัยอยูบริเวณที่อยูอาศัย เชน ตะขาบ งู เปน ตน (3) การเจ็บปวย ถานํ้าทวมฉับพลันจากฝนตกหนักก็อาจเกิดโรค ระบบทางเดินหายใจ ถาทวมขังนานๆ ก็จะกอใหเกิดโรคระบบทางเดินอาหาร เทาเปอย การคมนาคมไมสะดวก การขาดแคลนสิ่งอุปโภค-บริโภค สิ่งแวดลอมท่ีเลวราย การสูญเสีย ทรัพยสินและที่สําคัญที่สุด คือหากมีการสูญเสียชีวิตของบุคคลในครอบครัว ญาติ ซ่ึงจะทําให สุขภาพจิตเสอื่ ม 2) ผลเสยี หายตอ ทรัพยส ิน (1) สิ่งปลกู สรา ง เกดิ การชาํ รดุ หรอื อาจพงั ทลาย (2) เกษตรกรรม ปศุสัตว พืชสวนไรนาเสียหาย สัตวเลี้ยงอาจ จมนํ้าตาย (3) ระบบสื่อสารคมนาคม เชน โทรศัพท วิทยุ ถนน ทางรถไฟ สนามบิน เสียหายได (4) ระบบสาธารณูปโภค เชน ไฟฟา ประปา โทรศัพท เสยี หาย

10 3) ผลเสียหายตอ เศรษฐกิจ (1) สวนบุคคล เชน การคาขาย การจางงาน การวางงานเนื่องจาก ลม ละลายหรือไมส ามารถดําเนนิ ธรุ กิจได (2) สว นรวม เปน ผลสืบเนือ่ งมาจากความเสียหายของเศรษฐกิจ สวนบุคคล สงผลใหเกิดความเสียหายโดยภาพรวมของประเทศ นอกจากนี้ยังตองนํางบประมาณ มาชวยเหลือและฟนฟู สภาพของผูไดรับผลกระทบจากอุทกภัย ซอมแซม กอสรางท่ีอยูอาศัย สํานกั งาน ระบบบรกิ ารตา งๆ แทนท่ีจะนาํ ไปใชในการพัฒนาประเทศ 2.2.4 การปอ งกันและการบรรเทาสาธารณภยั อุทกภัยเปนภัยธรรมชาติที่มนุษยเราอาจสามารถปองกันไมใหเกิดข้ึนไดหรือ เมอ่ื เกิดข้นึ แลว ก็สามารถทจี่ ะควบคมุ ชวยลดอนั ตรายและความเสยี หายทีเ่ กิดข้นึ ใหนอ ยลงได โดยการปองกันกอนเกิดอุทกภัย การเตรียมรับสถานการณ การชวยเหลือ การฟนฟูสภาพภายหลัง เกดิ อุทกภัยและการประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานและความเสยี หายทีเ่ กิดขึ้น 2.2.4.1 การปองกันกอนเกิดอุทกภัยเปนการปองกันอยางถาวรท่ีจะตอง พัฒนาเปนนโยบายที่แนนอนและดําเนินการระยะยาวติดตอกัน ซ่ึงจะตองอาศัยกฎหมาย และ ระเบียบขอบังคับสนับสนุนในการดําเนินงาน ศึกษาวิจัยรวบรวมขอมูลและวิเคราะหขอมูล การ ปองกันทางดานวิศวกรรม การแบงเขตที่เสี่ยงตออุทกภัยและใชที่ดิน การควบคุมกอสรางอาคาร การรักษาปา การปลูกสวนปา และพันธไุ มปกคลุมพน้ื ดนิ 2.2.4.2 การเตรียมรับสถานการณ หมายถึงการเตรียมพรอมท่ีจะหาทาง ควบคุมหรือลดอันตรายและลดความเสียหายท่ีอาจเกิดขึ้นใหมีนอยท่ีสุดเทาที่จะทําได ซ่ึงรวมทั้ง การจัดเตรียมหนวยงานสําหรับทําการกูภัย การจัดระบบงานเตือนภัยและการเตรียมตัว สําหรับ ประชาชนท่ัวไป การบรรเทาทุกข และการฟนฟูสภาพอยางมีประสิทธิภาพ การจัดทําแผนปฏิบัติ งานและการฝกอบรม ฝกซอมเจาหนาที่ตางๆ ท่ีเก่ียวของในการกูภัยและบรรเทาทุกข การ จัดเตรียมหาวัสดุอุปกรณ การจัดหาเงินเพื่อชวยเหลือในการดําเนินการ การใหความรูแก ประชาชน และการเตอื นภยั เปนระยะๆ 2.2.4.3 การชวยเหลือในระหวางเกิดอุทกภัย เปนการปฏิบัติการฉุกเฉินซึ่ง จะตองดําเนินการใหทันกับเหตุการณ และเวลาอันฉับพลัน ซึ่งเปนหนวยงานที่จัดตั้งข้ึนในระยะ เตรียมการเพอ่ื ทาํ งานเก่ยี วกบั 1) การอพยพประชาชน สัตวเ ลย้ี ง และทรัพยส นิ ออกจากบริเวณที่ นํา้ ทวม (Evacuation) 2) การกูภัย (Rescue) หมายถึง การชวยชีวิตผูประสบภัย และการ ตอสูหรือระงบั ยับย้ังอุทกภัยที่เกิดขึ้นในขณะนัน้ ใหปลอดภยั หรือลดนอยลง 3) การบรรเทาทุกข (Relief) คอื การชวยเหลอื ผปู ระสบภัยในระหวาง นํ้าทวมหรือภาวะนํ้าทวมซึ่งผานพนไป เชน การชวยเหลือเคร่ืองนุงหม ซอมแซมที่พักอาศัยและ บริการสาธารณูปโภคใหใชไดชั่วคราวในระหวา งที่มีนํ้าทว ม 2.2.4.4 การฟนฟูสภาพภายหลังน้ําทวม เม่ืออุทกภัยผานพนไปแลว การ บูรณะซอมแซมสิ่งปรกั หกั พัง ถนนหนทาง การส่ือสาร การคมนาคม การบริการสาธารณูปโภค

11 และงานฟนฟูทางดา นรา งกาย จิตใจ ของผปู ระสบภัยตลอดจนการชวยเหลือสงเคราะหในดานการ ประกอบอาชพี นบั วา เปนสงิ่ สาํ คญั 2.2.4.5 การประเมินผลการปฏิบัติงานและความสูญเสียที่เกิดขึ้นน้ัน เปน การประเมินผลการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีและหนวยงานท่ีเกี่ยวของ ตลอดจนความรวมมือของ ประชาชนวามีมากนอยเพียงใด มอี ุปสรรคและขอขัดของอยางไรบาง การประเมินผลน้ีอาจทําเปน ระยะๆ ในระหวางนํ้าทวมและประเมินผลครั้งสุดทายหลังจากภาวะนํ้าทวมไดผานพนไปแลวและ สุดทายก็จะตองประเมินความเสียหายตางๆ ที่เกิดข้ึนจากน้ําทวมในคร้ังนี้ในทุกๆ ดาน ทั้งดาน เศรษฐกิจ สังคม จิตใจ เพ่ือจะไดรวบรวมไวเปนหลักฐานและนําไปใชประกอบในการวางแผนงาน ในการควบคุมและปอ งกันอทุ กภัยในโอกาสตอไป 2.3 ทฤษฎีที่เก่ียวขอ ง ในการศึกษาคร้ังนี้ ผูวิจัยไดรวบรวมทฤษฎีตางๆ ที่เก่ียวของกับความพึงพอใจของ ประชาชนในพนื้ ทอ่ี าํ เภอชนบท จังหวดั ขอนแกน ไวด ังน้ี 2.3.1 ทฤษฎีความตอ งการของมาสโลว มาสโลว (Maslow, 2549) ไดแบงความตองการของมนุษยออกเปน 5 ระดับ ตามลาํ ดับความสําคญั ดงั น้ี 2.3.1.1 ความตองการดานรางกาย (Physiological needs) เปนความตองการ ของมนุษย เปนความตองการเพื่อความอยูรอด เม่ือความตองการเหลาน้ีไดรับการตอบสนองแลว มนุษยยังเกิดความตองการในส่ิงอื่นตอไปอีก ความตองการทางดานรางกาย ไดแก ความตองการ อาหารและนํา้ ทอี่ ยูอ าศัย เครอ่ื งนงุ หม และความตอ งการทางเพศ เปน ตน 2.3.1.2 ความตองการดานความปลอดภัยหรือความมั่นคง (Security of safety needs) เปนความตองการที่ไดรับความคุมครองและความปลอดภัยทางดานสุขภาพทางดาน รา งกาย ตลอดจนความมนั่ คงในหนาที่การงาน 2.3.1.3 ความตอ งการทางดานสงั คม (Social of belonging needs) เปนความ ตองการท่ีจะใหสังคมหรือองคกรยอมรับและเห็นความสําคัญของเขาวา เปนสมาชิกขององคการ ในขั้นน้ีมนุษยตองการเพ่ือนตองการคบคาสมาคม ตองการมีครอบครัว ตองการมีความรักและ ความเห็นใจจากเพอ่ื นรวมงาน เปนตน ความตองการตัง้ แตข ้นั น้เี ปน ตน ไปจะเปน ความตองการ ทางดา นจติ ใจมากขน้ึ 2.3.1.4 ความตองการการยอมรับในสงั คมหรือไดรบั การยกยองในสงั คม (Esteem or Status needs) เปนความตองการอยากเดนในสังคม ไดแก ตองการไดรับคํานิยม ยกยอ งจากผูอ น่ื ตอ งการความเชอ่ื ม่ันในตนเอง ตอ งการการเปนท่ียอมรบั นบั ถือของคนทั้งหลาย 2.3.1.5 ความตอ งการบรรลเุ ปา หมายสูงสุดในชีวิต (Self-actualization or Self realization) เปนความตองการสูงสุดของมนุษย เปนความตองการที่จะไดรับทุกส่ิงท่ีตนปรารถนา ตองการพัฒนาความสามารถของตน ตองการกระทําส่ิงท่ีเหมาะและดีท่ีสุดท่ีจะกระทําได ความ ตองการขน้ั นกี้ วางขวางมาก และแตกตางในแตละคน สรุป แนวความคิดของมาสโลวเกี่ยวกับลําดับขั้นของความตองการและการที่คน สามารถทําไดตามความพอใจของตนเอง ความคิดเห็นมาสโลวคือ คนมีความตองการท่ีจะใช

12 ความสามารถของตนเองใหมากท่ีสุด แตในองคการไมยอมใหเขาทําเชนนั้นได ซึ่งแนว ความคิดนีม้ ีอิทธพิ ลเปนอยา งมากในการบรหิ ารในปจ จุบัน 2.3.2 ทฤษฎีความตองการของแอลเดอรเ ฟอร แอลเดอรเ ฟอร ( Alderfer, 2549) ไดน ําเสนอทฤษฎี อี อาร จี (ERG) วา มนุษย มคี วามตอ งการท่สี ําคญั 3 ประการคอื 2.3.2.1 ความตองการการดํารงชีวิตอยู (Existence needs) มนุษยมีความ ตองการทางสรรี วทิ ยาหรือทางรา งกาย และความตองการความมน่ั คงปลอดภยั ในชวี ิต 2.3.2.2 ความตองการการติดตอสัมพันธกับเพ่ือนมนุษย (Relatedness needs) มนุษยเปนสัตวสังคมจึงตองการติดตอสัมพันธกับเพ่ือนมนุษยดวยกัน ทําใหเกิดความรักในเพ่ือน มนุษย เกิดความสามัคคีในการติดตอคบหาสมาคม และชวยเหลือเกื้อกูลกัน จึงมีคํากลาวใน สังคมไทยวา “รูอะไรก็ไมสูรูจักกัน” การรูจักกันทําใหการติดตอสัมพันธกันงาย และรวดเร็วย่ิงข้ึน ทําใหหนาทีก่ ารงานมกี ารประสานสัมพนั ธกนั เปนอยา งดี 2.3.2.3 ความตอ งการการเจริญกา วหนา (Growth needs) มนุษยม ตี วั ตน มอี ารมณ มคี วามรูส กึ และมีความโลภ จงึ ตอ งการเจริญกาวหนา จะไดม เี กยี รติยศ ชื่อเสียง ลาภ ยศ สรรเสริญ และของขวญั ของฝาก ท้ังมชี วี ิตและไมม ชี วี ติ สรุป ความตองการข้ันแรกนี้ตรงกับความตองการตามทฤษฎีของมาสโลวในขั้นท่ี 1 และ 2 (ความตองการทางรางกายและความตองการความปลอดภัย) สวนความตองการ การ ติดตอสัมพันธกับเพ่ือนมนุษยเทียบไดกับความตองการตามทฤษฎีของมาสโลว คือความตองการ ทางสังคมในข้ันที่ 3 และความตอ งการการเจริญกาวหนา เทียบไดกับความตองการเกียรติยศและ ความตองการความสําเร็จในชีวิตในข้ันที่ 4 และ 5 ของมาสโลว เมื่อนําทฤษฎีของแอลเดอรเฟอร กับทฤษฎคี วามตองการของมาสโลว มาเปรยี บเทยี บกันจะไดด งั ตารางท่ี 1 ตารางที่ 1 แสดงเปรียบเทียบความตองการของมนษุ ยตามทฤษฎขี องแอลเดอรเฟอร กับทฤษฎีความตองการของมาสโลว ความตองการ ความตอ งการ ความสําเร็จแหงตน การเจรญิ กาวหนา ความตองการ เกียรติยศ ชอื่ เสียง ความตอ งการ ความตอ งการ ทางดานสงั คม การติดตอ สมั พันธ ความตอ งการ ความมน่ั คงและความปลอดภัย ความตอ งการ การดาํ รงชวี ิต ความตองการ ทางสรีรวิทยา ทม่ี า : แอนเดอรเฟอร (2549 : ออนไลน)

13 2.3.3 ทฤษฎีการจงู ใจดว ยการกําหนดเปาหมายของล็อค ทฤษฎีการจูงใจดวยการกําหนดเปาหมายน้ันไดถูกนําเสนอโดย ล็อค (Locke, 2549) เปนผูนําเสนอทฤษฎีน้ี มีหลักการวา “การกําหนดเปาหมายของงานเปนการจูงใจพนักงาน ใหมุงไปสูความสําเร็จได” ทฤษฎีการจูงใจดวยการกําหนดเปาหมายจะชวยจูงใจหรือกระตุนการ ทํางานของมนุษย (มนุษยท่ีมีเปาหมายในการทํางาน) ไดดีกวามนุษยท่ีขาดเปาหมายในการทํางาน ทฤษฎีนี้จะเปนประโยชนมากกับมนุษยท่ีตองทํางานที่มีเปาหมายที่ยุงยากและมีประโยชนนอยกับ มนษุ ยทีต่ อ งทํางานท่ีมเี ปาหมายงา ยๆ 2.3.4 ทฤษฎีการจูงใจดว ยการเสรมิ แรงของสกนิ เนอร ในเร่ืองของแนวความคิดเกยี่ วกับพฤติกรรมที่ไดรับจากการเสริมแรงที่เกิดขึ้นซํ้าๆ กันน้ัน ไดมีการศึกษาโดย สกินเนอร (B.F.Skinner) ซ่ึงอางถึงโดย (ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ, 2541 : 125-126) สรุปแนวความคิดไดวา พฤติกรรมที่ไดรับจากการเสริมแรงจะเกิดข้ึนซํ้าๆ กัน แตพฤติกรรมท่ีไมไดรับการเสริมแรงจะไมเกิดข้ึนซ้ําๆ อีก และผลท่ีเกิดขึ้นภายหลังพฤติกรรมของ บุคคลใดบุคคลหนึ่งจะเปนส่ิงกําหนดระดับแรงจูงใจของเขา สกินเนอร เนนวา ตัวเสริมแรงไม จําเปนจะตองเปนผลตอบแทนเสมอไป อาจเปนตัวเสริมแรงในทางลบก็ชวยใหผลที่เกิดข้ึนมี ปริมาณสูงขึ้นได เขาไมเห็นดวยกับความเช่ือท่ีวา พฤติกรรมอยูบนพ้ืนฐานความตองการหรือ เปา หมายของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง เพราะความตองการเปนส่ิงท่ีไมอาจจะสังเกตไดและยากแกการ วดั สวนทฤษฎกี ารเสริมแรงนจ้ี ะเนน เฉพาะพฤตกิ รรมทีอ่ าจจะสังเกตได สรุป จากทฤษฎีที่กลาวมา ผูวิจัยไดนํามาเกี่ยวของคือ ความสําเร็จของงานท่ีมี คุณภาพ ยอ มข้นึ อยูก ับการจูงใจและความสามารถของมนุษยหรือบุคลากร การจูงใจในการทํางาน เปนการกระตุนใหมนุษยแสดงพฤติกรรมที่พึงประสงคตามเปาหมายที่กําหนดไว เพื่อใหเกิดความ พึงพอใจแกมนุษยซึ่งสอดคลองกับความพึงพอใจของประชาชนตอความชวยเหลือในระหวางและ หลังประสบอุทกภัยจากหนวยงานภาครัฐ อําเภอชนบท จังหวัดขอนแกน และหลักการสราง มนุษยสัมพันธที่วา มนุษยจะเกิดความพึงพอใจไดก็ตอเม่ือมนุษยมีความสุข ไดรับเกียรติและความ ไวว างใจและไดรบั ผลประโยชนต ามความตอ งการทเี่ หมาะสม 2.4 งานวิจยั ท่ีเกยี่ วของ การวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดศึกษารายงานการวิจัยที่เกี่ยวของของความพึงพอใจของ ประชาชนตอความชวยเหลือในระหวางและหลังประสบอุทกภัยจากหนวยงานภาครัฐ อําเภอ ชนบท จังหวัดขอนแกน ซึง่ มสี าระโดยสังเขป ดงั น้ี 2.4.1 งานวจิ ยั เกยี่ วกับความพึงพอใจ ความพึงพอใจของผูบริโภคที่มีตอการบริการดานตางๆ ไดมีการศึกษาโดย ปนัดดา กาญจนพนั ธุ (2545 : บทคดั ยอ ) ไดศ ึกษาวจิ ัยเรื่อง ความพึงพอใจของผูบริโภคที่มีตอการ บริการของสถานีนํ้ามันบางจาก กรณีศึกษาหางหุนสวนจํากัดม่ันคงบริการ จังหวัดสมุทรสาคร ใน ดานสถานีนํ้ามัน ดานบุคลากร ดานบริหารงานหลักและดานการบริการเสริม พบวาผูบริโภคมี ความพงึ พอใจตอการใหบ ริการของสถานีนาํ้ มนั บางจาก โดยรวมอยูในระดับมาก เมื่อแยกพิจารณา

14 รายดานพบวา ผูบริโภคมีความพึงพอใจดานบุคลากรและดานสถานีบริการนํ้ามันอยูในระดับมาก สวนดา นการบริการหลักและดา นการบริการเสริม ผบู รโิ ภคมคี วามพงึ พอใจอยใู นระดบั ปานกลาง การใหบริการแกประชาชนไดมีการศึกษาโดย เกษมศักดิ์ วิชิตะกูล (2545 : บทคดั ยอ ) ไดท าํ การศึกษาประสทิ ธภิ าพในการใหบ ริการแกประชาชนของกรุงเทพมหานคร และได ตั้งสมมติฐานวา การใหบริการแกประชาชนในเขตไมมีประสิทธิภาพเทาท่ีควร เพราะเหตุเกิดจาก ตัวขาราชการผูปฏิบัติงาน ประชาชนผูมาติดตอขอรับบริการ และการบริหารงานของเขต พบ ขอมูลเชิงประจักษที่เปนไปตามสมมติฐานท่ีตั้งไวและยังพบวา ประสิทธิภาพในการใหบริการ ประชาชนของเขตคอ นขางลาชา ซึง่ ผูศ กึ ษาไดท าํ การสอบถามทศั นคติของขา ราชการ จํานวน 400 คน และประชาชน 800 คน เกี่ยวกับการใหบริการแกประชาชนของเขตปรากฏวา แมสวนใหญจะ เหน็ วา การใหบ รกิ ารของเขตในปจจบุ นั ดกี วาเดิม แตประชาชนก็ยังเห็นวา จะตองมีการปรับปรุง การใหบริการของเขตใหดีข้ึนกวาจากเดิมโดยเฉพาะการปรับปรุงในดานตัวเจาหนาที่ท่ีใหบริการ จะตองมีอัธยาศัยและเปนกันเองกับประชาชนผูมาติดตอขอรับบริการใหดีขึ้นกวาที่เปนอยู การ บริหารงานของเขตโดยเฉพาะอยางย่ิงในดานการประชาสัมพันธ และในสวนความคิดเห็นของ ขาราชการก็พบเชนกันวา ถาตองการใหบริการประชาชนของเขตดีข้ึนจะตองปรับปรุงท่ีตัว ขาราชการและการบริหารงานของเขตใหดขี น้ึ ดวย 2.4.2 งานวิจัยเกีย่ วกบั อุทกภัย การศึกษาเกี่ยวกับการบรรเทาอุทกภัยหรือเพื่อลดผลกระทบดานอุทกภัยไดมี การศึกษาโดย ธีรศักดิ์ สายแสง (2536 : บทคัดยอ) ไดศึกษาบรรเทาอุทกภัยในลุมนํ้าสงคราม ตอนลา ง โดยการเก็บกักนํ้าไวในพน้ื ที่นาตอนบนของลุมนาํ้ แมน้ําสงครามเปนสาขาของแมนํ้าโขง ลุมนํ้าสงครามรับน้ําได 12,700 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพ้ืนที่จังหวัดหนองคาย สกลนคร นครพนม และบางสวนของจังหวัดอุดรธานี วิธีการโดยการเก็บกักนํ้าท้ังหมด 4 วิธี คือ 2, 4, 7 และ 10 วัน ตามลําดับ โดยท่ีเม่ือครบกําหนดเวลาแลวจะปลอยลงสูระดับปกติเปนเวลา 1 วัน แลวจึงเร่ิมเก็บกักใหม ทําเชนน้ีวนเวียนไปเรื่อยๆ จนกระทั่งสิ้นสุดเวลาของการจําลองสภาพ การ กําหนดความลึกของการเก็บกักในชวงเวลาตางๆ ผลการศึกษาสรุปไดวา กรณีเก็บกัก 10 วันนั้น ทําใหเกิดผลดีที่สุด โดยมีพื้นที่นํ้าทวมลดลงอยูในชวง 2,320 – 85,324 ไร คิดเปนผลไดสุทธิจาก การปอ งกนั นํา้ ทว มอยูในชวง 42.67 – 96.35 ลานบาท ปทสี่ ามารถลดพน้ื ท่ีน้ําทวมไดมากท่ีสุด คือ ป พ.ศ. 2521 โดยสามารถลดพื้นที่นํ้าทวมได 85,324 ไร คิดเปนผลไดสุทธิจากการปองกัน นํา้ ทว มเทากบั 96.35 ลานบาท การลดผลกระทบจากอุทกภัยในพ้ืนที่ที่มีลุมน้ําอยูติดกับแมน้ําโขงซึ่งได ทําการศึกษาโดย พิพัฒน ลันวงษา และคณะ (2538 : บทคัดยอ) ศึกษาแนวทางการบรรเทา อุทกภัยในลุมน้ํากลํ่า ซ่ึงเปนสวนหน่ึงของลุมนํ้าโขง ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเขตจังหวัด สกลนครและนครพนม โดยใชว ิธกี ารวิเคราะหข อมูล ดวยหลกั ทางอุทกสถติ ิ และความเปนไปไดใน การเสนอแนวทางโดยไดเสนอแนวทางในการบรรเทาอุทกภัย โดยการสรางคันคูกั้นน้ํารอบพ้ืนที่ ควบคมุ ซ่ึงจะสามารถควบคุมพ้ืนที่นํ้าทวมที่เกิดจากการหนุนของแมน้ําโขงไดประมาณ 5,600 ไร สวนน้ําหลากท่ีเกิดจากฝนตกในเขตพื้นท่ีควบคุมนั้น สามารถใชเครื่องสูบน้ําดําเนินการสูบระบาย นาํ้ ออกได

15 การกําหนดเปนพ้ืนที่เส่ียงตอการเกิดภัยพิบัติดานอุทกภัยนั้นไดมีการศึกษาโดย นิพนธ ต้ังธรรม และคณะ (2539 : บทคัดยอ) ไดศึกษาเพ่ือกําหนดพ้ืนที่เส่ียงตอการเกิดอุทกภัย ธรรมชาติในเขตลุมนํ้าภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีวิธีการศึกษาคือ กําหนดพื้นท่ีเสี่ยงอุทกภัยท่ี ดัดแปลงมาจากขอกําหนดการปองกันภัยพิบัติซ่ึงเกิดจากไตฝุนและฝนตกหนักโดยองคการ สหประชาชาติ โดยการกําหนดข้ันตอนของการศึกษาเปน 3 ขั้นตอน คือ ศึกษาลักษณะ ภูมิประเทศและธรณีสัณฐาน เพ่ือกําหนดรูปแบบของการเกิดอุทกภัยและกําหนดขอบเขตของ พ้ืนที่เส่ียงอุทกภัย ขั้นที่สอง เปนการวิเคราะหความสัมพันธระหวางปริมาณน้ําทาท่ีเกิดจาก ปริมาณนํ้าฝนระดับตางๆ ของแตละสภาพภูมิประเทศ สภาพธรณีสัณฐานและสภาพการใช ประโยชน ที่ดินและข้ันตอนที่สาม เปนการคาดคะเนปริมาณน้ําฝนจากเมฆและชนิดเมฆซ่ึงนําไปสู การคาดคะเนปริมาณนํ้าทาและระดับความเส่ียงอุทกภัย ผลการศึกษาพบวา การกําหนด พื้นที่เสี่ยงอุทกภัยในบริเวณลุมนํ้ามูลและน้ําชี จะพิจารณาจากระดับความรุนแรง และระดับเสี่ยง อุทกภัยสัมพันธกับลักษณะของอุทกภัยที่เกิดข้ึนในแตละภูมิประเทศสามารถกําหนดพื้นที่เส่ียง อทุ กภัยไดดงั นี้ 1. พื้นที่ไมเสี่ยงอุทกภัย เปนพ้ืนที่ท่ีเกิดอุทกภัยไมรุนแรง และไมทําใหสูญเสีย ชวี ติ และทรัพยส ินของประชาชน 2. พื้นที่เสี่ยงภยั ระดับตํ่า เปน พน้ื ทท่ี ่ีเกดิ อทุ กภยั รนุ แรงนอ ยและทาํ ความเสียหาย ตอทรพั ยสินของประชาชนไมม าก 3. พ้ืนที่เสี่ยงระดับปานกลาง เปนพ้ืนท่ีท่ีเกิดอุทกภัยปานกลาง และทําความ เสยี หายตอทรัพยส ินของประชาชนมากขน้ึ แตไ มม ีการสญู เสยี ชีวิต 4. พ้ืนที่เสยี่ งภัยระดับสูง เปน พน้ื ที่ทีเ่ กดิ อทุ กภัยรุนแรงมากและทําความเสียหาย ตอชีวิตและทรพั ยสินของประชาชนมากกวาระดับปานกลาง การศึกษาวิธีการพยากรณน้ําทวมจากปริมาณของฝนท่ีตกลงมาไดทําการศึกษา โดย เกวรี พลเก้ิน และวิชัย โทมนตรี (2544 : บทคัดยอ) ซ่ึงไดศึกษาวิธีการพยากรณน้ําทวมที่ เกิดจากปริมาณของฝนท่ีตกลงมาบนพ้ืนโลก และพบวา การปองกันอุทกภัยดวยวิธีการตางๆ สามารถบรรเทาอุทกภัยไดระดับหน่ึง แตอยางไรก็ตามการพยากรณนํ้าทวมยอมมีความจําเปนใน การบรรเทาอุทกภัยเสมอ วิธีการพยากรณนํ้าทวมขึ้นอยูกับลักษณะของพ้ืนท่ีรับน้ํา ในกรณีที่เปน พื้นที่รับนํ้าขนาดเล็ก การใชวิธีการพยากรณน้ําทวมจากฝนท่ีตกในพ้ืนที่ นาจะเปนวิธีท่ีเหมาะสม ท่ีสุด ในโครงการนี้ไดเลือก สถานี E.29 ต้ังอยูที่อําเภอภูกระดึง จังหวัดเลย ใชวิธีการพยากรณน้ํา ทวมจากฝนในแตละพ้ืนท่ีรับน้ํา ซึ่งพิจารณาเปนอางเก็บนํ้า จะไดวาปริมาณกักเก็บในพ้ืนที่รับน้ํา จะแปรตามอตั ราการไหลออก จากผลการเปรียบเทียบอัตราการไหลท่ไี ดจากการพยากรณกับอัตรา การไหลจรงิ ของฝนแตล ะลูกและแตละชวงเวลา จะพบวา ณ ท่ีเวลาเดียวกันอัตราการไหลท่ีไดจาก การพยากรณจ ะมคี ามากกวาอัตราการไหลจริงเวลาท่ีเกิดอัตราการไหลสูงสุดจากการพยากรณและ เวลาทเ่ี กดิ อตั ราการไหลสูงสุดจริงจะเกดิ ทเี่ วลาใกลเ คียงกัน และเวลาท่ีเกิดอัตราการไหลวิกฤตจาก การพยากรณจะเกิดกอนอัตราการไหลวิกฤตจริงเล็กนอย ซึ่งจะเห็นวาวิธีการพยากรณที่ศึกษาน้ี สามารถนําไปใชในการพยากรณอัตราการไหลที่เกิดจากฝนไดอยางปลอดภัย เน่ืองจากอัตราการ ไหลทพ่ี ยากรณไ ดม ีคา มากกวาอัตราการไหลจรงิ และเวลาท่ีเร่ิมเกิดนํ้าทวมจากการพยากรณมักจะ

16 เกดิ ขึ้นกอนเวลาที่เริ่มนํา้ ทว มจริง ซ่ึงจะชวยทําใหส ามารถเตรยี มการปองกันและลดผลกระทบตอ ความเสียหายที่อาจเกดิ ขน้ึ แกชวี ติ และทรพั ยสินได ความตองการของผูประสบภัยน้ันไดมีการศึกษาโดย อาทิตย เลิศลํ้า (2546 : บทคัดยอ) ไดศกึ ษาเร่อื ง ความตองการของผูประสบภัยนํ้าทวมและการจัดการแกไขปญหานํ้าทวม กรณศี กึ ษา : บานลําปาว อําเภอเข่ือนขันธ จังหวัดกาฬสินธุ พบวา ความตองการของผูประสบภัย น้ําทวม มีความตองการ 2 ชวงคือ ชวงที่นํ้าทวมและชวงท่ีนํ้าลด ในชวงท่ีนํ้าทวม สิ่งที่ตองการ ความชวยเหลือประกอบดวย ขาวสาร อาหาร ซึ่งเปนอาหารประจําทองถิ่น ยารักษาโรค เสื้อผา เครื่องนุงหม เครื่องใชในชีวิตประจําวัน เครื่องใชในครัวเรือน เงินสําหรับใชในชีวิตประจําวัน การดแู ลสขุ ภาพ สวนความตองการหลังนํ้าลด สิ่งที่ตองการความชวยเหลือประกอบดวย วัสดุใช ซอมแซมบานเรือน หองน้ําหองสวม พื้นท่ีท่ีใชอยูอาศัยรวมถึงคาชดเชยความเสียหายของพืชผล ทางการเกษตร และที่ดินทําการเกษตรแหงใหมหรือปรับถมพื้นท่ีอยูอาศัยเดิมใหสูงข้ึน การ ปรบั เปล่ียนนโยบายของหัวหนาโครงการเขื่อนลําปาว ตองการเงินทุนเพ่ือประกอบการลงทุนปลูก มนั สําปะหลงั ขาว เล้ียงวัว ควาย พาหนะสวนกลางของชุมชนสําหรับบรรทุกพืชผักที่ปลูกสงตลาด ตลาดสําหรับจาํ หนา ยพืชผักที่ราคายุติธรรม ในสวนของการชวยเหลือจากรัฐ ส่ิงท่ีผูประสบภัยเห็น วา ควรไดรับการปรบั ปรุง ประกอบดว ย ความรวดเร็วของการชวยเหลือ เชนวัสดุในการซอมแซม บานเรอื น ความครอบคลุม ความโปรงใส การชวยเหลือในระยะยาว การแกไขปญหาน้ําทวม และ เงินทุนในการปลูกมันสําปะหลัง เลี้ยงวัว ควาย และจัดหาพาหนะและตลาดจําหนายพืชผัก ส่ิงที่ ตอ งการมากทส่ี ุด คือการขอขยายขนาดความยาวของตาขายจับปลาจาก 30 เมตร เปน 100 เมตร สรุป การปองกันอุทกภัยน้ันมีหลายวิธี คือตองเพ่ิมการกอสรางคันคูสองฝงลํา หวยและขุดลอกทายประตูระบายนํ้าของเข่ือนระดับนํ้าก็จะลดลง นอกจากน้ีจะตองสํารวจ ตรวจสอบระบบการปองกันนํ้าทวม ซ่ึงรวมไปถึงประตูควบคุมนํ้าดวยถามีการชํารุดเสียหายให ดําเนินการปรับปรุงซอมแซมใหอยูในสภาพที่ดีพรอมใชงานไดตลอดเวลา สวนกรณีนํ้าหลากใน พ้ืนที่ควบคุมใหใชเครื่องสูบน้ําเรงระบายน้ําออก การใชเก็บกักน้ําไวในพื้นที่นาตอนบนของลุมนํ้า สวนเกณฑปริมาณน้ําฝนที่จะสามารถทําใหเกิดนํ้าทวมไดข้ึนอยูกับสภาพภูมิศาสตรแตละพ้ืนท่ี สภาพดิน อิทธิพลของนํา้ หนนุ ซง่ึ แตล ะพ้ืนท่จี ะมีความแตกตางกนั ตามสภาพภูมิประเทศ สวนการ กําหนดพื้นท่ีเส่ียงภัยนั้นไดมีการศึกษาในเขตลุมน้ําภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แบงไดเปน 4 ระดับ มดี งั น้ี 1) ระดับพ้ืนท่ีไมเส่ียงอุทกภัย 2) ระดับความเส่ียงตํ่า 3) ระดับความเส่ียงปานกลาง และ 4) ระดับความเสี่ยงสูง การพยากรณอุทกภัยเปน องคป ระกอบที่สําคัญของการเตือนภัยจากอุทกภัย แต มีขอแตกตางกันที่วาผลลัพธของการพยากรณอุทกภัยเปนชุดของการพยากรณการไหลของ กระแสนํ้า ในหวงเวลาที่กําหนดหรือของน้ําตามจุดตางๆ ในขณะท่ีการเตือนภัยจากอุทกภัยเปน ภารกิจท่ีเกี่ยวของกับการนําขอมูลการพยากรณเหลาน้ีไปใชในการตัดสินใจวาควรจะแจงการ ประกาศเตือนภัยใหประชาชนท่ัวไปไดทราบหรือไมหรือควรจะยกเลิกหรือเพิกถอนคําประกาศ เตือนภัยทีไ่ ดป ระกาศไปกอ นหนาน้นั สวนผลกระทบและการชวยเหลือผูประสบภัยนํ้าทวม การเกิดน้ําทวมใน รายงานที่มีไดรวบรวมมาเปนกรณีของการเกิดท่ีไมรุนแรงคือ กรณีเข่ือนลํามูลบนชํารุด กรณี

17 นํ้าทวมที่จังหวัดนครศรีธรรมราชสาเหตุมาจากนํ้าทวมเฉพาะถ่ินจึงมีผลกระทบตอรางกายไมมาก ผลกระทบดานจิตใจ กรณีของเข่ือนลํามูลบนชํารุดจะมีผลกระทบตอจิตใจมาก เนื่องจากความ หวาดกลัววาเขื่อนจะพังซึ่งจะเสียหายมาก แตก็สามารถซอมแซมเข่ือนไดรับความเสียหายจากนํ้า ทว มจึงไมมาก สว นกรณจี ังหวดั นครศรีธรรมราชไดรบั ความเสียหายมาก การชว ยเหลอื ผูป ระสบภัยนํา้ ทว ม ประกอบดวยการชว ยเหลือในเร่ืองท่ีพักอาศัย ในดานการดูแลสุขภาพอนามัย เครื่องอุปโภค-บริโภค การรักษาความสงบเรียบรอย การประกอบอาชีพ ซง่ึ ผลการชว ยเหลือสวนใหญอยูในเกณฑดี คือผูประสบภัยไดรับเพียงพอและมี ความพึงพอใจในการชวยเหลือในเร่ืองที่ไดรับแตก็มีสวนนอยท่ีตองการใหแกไข เน่ืองจากไดรับไม เพียงพอ หรอื ไมพอใจในความชว ยเหลือในบางสวนทต่ี นเองไมไดร ับ 2.5 กรอบแนวคดิ ของการวจิ ยั จากการทบทวนเอกสาร แนวคิดและทฤษฎีตางๆ ท่ีเก่ียวของ ผูวิจัยไดสรุปเปนกรอบ แนวคิดของการวิจยั ดงั ภาพประกอบที่ 1 ตัวแปรอสิ ระ ตัวแปรตาม ปจจยั สวนบคุ คล ไดแก ความพงึ พอใจของประชาชนตอความ ๑. เพศ ชว ยเหลือของหนวยงานภาครัฐใน ๒. อายุ ระหวางและหลงั ประสบอุทกภยั ๓. ระดับการศึกษา อาํ เภอชนบท จงั หวดั ขอนแกน ๔. รายได ๕. ระยะทาง ปจ จัยจากการไดร ับการ สนับสนนุ ดานตางๆ ดังน้ี - ดานบุคลากร - งบประมาณ - อปุ กรณ เครื่องมือ เครือ่ งจักรกล ยานพาหนะ ภาพประกอบท่ี 1 แผนภูมแิ สดงกรอบแนวคดิ ของการวจิ ัย

18 ทฤษฎี แนวความคิด ระเบียบกฎหมายที่ใชในการศึกษา 1. พ.ร.บ.ปองกันและบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 2. แผนปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ระดับจังหวัด พ.ศ. 2553 – 2557 ของสํานักงาน ปอ งกันและบรรเทาสาธารณภัยจงั หวดั ขอนแกน 3. แผนปฏิบัติการฉุกเฉินแกไขปญหาอุทกภัย ประจําป 2556 ของสํานักงานปองกันและ. บรรเทาสาธารณภัยจงั หวัดขอนแกน

บทที่ 3 ระเบียบวธิ วี จิ ัย การวิจัยเร่ือง “ความพึงพอใจของประชาชนตอความชวยเหลือในระหวางและหลัง ประสบอุทกภัยจากหนวยงานภาครัฐ อําเภอชนบท จังหวัดขอนแกน” ครั้งน้ี เปนการวิจัยเชิง ปริมาณ เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของประชาชนท่ีประสบอุทกภัยในเขตอําเภอชนบท จังหวัด ขอนแกน ซ่งึ ผูว จิ ยั ไดก าํ หนดรายละเอยี ดการดาํ เนินการวิจัย ดงั นี้ 3.1 ประชากรกลมุ ตวั อยาง 3.2 เคร่ืองมอื ท่ีใชในการรวบรวมขอมลู 3.3 การสรา งเครือ่ งมอื 3.4 การเกบ็ รวบรวมขอ มูล 3.5 การวเิ คราะหข อมูล 3.6 สถิติในการวิเคราะหข อ มลู 3.1 ประชากรและกลุม ตัวอยา ง 3.1.1 ประชากร การวิจัยครั้งนี้ใชหนวยครัวเรือนเปนหนวยในการวิเคราะห ดังน้ัน ประชากรที่ใช ในการวิจัยครั้งน้ี คือหัวหนาครัวเรือนในแตละครัวเรือนซึ่งอยูในพื้นที่ไดรับผลกระทบจากอุทกภัย ซํ้าซาก อําเภอชนบท จังหวัดขอนแกน จํานวน 8 ตําบล ไดแก ตําบลชนบท กุดเพียขอม ศรบี ญุ เรอื ง หวยแก วังแสง บานแทน ปอแดง และตําบลโนนพะยอม จํานวนทั้งหมด 8,645 คน ดงั ตารางท่ี 2 ตารางท่ี 2 แสดงจํานวนตําบล หมบู านและหัวหนาครัวเรอื นที่ใชเ ปนประชากรท่ีไดรับ ความเสยี หายจากอทุ กภัยในเขตพ้นื ทีอ่ ําเภอชนบท จังหวดั ขอนแกน ท่ี ตําบล หมูบา น จาํ นวน 1 ชนบท 9 1,026 2 กดุ เพียขอม 7 955 3 ศรีบุญเรอื ง 12 1,235 4 หวยแก 9 1,089 5 วังแสง 9 1,102 6 บานแทน 8 1,048 7 ปอแดง 8 1,068 8 โนนพะยอม 10 1,122 72 8,645 รวม ท่มี า : กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภยั (2556)

20 3.1.2 ขนาดของกลุมตัวอยาง ผูวิจัยใชต ารางสําเร็จรูปในการกาํ หนดขนาดกลมุ ตัวอยางตามวิธขี องยามาเน (Yamane, 1960 อางถึงใน สุวิมล ติรกานนท, 2542 : 155) จากจํานวนประชากร 8,645 ครัวเรือน ไดข นาดกลมุ ตวั อยา ง 280 ครวั เรอื น 3.1.3 การสุม ตวั อยาง ผูวิจัยสุมตัวอยางโดยวิธีการสุมแบบกลุม (Cluster random Sampling) ตาม ขัน้ ตอนตอไปนี้ 3.1.3.1 จากตําบลในเขตพื้นท่ีท่ีเกิดอุทกภัยทั้งหมดของอําเภอชนบท จังหวัด ขอนแกน จํานวน 8 ตาํ บล คอื ตาํ บลชนบท กุดเพียขอม ศรีบญุ เรือง หว ยแก วงั แสง บานแทน ปอแดง และตําบลโนนพะยอม ผูวิจัยสุมตําบลตัวอยางดวย วิธีการจับฉลากไดกลุมตัวอยาง 4 ตาํ บล คอื ตําบลชนบท ศรบี ุญเรอื ง วงั แสง และตาํ บลโนนพะยอม 3.1.3.2 ในแตละตําบลที่สุมไดคํานวณสัดสวนครัวเรือนในแตละตําบลเพ่ือใหได เปน กลมุ ตวั อยางจาํ นวน 280 ครวั เรือน สมุ ตวั อยางมาตาํ บลละ 70 ครวั เรอื น ตารางที่ 3 แสดงจํานวน ตําบล หมบู าน หวั หนา ครวั เรือนและหวั หนาครวั เรือนท่ใี ชเปน กลมุ ตวั อยา ง ลําดับท่ี ตําบล หวั หนา ครวั เรอื นทใี่ ชเปนกลมุ ตวั อยา ง (คน) 1 ชนบท 70 2 ศรีบุญเรอื ง 70 3 วงั แสง 70 4 โนนพะยอม 70 รวม 280 3.2 เครื่องมอื ทีใ่ ชใ นการรวบรวมขอ มูล เครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูลในครั้งน้ี คือแบบสอบถาม ที่ผูวิจัยสรางขึ้น ตาม วัตถุประสงคและสมมตฐิ านการวจิ ัย โดยแบงลักษณะของแบบสอบถามออกเปน 2 ตอน ดังน้ี ตอนท่ี 1 เปนขอ มูลเก่ียวกับสถานภาพของผูตอบ ไดแก เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได และระยะทาง ตวั อยา งเชน 1. เพศ ( ) ชาย ( ) หญงิ 2. อายุ ( ) ต่าํ กวา 30 ป ( ) 30-45 ป ( ) 45 ปข้นึ ไป

21 ตอนท่ี 2 เปนแบบสอบถามปลายปด (closed-ended) มีลักษณะเปนแบบมาตรา สวนประมาณคา (rating-scale) โดยแบงเปน 3 ระดับ ใชรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจ ของประชาชนท่ีไดรับความเสียหายจากอุทกภัยเกี่ยวกับความชวยเหลือจากภาครัฐ ผูวิจัยได กาํ หนดคาระดับคะแนน 3 ระดับ ดังนี้ คะแนน 1.34-3.00 หมายถงึ พงึ พอใจ 0.67-1.33 หมายถงึ เฉย ๆ 0.00-0.66 หมายถงึ ไมพึงพอใจ คาํ ชแี้ จง โปรดพิจารณาระดับความพึงพอใจ แลวทําเคร่ืองหมาย / ลงในชองวางที่ตรงกับระดับ ความพึงพอใจ ใหตรงกบั ความเปนจริง และตามความคิดเห็นของทานเกี่ยวกับความชวยเหลือของ ภาครัฐตอประชาชนที่ประสบอทุ กภยั โดยมหี ลักเกณฑต อ ไปน้ี ตัวอยา งการตอบแบบสอบถาม ระดับความพงึ พอใจ ขอความ พึงพอใจ เฉย ๆ ไมพึงพอใจ ................ ....../....... .................. ดานการชว ยเหลืออพยพ คน สตั ว และทรัพยส นิ ......./......... ............. .................. 1. ความรวดเร็วในการใหค วามชวยเหลอื ............. 2. ความเอาใจใสข องเจา หนา ท.่ี ......................... ฯลฯ 3.3 การสรา งเครื่องมอื ในการวจิ ยั คร้ังนี้ ผวู จิ ยั ไดสรา งเคร่อื งมือในการรวบรวมขอ มลู โดยกําหนดข้ันตอน การ สรา งและพฒั นาเครื่องมือ ดงั นี้ 3.3.1 ศึกษาหลักการ แนวคิด ทฤษฎี เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของกับความพึงพอใจ ของประชาชนท่ไี ดร บั ความเสยี หายจากอุทกภัย ตลอดจนหนว ยงานที่เก่ียวของในพ้ืนท่ีจริง เพื่อใช ในการกาํ หนดตัวแปรตางๆ ท่ใี ชในการวจิ ัย 3.3.2 นําตัวแปรที่ไดจากการศึกษา แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยตางๆ มาเปน แนวทางในการสรางแบบสอบถามในดานการใหความชวยเหลือการอพยพ การจัดหาท่ีพักอาศัย ช่ัวคราว การใหความชวยเหลือทางดานปจจัย 4 และการฟนฟู ซอมแซมสิ่งท่ีไดรับความเสียหาย จากอทุ กภยั 3.4 การเกบ็ รวบรวมขอ มูล ผวู จิ ยั ไดด าํ เนินการเกบ็ ขอ มูลตามลําดบั ขน้ั ตอนดังนี้ 3.4.1 ผูว ิจยั ตดิ ตอ ประสาน นายกองคก ารบรหิ ารสวนตําบล เพ่ือช้ีแจงวัตถุประสงคและ ประโยชนที่ไดรับจากการวิจัยพรอมท้ังขอความรวมมือและขออนุญาตเขาเก็บรวบรวมขอมูล ภาคสนาม

22 3.4.2 ผูวิจัยเขาพบกลุมตัวอยางในแตละหมูบานแนะนําตัวเอง เพ่ือช้ีแจงวัตถุประสงค ของการวจิ ัยและดําเนนิ การแจกแบบสอบถามกลุมตัวอยางในกรณีหัวหนาครัวเรือนไมอยู ผูวิจัยใช ตัวแทนในครัวเรือนนน้ั เปนผูตอบแบบสอบถาม ซ่ึงผูตอบแบบสอบถามตองเปนผูท่ีเคยไดรับความ ชวยเหลือจากภาครัฐหลงั ประสบอุทกภยั มาแลว 3.4.3 ตรวจสอบความเรียบรอยของแบบสอบถามทุกฉบับหลังจากทําการแจก แบบสอบถามใหหวั หนาครวั เรือนเรียบรอยแลว ท้ังนี้เพื่อความสมบูรณของขอมูลในแบบสอบถาม ทุกฉบบั 3.5 การวิเคราะหข อมลู ผูวิจัยนําแบบสอบถามท่ีผานการรวบรวมขอมูลเรียบรอยแลวมาทําการวิเคราะหขอมูล โดยมขี น้ั ตอนดงั นี้ 3.5.1 จัดทําคมู อื รหสั 3.5.2 นาํ ขอ มูลทไ่ี ดจากแบบสอบถามของกลมุ ตัวอยางไปวเิ คราะหทางสถติ ดิ ว ย คอมพิวเตอร โดยใชโ ปรแกรมสําเรจ็ รูปทางสถติ ิ 3.5.3 นําผลการวเิ คราะหข อมลู ทางสถติ ลิ งตารางท่ีออกแบบไว แปลผลตารางในรูปของ การบรรยายและอธิบาย สรปุ และอภปิ รายผลการวจิ ัย 3.6 สถติ ิทใี่ ชในการวเิ คราะหข อมลู สถติ ิทใ่ี ชในการวิเคราะหใ นครง้ั นี้ คอื สถติ ิพ้ืนฐาน ไดแก คา รอ ยละ (Percentage) คา เฉลี่ย ( X ) และสว นเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.)

บทที่ 4 การวิเคราะหขอ มลู การนาํ เสนอผลการวิเคราะหขอมูลการศึกษาเรื่อง ความพึงพอใจของประชาชน ตอ ความชวยเหลอื ในระหวางและหลงั ประสบอุทกภัยจากหนวยงานภาครัฐ อําเภอชนบท จังหวัด ขอนแกน เปน การวิเคราะหข อมูลเพ่ืออธิบายเกี่ยวกับตัวแปรแตละตัว ขอมูลดังกลาว ผูวิจัยไดเก็บ รวบรวมจากแบบสอบถามท่ีมีคําตอบครบถวนสมบูรณ จํานวนท้ังส้ิน 280 ชุด ของจํานวน ประชากรที่เปนหัวหนาครอบครัว จาก 4 ตําบล 40 หมูบาน 4,485 ครัวเรือน และในการ วิเคราะหขอมูลสําหรับการวิจัยครัง้ นี้ ผูวิจยั ใชสญั ลกั ษณทางสถติ ใิ นการวเิ คราะห ดังน้ี n แทน จาํ นวนกลมุ ตวั อยาง X แทน คาเฉล่ีย S.D. แทน คา สวนเบย่ี งเบนมาตรฐาน ผลการวิเคราะหขอมูลนําเสนอในรูปของตารางประกอบความเรียง ผูวิจัยกําหนด หวั ขอ ในการนําเสนอผลการวิเคราะหตามลําดับดังน้ี 4.1 ขอมลู ทว่ั ไปของกลุมตวั อยาง 4.2 ผลการวิเคราะหความพงึ พอใจของประชาชนตอ ความชวยเหลือในระหวางและ หลงั ประสบอทุ กภยั จากหนว ยงานภาครัฐ อําเภอชนบท จงั หวัดขอนแกน 4.3 ขอ เสนอแนะเกยี่ วกบั การใหความชวยเหลือในระหวา งและหลังประสบ อุทกภัยของหนว ยงานภาครฐั อําเภอชนบท จงั หวดั ขอนแกน 4.1 ขอ มูลท่วั ไปของกลมุ ตวั อยาง ขอมูลท่ัวไปของกลุมตัวอยางเกี่ยวกับเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายไดและ ระยะทาง รายละเอียดดงั ตารางท่ี 4 ตารางที่ 4 แสดงจาํ นวนและรอ ยละของขอ มลู ทว่ั ไปของกลมุ ตวั อยา ง อําเภอชนบท จงั หวดั ขอนแกน ท่ี รายการ จํานวน (N = รอยละ 1 เพศ รวม 280 ) รวม 154 55.00 - ชาย 126 45.00 - หญิง 280 100.00 2 อายุ 4 1.40 - ต่าํ กวา 30 ป 30 10.70 - 30-45 ป 246 87.90 - 45 ปข้นึ ไป 280 100.00

24 3 ระดบั การศกึ ษา 240 85.70 - ประถมศกึ ษาหรือต่ํากวา 31 11.10 - มธั ยมศกึ ษา 7 2.50 - ประกาศนียบตั รวิชาชพี (ปวช.) หรือ 2 0.70 อนปุ รญิ ญา (ปวส.) 280 100.00 - ปริญญาตรีหรือสูงกวา รวม 10 3.60 14 5.00 4 อาชพี รวม 254 90.70 - รบั จา ง 2 0.70 - คาขาย/ธุรกจิ 280 100.00 - เกษตรกรรม 84 30.00 - อนื่ ๆ ระบุ 178 57.50 35 12.50 5 รายได 280 100.00 - ตํ่ากวา 15,000 บาทตอป 224 80.00 - 15,000-20,000 บาทตอ ป 35 12.50 - มากกวา 20,000 บาทข้ึนไป 21 7.50 รวม 280 100.00 6 ระยะทาง - ต่าํ กวา 5 กโิ ลเมตร - ระหวา ง 5-10 กโิ ลเมตร - มากกวา 10 กโิ ลเมตรข้ึนไป รวม จากตารางท่ี 4 พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศชาย มีอายุ 45 ปข้ึนไป คิดเปน รอยละ 87.90 ระดับการศึกษาประถมศึกษา หรือตํ่ากวา รอยละ 85.70 สวนมากประกอบ อาชีพดานเกษตรกรรม ราษฎรสวนมากมีรายไดอยูระหวาง 15,000-20,000 บาทตอป รอยละ 57.50 และมีระยะทางจากบานถึงศูนยอํานวยการชวยเหลือผูประสบอุทกภัยตํ่ากวา 5 กิโลเมตร รอยละ 80.00

25 4.2 ผลการวิเคราะหค วามพงึ พอใจของประชาชนตอ ความชวยเหลอื ในระหวางและหลงั ประสบอุทกภยั จากหนว ยงานภาครฐั อําเภอชนบท จังหวดั ขอนแกน ผลการวิเคราะหภาพรวมและรายดานเกี่ยวกับความพึงพอใจของประชาชนตอความ ชวยเหลอื ในระหวางและหลังประสบอุทกภยั จากหนวยงานภาครัฐ อําเภอชนบท จังหวัดขอนแกน โดยรวมในแตล ะดาน และรายละเอียดในแตล ะดา น ดงั ตารางท่ี 5 ตารางที่ 5 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจของประชาชนตอความ ชวยเหลือในระหวางและหลังประสบอุทกภัยจากหนวยงาน ภาครัฐ อําเภอชนบท จังหวัด ขอนแกน โดยภาพรวมและรายดา น ท่ี กจิ กรรมบริการ ระดบั ความพงึ พอใจ X S.D. ระดับ 1 ดา นการอพยพ คน สตั ว และทรัพยส ิน 1.24 .37 เฉย ๆ 2 ดานจัดหาทพี่ กั อาศัยช่ัวคราว 1.21 .36 เฉย ๆ 3 การใหความชวยเหลอื ดานปจจยั พื้นฐาน 1.48 .32 พงึ พอใจ 4 การใหค วามชวยเหลือดานการฟน ฟแู ละ 1.46 .52 พึงพอใจ บรู ณะ รวม 1.35 .28 พึงพอใจ จากตารางที่ 5 พบวาความพึงพอใจของประชาชนตอความชวยเหลือในระหวางและ หลังประสบอทุ กภยั จากหนว ยงาน ภาครฐั อําเภอชนบท จังหวัดขอนแกน โดยภาพรวมอยูใน ระดบั มีความพึงพอใจอยูในระดับพึงพอใจ ดานการใหความชวยเหลือดานปจจัยพื้นฐานมากท่ีสุด รองลงมาคือ ดานการใหความชวยเหลือดานการฟนฟูและบูรณะและตํ่าที่สุดคือ ดานจัดหาที่พัก อาศัยชวั่ คราว ตารางท่ี 6 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจของประชาชนตอความ ชวยเหลือในระหวางและหลังประสบอุทกภัยจากหนวยงาน ภาครัฐ อําเภอชนบท จังหวัด ขอนแกน ดานการอพยพ คน สตั ว และทรพั ยสิน ท่ี ดา นการอพยพ คน สัตว และทรพั ยส ิน ระดับความพึงพอใจระดบั 1. ความชดั เจนของขาวสารประชาสมั พันธ X S.D. 2. มคี วามรวดเร็วในการใหบรกิ าร 0.82 .57 เฉย ๆ 3. มีความเสมอภาคในการใหบรกิ าร 1.26 .64 เฉย ๆ 4. ความเอาใจใสของเจาหนา ที่ 1.32 .63 เฉย ๆ 5. ความสุภาพออ นโยนของเจาหนาที่ 1.27 .58 เฉย ๆ 6. ความซือ่ สัตย สจุ ริต โปรง ใสของผูใหบริการ 1.51 .51 พึงพอใจ 1.27 .47 เฉย ๆ รวม 1.24 .37 เฉย ๆ

26 จากตารางท่ี 6 พบวา ความพึงพอใจของประชาชนตอความชวยเหลือในระหวางและ หลังประสบอทุ กภัยจากหนวยงาน ภาครฐั อําเภอชนบท จังหวัดขอนแกน ดานการอพยพ คน สัตว และทรัพยสิน โดยภาพรวมอยูในระดับเฉยๆ เม่ือพิจารณารายขอ พบวา ดานความสุภาพ ออนโยนของเจาหนาที่มากท่ีสุด รองลงมาคือ มีความเสมอภาคในการใหบริการ และขอที่ต่ําสุด คอื ความชดั เจนของขา วสารประชาสัมพันธ ตารางที่ 7 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจของประชาชนตอความ ชวยเหลือในระหวางและหลังประสบอุทกภัยจากหนวยงาน ภาครัฐ อําเภอชนบท จังหวัด ขอนแกน ดานจัดหาที่พักอาศยั ชัว่ คราว ระดับความพึงพอใจ ท่ี ดานจดั หาที่พักอาศยั ชว่ั คราว X S.D. ระดับ 1. ความรวดเร็วทนั ตอ เหตุการณของการให 1.06 .60 เฉย ๆ บรกิ าร 2. สถานทีแ่ ละส่งิ อํานวยความสะดวกให 1.36 .56 พึงพอใจ บริการ 3. ความทัว่ ถึงและส่ิงอํานวยความสะดวกท่ีให 1.16 .71 เฉย ๆ บรกิ าร 4. ความเอาใจใสกระตอื รอื รนของเจาหนาท่ี 1.14 .57 เฉย ๆ ผใู หบริการ 5. ความสุภาพออ นโยนของเจา หนาท่ีผใู ห 1.40 .51 พึงพอใจ บริการ 6. การจดั ลําดับความเรงดวนในการใหบ ริการ 1.16 .39 เฉย ๆ รวม 1.21 .36 เฉย ๆ จากตารางที่ 7 พบวา ความพึงพอใจของประชาชนตอความชวยเหลือในระหวางและ หลังประสบอุทกภัยจากหนวยงาน ภาครัฐ อําเภอชนบท จังหวัดขอนแกน ดานจัดหาที่พักอาศัย ชวั่ คราวโดยภาพรวมอยใู นระดับเฉย ๆ และเมือ่ พจิ ารณารายขอพบวาขอความสุภาพออนโยนของ เจาหนาท่ีผูใหบริการมากท่ีสุด รองลงมาคือ ขอสถานที่และสิ่งอํานวยความสะดวกที่ใหบริการ และขอทต่ี า่ํ สุด คือ ขอ ความรวดเรว็ ทันตอเหตกุ ารณของการใหบ รกิ าร ตารางที่ 8 แสดงคา เฉลย่ี และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจของประชาชนตอความ ชวยเหลือในระหวา งและหลังประสบอทุ กภยั จากหนวยงานภาครฐั อําเภอชนบท จังหวัด ขอนแกน ดานการใหค วามชว ยเหลือดานปจ จัยพ้ืนฐาน

27 ท่ี ดานการใหความชวยเหลือดา นปจจยั พื้นฐาน ระดับความพึงพอใจ X S.D. ระดบั 1. ความรวดเร็วทนั ตอ เหตกุ ารณของการให 1.57 .76 พงึ พอใจ บรกิ าร 2. ความทั่วถึงและเสมอภาคของการใหบ รกิ าร 1.83 .49 พึงพอใจ 3. ความสุภาพออนโยนของเจา หนาที่ 1.93 .28 พงึ พอใจ 4. ความซ่อื สัตย สุจริต โปรงใสของผใู หบริการ 1.72 .45 พึงพอใจ 5. การจดั สถานทแี่ ละสิ่งอาํ นวยความสะดวก 1.50 .61 พงึ พอใจ ตา ง ๆ ณ ท่จี ุดบริการ 6. ความตอเนื่องในการใหบ ริการ .36 .71 ไมพ ึงพอใจ รวม 1.48 .32 พงึ พอใจ จากตารางที่ 8 พบวา ความพึงพอใจของประชาชนตอ ความชว ยเหลอื ในระหวางและ หลังประสบอุทกภัยจากหนวยงาน ภาครัฐ อาํ เภอชนบท จังหวัดขอนแกน ดา นการใหค วามชวย เหลอื ดานปจจยั พ้ืนฐานโดยภาพรวมอยูในระดับพึงพอใจ และเมื่อพิจารณารายขอพบวา ขอ ความ สุภาพออ นโยนของเจาหนา ท่ีมากท่ีสดุ รองลงมาคือขอ ความทั่วถึงและเสมอภาคของการใหบ ริการ และขอท่ตี า่ํ สดุ คือ ขอความตอเนื่องในการใหบรกิ าร ตารางท่ี 9 แสดงคา เฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจของประชาชนตอความ ชว ยเหลือในระหวา งและหลังประสบอุทกภัยจากหนวยงานภาครฐั อําเภอชนบท จังหวัดขอนแกน ดา นการใหความชว ยเหลอื ดานการบรู ณะและการฟนฟู ท่ี ดานการใหค วามชวยเหลอื ดานการบรู ณะ ระดับความพึงพอใจ และการฟนฟู X S.D. ระดับ 1. ความรวดเรว็ ในการใหบ ริการ 1.18 .92 เฉย ๆ 2. ความทว่ั ถึงและเสมอภาคของการใหบริการ 1.26 .92 เฉย ๆ 3. ความเอาใจใสกระตือรือรน ของเจา หนาท่ี 1.52 .64 พึงพอใจ ผูใ หบรกิ าร 4. ความสภุ าพออ นโยนของเจาหนาทีผ่ ใู ห 1.79 .47 พึงพอใจ บริการ 5. ความซ่อื สตั ย สุจรติ โปรงใสของผูใหบริการ 1.54 .54 พึงพอใจ รวม 1.46 .52 พงึ พอใจ จากตารางที่ 9 พบวา ความพึงพอใจของประชาชนตอความชวยเหลือในระหวางและ หลังประสบอุทกภัยจากหนวยงาน ภาครัฐ อําเภอชนบท จังหวัดขอนแกน ดานการใหความ ชวยเหลือดานการบูรณะและการฟนฟูโดยภาพรวมอยูในระดับพึงพอใจ และเม่ือพิจารณารายขอ พบวา ขอ ความสภุ าพออนโยนของเจาหนาท่ีผูใหบริการมากท่ีสุด รองลงมาคือ ขอความซื่อสัตย สจุ รติ โปรง ใสของผใู หบ ริการ และขอ ที่ตา่ํ สดุ คือ ขอความรวดเรว็ ในการใหบ รกิ าร

ตารางท่ี 10 แสดงการเปรียบเทยี บคาเฉลีย่ และสว นเบยี่ งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจ หนวยงาน ภาครฐั อาํ เภอชนบท จงั หวัดขอนแกน โดยภาพรวมและรายด ความพึงพอใจของประชาชนตอ ความ ตา่ํ กวา 30 ป ชว ยเหลือในระหวางและหลังประสบ X S.D. แปลผล 1.30 .41 เฉย ๆ อทุ กภยั จากหนว ยงาน ภาครัฐ 1.33 .52 เฉย ๆ 1. ดา นการอพยพ คน สัตวแ ละทรัพยสิน 1.47 .24 พึงพอใจ 2. ดา นจดั หาที่พักอาศัยช่ัวคราว 1.83 .26 พึงพอใจ 3. ดา นการใหความชวยเหลือดานปจจยั 1.49 .29 พงึ พอใจ พ้นื ฐาน 4. ดา นการใหค วามชวยเหลอื ดานการ ฟน ฟูและบรู ณะ รวม จากตารางท่ี 10 พบวา ความพงึ พอใจของประชาชนตอ ความชว ยเหลือในระห ขอนแกน โดยภาพรวมและรายดา น จาํ แนกตามอายุ อยใู นระดบั พงึ พอใจแตล ะกลมุ

จของประชาชนตอความชวยเหลือในระหวา งและหลงั ประสบอุทกภัยจาก ดาน จาํ แนกตามอายุ อายุ 45 ปข นึ้ ไป 28 30 – 45 ป X S.D. แปลผล X S.D. แปลผล 1.23 .35 เฉย ๆ 1.30 .47 เฉย ๆ 1.21 .35 เฉย ๆ 1.24 .42 เฉย ๆ 1.49 .32 พึงพอใจ 1.42 .38 พงึ พอใจ 1.37 .59 พึงพอใจ 1.46 .51 พงึ พอใจ 1.33 .35 เฉย ๆ 1.35 .27 พงึ พอใจ หวา งและหลงั ประสบอุทกภยั จากหนว ยงานภาครัฐ อําเภอชนบท จงั หวัด มอายุมีคาเฉลี่ยความพึงพอใจใกลเ คยี งกัน

ตารางท่ี 11 แสดงการเปรียบเทยี บคา เฉลย่ี และสวนเบีย่ งเบนมาตรฐานความพึงพอใจ หนวยงาน ภาครัฐ อาํ เภอชนบท จงั หวดั ขอนแกน โดยภาพรวมและรายด ความพงึ พอใจของประชาชนตอ ความ ระดับประถมศกึ ษาหรือต่ํากวา ระดบั มัธ ชว ยเหลือในระหวางและหลงั ประสบ X S.D. แปลผล X S. อุทกภยั จากหนวยงาน ภาครัฐ 1.23 .36 เฉย ๆ 1.40 .4 1. ดานการอพยพ คน สัตวและ ทรพั ยสิน 1.20 .35 เฉย ๆ 1.32 .4 1.49 .32 พงึ พอใจ 1.42 .3 2. ดา นจดั หาทีพ่ ักอาศยั ช่ัวคราว 3. ดา นการใหความชว ยเหลือดา น 1.46 .52 พงึ พอใจ 1.34 .4 ปจจยั พนื้ ฐาน 1.35 .27 พงึ พอใจ 1.37 .3 4. ดา นการใหค วามชว ยเหลอื ดา นการ ฟน ฟูและบูรณะ รวม จากตารางที่ 11 พบวาความพงึ พอใจของประชาชนตอความชว ยเหลอื ใน จงั หวัดขอนแกน โดยภาพรวมและรายดาน จาํ แนกตามระดับการศึกษาระดบั ประถมศ หรอื อนุปรญิ ญา (ปวส.) อยูในระดับพึงพอใจ สว นระดบั ปริญญาตรีหรือสงู กวา อยใู นระด

จของประชาชนตอ ความชวยเหลือในระหวางและหลงั ประสบอุทกภัยจาก ดาน จําแนกตามระดับการศกึ ษา ระดบั การศึกษา ระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ ธยมศึกษา (ปวช.) หรอื อนปุ ริญญา (ปวส.) ระดบั ปริญญาตรหี รอื สูงกวา .D. แปลผล X S.D. แปลผล X S.D. แปลผล 43 พึงพอใจ 1.46 .44 พงึ พอใจ .67 - ไมพ งึ พอใจ 44 เฉย ๆ 1.50 .58 พงึ พอใจ .33 - ไมพึงพอใจ 32 พงึ พอใจ 1.54 8.333E-02 พึงพอใจ .33 - ไมพ ึงพอใจ 29 29 29 48 พึงพอใจ 1.80 .23 พึงพอใจ .00 - ไมพึงพอใจ 35 พงึ พอใจ 1.57 .30 พึงพอใจ .33 - ไมพึงพอใจ นระหวา งและหลงั ประสบอุทกภยั จากหนว ยงาน ภาครฐั อําเภอชนบท ศึกษาหรือตํ่ากวา ระดับมัธยมศึกษา และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ดับไมพ ึงพอใจ

ตารางที่ 12 แสดงการเปรยี บเทยี บคาเฉลีย่ และสวนเบีย่ งเบนมาตรฐานความพงึ พ หนวยงาน ภาครฐั อาํ เภอชนบท จังหวัดขอนแกน โดยภาพรวมและราย ความพึงพอใจของประชาชนตอความ ชวยเหลอื ในระหวางและหลังประสบ รบั จา ง คาขาย อุทกภัยจากหนว ยงาน ภาครฐั X S.D. แปลผล X S. 1. ดา นการอพยพ คน สตั วแ ละ 1.13 .54 เฉย ๆ 1.55 .4 ทรพั ยสิน 1.10 .22 เฉย ๆ 1.45 .5 2. ดา นจัดหาท่พี กั อาศัยชว่ั คราว 3. ดานการใหความชวยเหลือดา น 1.53 .14 พึงพอใจ 1.40 .4 ปจจยั พ้ืนฐาน 4. ดานการใหความชว ยเหลอื ดา นการ 1.56 8.944E-02 พงึ พอใจ 1.40 .7 ฟน ฟูและบูรณะ รวม 1.33 .23 เฉย ๆ 1.45 .4 จากตารางท่ี 12 พบวาความพงึ พอใจของประชาชนตอความชวยเหลือใ ขอนแกน โดยภาพรวมและรายดา น จําแนกตามอาชีพ รบั จา ง คา ขาย/ธุรกิจ เกษตร

พอใจของประชาชนตอ ความชวยเหลือในระหวา งและหลังประสบอทุ กภัยจาก ยดาน จําแนกตามอาชีพ อาชีพ เกษตรกรรม X 30อืน่ ๆ ย/ธุรกจิ S.D. แปลผล S.D. แปลผล .83 30.23 ไมพ งึ พอใจ .D. แปลผล X .36 เฉย ๆ 30 45 พึงพอใจ 1.24 .47 ไมพงึ พอใจ 52 พึงพอใจ 1.21 .36 เฉย ๆ .67 .59 ไมพ งึ พอใจ 42 พงึ พอใจ 1.49 .32 พึงพอใจ .75 77 พงึ พอใจ 1.46 1.13 ไมพึงพอใจ 41 พงึ พอใจ 1.35 .51 พงึ พอใจ .80 .61 ไมพึงพอใจ .27 พึงพอใจ .76 ในระหวางและหลังประสบอุทกภัยจากหนวยงาน ภาครัฐ อําเภอชนบทจังหวัด รกรรม อยใู นระดบั พึงพอใจ สวนอืน่ ๆ อยูใ นระดับไมพึงพอใจ

ตารางที่ 13 แสดงการเปรยี บเทียบคา เฉล่ียและสว นเบีย่ งเบนมาตรฐานความพึงพอใจ หนวยงาน ภาครัฐ อําเภอชนบท จงั หวดั ขอนแกน โดยภาพรวมและรายด ความพงึ พอใจของประชาชนตอความ ต่ํากวา 15,000 ชว ยเหลือในระหวา งและหลังประสบ X S.D. แปลผล 1.19 .35 เฉย ๆ อทุ กภยั จากหนว ยงาน ภาครัฐ 1.16 .32 เฉย ๆ 1. ดา นการอพยพ คน สัตวและทรพั ยสนิ 1.45 .31 พงึ พอใจ 2. ดา นจดั หาที่พักอาศัยชว่ั คราว 1.41 .52 พึงพอใจ 3. ดานการใหค วามชวยเหลอื ดานปจจัย 1.30 .25 เฉย ๆ พ้ืนฐาน 4. ดานการใหค วามชว ยเหลอื ดานการ ฟนฟูและบรู ณะ รวม จากตารางที่ 13 พบวาความพึงพอใจของประชาชนตอ ความชว ยเหลอื ในระห ขอนแกน โดยภาพรวมและรายดา น จําแนกตามรายไดอ ยูในระดบั พงึ พอใจ

จของประชาชนตอ ความชว ยเหลือในระหวางและหลงั ประสบอุทกภยั จาก ดา น จําแนกตามรายได รายได มากกวา 20,000 15,000-20,000 X S.D. แปลผล X S.D. แปลผล 1.27 .37 เฉย ๆ 1.33 .41 เฉย ๆ 1.26 .37 เฉย ๆ 1.19 .45 เฉย ๆ 31 31 31 1.51 .33 พึงพอใจ 1.51 .36 พงึ พอใจ 1.48 .50 พงึ พอใจ 1.55 .62 พงึ พอใจ 1.38 .29 พึงพอใจ 1.39 .32 พึงพอใจ หวางและหลงั ประสบอุทกภัยจากหนว ยงานภาครัฐ อาํ เภอชนบท จงั หวัด

ตารางที่ 14 แสดงการเปรยี บเทียบคา เฉลี่ยและสว นเบี่ยงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจ หนวยงาน ภาครัฐ อําเภอชนบท จังหวัดขอนแกน โดยภาพรวมและราย อทุ กภัย ความพงึ พอใจของประชาชนตอความ ระยะทางจาก ชวยเหลอื ในระหวางและหลงั ประสบ ตาํ่ กวา 5 กโิ ลเมตร X S.D. แปลผล อุทกภัยจากหนวยงาน ภาครฐั 1.27 .36 เฉย ๆ 1. ดานการอพยพ คน สัตวแ ละทรพั ยสิน 1.25 .36 เฉย ๆ 2. ดานจดั หาที่พักอาศัยชั่วคราว 1.50 .33 พงึ พอใจ 3. ดานการใหค วามชว ยเหลอื ดา นปจจัย 1.52 .48 พงึ พอใจ 1.38 .27 พงึ พอใจ พน้ื ฐาน 4. ดา นการใหความชว ยเหลอื ดานการ ฟน ฟแู ละบูรณะ รวม จากตารางที่ 14 พบวาความพึงพอใจของประชาชนตอความชว ยเหลือในระ ขอนแกน โดยภาพรวมและรายดาน จาํ แนกตามระยะทางจากบานถึงศูนยอํานวยการ

จของประชาชนตอ ความชว ยเหลือในระหวา งและหลงั ประสบอทุ กภัยจาก ยดา น จาํ แนกตามระยะทางจากบานถงึ ศนู ยอํานวยการชว ยเหลอื ผปู ระสบ กบานถงึ ศนู ยอํานวยการชว ยเหลอื ผปู ระสบอุทกภยั ระหวาง 5-10 กโิ ลเมตร มากกวา 10 กโิ ลเมตรขนึ้ ไป S.D. แปลผล S.D. แปลผล X X 1.19 .32 เฉย ๆ 1.03 .37 เฉย ๆ 1.06 .35 เฉย ๆ 1.03 .34 เฉย ๆ 32 32 32 1.35 .33 พงึ พอใจ 1.45 .25 พงึ พอใจ 1.18 .64 เฉย ๆ 1.17 .58 เฉย ๆ 1.19 .30 เฉย ๆ 1.17 .23 เฉย ๆ ะหวา งและหลังประสบอุทกภยั จากหนว ยงานภาครัฐ อําเภอชนบท จงั หวัด รชวยเหลือผูป ระสบอทุ กภยั อยใู นระดบั เฉย ๆ

บทท่ี 5 สรุปและอภิปรายผล สรปุ ผลงานศึกษาเร่ืองความพึงพอใจของประชาชนตอความชวยเหลือในระหวาง และหลงั ประสบอทุ กภัยจากหนว ยงานภาครฐั อําเภอชนบท จังหวัดขอนแกน สามารถอภิปรายผล ของการศึกษาเปรียบเทียบกับแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เก่ียวของที่ผูวิจัยไดทําการสืบคนและ นําเสนอไวใ นบทท่ี 2 การนําผลการศึกษาไปใชในทางปฏิบัติ และขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยคร้ัง ตอ ไป 5.1 สรุปผลการศกึ ษา ผลการศึกษาดานคุณสมบัติของผูตอบแบบสอบถาม และผลสรุปตาม วัตถุประสงค มีดงั น้ี 5.1.1 ประชากรกลุมตัวอยางของจํานวนประชากรที่เปนหัวหนาครอบครัว จาก 4 ตําบล 40 หมูบาน 4,485 ครัวเรือน สวนใหญเปนเพศชาย มีอายุ 45 ปข้ึนไป คิดเปนรอยละ 87.90 ระดับการศึกษาประถมศึกษา หรือต่ํากวา รอยละ 85.70 สวนมากประกอบอาชีพดาน เกษตรกรรม ราษฎรสวนมากมีรายไดอยูระหวาง 15,000-20,000 บาทตอป รอยละ 57.50 และมี ระยะทางจากบานถงึ ศูนยอ าํ นวยการชว ยเหลอื ผูประสบอุทกภัยต่ํากวา 5 กโิ ลเมตร รอยละ 80.00 5.1.2 จากการศึกษาความพึงพอใจของประชาชนตอความชวยเหลือในระหวางและ หลังประสบอทุ กภยั จากหนวยงาน ภาครฐั อาํ เภอชนบท จงั หวัดขอนแกน โดยภาพรวมอยูในระดับ มีความพึงพอใจอยูในระดับพึงพอใจ ดานการใหความชวยเหลือดานปจจัยพ้ืนฐานมากท่ีสุด รองลงมาคือ ดานการใหความชวยเหลือดานการฟนฟูและบูรณะและต่ําท่ีสุดคือ ดานจัดหาที่พัก อาศัยชั่วคราว และเมื่อพจิ ารณาเปน รายดาน พบวา 1. ดานการอพยพ คน สัตว และทรัพยสิน ท่ีผูประสบภัยมีความพึงพอใจมาก ท่สี ดุ ไดแ ก ดานความสภุ าพออนโยนของเจาหนาท่ีมากที่สุด รองลงมาคือ มีความเสมอภาคในการ ใหบรกิ าร และขอทตี่ ่ําสดุ คือ ความชดั เจนของขาวสารประชาสมั พนั ธ 2. ดานจัดหาท่ีพักอาศัยชั่วคราวโดยภาพรวมอยูในระดับเฉย ๆ และเม่ือ พิจารณารายขอพบวาขอความสุภาพออนโยนของเจาหนาที่ผูใหบริการมากท่ีสุด รองลงมาคือ ขอ สถานท่ีและส่ิงอํานวยความสะดวกท่ีใหบริการ และขอท่ีตํ่าสุด คือ ขอความรวดเร็วทันตอ เหตกุ ารณของการใหบ ริการ 3. ดานการใหความชวย เหลอื ดา นปจจยั พน้ื ฐาน โดยภาพรวมอยูในระดับพึง พอใจ และเม่ือพิจารณารายขอพบวา ขอ ความสภุ าพออนโยนของเจา หนาท่ีมากทสี่ ดุ รองลงมาคือ ขอ ความทัว่ ถงึ และเสมอภาคของการใหบริการและขอทีต่ า่ํ สุด คือขอความตอเน่ืองในการใหบ ริการ 4. ดานการใหความชวยเหลือดานการบูรณะและการฟนฟู โดยภาพรวมอยูใน ระดับพึงพอใจ และเมื่อพิจารณารายขอพบวา ขอความสุภาพออนโยนของเจาหนาท่ีผูใหบริการ

34 มากท่ีสุด รองลงมาคือ ขอความซ่ือสัตย สุจริต โปรงใสของผูใหบริการ และขอท่ีตํ่าสุด คือ ขอ ความรวดเรว็ ในการใหบ รกิ าร 5.1.3 จากการศึกษาปญหาและอุปสรรค หรือขอเสนอแนะและความคิดเห็นในการ ตอบแบบสอบถาม ของประชาชนเก่ียวกับการใหความชวยเหลือผูประสบอุทกภัยโดยใชขอมูลจาก แบบสอบถาม ในสวนของคําถามปลายเปด (Open end) จากแบบสอบถามท้ังหมด ผูที่ตอบ แบบสอบถามปลายเปดจํานวน 280 คน คดิ เปน รอยละ 36.20 ของท้ังหมด สรุปเปนขอ ๆ ดงั น้ี 1. ความรวดเร็วและทนั ตอเหตุการณข องการใหความชว ยเหลือดานเมล็ดพันธุ พืชใหทนั ตามฤดูกาลเพาะปลกู เชน เมลด็ พนั ธขุ าวหลังนาํ้ ลด พ้ืนดินยงั มีความชมุ ชนื้ อยู ถาไดเมล็ด พนั ธุพชื กจ็ ะสามารถเพาะปลูกได เมล็ดพันธุผักตาง ๆ ก็สามารถปลูกไดจนกวาน้ําจะแหงแลงเขาสู ฤดูหนาว เราก็สามารถเก็บเก่ียวผลผลิตได 2. ดานปจจัยพื้นฐานในชวงนํ้าทวมตองการใหความชวยเหลืออยางท่ัวถึง และ. โปรงใส กรณีครอบครัวท่ีอยูหางไกลศูนยชวยเหลือผูประสบภัยไมมีพาหนะมารับ พอมารับ วันหลังก็หมดไปแลว ทําใหไ มไดร ับความชวยเหลืออยางทวั่ ถงึ 3. ในระหวางนํ้าทวม อยากใหชวยเหลือดานปจจัยพ้ืนฐานอยางตอเน่ือง เพราะทางครอบครัวตั้งแตน้ําทวมจนน้ําลดไดรับการชวยเหลือถุงยังชีพเพียงคร้ังเดียวควรจะให ความชวยเหลอื เปนระยะอยางนอยสัปดาหล ะ 1 ครงั้ จนกวาน้าํ จะลดเขาสูส ภาวะปกติ 4. การใหค วามชว ยเหลอื หลงั นํ้าลด ตองการใหความชวยเหลือวสั ดุซอมแซม บานเรือน หองนํ้า หองสวม ความเสียหายของพืชผลทางการเกษตรใหคุมคากับขอมูลความ เสียหายท่ีเปนจรงิ 5.2 อภิปรายผล จากผลการวิจัยโดยภาพรวม พบวาประชาชนอําเภอชนบท จังหวัดขอนแกน มีความ พึงพอใจตอความชวยเหลือในระหวางและหลังประสบอุทกภัยจากหนวยงานภาครัฐในระดับ ปานกลางและเมือ่ วิเคราะหเ ปรียบเทียบความพึงพอใจของประชาชนในเร่ืองดังกลาวตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได และระยะทาง พบวาตัวแปรที่สําคัญทําใหประชาชนพึงพอใจ ตางกันคือ ระดับการศึกษา ระยะทาง อาชีพและรายได ผูวิจัยนําผลการวิจัยมากําหนดเปน ประเด็นเพ่อื การอภปิ รายผล ดงั นี้ 1. ความพงึ พอใจของประชาชนตอ ความชวยเหลอื ในระหวา งและหลงั ประสบ อุทกภัยจากหนว ยงานภาครัฐ อาํ เภอชนบท จงั หวดั ขอนแกน ผลการวจิ ัย พบวาประชาชนในอําเภอชนบท จังหวัดขอนแกน มีความพึงพอใจตอ ความชวยเหลือในระหวางและหลังประสบอุทกภัยจากหนวยงานภาครัฐในระดับพึงพอใจท่ีเปน อยางนี้ อาจจะมีสวนนอยที่มีความรูสึกเฉย ๆ และไมพึงพอใจตอหนวยงานภาครัฐท่ีมาใหบริการ อาจจะเปนเพราะ การชวยเหลือของหนวยงานภาครัฐยังลาชาไมทันกับสถานการณที่เกิดข้ึน และ อาจจะไปไมทั่วถึงในบางพ้ืนท่ีท่ีอยูใกลและไมมีเรือท่ีจะเขาไปใหความชวยเหลือซึ่งอาจจะเกิดจาก การประชาสัมพันธไมชัดเจนและไมทั่วถึง ทําใหประชาชนท่ีไดรับความเดือดรอนไมไดรับความ ชวยเหลือไดท่ัวถึงและทันตอเหตุการณ และจากประสบการณของผูวิจัยซึ่งปฏิบัติดานการ

35 ชวยเหลือผูประสบอุทกภัยมาระยะหน่ึง พบวา ประชาชนผูประสบอุทกภัยมีความตองการความ ชวยเหลือจากทุกภาคสวนมากที่สุด และสวนมากหนวยงานภาครัฐจะสนองความตองการของ ประชาชนไดไมท่ัวถึงและไมทันตอเหตุการณเทาที่ควร เน่ืองจากมีขอจํากัดดานงบประมาณและ อตั รากําลังของบุคลากรของหนวยงานภาครัฐมีจํานวนจํากัด จึงทําใหประชาชนมีแนวคิดวา รัฐไม มีความจริงใจกับประชาชนเทาที่ควร ทั้งน้ีเนื่องจากการเกิดอุทกภัยเปนภัยพิบัติซ่ึงเกี่ยวของกับ ชีวิตและทรัพยส ิน ซึ่งสง ผลตอ ความมั่นคงและความปลอดภัยของประชาชนมากที่สุด หากเกิดภัย พิบัติประชาชนยอมมีความตองการชวยเหลือเพ่ือใหเกิดความปลอดภัย ซ่ึงเปนความตองการ จําเปนท่ีมนุษยทุกคนตองการสอดคลองกับทฤษฎีความตองการตามลําดับข้ันของ มาสโลว (Maslow, 2549) ซ่งึ ไดแ บง ความตอ งการของมนุษยอ อกเปน 5 ระดับ คอื 1) ความตองการดาน รางกาย 2) ความตองการดานความปลอดภัยหรือความมั่นคง 3) ความตองการดานสังคม 4) ความตอ งการการยอมรบั ในสงั คมหรือไดร ับการยกยองในสังคม 5) ความตองการบรรลุเปาหมาย สูงสุดในชีวิต จะเห็นไดวา ประชาชนท่ีประสบอุทกภัยยอมมีความตองการดานรางกายและความ ตองการดานความปลอดภัยหรือความม่ันคง ซ่ึงสวนหนึ่งตองอาศัยความชวยเหลือจากหนวยงาน ภาครัฐเปนหลักใหญ หากรัฐทําไดก็จะชวยใหประชาชนมีความสุขในการดํารงชีวิตแมวาจะอยู ในชวงประสบอุทกภัยก็ตาม สอดคลองกับหลักมนุษยสัมพันธที่วา มนุษยจะเกิดความพึงพอใจได เม่ือมนุษยมีความสุข ไดรับเกียรติ ความไววางใจ และไดรับผลประโยชน (Skinner) (ศิริวรรณ เสรีรัตน, 2541 : 125-126) สวน การชวยเหลือกันเองในกลุมประชาชนที่ประสบอุทกภัยดวยกัน อาจจะมีบาง เชน การใหกําลังใจ การแบงปนสิ่งจําเปนเล็ก ๆ นอย ๆ เทาท่ีแตละคนพึงมีและ สามารถแบงปนได แตก็คอนขางมีขอจํากัดสูง เนื่องจากตางก็ไดรับความเดือดรอนจากอุทกภัย เหมือน ๆ กัน ในการชวยเหลือซ่ึงกันและกันเปนไปอยางลําบาก เพราะไมมีเครื่องมืออุปกรณใน การใหความชว ยเหลอื ตองรอใหหนว ยงานภาครัฐเขา มาชวยเหลือ 2. ผลการวิเคราะหความพึงพอใจของประชาชนตอความชวยเหลือในระหวางและ หลังประสบอทุ กภัยจากหนวยงาน ภาครัฐ อาํ เภอชนบท จังหวดั ขอนแกน จากผลการวิเคราะหเปรียบเทียบความพึงพอใจของประชาชนตอความชวยเหลือ ในระหวางและหลังประสบอุทกภัยของหนวยงานภาครัฐ อําเภอชนบท จังหวัดขอนแกน พบวาตัว แปรสําคัญท่ีทําใหประชาชนพึงพอใจตอความชวยเหลือของรัฐตางกันคือ ระดับการศึกษา ระยะทาง อาชีพ และรายได หมายความวา ประชาชนท่ีมีระดับการศึกษาตางกัน ระยะทาง (จาก ทีพ่ ักไปยงั ศูนยใ หความชว ยเหลือ) ตา งกัน และรายไดต า งกัน จะมคี วามพึงพอใจตอความชวยเหลือ จากหนว ยงานภาครฐั ตางกัน ที่เปนเชนน้ีดวยเหตผุ ลดังตอ ไปนี้ 2.1 ระดับการศึกษา ประชาชนผูประสบอุทกภัยที่มีระดับการศึกษาตางกันมี ความพึงพอใจตอความชวยเหลือจากหนวยงานภาครัฐตางกันท่ีเปนเชนน้ี เพราะวา ประชาชนที่มี ระดับการศึกษาระดับประถมศึกษาหรือต่ํากวาจะมีความรูสึกวา เจาหนาท่ีของรัฐเปนเจานายจะ รสู กึ เกรงกลวั เม่ือทางราชการจัดหาอะไรมาใหก็มีความรูสึกวาดีและพอใจแลวจะแตกตางจากผูที่ มีระดบั การศึกษาที่สงู กวา จะมีความตองการและเงือ่ นไขของความตอ งการและมักจะมีความรูสึกวา รัฐควรจะใหความชว ยเหลอื มากกวาน้ี เม่ือมีความตองการแลวไมไดรับการตอบสนองความรูสึกพึง พอใจก็ไมเกิดขึ้น ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของ ชริณี เดชจินดา (2535 : 14) ที่กลาววา ความพึง พอใจ หมายถึงความรูสึกหรือทัศนคติของบุคคลท่ีมีตอส่ิงใดส่ิงหน่ึงหรือปจจัยตาง ๆ ท่ีเก่ียวของ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook