Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 36.งานวิจัย นายสมยศ มานพกวี เลขที่ 36

36.งานวิจัย นายสมยศ มานพกวี เลขที่ 36

Published by Hommer ASsa, 2021-05-06 12:15:52

Description: 36.งานวิจัย นายสมยศ มานพกวี เลขที่ 36

Search

Read the Text Version

รายงานการศกึ ษา เรอ่ื ง แนวทางการปอ้ งกันอทุ กภัยและโครนถล่มเพื่อความปลอดภัยของ ประชาชนในอาเภอแมพ่ รกิ จงั หวัดลาปาง จัดทาโดย นายสมยศ มานพกวี รหสั ประจาตวั นกั ศกึ ษา 36 เอกสารฉบบั นเ้ี ป็นส่วนหนง่ึ ของการศึกษาอบรม หลักสูตร นกั บรหิ ารงานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั (นบ.ปภ.) รนุ่ ท่ี 10 วิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

รายงานการศกึ ษา เรอ่ื ง แนวทางการปอ้ งกันอทุ กภัยและโครนถล่มเพื่อความปลอดภัยของ ประชาชนในอาเภอแมพ่ รกิ จงั หวัดลาปาง จัดทาโดย นายสมยศ มานพกวี รหสั ประจาตวั นกั ศกึ ษา 36 เอกสารฉบบั นเ้ี ป็นส่วนหนง่ึ ของการศึกษาอบรม หลักสูตร นกั บรหิ ารงานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั (นบ.ปภ.) รุ่นท่ี 10 วิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

-ก- คานา ปัจจุบันสถานการณ์ภัยพิบัติทางธรรมชาติเกิดขึ้นอย่างรุนแรงและต่อเน่ืองท่ัวโลก ท้ังวาตภัย อุทกภัย ภยั แลง้ พายฝุ นฟาู คะนอง คลน่ื พายซุ ดั ฝ่ัง แผน่ ดินไหว ไฟปาุ และดนิ ถลม่ ซึ่งมีสาเหตุสาคัญจากปัญหาภาวะ โลกร้อน (Global Warming) รวมทั้งประเทศไทยที่ได้รับผลกระทบดังกล่าว เช่น สถิติของการเกิดภัยพิบัติท่ี เก่ียวกับอุทกภัยและดินถล่มในเดือนมกราคม พ.ศ. 2553 ถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2555 เกิดอุทกภัยและ โคลนถล่ม จานวน 6 คร้ัง พื้นท่ีประสบภัยรวม 65 จังหวัด (394 อาเภอ 2,130 ตาบล 12,848 หมู่บ้าน) มี ราษฎรเสียชีวิต 113 คน ทรพั ยส์ ินเสียหายเบอ้ื งตน้ ประมาณ 7,600 ล้านบาท ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเป็นปัญหาที่ มคี วามเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนเป็น จานวนมาก โดยท่ัวไปสาเหตุหลักของการเกิดน้า หลากหรอื นา้ ทว่ มฉบั พลันมาจากสาเหตุ 2 ประการ คือ จากธรรมชาติ เช่น ฝนตกหนัก ช่วงเวลาฝนตกนาน ลาน้าไมส่ ามารถรับน้าไดแ้ ละจากมนุษยชาติ เชน่ การเปลีย่ นแปลงสภาพพนื้ ที่ การบรหิ ารจดั การ ในพื้นที่เขตอาเภอแม่พริก จังหวัดลาปาง ซ่ึงจัดว่าเป็นพื้นที่เส่ียงต่อน้าท่วมฉับพลัน น้าปุา ไหลหลาก และดินโคลนถล่ม เนื่องจากในพื้นท่ีของอาเภอแม่พริกเป็นพ้ืนที่สูง มีความลาดชันมาก ปุาไม้มี ปริมาณลดลง การพังทลายของดินสูง ประชาชนที่อาศัยอยู่ในพ้ืนที่ดังกล่าว จึงควรระมัดระวัง เป็นพิเศษ ดังนั้น การปูองกันการเกิดอุทกภัยและดินโคลนถล่มจึงเป็นเร่ืองสาคัญและจาเป็นเร่งด่วน เพื่อเป็นการ ปูองกันและลดการสญู เสยี ชีวติ และทรพั ยส์ ินของประชาชนท่ีอาศัยอยใู่ นบรเิ วณนัน้ โดยท่วั ไปน้ันการแก้ปัญหา ในเร่ือง น้าปุาไหลหลาก ดินโคลนถล่มจะมีอยู่ 2 มาตรการ มาตรการแรกเป็นการ ใช้ส่ิงก่อสร้าง เพื่อ ชะลอการเกิดหรือยับย้ังความรุนแรง เช่น ในกรณีของการสร้างเขื่อน ฝาย หรือโครงสร้างอื่น สาหรับอีก มาตรการหน่ึงเป็นมาตรการที่ไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง เช่น ระบบทานายและเตือนภัย ระบบการจัดการในพื้นท่ีเส่ียง ภยั เปน็ ตน้ อย่างไรกต็ ามการใช้โครงสรา้ งตามมาตรการแรกสาหรับภัยธรรมชาติลักษณะน้ีมักจะทาได้ค่อนข้าง ลาบาก เนอื่ งจากไม่สามารถจัดหาสถานท่ีรวมท้ังต้องใช้งบประมาณมหาศาล ดังน้ัน การใช้ระบบทานายและ เตอื นภัยร่วมกบั ระบบการจัดการในพ้ืนท่ีจงึ เปน็ วธิ กี ารที่เหมาะสมและมีประสทิ ธิภาพ นายสมยศ มานพกวี มีนาคม 2557

-ข- กติ ติกรรมประกาศ เอกสารงานวิจัยส่วนบุคคลน้ีสาเร็จลุล่วงด้วยดี เพราะได้รับความเมตตาและความกรุณาให้ คาแนะนาจากบุคคลหลายท่าน ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณมา ณ โอกาสน้ี คือ อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ วรช พร เพชรสุวรรณ ดร.ปิยวัตร์ ขนิษฐบุตร นางสาวลักขณา มนิมนากร ผู้อานวยการวิทยาลัยปูองกันและ บรรเทาสาธารณภัย และผู้อานวยการโครงการฝึกอบรม ดร.วิจารณ์ เหล่าธรรมย่ิงยง ที่ได้ให้คาแนะนาแนว ทางการเขียนงานวิจัย แก้ไขผลงานช้ินน้ีจนสาเร็จ และให้การสนับสนุนด้วยดี ตลอดมา และขอขอบคุณผู้ให้ ขอ้ มูลจากการสัมภาษณ์ และศูนยป์ อู งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เขต 10 ลาปาง ที่กรุณาให้ข้อมูลผู้วิจัยหวัง ว่าผลงานวจิ ัยฉบบั นจ้ี ะเป็นประโยชน์ตอ่ การแนวทางการปูองกนั อทุ กภัยและโคลนถล่มเพื่อความปลอดภัยของ ประชาชนในอาเภอแม่พริก เพื่อลดความสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน พร้อมท้ังลดผลกระทบที่ เกดิ ขน้ึ จากอทุ กภยั และโคลนถล่ม หากมขี ้อบกพรอ่ ง หรือผดิ พลาดประการใด ผู้วิจัยขอน้อมรับและจะได้นาไป แก้ไขให้เกิดความสมบรู ณย์ ่ิงขึ้นในโอกาสต่อไป นายสมยศ มานพกวี

-ค- บทสรุปผ้บู ริหาร การศึกษา เรื่อง แนว ทางการปูองกันอุทกภัยและโ คลนถล่มเพื่อคว ามปลอดภัยของ ประชาชนในอาเภอแม่พริก จังหวัดลาปาง โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาสภาพโดยทั่วไป วิธีการ แนวทาง ปูองกนั อทุ กภัยและโคลนถลม่ ในพนื้ ที่อาเภอแม่พริก จงั หวัดลาปาง จากผลการวิจัย พบว่า สภาพภูมิประเทศ เป็นที่มาของปัญหา ปัจจัยที่เก่ียวข้องในการเกิด อุทกภัยและโคลนถล่มเพ่ือศึกษาศักยภาพและวิธีการปูองกันอุทกภัยโคลนถล่มของดินที่ปูองกันในอาเภอแม่ พริก เพื่อเป็นข้อมูลหาแนวทางวิธีการปูองกันอุทกภัยและโคลนถล่มในอาเภอแม่พริก ทาให้ทราบถึงสภาพ พ้ืนท่ีส่วนใหญ่เป็นที่สูง ประชาชนอาศัยอยู่ในที่ลุ่มแอ่งกระทะปากน้าตะกอน ศักยภาพและวิธีการปูองกัน อทุ กภัยและโคลนถลม่ ของหน่วยงานราชการทเี่ กี่ยวข้อง รวมทั้งแนวทางวิธีการปูองกันอุทกภัยและโคลนถล่ม ในเขตพ้นื ทอี่ าเภอแมพ่ รกิ จงั หวัดลาปาง การปูองกันอุทกภัยและโคลนถล่ม เพื่อความปลอดภัยของประชาชน ในเขตอาเภอ แม่ พริก จงั หวัดลาปาง มปี ัจจยั ทีเ่ ก่ยี วข้องในการเกิดอุทกภัยและโคลนถล่ม สาเหตุที่เกิดจากธรรมชาติ ลักษณะ ทางภูมิศาสตร์ของพื้นท่ีการเกิดน้าปุาไหลหลากน้าท่วมฉับพลันเกิดจากการที่ฝนตกหนักเหนือบริเวณภูเขา อย่างต่อเนื่อง มีจานวนน้าสะสมมากจนพ้ืนดินและต้นไม้ดูดซับ ไม่ไหวจึงไหลบ่าลงสู่ที่ราบต่าอย่าง รวดเร็ว สาหรับดินถล่ม-โคลนถล่ม เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติ ของการสึกกร่อน ก่อให้เกิดความเสียหายต่อ บริเวณพ้ืนที่ ท่ีเป็นเนินสูงหรือภูเขาที่มีความลาดชันมาก โดยสาเหตุใหญ่มาจากการท่ีพื้นท่ีหรือดินบริเวณนั้น ขาดสมดุลการทรงตัว ทาให้เกิดการเคล่ือนตัวของ องค์ประกอบธรณีวิทยาบริเวณนั้น ๆ โดยเฉพาะเวลาที่เกิด น้าปุาไหลหลาก สาเหตุที่เกิดจากการกระทาของมนุษย์ การลักลอบตัดไม้ทาลายปุา เพราะ กลไกการเกิดดิน โคลนถล่ม เกิดจากการท่ีฝนกระหน่าลงมาอย่างหนักบนภูเขาท่ีมีการตัดไม้ทาลายปุาทาให้ดินอุ้มน้า ไม่ได้มาก ไม่มีรากต้นไม้ คอยยึดเกาะเอาไว้ การทาไร่เล่ือนลอยบนภูเขา ทาให้สภาพดินต้องเสียไป เม่ือฝนตกหนักนาน ๆ ดินบนภูเขานั้นอ่ิมน้าและไถลลงมาตามลาดเขานาเอาตะกอนดิน, ก้อนหิน, ซากไม้ล้ม ท่อนซุงลงมาด้วย ย่ิงทวีความรุนแรงในการสร้างสิ่งก่อสร้างเพื่อปูองกันน้าท่วมในอาเภอ แม่พริก สามารถปูองกันได้โดยการใช้ โครงสร้าง การสร้างอ่างเก็บน้า เพื่อปูองกันน้าท่วม ทาอ่างฝายเพ่ือเพิ่มแก้มลิงกักเก็บน้าและชะลอการไหล ของน้า การขุดลอกคุคลองเพื่อให้น้าจากลาน้าสาขาไหลลงสู่แม่น้าสายหลักได้สะดวกและรวดเร็วท่ีสุด ก่อสร้างอ่างเก็บน้าขนาดเล็ก กระจายตามพื้นที่ที่เหมาะสมทาโครงสร้างปูองกันแนวโคลนถล่มโดยการปลูก ตน้ ไมใ้ หญ่สรา้ งแนวกันคอนกรตี ในพ้ืนทข่ี อง ลานา้ จดั ใหม้ ีการกอ่ สรา้ งแนวกันตลง่ิ พงั

-ง- หน้า ก สารบัญ ข ค คานา ง กิตติกรรมประกาศ 1 บทสรุปผู้บรหิ าร 1 สารบญั 2 บทท่ี 1 บทนา 3 4 ความเป็นมาและความสาคญั ของปญั หา 4 วัตถปุ ระสงค์ของการศึกษา 7 ขอบเขตของการศึกษา 7 ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะไดร้ บั จากการศกึ ษา 9 นิยามศัพท์เฉพาะ 10 บทท่ี 2 แนวคิดทฤษฎีและงานวิจยั ท่ีเก่ียวข้อง 12 การเกิดอทุ กภยั และสาเหตุ 13 การเกิดโคลนถลม่ และสาเหตุ 15 การศึกษาลักษณะภูมปิ ระเทศจากแผนที่ 1 : 50000 และแผนทีด่ าวเทยี ม 15 การปอู งกนั และลดผลกระทบจากอทุ กภัยและโคลนถล่มด้วยวิธีการใชโ้ ครงสร้าง 17 การปอู งกนั และลดผลกระทบจากอทุ กภยั และโคลนถลม่ ดว้ ยภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ การแจ้งเตอื นภยั และการเฝาู ระวังการเกิดอุทกภยั และโคลนถลม่ 19 การประชาสัมพันธ์ข่าวสารดา้ นสาธารณภยั 21 การซ้อมแผนปูองกันและบรรเทาสาธารณภยั จังหวัดลาปาง คร้งั ท่ี 2/2552 (ซอ้ ม 23 แผนการปูองกนั และแก้ไขปัญหาการเกดิ อุทกภยั นา้ ปาุ ไหลหลาก และดินถล่ม) 23 งานวจิ ยั ทเี่ ก่ียวข้อง 23 กรอบแนวคดิ ในการศกึ ษา 24 บทที่ 3 ระเบยี บวิธกี ารศึกษาวิจยั 24 รปู แบบของการศึกษา ผ้ใู ห้ขอ้ มลู เครือ่ งมือท่ีใชใ้ นการศกึ ษาวจิ ัย วธิ กี ารเก็บข้อมูล และห้วงเวลา

-จ- หนา้ สารบัญ 24 25 การวเิ คราะห์ขอ้ มูล 25 บทที่ 4 การวเิ คราะห์ผลการศกึ ษาวิจยั 29 33 การจดั การสภาพภูมิประเทศและวธิ ีการเตอื นภยั 37 การจดั การด้านส่ิงก่อสรา้ งเพ่ือการปูองกนั 43 การกาหนดแนวทางการปูองกัน 45 บทบาท หน้าท่รี บั ผดิ ชอบ การจดั การความร่วมมอื ระหว่างหนว่ ยงานราชการ 45 วเิ คราะหจ์ ากคาตอบที่ได้จากการสมั ภาษณ์ 46 บทที่ 5 สรปุ อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ 47 สรุปผลการศกึ ษา 47 อภปิ รายผลการศกึ ษา ข้อเสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะสาหรบั งานวจิ ยั ครัง้ ต่อไป บรรณานกุ รม ภาคผนวก

บทท1ี่ บทนา ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หา ปัจจุบนั สถานการณภ์ ยั พบิ ัตทิ างธรรมชาติเกิดขน้ึ อย่างรุนแรงและต่อเนื่องท่ัวโลก ท้ังวาตภัย อุทกภัย ภยั แล้ง พายุฝนฟาู คะนอง คล่นื พายซุ ดั ฝัง่ แผน่ ดนิ ไหว ไฟปาุ และดินถลม่ ซ่ึงมีสาเหตุสาคัญจากปัญหาภาวะ โลกร้อน (Global Warming) รวมท้ังประเทศไทยที่ได้รับผลกระทบดังกล่าว เช่น สถิติของการเกิดภัยพิบัติที่ เกย่ี วกบั อทุ กภัยและดินถลม่ ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2553 ถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2555 เกิดอุทกภัยและ โคลนถล่ม จานวน 6 คร้ัง พ้ืนที่ประสบภัยรวม 65 จังหวัด (394 อาเภอ 2,130 ตาบล 12,848 หมู่บ้าน) มี ราษฎรเสียชีวิต 113 คน ทรัพย์สินเสียหายเบื้องต้น ประมาณ 7,600 ล้านบาท และมีการจ่ายเงินช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพ่ือช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณี ฉุกเฉิน พ.ศ. 2546 กว่า 5,400 ล้านบาท ซ่ึงอาจกล่าวได้ว่าเป็นปัญหาที่มีความเสียหายต่อชีวิตและ ทรพั ย์สินของประชาชนเปน็ จานวนมาก โดยท่ัวไปสาเหตุหลักของการเกิดน้าหลากหรือน้าท่วมฉับพลันมาจาก สาเหตุ 2 ประการ คือ จากธรรมชาติ เช่น ฝนตกหนัก ช่วงเวลาฝนตกนาน ลาน้าไม่สามารถรับน้าได้และ จากมนุษยชาติ เช่น การเปล่ียนแปลงสภาพพื้นท่ี การบริหารจัดการ ยกตัวอย่างเช่น กรณีการเกิดน้าท่วม เฉยี บพลันในเขตพื้นท่ีลมุ่ นา้ ก้อ เมื่อพิจารณาจากปริมาณฝนท่ีบริเวณต้นน้าเหนืออาเภอหล่มสัก ซ่ึงได้จากการ เฉล่ียข้อมูลบริเวณอาเภอภูหลวง อาเภอวังสะพุง จังหวัดเลย และบริเวณอาเภอนครไทย อาเภอชาติ ตระการ จังหวัดพษิ ณุโลก พบวา่ ในรอบ 5 วันก่อนเกิดเหตุมีปริมาณฝนเพียง 200 ม.ม. ซึ่งเม่ือนามาแปลงเป็น นา้ ทา่ สาหรบั ลมุ่ นา้ กอ้ จะมนี า้ ทา่ ประมาณ 10 ลูกบาศกเ์ มตร/วินาที ประกอบกับลาน้าก้อน่าจะสามารถ รับน้าได้ ดังนั้นเหตุการณ์ ในคร้ังนี้จึงน่าจะมาจากการกระทาของมนุษย์ที่มีการเปล่ียนแปลงสภาพที่ดินทากิน การตัดไม้ทาลายปุาต้นน้า การบุกรุกสภาพปุาไม้เชิงเขาก่อให้เกิดผลกระทบที่รุนแรง ซ่ึงอย่างน้อยก็ทาให้ยอด น้ามาเร็วข้ึน แรงข้ึน สามารถชะล้างหน้าดินให้พังทลาย แม้ว่าจะมีปริมาณฝนไม่มากนัก การเปลี่ยนแปลง สภาพภมู ปิ ระเทศดงั กล่าวยงั ทาให้มนี ้าท่วมมากขึ้น 30-40 % จากสภาพเดิม คงต้องยอมรับอย่างเปิดเผยว่า ระบบทานายและเตือนภัยในประเทศไทยยังไม่มีประสิทธิภาพ ทั้งน้ีมิได้หมายความว่าไม่มีเคร่ืองมือท่ีทันสมัย ระบบทานายและเตือนภยั ของกรมอตุ ุนยิ มวทิ ยามีแต่ Super Computer ขาด \"Software\" ซ่ึงในที่นี้หมายถึง การบริหารและจัดการ อดีตท่ีผ่านมามีเหตุการณ์น้าท่วมหลายครั้ง มีระบบการบริหารและการจัดการโดยมี หน่วยงานราชการ 32 หน่วยงานที่รับผิดชอบเร่ืองท่ีเกี่ยวกับน้า เอกภาพในการทางานของแต่ละหน่วยงาน ซ่ึงส่ิงตา่ งๆ เหล่านเ้ี ป็นปญั หาของการบรหิ ารและจัดการ โดยรัฐบาลคงจะต้องให้ความสนใจมากขึ้น การที่ไม่มี ขอ้ มลู ทางดา้ นอุทกวทิ ยาและขอ้ มลู ทางดา้ นปฐพี จงึ เปน็ ไปได้ยากทจี่ ะสรา้ งระบบเตอื นภยั ที่มีประสทิ ธภิ าพได้

-2- ลกั ษณะของพน้ื ที่เส่ียงภัยดินถล่ม มักเป็นพื้นที่ท่ีอยู่ตามลาดเชิงเขา หรือบริเวณที่ลุ่มท่ีติดอยู่ กบั ภเู ขาสงู ทีม่ กี ารพงั ทลายของดินสูง หรือสภาพพ้ืนท่ีต้นน้าที่มีการทาลายปุาไม้สูง นอกจากน้ันในบางพ้ืนที่อาจ เปน็ บริเวณภูเขาหรอื หน้าผาทเ่ี ปน็ หนิ ผุพังงา่ ย ซงึ่ มักกอ่ ใหเ้ กิดเปน็ ชนั้ ดนิ หนา โดยเฉพาะอย่างย่ิงในบริเวณที่หิน รองรบั ช้ันดินน้ัน มีความเอยี งเทสงู และเป็นช้นั หนิ ท่ีไม่ยอมให้น้าซึมผา่ นไดส้ ะดวก ลักษณะดังกล่าวทั้งหมดพบ ได้ทั่วไปในประเทศไทย ซ่ึงขณะนี้กรมทรัพยากรธรณีกาลังทาการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูล สารวจเก็บข้อมูลทาง ธรณีวิทยาและสภาพแวดล้อมของพน้ื ทีเ่ บ้ืองตน้ และรวบรวมขอ้ มูลจากแหลง่ ขอ้ มูลอ่นื พบว่าใน 51 จังหวัดท่ัว ประเทศไทย ซึ่งมีลักษณะพ้ืนที่เส่ียงภัยต่อ ดินถล่ม อยู่บริเวณลาดเชิงเขาและที่ลุ่มใกล้เขา โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งหมู่บ้านที่ต้ังอยู่ในบริเวณดังกล่าวมีความเส่ียงภัยต่อดินถล่มมาก เนื่องจากเม่ือมีพายุ ฝนตกหนักต่อเน่ือง จะทาใหเ้ กดิ นา้ ทว่ มฉับพลัน น้าปุาไหลหลาก และดินถล่มตามมาได้ อาจเป็นสาเหตุให้เกิดการสูญเสียชีวิตและ ทรพั ยส์ ินของประชาชน ในพ้ืนทเ่ี ขตอาเภอแมพ่ รกิ ซ่งึ จดั ว่าเป็นพ้ืนที่เสี่ยงต่อน้าท่วมฉับพลัน น้าปุาไหลหลากและดิน โคลนถล่ม เน่ืองจากในพ้ืนท่ีของอาเภอแม่พริกเป็นพื้นท่ีสูง มีความลาดชันมาก ปุาไม้มีปริมาณลดลง การ พังทลายของดินสูง ประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ดังกล่าว จึงควรระมัดระวังเป็นพิเศษ ดังนั้น การปูองกันการ เกิดอุทกภัยและดนิ โคลนถล่มจงึ เปน็ เร่ืองสาคัญและจาเป็นเรง่ ด่วน เพ่ือเป็นการปูองกันและลดการสูญเสียชีวิต และทรัพยส์ ินของประชาชนท่ีอาศัยอยูใ่ นบริเวณน้ัน โดยท่ัวไปน้ันการแก้ปัญหาในเรื่อง น้าปุาไหลหลาก ดิน โคลนถลม่ จะมีอยู่ 2 มาตรการ มาตรการแรกเป็นการใช้ส่ิงก่อสร้าง เพื่อชะลอการเกิดหรือยับยั้งความรุนแรง เช่น ในกรณีของการสร้างเข่ือน ฝาย หรือโครงสร้างอื่น สาหรับอีกมาตรการหนึ่งเป็นมาตรการท่ีไม่ใช้ สิ่งก่อสร้าง เช่น ระบบทานายและเตือนภัย ระบบการจัดการในพ้ืนที่เส่ียงภัยเป็นต้น อย่างไรก็ตามการใช้ โครงสร้างตามมาตรการแรกสาหรับภัยธรรมชาติลักษณะน้ีมักจะทาได้ค่อนข้างลาบาก เนื่องจากไม่สามารถ จัดหาสถานท่ีรวมทั้งต้องใช้งบประมาณมหาศาล ดังน้ันการใช้ระบบทานายและเตือนภัยร่วมกับระบบการ จัดการในพื้นท่ีจึงเป็นวิธีการที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาเร่ืองวิธีการปูองกันอุทกภัย และโคลนถล่ม ในพนื้ ทอี่ าเภอแมพ่ รกิ วตั ถุประสงคข์ องการศึกษา 1. เพ่ือศกึ ษาสภาพโดยท่ัวไปท่ีเกี่ยวข้อง ในการเกิดอุทกภัยและโคลนถล่มในพื้นที่อาเภอแม่ พรกิ จงั หวดั ลาปาง 2. เพ่ือศึกษาศักยภาพและวิธีการปูองกันอุทกภัยและโคลนถล่มของศูนย์ปูองกันและบรรเทา สาธารณภยั เขต 10 ลาปาง ในพน้ื ทีอ่ าเภอแม่พรกิ 3.เพ่อื ศึกษาแนวทางในการปูองกนั อุทกภัยและดนิ โคลนถล่มในพนื้ ที่อาเภอแม่พริก พร้อม ทั้งเป็นข้อมูลหาแนวทางวิธีการปูองกันอุทกภัยและดินโคลนถล่มในพ้ืนท่ี อาเภอแมพ่ ริก

-3- ขอบเขตของการศึกษา ในการศึกษาวิจัยคร้ังนี้ เป็นการศึกษาตามกรอบที่มุ่งถึงการปูองกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัย และดนิ โคลนถล่ม เพอ่ื เปน็ แนวทางในการเตรยี มการปูองกนั และการประสานการปฏิบัติงานระหว่างหน่วยงาน ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ท้ังหน่วยปฏิบัติการหลักและหน่วยร่วมปฏิบัติการ เพ่ือให้สามารถดาเนินการปูองกันและ แก้ไขปัญหาอุทกภัยและดินโคลนถล่มได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ การกาหนดหน้าท่ีความ รบั ผิดชอบของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องไว้ให้พร้อมต่อการปฏิบัติงาน ในระยะก่อนเกิดภัยพิบัติ ขณะเกิดภัยพิบัติ และภายหลงั ทภี่ ยั พบิ ตั ิผา่ นไปแลว้ โดยม่งุ เนน้ ไปยงั เจา้ หน้าทีซ่ งึ่ ปฏิบัติงานจริง ณ ศูนยป์ ูองกันและบรรเทา สาธารณภัย เขต 10 ลาปาง สาหรับการศึกษาครั้งน้ีผู้ทาวิจัยได้ทาการสัมภาษณ์เพ่ือเก็บข้อมูลเชิงลึกกับ บคุ ลากรของ กรมปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย เจา้ หนา้ ท่ีองค์การบริหารส่วนตาบลแม่พริกและประชาชน จานวน 10 คน พ้นื ที่การศกึ ษา ในการศึกษาคร้ังนผี้ วู้ จิ ยั ได้ใช้พื้นทบี่ ้านหว้ ยขน้ี ก บา้ นวงั สาราญ บา้ นปางยาว บา้ นแพะดอนเข็ม ตาบลแม่พริก อาเภอแม่พริก จงั หวัดลาปาง ซึ่งอาเภอแม่พริกตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใตข้ องจงั หวดั ลาปาง พิกัด 17°26′54″N 99°6′54″E / 17.44833°N 99.115°E / 17.44833; 99.115 พ้นื ท่ี 538.921 ตร.กม. ประชากร 16,943 คน (พ.ศ. 2550) อาเภอแมพ่ ริกแบง่ พนื้ ท่ีการปกครองออกเป็น 4 ตาบล 27 หมู่บา้ น ไดแ้ ก่ 1.แม่พริก(Mae Phrik) 10 หมู่บา้ น 2.ผาปงั (Pha Pang) 5 หมู่บ้าน 3.แม่ปุ(Mae Pu) 6 หมู่บ้าน 4.พระบาทวังตวง(Phra Bat Wang Tuang) 6 หมูบ่ า้ น ขอบเขตดา้ นประชากร ประชากรที่ผู้วิจัยทาการศึกษาในกรณนี ี้ คือ บุคลากรผู้ปฏบิ ตั งิ าน ณ ศูนย์ปูองกันและ บรรเทาสาธารณภยั เขต 10 ลาปาง

-4- ขอบเขตด้านระยะเวลา ในชว่ งระยะเวลาตัง้ แตเ่ ดอื น มกราคม – มนี าคม 2557 ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะได้รบั จากการศึกษา 1. ทราบถงึ สภาพภมู ิประเทศที่มาของปัญหา ปจั จัยทม่ี ผี ลต่อการเกิดอุทกภยั และโคลนถล่ม 2. ทราบถึงศักยภาพและวิธีการปูองกันอุทกภัยและโคลนถล่มของศูนย์ปูองกันและบรรเทา สาธารณภยั เขต 10 ลาปาง ในพ้ืนทอ่ี าเภอแมพ่ ริก 3. เพ่ือเป็นข้อมูลพร้อมท้ังใช้เป็นแนวทางในการปูองกันอุทกภัยและดินโคลนถล่มในพื้นท่ี อาเภอแม่พริก 4. เพื่อนาข้อมูลและวิธีการที่ได้ นาไปใช้ยังศูนย์ปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 10 ลาปาง , เทศบาลตาบลแม่พรกิ นิยามศพั ท์เฉพาะ การป้องกัน หมายถึงการดาเนินการใดๆเพือ่ หยุดการเกดิ ปูองกนั การเกดิ หรอื ลดโอกาส ไมใ่ ห้สงิ่ หน่ึงสงิ่ ใดเกดิ ข้นึ มา เปน็ มาตรการและกิจกรรมท่ดี าเนินการก่อนท่ีจะเกิดภัย การเอาตัวรอดจาก เหตุการณท์ ่ีเป็นภัยต่อตวั เองในเหตุการณ์รา้ ย ก็ต้องหาวิธีปอู งกันเพ่ือความอย่รู อดปลอดภยั นา้ ฝน น้าเป็นทรพั ยากรธรรมชาติที่ได้รับจากฝนท่ีตกเป็นประจาทุกปี บางปีมากบางปีน้อย ดงั นัน้ ในบางปปี ระเทศไทยจงึ ตอ้ งประสบกับปญั หาภยั แล้งในปที ่มี ฝี นนอ้ ยและตรงกันข้ามในบางปีหรือบางช่วง ฝนตกมากก็อาจเกิดอุทกภัยทาให้เกิดน้าท่วมได้ โดยเฉพาะในช่วงท่ีมีฝนตกหนักติดต่อกันหล าย รวม ระยะเวลาช่วงฤดฝู นยาวประมาณ 5 เดอื น ฝนที่ตกสามารถแบ่งเป็น 2 ชนดิ คือ 1. ฝนจากลมประจาฤดกู าล ได้แก่ 1.1 ลมมรสมุ ตะวันออกเฉียงเหนือ มีความสัมพันธ์กับฤดูหนาวทางซีกโลกเหนือโดยปกติ จะเริ่มพัดอย่างชัดเจนในราวเดือนตุลาคม ซึ่งเป็นช่วงต่อระหว่างฤดูฝนกับฤดูหนาวไปจนถึงกลางเดือน กุมภาพันธ์ ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือน้ีมีแหล่งกาเนิดแถบไซบีเรีย ถึงแม้ว่าจะเป็นลมเย็นและแห้งแต่เม่ือ ลมนพ้ี ัดผา่ นพน้ื น้ามาจะมคี วามชมุ่ ชนื้ ปรากฏอยูบ่ า้ ง ดงั นัน้ เม่อื ลมนผี้ ัดเขา้ ฝ่ังอาจทาใหฝ้ นตกขึน้ ได้ 1.2 ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ เป็นลมที่พัดอยู่ในช่วงท่ีซีกโลกเหนือเป็นฤดูร้อนมี แหล่งกาเนิดจากบริเวณความกดอากาศสูงในซีกโลกใต้ในมหาสมุทรอินเดีย จะเร่ิมพัดตั้งแต่กลางเดือน

-5- พฤษภาคมไปจนถึงปลายเดือนกันยายน หรือต้นเดือนตุลาคม เนื่องจากลมนี้เป็นลมร้อนและพัดผ่านพื้นน้าท่ี กว้างใหญ่ จึงทาให้มเี มฆมากและฝนตกเปน็ บรเิ วณกว้าง 2. ฝนจากลมจรหรือพายุหมุน พายุหมุน(Cyclonic Storm) ท่ีมีอิทธิพลต่อประเทศไทยน้ันมีแหล่งกาเนิด ท้ัง ทางด้านตะวันออกและตะวนั ตกของประเทศ สาหรับด้านตะวันออกเป็นพายุหมุน ที่มีอิทธิพลต่อลมฟูาอากาศ ของประเทศไทยมาก มแี หลง่ กาเนดิ 2 แหล่งคอื ในมหาสมุทรแปซฟิ ิกและทะเลจีน พายุหมุนท่ีเกิดบริเวณนี้จะ มชี อ่ื เรียกตามขนาด ความเร็วลมใกล้ศนู ยก์ ลางแบง่ เปน็ 3 ระดบั คือ 2.1 พายดุ เี ปรสช่นั ( Depression) ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุ อยู่ระหว่าง 27-33 นอต หรอื ประมาณ 48-60 กโิ ลเมตรตอ่ ช่ัวโมง 2.2 พายโุ ซนร้อน ( Tropical Storm ) ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุ อยู่ระหว่าง 34-63 นอต หรือประมาณ 61-115 กโิ ลเมตรตอ่ ชว่ั โมง 2.3 พายใุ ต้ฝุน ( Typhoon ) ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุ อยู่ระหว่าง 64 นอต หรือสูง กวา่ 116 กิโลเมตรตอ่ ช่ัวโมง การไหลของน้า น้าที่มีคุณภาพดีทั้งด้านกายภาพ เคมี ชีวภาพ มีปริมาณการไหลสม่าเสมอ ตลอดเวลา นอกจากจะเป็นผลดีในด้านการอุปโภค บริโภคแล้วยังเป็นผลดีในด้านส่ิงแวดล้อม คือจะสามารถ ควบคมุ การพังทลายของดิน และสมดุลธรรมชาติไม่ให้เกิดอุทกภัย หรือภาวะแห้งแล้ง ช่วยให้ ระบบต่างๆ ใน สิ่งแวดล้อมนน้ั ๆ ดาเนินไปดว้ ยดี (เกษม จนั ทร์แกว้ 2526, หนา้ ก) อุทกภัย (Floods) คือ ภัยท่เี กดิ ขึ้นเน่ืองจากมนี ้าเปน็ สาเหตุ อาจจะเป็นนา้ ทว่ ม นา้ ปาุ หรือ อน่ื ๆ โดยปกติ อุทกภยั เกิดจากฝนตกหนกั ตอ่ เน่ืองกันเป็นเวลานาน บางครัง้ ทาใหเ้ กดิ แผ่นดนิ ถล่ม อาจมี สาเหตุจากพายุ หมุนเขตร้อนลมมรสุมมีกาลังแรง ร่องความกดอากาศต่ามีกาลังแรง อากาศแปรปรวน น้า ทะเลหนุน แผ่นดนิ ไหว เขื่อนพงั ทาให้เกิดอุทกภัยได้เสมอ ทาให้เกิดความเสียหายในหลายพื้นท่ีของโลกอัน ทาให้เกิดความเสียหายทั้งต่อชีวติ ทรพั ย์สินและสง่ิ แวดล้อมตามธรรมชาติ รวมไปถงึ ความเสียหายทางดา้ น เศรษฐกิจด้วย ดินถล่มโคลนถล่ม (Mud & Debris Flow) คือ การเคลื่อนที่ของมวลดินและหินลงมาตาม ลาดเขาด้วยอิทธิพลของแรงโน้มถ่วงโลก และจะมีน้าเข้ามาเก่ียวข้องในการ ทาให้มวลดินและหินเคลื่อนตัว ด้วยเสมอ ดินถล่มมักเกิดตามมาหลังจากน้าปุาไหลหลาก ในขณะท่ีเกิดพายุฝนตกหนักรุนแรงต่อเน่ือง หรือ หลงั การเกิดแผ่นดนิ ไหว จดั เปน็ ภยั พิบัตดิ นิ ถล่มชนดิ หน่งึ ทีม่ นี า้ เขา้ มาเกีย่ วข้อง สาเหตุหลักของโคลนถล่ม คือ ดินบริเวณน้ันไม่สามารถรับน้าหนักของตัวเองได้อีกต่อไปและมักเกิดพร้อมกับหรือตามมาหลังจากน้าปุาไหล หลาก เกดิ ขน้ึ ในขณะหรอื ภายหลังพายุฝนที่ทาใหเ้ กดิ ฝนตกหนักต่อเน่ืองอย่างรุนแรงกล่าวคือ เม่ือฝนตก หนัก ต่อเน่ือง น้าจะซึมลงไปในดินอย่างรวดเร็ว เมื่อถึงจุดหน่ึงดินจะอ่ิมตัวชุ่มด้วยน้า ยังผลให้น้าหนักของมวลดิน

-6- เพ่ิมขึน้ และแรงยดึ เกาะระหว่างมวลดินลดลง ระดับน้าใต้ผิวดินเพิ่มสูงข้ึนทาให้แรงต้านทานการเลื่อนไหลของ ดินลดลง จึงเกิดการเล่ือนไหลของตะกอนมวลดินและหิน ดังน้ัน โอกาสที่เกิดโคลนถล่มจึงมีมากยิ่งขึ้น การ เคล่ือนตัวของดินอาจเกิดอย่างช้าๆ หรืออย่างฉับพลัน น้าหนักของมวลดินที่ถล่มลงมามีกาลังมหาศาลที่จะ ทาลายสง่ิ ตา่ งๆ ท่ขี วางทางและกอ่ ให้เกดิ ความเสยี หายต่อชีวติ และทรัพยส์ นิ ของประชาชน Debris Flow หมายถึง โคลนถล่มทีม่ ีตะกอนท่ีไหลลงมาจะมีหลายขนาดปะปนกัน ทั้ง ตะกอนดินหิน และซากต้นไมแ้ ละมักเกิดข้นึ ตามทางนา้ เดิมที่มีอยแู่ ลว้ หรือบนรอ่ งเล็กๆ บนลาดเขา โดยมีน้าซ่งึ ส่วนใหญ่จะเป็นน้าฝนทต่ี กลงมาอย่างหนักในช่วงฤดฝู นของแต่ละพืน้ ท่ีเปน็ ตวั กลางพัดพาเอาตะกอนดนิ และหิน รวมถึงซากต้นไม้ ตน้ หญา้ ไหลมารวมกันก่อนทีจ่ ะไหลลงมากองทับถมกันบรเิ วณทรี่ าบเชงิ เขาในลักษณะของเนิน ตะกอน รูปพัดหน้าหุบเขา Mud Flow จะมีขนาดเลก็ กว่าตะกอน Debris Flow คอื ประกอบไปดว้ ยตะกอนดนิ และมี น้าเป็นส่วน ประกอบที่สาคญั (อาจสูงถึงร้อยละ 60)

บทท่ี 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยั ท่ีเกยี่ วขอ้ ง ผู้วจิ ัยไดศ้ ึกษาแนวคิด ทฤษฏี และงานวจิ ัยที่เก่ียวขอ้ ง นามาเปน็ กรอบในการศึกษาคร้ังนี้ คอื 2.1 การเกดิ อุทกภัยและสาเหตุ 2.2 การเกิดโคลนถล่มและสาเหตุ 2.3 การศึกษาสภาพภมู ปิ ระเทศจากแผนที่ 1:50000 และแผนท่ที างดาวเทียม 2.4 การปูองกันและลดผลกระทบจากอุทกภัยและดินโคลนถล่มด้วยวิธีการใช้โครงสร้างและ ไมใ่ ช้โครงสร้าง 2.5 การแจ้งเตือนภัยและการเฝูาระวงั การเกดิ อุทกภัยและดนิ โคลนถลม่ 2.6 การประชาสัมพันธ์ข่าวสารดา้ นสาธารณภยั 2.7 โครงการซอ้ มแผนปูองกนั และบรรเทาสาธารณภยั จงั หวดั ลาปาง ครง้ั ที่ 2/2555 (ซอ้ มแผนการปูองกันและแกไ้ ขปญั หาการเกดิ อทุ กภัย น้าปาุ ไหลหลาก และดนิ ถลม่ ) 2.7 งานวิจยั ทเี่ กยี่ วข้อง 2.8 กรอบแนวความคิดในการศึกษา 2.1 การเกดิ อทุ กภยั และสาเหตุ เมื่อเกดิ สภาพฝนตกหนกั ตดิ ต่อกนั ในบรเิ วณใดบรเิ วณหนึง่ ก็จะเกิดน้าท่าไหลบ่าหากปริมาณน้าที่ ไหลบ่ามีมากก็จะไหลเอ่อท่วมบริเวณน้ันซึ่งจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับลักษณะภูมิประเทศ ถ้ามีส่ิงกีดขวาง โดยเฉพาะถนนระดับน้าก็จะสูงขึ้น จนกว่าน้าที่ไหลบ่าตามผิวดินจะไหลลงสู่แม่น้าลาคลองได้หมด หรือถ้ามี ปรมิ าณมากกจ็ ะไหลบา่ ท่วมสองฝั่งลานา้ เปน็ บรเิ วณกวา้ งและยาวตามลาน้าจนกว่าจะไหลลงสู่ทะเล กล่าวไว้ว่า สภาพน้าฝนและสภาพน้าท่าเป็นตัวการสาคัญที่ทาให้เกิดอุทกภัย ( เล็ก จินดาสงวน, 2534 หน้า 83-110 ) รวมท้ังปริมาณและความหนักเบาของฝน ท่ีสูงเป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้เกิดอุทกภัยดินถล่ม (มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร,์ 2537 หนา้ 241-242 ) สาเหตุการเกิดอทุ กภยั จากปรากฏการณ์การเกิดอุทกภัยที่ผ่านมาในอดีตได้มีข้อสรุปถึงสาเหตุท่ีก่อให้เกิดอุทกภัย โดยแบง่ ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คอื

-8- 1. ลักษณะทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพของพน้ื ที่ ท่มี ผี ลตอ่ การเกดิ อทุ กภยั ไดแ้ ก่ 1.1 ฝน เนื่องจากประเทศไทยอยู่ในเขตลมมรสุมทาให้มีฝนตกสม่าเสมอทุกปีในพ้ืนที่ ทั่วไปโดยเฉพาะเดือนกันยายน ตุลาคมและพฤศจิกายน ซ่ึงเป็นช่วงฝนตกหนักสุด ก่อให้เกิดน้าท่วมได้ และ จากข้อมูลน้าฝนของกรมชลประทานและการท่าเรือพบว่าค่าเฉล่ียระดับน้าสูงสุดรายเดือนมีค่าสู งสุดในเดือน ตุลาคม – พฤศจิกายนและมคี ่าความนา่ จะเปน็ ของการเกิดนา้ ทว่ มสงู มาก ( ววิ ฒั น์ เนนิ งาม 2527, หน้า 102) 1.2 น้าเหนือไหลบ่า เร่ิมต้ังแต่ต้นน้าบริเวณทางภาคเหนือ เช่น น้าปิง วัง ยม น่าน ไหล รวมกันเป็นแม่น้าเจ้าพระยาไหลผ่านภาคกลางแล้วลงสู่อ่าวไทย ปริมาณการไหลบ่าของน้าเหนือ ข้ึนอยู่กับ ปริมาณน้าฝนประจาปี ลักษณะภูมิประเทศ และสภาพส่ิงแวดล้อมในพ้ืนท่ีน้ันๆ (ประเวช โภชนสมบูรณ์ 2527, หน้า 99 )ในพ้ืนทีจ่ งั หวัดพระนครศรอี ยุธยา ถา้ มปี รมิ าณนา้ เหนือไหลผา่ น สถานีวดั น้าที่ อาเภอบางไทร ตั้งแต่ 3000 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ข้ึนไปแสดงว่ามีโอกาสที่จะเกิดน้าท่วม ในรอบ 8 ปี ขึ้นไป ( วิวัฒน์ เนิน งาม 2527, หน้า 88 ) 1.3 น้าทะเลหนุน นับว่าเป็นธรรมชาติท่ีเกิดข้ึนทุกๆวัน แต่การหนุนของน้าทะเลเป็นส่ิง บอกเหตุอยา่ งหนงึ่ ในการทานายนา้ ล่วงหน้าว่าปีไดจะมีโอกาสน้าท่วมหรือไม่ โดยอาศัยข้อมูลทางดาราศาสตร์ เช่น อาทิตย์ขึ้น-อาทิตย์ตก จันทร์เพ็ญ – จันทร์ดับ สุริยคราส – จันทรคราส เน่ืองจากแรงดึงดูดของดาว เคราะหท์ ี่กระทาต่อโลก เช่นการโคจรซ้าที่กัน การโคจรในแนวเดียวกัน และการโคจรในแนวตรงข้าม หรือทา มมุ ในลักษณะตา่ งๆ มผี ลตอ่ การเกดิ นา้ ขน้ึ นา้ ลงโดยตรง ( ประเวช โภชนสมบูรณ์ 2527, หนา้ 100 ) 1.4 พ้ืนท่ีเป็นที่ลุ่ม พื้นท่ีบริเวณภาคกลางตอนล่างซึ่งประกอบด้วยจังหวัด พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และกรุงเทพมหานครนั้น ตั้งอยู่บนท่ีราบลุ่มสามเหลี่ยมปากแม่น้า เจา้ พระยา มีฐานตามแนวของอา่ วไทยกว้างประมาณ 120 กิโลเมตร และมีความยาวข้ึนไปทางเหนือถึงจังหวัด ชยั นาทเปน็ ระยะทางประมาณ 200 กิโลเมตร มีระดับความสูงจากระดับน้าทะเลปานกลางโดยเฉลี่ยประมาณ 1 เมตรและคอ่ ยๆเพมิ่ ความสงู ขนึ้ จนถงึ ประมาณ 15 เมตร ท่บี ริเวณจังหวัดชัยนาท 1.5 แผ่นดินทรุด เกิดจากการสูบน้าบาดาลมาใช้มากเกินไป และน้าหนักกดทับ จาก การศึกษาของนักธรรีวิทยา พบว่าถ้าสูบน้าบาดาลข้ึนมาใช้ วันละ 600,000 ลูกบาศก์เมตร จะไม่เกิดปัญหา แผ่นดินทรดุ เพราะน้าบาดาลสามารถไหลมาทดแทนได้ทนั ปัจจบุ ันชาวกรุงเทพฯและจงั หวัดใกล้เคียงมีการสูบ น้าบาดาลข้ึนมาใช้มากกว่า วันละ1,408,000 ลุกบาศก์เมตร ( สยามจดหมายเหตุ 2526, หน้า 1258-1259 ) ซ่ึงเกนิ กวา่ ศกั ยภาพของนา้ บาดาลที่มใี ห้ใช้ กอปรกับความเจริญของบ้านเมืองทั้งทางด้านสาธารณูปโภค ธุรกิจ ชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน ที่แปรเปล่ียนไปอย่างรวดเร็วทาให้มีการก่อสร้างอาคาร และมีการสูบน้า บาดาลมากข้ึน (อนุชิต โสตสถิต 2528, หน้า 3) ก่อให้เกดิ ปญั หาแผน่ ดินทรุดตามมา นอกจากนี้บางพ้ืนท่ีถูกขุด หน้าดินไปขายทาใหร้ ะดบั พนื้ ผิวตา่ กว่าระดบั เฉล่ยี โดยท่วั ไป ( ประเวช โภชนาสมบูรณ์ 2527, หน้า 99 )

-9- 2. ลักษณะทางเศรษฐกจิ และสงั คม การเปล่ียนแปลงของลกั ษณะทางเศรษฐกิจและสังคมของประชากรทีม่ ีผลต่อการเกดิ นา้ ท่วม ได้แก่ 2.1 การเพ่ิมขึ้นของประชากรอย่างรวดเร็ว โดยไม่ได้วางผังเมืองไว้รองรับการ เจริญเติบโตของเมือง การขาดการควบคุมการใช้ท่ีดิน เมื่อความต้องการพ้ืนที่เพ่ืออยู่อาศัยเพ่ิมมากขึ้นและได้ ขยายออกไปตามชานเมือง โดยบุกรุกเข้าไปยังพื้นท่ีการเกษตร ก่อให้เกิดปัญหาการใช้ท่ีดินผิดประเภท ได้แก่ การขยายพ้ืนท่ีชุมชนและอุตสาหกรรมออกไปสู่พื้นที่ที่เหมาะสมต่อการเกษตรทาให้พื้นที่เพื่อการเกษตรลดลง โดยการถมทท่ี ่ีเป็นที่ลมุ่ ซ่ึงเดิมพ้นื ทเี่ หลา่ นี้เคยเปน็ พน้ื ทรี่ องรบั นา้ ฝนและน้าเหนือในฤดูน้าหลาก 2.2 ความรเู้ ท่าไม่ถงึ การณ์ และความไมร่ บั ผิดชอบของประชาชนโดยการก่อสร้าง สิง่ กอ่ สร้างขวางกน้ั การระบายนา้ ได้แก่ เสน้ ทางคมนาคม อาคารต่างๆ การทั้งขยะมลู ฝอยลงสู่คูคลอง การ ปลูกสรา้ งอาคารและสิ่งปลูกสรา้ งอื่นรกุ ล้า ทางระบายนา้ คคู ลอง ทไี่ มไ่ ด้ใชค้ มนาคมแลว้ ทาใหม้ ีผักตบชวา หนาแน่น การถมทเ่ี พื่อปอู งกนั น้าท่วมเฉพาะราย การขยายตัวของเมืองที่แผ่ขยายไปตามเสน้ ทางคมนาคม รวมทง้ั ขนาดของท่อและโครงข่าย ทไี่ มเ่ พยี งพอและไมเ่ ช่ือมโยงกนั ( การเคหะแหง่ ชาติ 2527, หน้า 42 ) 2.2 การเกิดโคลนถลม่ และสาเหตุ เม่ือฝนตกหนกั น้าจะซึมลงไปในดนิ อยา่ งรวดเร็ว ในขณะที่ดินอมุ้ นา้ จน อ่มิ ตวั แรงยดึ เกาะระหว่างมวลดนิ จะลดลง ซง่ึ สาเหตุของการเกดิ โคลนถล่มเกิดจากหลายสาเหตุ ดงั นี้ 1) ความลาดชนั ลาดชนั ของพ้นื ท่ที มี่ ีความลาดชันสงู ทาใหเ้ กิดการเคลื่อนของมวลดินหรือดิน ถลม่ ได้ง่าย ซ่งึ จริงๆ แล้วเป็นการปรับเปลี่ยนสภาพทางธรณีวทิ ยาตามธรรมชาติไมใ่ ชส่ ่งิ แปลกใหม่ 2) การเสียกาลังรับน้าหนักของดินหรือหินเนื่องจากมีฝนเข้าไปลดกาลังของดินทาให้เกิดการ ไถลล่ืนของดินลงมา ในส่วนน้ีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์กาลังศึกษาในระดับลึกถึงพฤติกรรมของดินท่ีต่างกัน เม่ือมีปริมาณน้าในดินต่างกัน โดยสังเกตได้จากดินบางชนิดท่ีเม่ือแห้งจะมีความแข็งแต่เมื่อถูกน้าจะสลายตัว หรืออ่อนตัว 3) สาเหตทุ างธรณีวิทยาอันเน่ืองมาจากวัฏจักรของการผุสลายของหิน การเปล่ียนแปลงจาก หินกลายมาเป็นดิน หินส่วนใหญ่มีความแข็งแรงสูงเมื่อกลายมาเป็นดินความแข็งแรงต่าลงทาให้เกิดการ ปรบั เปลีย่ นสภาพภูมิประเทศตามธรรมชาตทิ ัง้ นี้ชนดิ ของหนิ จะมผี ลตอ่ การเกดิ แผ่นดนิ ถล่มอยา่ งมาก 4) สาเหตุประการต่อมา คือ การพัฒนาพ้ืนที่โดยขาดความเข้าใจเช่นการตัดไหล่ทางหรือ ภเู ขาซ่ึงทาใหค้ วามลาดชันเพม่ิ ข้ึนทาให้เกดิ แผ่นดินถลม่ 5) สาเหตุสาคัญอีกอย่าง คือ การตัดไม้ทาลายปุา เม่ือมีการตัดไม้ทาลายปุา ส่ิงท่ีเคยเป็นพืช ปกคลุมดนิ หรอื ตัวปะทะเม่อื มนี ้าฝนลงมาก็หายไปทาให้น้าสามารถชะผิวดินได้ง่ายรวมถึงซึมเข้าไปในดินทาให้

- 10 ความชน้ื หรือน้าเขา้ ไปลดกาลังของดินที่อยู่ใต้ดินลึกยิ่ง-ขึ้นทาให้โอกาสเกิดแผ่นดินถล่มสูงขึ้น อย่างไรก็ตาม ถ้า มีต้นไม้ รากของต้นไม้จะช่วยยึดผิวดินไว้ในเบ้ืองต้น การยึดผิวดินทาให้หน้าดินไม่ถูกชะล้างออกไป หรือเกิด การพงั ทลาย 6) ปริมาณน้าฝนท่ีมากเกินไป ถ้ามีเหตุการณ์ฝนตกหนักแม้ว่าจะมีพืชปกคลุมดินอย่าง หนาแนน่ แตฝ่ นทีส่ ะสมมานานสามารถท่ีจะซึมเข้าไปภายใต้ดิน บางส่วนจะถูกไหลชะล้างออกไปตามผิวดินแต่ บางส่วนจะถูกซึมเขา้ ไปใตด้ ินเน่ืองจากปริมาณน้าฝนมีปริมาณมาก การลดกาลังของดินเมื่อมีน้าเข้าไปหล่อล่ืน ทาใหเ้ กดิ การพงั ทลายไดเ้ ช่นกัน 2.3 การศกึ ษาลกั ษณะภูมิประเทศจากแผนท่ี 1 : 50000 และแผนท่ดี าวเทยี ม ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System นิยมย่อว่า GIS) คือ กระบวนการทางานเก่ียวกับข้อมูลในเชิงพ้ืนที่ (spatial data) ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยการกาหนดข้อมูล เชิงบรรยาย (attribute data) และสารสนเทศ เช่น ท่ีอยู่ บ้านเลขท่ี ท่ีมีความสัมพันธ์กับตาแหน่งในเชิงพ้ืนที่ เช่น ตาแหน่ง เส้นรุ้ง เส้นแวง ในรูปของ ตารางข้อมูล และ ฐานข้อมูลระบบ GIS ประกอบไปด้วยชุดของ เครื่องมือที่มีความสามารถในการเก็บรวบรวม รักษาและการค้นข้อมูล เพื่อจัดเตรียม ปรับแต่ง วิเคราะห์และ การแสดงผลข้อมูลเชิงพ้ืนที่ เพื่อให้สอดคล้องตามวัตถุประสงค์การใช้งาน ซึ่งรูปแบบและความสัมพันธ์ของ ข้อมูลเชิงพ้ืนที่ท้ังหลาย จะสามารถนามาวิเคราะห์ด้วย GIS ให้ส่ือความหมายในเร่ืองการเปล่ียนแปลงที่ สัมพันธ์กบั ชว่ งเวลาได้ ใชเ้ ปน็ เช่น  การแพร่ขยายของโรคระบาด  การเคล่ือนย้ายถน่ิ ฐาน  การบุกรุกทาลาย  การเปลีย่ นแปลงของการใชพ้ ้ืนที่ ขอ้ มลู เหล่านี้ เมื่อปรากฏบนแผนที่ทาให้สามารถแปล สื่อความหมาย และนาไปใช้งานได้ง่ายข้อมูลใน GIS ทงั้ ข้อมูลเชิงพื้นทแ่ี ละข้อมูลเชงิ บรรยาย สามารถอ้างอิงถึงตาแหน่งทม่ี อี ยูจ่ ริงบนพื้นโลกได้โดยอาศัยระบบ พิกัดทางภูมิศาสตร์ (geocode) ซ่ึงจะสามารถอ้างอิงได้ท้ังทางตรงและทางอ้อม ข้อมูลใน GIS ท่ีอ้างอิงกับ พนื้ ผิวโลกโดยตรง หมายถึง ข้อมูลท่ีมีค่าพิกัดหรือมีตาแหน่งจริงบนพ้ืนโลกหรือในแผนท่ี เช่น ตาแหน่งอาคาร ถนน ฯลฯ สาหรับข้อมูล GIS ที่จะอ้างอิงกับข้อมูลบนพื้นโลกได้โดยทางอ้อมได้แก่ ข้อมูลของบ้าน (รวมถึง บา้ นเลขท่ี ซอย เขต แขวง จังหวัด และรหัสไปรษณีย์) โดยจากข้อมูลที่อยู่ เราสามารถทราบได้ว่าบ้านหลังน้ีมี ตาแหนง่ อยู่ ณ ท่ใี ดบนพ้ืนโลก เนื่องจากบา้ นทกุ หลังจะมีที่อยไู่ มซ่ ้ากัน

- 11 - ภาพประกอบท่ี 1 แผนที่ 1:50,000 ของพื้นท่ีเขตอาเภอแมพ่ ริก ทม่ี า : กรมแผน่ ที่ทหาร ระวาง 4843 IV

- 12 2.4 การป้องกันและลดผลกระทบจากอทุ ก-ภัยและโคลนถลม่ ด้วยวิธีการใชโ้ ครงสร้าง 1) ปรับปรุงลาดไหล่เขาบริเวณใกล้ชุมชนและใกล้เส้นทางคมนาคมให้มีความมั่นคงแข็งแรง ยิ่งขึ้นเช่นการปรับระดับความลาดชันของพ้ืนที่ การใช้โครงสร้างคอนกรีตทับคลุม หรือการปลูกต้นไม้และพืช คลมุ ดินเปน็ ต้น 2) สร้างคันก้ันน้าริมสองฝ่ังลาน้า เพ่ือปูองกันไม่ให้น้าเอ่อล้นตล่ิงไปทาความเสียหายให้กับ ทรพั ย์สินของราษฎรทอ่ี าศัยอยบู่ รเิ วณสองฝงั่ ลานา้ น้นั 3) ก่อสร้างแหล่งน้าแก้มลิงต้นน้าเพื่อดักตะกอน และทางเบนน้า (Water Way) หรือคูรับน้า ขอบเขา (Hill-side Ditch) เพ่ือลดความรนุ แรงของโคลนถลม่ 4) การกอ่ สร้างแนวปิดล้อมพนื้ ที่ ภาพประกอบที่ 2 การใชโ้ ครงสร้างในการปูองกนั และลดผลกระทบจากอุทกภัยและโคลนถล่ม ทม่ี า : แผนที่ Google Earth

- 13 - 2.5 การปอ้ งกันและลดผลกระทบจากอุทกภัยและดนิ โคลนถลม่ ด้วยภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ โครงการฝายต้นนา้ แบบผสมผสานเป็นหน่งึ ในหนทางแกไ้ ขปัญหาอุทกภยั ตามพระราช เสาวนยี ข์ อง สมเดจ็ พระนางเจ้าสิริกติ ์ิ พระบรมราชนิ นี าถในเรอื่ งการอนุรักษ์ปุาและน้าซึ่งม่งุ เพ่ิมความชมุ่ ช้นื แกด่ นิ ฟืน้ ฟสู ภาพต้นนา้ ลาธาร และสร้างระบบการควบคุมไฟปาุ ดว้ ยแนวปูองกนั ไฟปุาเปียก โดยฝายดังกล่าว เปน็ การหลอมรวมลักษณะตา่ งๆ ตัง้ แตก่ ารทาฝายแบบผสมผสาน ฝายตน้ แบบกึง่ ถาวร และฝายตน้ แบบถาวร ซงึ่ เปน็ แนวทางหนง่ึ ในการฟน้ื ฟสู ภาพปาุ ไม้บริเวณตน้ น้าลาธาร ฝายแม้ว คอื ฝายขนาดเล็กท่ีสรา้ งก้ันลานา้ เล็กๆ ในแหลง่ ต้นน้าสงู สุด ต้ังแตย่ อดดอยเรือ่ ยลง มาตลอดเส้นทางน้า เพื่อชะลอความแรงและกักเกบ็ น้าไว้ ที่ผ่านมามีการประยุกต์ภูมปิ ัญญาของชาวบา้ น โดย การใชว้ ัสดทุ ีม่ อี ยู่ในท้องถ่นิ เช่น ไมไ้ ผ่ หิน ฯลฯ ผสานกับความรู้ดั้งเดมิ ทาให้ดินทรายไหลผา่ นออกไปได้ รวมถึงปลาและสัตวเ์ ล็กสัตว์น้อยทเ่ี คยเดินทางขน้ึ ลอ่ งตามสายนา้ ไปใช้ชวี ิตได้อยา่ งปกติ ปัจจุบัน แรงผลักดันจากภาครัฐและเอกชนไดม้ สี ว่ นเกื้อหนุนในการสร้างฝาย ผ่านรปู แบบการ สนับสนนุ งบประมาณและมีส่วนรว่ มดาเนินการก่อสร้างฝายโดยตรง ทงั้ มูลนธิ ิ องค์กรพัฒนาเอกชน ส่อื มวลชน นักวชิ าการ หรือบริษัทตา่ งๆ อาทิ มูลนิธโิ ลกสีเขยี ว เครือข่ายปาุ ชุมชน เปน็ ต้น รวมถึงการดาเนนิ โครงการ ร่วมกนั ของหลายหน่วยงาน เช่น โครงการ 80 พรรษา 880 ฝาย ของบริษทั ปนู ซเี มนต์นครหลวง จากัด (มหาชน) รว่ มกบั มลู นิธชิ ัยพฒั นา เพอื่ รว่ มเฉลมิ พระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในวโรกาสทรงเจรญิ พระชนมายุ 80 พรรษา และสนองพระราชดารขิ องในโครงการพฒั นาตน้ น้า ลาธาร สร้างชีวิตย่ังยนื ให้แก่ ประชาชน นอกจากน้ี ยงั สร้างการตระหนักถึงความสาคัญของฝายให้แกป่ ระชาชน อาทิ สร้างความชมุ่ ชน้ื คืน ความอดุ มสมบูรณใ์ ห้แก่ผืนปาุ ลดความรุนแรงของกระแสน้าหลาก เป็นแนวปอู งกันไฟปุา และสรา้ งความ ยง่ั ยืนใหแ้ กว่ ิถชี วี ิตโดยรอบทั้งคนสตั วแ์ ละทรัพยากรธรรมชาติ นอกจากนี้ ภาครฐั ยงั ได้เล็งเหน็ ความสาคญั ของภมู ปิ ัญญาชาวบ้านที่สามารถนามา ประยุกต์ใชใ้ นการสรา้ งฝาย ทางกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมจึงไดจ้ ัดสรรงบประมาณ 770 ล้านบาท เพ่ือดาเนินโครงการก่อสรา้ งฝายในความรับผดิ ชอบของกรมอุทยานแหง่ ชาติสัตวป์ ุาและพันธ์ุพืช ซง่ึ หน่วยงานรับผดิ ชอบโดยตรงคือ สานกั อนรุ กั ษแ์ ละจดั การต้นนา้ อันมีหน่วยงานย่อยในแต่ละพืน้ ที่ ไดแ้ ก่ หน่วยจัดการตน้ นา้ ดาเนินการกอ่ สร้างฝายและเพาะชาหญ้าแฝกร่วมกับชาวบ้าน

- 14 - ภาพประกอบท่ี 3 การสรา้ งฝายแม้ว ที่มา : http://www.isuzuclub.com/webboard/viewtopic.php?f=48&t=15654

- 15 - 2.6การแจง้ เตอื นภัยและการเฝ้าระวงั การเกดิ อุทกภยั และโคลนถล่ม การเตือนภัยให้ประชาชน และเจ้าหน้าท่ีที่เกี่ยวข้องได้รับทราบล่วงหน้าก่อนเกิดภัยเป็นส่ิง สาคญั และจาเป็นอยา่ งย่ิง ทง้ั นเี้ พราะหาบประชาชนและเจ้าหนา้ ทีไ่ ดม้ เี วลาเตรียมตัว และเตรียมการปฏิบัติจะ ช่วยใหเ้ กดิ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน รวมท้ังลดความสับสนวุ่นวาย อันเน่ืองมาจากการตื่นเต้นตกใจ ได้ นอกจากนี้ผู้รับผิดชอบในการช่วยเหลือบรรเทาภัยพิบัติ เมื่อได้ทราบล่วงหน้าก็จะมีเวลาเตรียมตัวและ พร้อมจะปฏิบัติหน้าที่ตามภารกิจของตนได้อย่างรวดเร็ว เช่น เจ้าหน้าท่ีดับเพลิง เจ้าหน้าที่รักษาพยาบาล เจา้ หน้าท่ีรกั ษาความสงบเรียบรอ้ ย เจ้าหนา้ ทคี่ วบคุมจราจร เจา้ หน้าท่สี ังคมสงเคราะห์ และอื่น ๆ เปน็ ตน้ สัญญาณเตือนภัยถือเป็นสิ่งสาคัญยิ่ง การจัดระบบแจ้งสัญญาณเตือนภัยไว้ล่วงหน้า จะ สามารถแจ้งสัญญาณเตือนให้เจ้าหน้าที่ และประชาชนได้ทราบเหตุการณ์ล่วงหน้าได้อย่างรวดเร็วเพ่ือเตรียม ตัวรับกับสถานการณ์ท่ีเปลี่ยนแปลงหรือภัยพิบัติท่ีจะเกิดข้ึน เช่น กรมอุตุนิยมวิทยา ได้แจ้งล่วงหน้าถึงสภาพ ดินฟูาอากาศ การเกิดพายุดีเปรสชั่น พายุโซนร้อน พายุไต้ฝุนเป็นต้น อย่างไรก็ตาม การเตือนภัยจะมี ประโยชน์ กต็ อ่ เมอื่ ประชาชนในชมุ ชนมคี วามรู้ และเขา้ ใจในสญั ญาณต่าง ๆ เปน็ อยา่ งดี สัญญาณเตือนภยั มี 2 ประเภท 1) สัญญาณเตอื นภัยสาหรบั เจา้ หนา้ ท่ี ควรใชส้ ัญญาณแสง หรือรหสั ให้ทราบเฉพาะเจ้าหน้าท่ี เพอื่ ใหเ้ ข้าประจาหนา้ ที่ และถือเป็นสัญญาณลบั 2) สญั ญาณเตือนภยั สาหรบั ประชาชน สัญญาณนี้ควรมลี กั ษณะดงั นี้ - มเี สยี งดงั ไกล - มลี ักษณะของเสยี ง ผดิ จากท่ีประชาชนใชต้ ามปกติ - อาจทาเสียงให้ส้ัน ยาว หรือเป็นเสียงครวญครางได้เคร่ืองส่งสัญญาณเตือนภัยสาหรับ ประชาชนน้ัน ควรอยู่ห่างกันในระยะที่ทุกคนสามารถได้ยินหรือเห็น ได้ชัดเจน แม้ในขณะท่ีทางานหรือนอน หลับ เช่น การจุดพลุส่องสว่าง การใช้กลองตามวัด การตีเกราะเคาะไม้ การตีระฆัง หรือในบางพ้ืนท่ี อาจใช้ สัญลักษณข์ องการติดตอ่ แตกตา่ งไปแตเ่ ป็นทีร่ ้จู กั กันภายในชุมชนวา่ เป็นสัญญาณเตือนภยั 2.7การประชาสัมพันธข์ า่ วสารดา้ นสาธารณภยั ลกั ษณะการประชาสมั พันธข์ ่าวสารดา้ นสาธารณภัยของกลุ่มประชาชน 1) ประกาศ หน่วยงานภาครัฐ เชน่ จังหวัด อาเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน จะออก ประกาศแจ้งเตือนสถานการณส์ าธารณภัยทีเ่ กิดข้ึนในพ้ืนท่ี เพ่ือให้ประชาชนได้ทราบข่าวสารอย่างถูกต้องและ รวดเรว็ ท้งั นี้ เพื่อใหไ้ ดเ้ ตรียมพร้อมในการปูองกนั และบรรเทาสาธารณภยั ท่กี าลังจะเกดิ ข้นึ ในพ้นื ที่ 2) แถลงการณ์ หัวหน้าส่วนราชการในระดับจังหวัด อาเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จะออกแถลงการณ์แจ้งเตือนสถานการณ์สาธารณภัยที่เกิดขึ้นในพื้นที่ เพ่ือให้ประชาชนได้ทราบข่าวสารอย่าง

- 16 ถูกต้องและรวดเร็ว ทั้งนี้ เพื่อให้ได้เตรียมพร้อมในก-ารปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยท่ีกาลังจะเกิดขึ้นใน พ้นื ที่ ขนั้ ตอนการตดิ ต่อสอ่ื สารเพ่อื ป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ภาพประกอบท่ี 4 การตดิ ต่อสือ่ สาร (แผนกรมปูองกนั และบรรเทาสาธารณภัย, 2552)

- 17- 2.8 การซอ้ มแผนปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวดั ลาปาง ครัง้ ที่ 2/2555 (ซ้อมแผนการ ปอ้ งกันและแก้ไขปญั หาการเกิดอทุ กภยั นา้ ป่าไหลหลาก และดนิ ถลม่ ) หลกั การและเหตผุ ล จากสถานการณส์ าธารณภัย ไม่ว่าจะเกิดขึน้ จากภยั ธรรมชาติ หรือภัยที่มนุษย์เป็นผู้กระทา มี แนวโน้มท่ีทวีความรุนแรง และเกิดบ่อยครั้งมากข้ึนเป็นลาดับ ซึ่งสาธารณภัยท่ีเกิดข้ึน สร้างความสูญเสียและ ความเสียหายให้แก่ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน และของทางราชการเป็นจานวนมาก การดาเนินการ ปอู งกนั การแกไ้ ขปญั หา และการช่วยเหลือประชาชนผู้ประสบสาธารณภัย แม้จะมีหลายหน่วยงานท้ังในระดับ ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และท้องถ่ิน ตลอดจนภาคเอกชน สมาคม อาสาสมัคร มูลนิธิ ฯลฯ เข้าไปเผชิญเหตุ แก้ปัญหา และให้การช่วยเหลืออย่างเต็มกาลังภายใต้แผนปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยที่มีอยู่แล้วก็ตาม การปฏบิ ัตติ ามแผนดังกล่าวยังประสบปัญหาด้านการ บูรณาการ การประสานความร่วมมือ และการเช่ือมโยง ข้อมูลระหวา่ งกนั ทาใหก้ ารปฏิบัติงานของแต่ละหน่วยยังมีความซ้าซ้อน ขาดเอกภาพ และประสบปัญหาด้าน ความพร้อมในการจัดการสาธารณภัยแนวทางหน่ึง ซ่ึงช่วยให้การดาเนินการตามแผนเป็นไปด้วยความราบรื่น และมปี ระสิทธิภาพ อีกทงั้ เป็นการทดสอบแผนทม่ี ีอยู่ เพ่ือให้ทราบถึงจุดบกพร่อง จุดอ่อนของแผนอันนามาซึ่ง นโยบายแนวทาง มาตรการในการปรับปรุง และพัฒนาให้แผนสามารถเป็นกรอบแนวทางให้หน่วยปฏิบัติใน การปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยนาไปปฏิบัติเมื่อเกิดสถานการณ์จริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ คือ การ ฝกึ ซ้อมแผนปูองกันและบรรเทาสาธารณภยั วตั ถุประสงค์ จากหลกั การและเหตุผลดงั กลา่ ว จังหวดั ลาปางจึงได้กาหนดให้มีการฝึกซ้อมแผนการปูองกัน และแก้ไขปัญหาการเกิดอุทกภยั นา้ ปุาไหลหลาก และดินถล่ม ปพี .ศ. 2552 เพ่ือเปน็ แนวทางในการเตรียมการ ปูองกันและประสานการปฏิบัติงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งหน่วยปฏิบัติหลัก และหน่วยร่วม ปฏิบตั ิการ รวมทั้งกาหนดหน้าทรี่ ับผดิ ชอบของหนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ งไว้ใหพ้ รอ้ ม ท้ังการปฏิบัติงานในระยะก่อน เกิดภัย ขณะเกิดภัย และภายหลังได้ผ่านพ้นไปแล้ว โดยให้สามารถดาเนินการปูองกันและแก้ไขปัญหาที่เกิด จากน้าปาุ ไหลหลากนา้ ทว่ มฉับพลัน และดินถล่ม ไดอ้ ย่างรวดเร็ว มปี ระสิทธภิ าพ และประสทิ ธผิ ล เปูาหมาย ข้าราชการ เจ้าหน้าท่ีของรัฐ อาสาสมัครปูองกันภัยฝุายพลเรือน สมาชิกกองอาสารักษา ดนิ แดน มูลนิธิภาคเอกชน ผนู้ าชมุ ชน ประชาชนโดยทวั่ ไป เข้าร่วมฝกึ ซ้อมแผนฯ 200-300 คน

- 18 - ขั้นตอนการดาเนินการ 1. แต่งต้งั คณะทางาน แตง่ ตง้ั คณะทางานฝึกซอ้ มแผนปูองกนั และบรรเทา สาธารณภยั จงั หวัดลาปาง (ครง้ั ที่ 2/2552) แจ้งคณะทางานฯ ทราบเพ่ือดาเนินการฝึกซ้อมแผนฯ ดังกล่าว ให้ เปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์ 2. จัดประชุมคณะทางานฯ และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเพ่ือพิจารณาโครงการ ข้อบกพร่อง พร้อมกาหนดรปู แบบการประเมินผลการดาเนนิ การและประโยชน์ทไ่ี ดร้ ับ รวมทง้ั แนวทางการประชาสมั พนั ธ์ 3. จัดทากาหนดการ ทางปฏบิ ัติ รวมทงั้ ประสานงานขอสนบั สนุนงบประมาณ 4. ก่อนฝึกซ้อมแผนปฏิบัติการจริง (Field Training Exercise : FTX) จัดประชุมซักซ้อมทา ความเข้าใจขั้นตอนการปฏิบัติการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยในท่ีบังคับการ (Command Post Exercise : CPX) และทาการประชาสัมพันธ์ทุกหน่วยงานและประชาชนในพื้นที่ท่ีอยู่ในความรับผิดชอบของศูนย์ปูองกัน และบรรเทาสาธารณภยั เขต ทราบ 5. ทาการฝึกซอ้ มแผนปฏบิ ตั ิการจรงิ (Field Training Exercise : FTX) 6. สรปุ ประเมินผลการดาเนนิ งาน ระยะเวลาดาเนนิ การ ระยะเวลาดาเนินการ ประสานงานและฝึกซ้อมภาคสนามช่วงเดือนพฤษภาคม - มิถุนายน 2552 สถานทดี่ าเนินการ 1. ฝกึ ซอ้ มการแก้ไขปญั หาการบังคับบัญชา และการส่อื สาร ณ ศาลา กลางจังหวัดลาปาง และที่ตง้ั ของแตล่ ะหนว่ ยงาน 2. การฝกึ ซ้อมแผนภาคสนาม และการฝึกการปฏบิ ัตติ ามสถานการณ์ จาลอง ณ บ้านหว้ ยข้นี ก ตาบลแมพ่ ริก อาเภอแม่พริก 3. ประเมินผลการปฏิบตั ิ ฯ ณ บ้านหว้ ยขีน้ ก ตาบลแม่พริก อาเภอแม่พรกิ ผูร้ ับผิดชอบโครงการฯ 1. กองอานวยการปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภัยจงั หวัดลาปาง 2. กองอานวยการปูองกนั และบรรเทาสาธารณภยั อาเภอแม่พริก 3. กองอานวยการปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภัยองค์กรปกครอง สว่ นทอ้ งถนิ่ ในพ้ืนที่

- 19 - แหล่งงบประมาณ 1. กรมปูองกนั และบรรเทาสาธารณภยั 2. องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ินในพืน้ ท่ี ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั 1. สว่ นราชการ หน่วยงานตา่ ง ๆ รบั ทราบแนวทางในการเตรยี มการ การประสาน การปฏบิ ัติ บทบาท ภารกจิ อานาจหน้าท่ี ตามพระราชบญั ญัติปูองกนั ภัยฝาุ ยพลเรือน 2. ผูป้ ฏบิ ตั เิ กิดทักษะความชานาญ แก้ไขปัญหาเบ้อื งต้น เมื่อเกิดภัยได้ 3. เพ่ิมความพร้อมให้หนว่ ยงาน เจา้ หนา้ ท่สี ่วนต่าง ๆ 4. ลดข้อขดั แยง้ ระหว่างหน่วยงานปฏิบตั หิ ลัก และหน่วยงานสนับสนนุ การปฏิบัติ 5. ประชาชนเห็นความจาเปน็ ในการฝกึ ซอ้ มแผน ฯ และสามารถ ชว่ ยเหลือ หรอื บรรเทาเบื้องตน้ เม่ือเกดิ ภัยได้ รวมทงั้ รับความรใู้ นการปอู งกันตนเอง จัดทาโครงการและประสานงาน เจา้ หน้าที่สานกั งานปูองกนั และบรรเทาสาธารณภยั จังหวดั ลาปาง เจ้าหน้าทป่ี ระจากองอานวยการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยในพ้นื ท่ี 2.9 งานวิจยั ทเี่ กย่ี วข้อง จันทร์ฉาย ทองสุข. (2540, หน้า 37). อุทกภัยและพ้ืนท่ีเสี่ยงต่อการเกิดอุทกภัยในจังหวัด พระนครศรอี ยุธยา ไดส้ รปุ ผลการศึกษา ดงั น้ี 1. ความเสียหายทจ่ี ะเกดิ จากนา้ ท่วมเนอื่ งจากการเพ่มิ ของอตั ราการเกิดน้าไหลบ่า จากความ หลากหลายของข้อมูลเชิงพ้ืนท่ีหนึ่งๆ โดยแต่ละพื้นที่จะมีสภาพแวดล้อมและระบบท่ีคล้ายคลึงกันและมี ความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันทาให้เราสามารถสังเกตลักษณะความสัมพันธ์ในพื้นท่ีน้ันๆ ในส่ิงท่ีต้องการ เช่น ศึกษาการเกิดน้าไหลบ่าในลมุ่ น้าเพอ่ื ทานายศักยภาพการเกดิ น้าทว่ มจากพายุ โดยใชข้ อ้ มูลดิน 2. การพัฒนาสภาพแวดลอ้ มและทรัพยากรธรรมชาติ เป็นส่งิ จาเป็นและสาคัญอยา่ งยิ่งในการ พฒั นาประเทศ การพฒั นาเทคโนโลยที าให้การจดั การทรัพยากรได้รบั ข้อมลู ท่ีจะชว่ ยในการตดั สินในเพอื่ การ จัดการวิเคราะห์ข้อมลู ทง้ั ท่ีมีอยู่ในอดตี และปจั จบุ ัน การวิเคราะห์พื้นท่ีที่มีโอกาสได้รับผลกระทบจากเหตุการณด์ ินโคลนถลม่ นเม่อื 1 ตุลาคม2552, http://research.disaster.go.th/r_and_d/News/vijai/ vijai _1.doc) ไดส้ รุปผลการศึกษา ดงั น้ี

- 20 - 1. ได้แผนการปูองกันภยั จากดนิ ถล่ม 2. หน่วยงานที่เก่ียวข้องสามารถนาข้อมูล และผลการศึกษาไปใช้ในการวางแผน การ ตัดสินใจ และการปอู งกนั แกไ้ ขปญั หาภัยจากดนิ ถลม่ ได้ 3. เจ้าหน้าที่ของกรมปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยได้นาผลการศึกษาการประยุกต์ใช้ใน การวิเคราะหแ์ ละวางแผนจัดการพ้นื ท่ีเสีย่ งภยั ก่อให้เกิดการเรียนรู้ ซึ่งกันและกันในส่วนของการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศขน้ั สูงในงานวจิ ัยและ นาผลการวิจัยมาประยุกต์ใช้ในการจัดทาแผนท่ี การพยากรณ์ และแจ้งเตือนภัยให้กับประชาชนอย่างจริงจังและแม่นยาและเผยแพร่แก่สานักงานปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย จงั หวัดตลอดจนทกุ หน่วยงานของกรมปูองกันและบรรเทาสาธารณภยั เพอื่ ใชเ้ ป็นข้อมูลประกอบในการวางแผน เฝูาระวัง เตือนภัย และปูองกันภัยทุกพ้ืนท่ีเสี่ยงภัย รวมทั้งการนาเทคโนโลยีการสารวจจากระยะไกล ( Remote Sensing ) มาใช้ในการจัดทาแผนท่ีเส่ียงภัยให้มากข้ึน เพ่ือประโยชน์ในการวางแผน การพยากรณ์ และเตือนภัยใหก้ ับประชาชนไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง แม่นยา และมปี ระสทิ ธิภาพมากกว่าเดิม ทาให้ลดการสูญเสียของ ชวี ิตและทรพั ยส์ นิ ทจ่ี ะเกิดกับประชาชนลงไดม้ าก

- 21 - 2.10 รายการทบทวนวรรณกรรมจงึ ไดม้ าซึ้งกรอบแนวความคดิ ด้ังนี้ ปัญหาการเกดิ อทุ กภยั และโคลนถลม่ ในเขตพืน้ ทอี่ าเภอแม่พรกิ แนวคิดในการป้องกนั อุทกภยั และโคลนถลม่ การเตือนภยั และเฝ้าระวงั การเกดิ อุทกภยั และโคลนถล่ม การประสานงานระหว่างหนว่ ยงานราชการทเี่ ก่ยี วข้อง ประชาชนในพื้นทีอ่ าเภอแม่พรกิ มีความปลอดภัยเพ่ิมขน้ึ

- 22 - กรอบแนวคิดการวิจยั ตัวแปรตน้ ตัวแปรตาม  ขอ้ มลู สว่ นตวั  พฤตกิ รรมการรบั  สรปุ แนวทางการ  อายุ ข้อมลู ข่าวสาร ปูองกันอทุ กภยั  เพศ ของประชาชน  การศึกษา  แนวคิดในการ ในพืน้ ที่อาเภอ  อาชพี ปอู งกนั อุทกภัย แม่พรกิ มีความ และโคลนถล่ม ปลอดภัยเพม่ิ ขน้ึ  การศึกษาสภาพพน้ื ที่  ภมู ิปัญญาชาวบา้ นทม่ี ใี ช้  การวางแผนการ  ศกั ยภาพของหน่วยงานที่ ประสานงานของ แต่ละหนว่ ยงาน เกย่ี วขอ้ งรับผดิ ชอบ  การซักซอ้ มความเข้าใจ  การจัดการของแต่ ละหน่วยงาน ของประชาชน

บทที่ 3 ระเบียบวิธกี ารศึกษาวจิ ัย 3.1 รปู แบบของการศึกษา การศึกษาในคร้ังน้ี ผู้ศึกษาใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก โดยเลือก ผู้บริหารและบุคลากรผู้ท่ีปฏิบัติงานจริงในพ้ืนที่รับผิดชอบ ของศูนย์ปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 10 ลาปาง ตลอดจนการลงพ้ืนที่สังเกตการณ์ด้วยตนเองและข้อมูลทุติยภูมิ (สานักงานปูองกันและบรรเทาสา ธารณภัย จงั หวัดลาปาง) 3.2 ประชากรกลุ่มตวั อย่าง ประชากรกลุ่มตัวอยา่ งทส่ี าคญั ผบู้ รหิ ารท่ีมีส่วนเก่ียวข้องและเป็นผู้รับผิดชอบในการปูองกัน และบรรเทาสาธารณภัย ท่สี าคญั จานวน 10 คน ประกอบดว้ ย 1. นายประพันธ์ ภกั ดีนิติ รักษาการผู้อานวยการศูนย์ปูองกนั และบรรเทาสาธารณภยั เขต 10 ลาปาง 2. นางธวลั รัตน์ ไชยอินปัน หัวหนา้ สานักงานปอู งกนั และบรรเทา สาธารณภยั จงั หวดั ลาปาง 3. นายประดษิ ฐ์ สุวรรณศกั ดิ์ หวั หน้าชุด ERT ศูนย์ฯ เขต 10 ลาปาง 4. นายวนั ชยั คาแผลง หัวหน้าฝุายส่อื สารศูนย์ฯ เขต 10 ลาปาง 5. นายสรุ พงษ์ ทพิ ย์วรรณ์ นายช่างโยธากลุ่มงานปอู งกันและบรรเทา สาธารณภัย ศนู ย์ ฯ เขต 10 ลาปาง 6. นางวรรธณพร ใจนวิ งศ์ ผ้อู านวยการกองช่างเทศบาลตาบลแมพ่ ริก อาเภอแม่พรกิ จังหวดั ลาปาง 7. นางวารี ใจดี ราษฎรในตาบลแมพ่ ริก 8. นางสุภาวดี สิงหเ์ ชือ้ ราษฎรในตาบลแม่พริก 9. นายจรญั ยศตอื้ ราษฎรในตาบลแมพ่ ริก 10. นางหนึ่งฤทยั ถาคาฟู ราษฎรในตาบลแม่พริก

- 24 - 3.3 เครอื่ งมือท่ใี ช้ในการศกึ ษาวิจัย ผูว้ ิจยั ได้จดั สรา้ งแนวทางเกบ็ ข้อมูลจานวน 1 ชดุ สองแนวทาง คอื การสมั ภาษณเ์ ชงิ ลึก สาหรบั ผู้บรหิ าร และการสัมภาษณ์เชงิ ลึกสาหรับเจา้ หน้าท่ี ประชาชนทว่ั ไป โดยใชก้ รอบแนวความคิดใน การศึกษาในดา้ นวิธกี ารปูองกันอุทกภัยและโคลนถลม่ การหามาตรการ แนวทางในการปูองกันอทุ กภัยและ โคลนถลม่ ในพ้นื ท่ีอาเภอแม่พรกิ เปน็ แนวทางการแบ่งโครงสร้างการสมั ภาษณ์ เป็น 4 ส่วน คอื 1) การจัดการสภาพภมู ปิ ระเทศและวธิ ีการเตือนภยั 2) การจัดการด้านส่งิ ก่อสรา้ งเพ่ือการปูองกัน 3) การกาหนดแนวทางการปูองกัน 4) บทบาท หนา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบการจดั การความร่วมมือระหว่างหนว่ ยงานราชการ 3.4 วิธีการเก็บข้อมลู และระยะเวลา ผู้วิจัย ใช้ระยะเวลา 7 มกราคม 2557 – 10 เมษายน 2557 โดย การสารวจแบบ สมั ภาษณ์เชิงลึก จานวน 10 คนเป็นหลัก ใช้สาหรับผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ ของศูนย์ปูองกันและบรรเทาสา ธารณภัย เขต 10 ลาปาง จานวน 4 คนผู้บริหารสานักงานปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัดลาปาง จานวน 1 คน ผอู้ านวยการกองช่างเทศบาลตาบลแม่พริก 1 คน เจ้าหน้าท่ีและประชาชนในเขตอาเภอแม่ พริก จานวน 4 คน 3.5 การวเิ คราะหข์ ้อมูล หลังจากที่ผู้วิจัย ได้รวบรวมข้อมูลการสัมภาษณ์ ในมุมมองของผู้บริหารราชการและ ประชาชนแลว้ จะได้นาเอาผลสรุปแต่ละประเด็นหลัก คือ การปูองกันอุทกภัยและโคลนถล่ม ในพ้ืนท่ีอาเภอ แม่พริก เพื่อเป็นข้อมูลพร้อมทั้งใช้เป็นแนวทางในการปูองกันอุทกภัยและโคลนถล่ม ในพ้ืนท่ีอาเภอแม่พริก มาวิเคราะห์เชิงทฤษฏีที่ใช้และเปรียบเทียบกับทฤษฎี แนวความคิดการปูองกันอุทกภัยและโคลนถล่ม เพ่ือ นาไป ส่กู ารบรรลวุ ัตถปุ ระสงคก์ ารศึกษาตอ่ ไป

บทที่ 4 การวเิ คราะห์ผลการศกึ ษาวิจัย จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า แ น ว ท า ง ก า ร ปู อ ง กั น อุ ท ก ภั ย แ ล ะ โ ค ล น ถ ล่ ม เ พื่ อ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ข อ ง ประชาชนในอาเภอแม่พริก ซ่ึงในการศึกษาครั้งน้ีได้ทาการรวบรวมข้อมูลแบบสัมภาษณ์แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 เป็นแบบสมั ภาษณ์เกยี่ วกบั ข้อมลู ท่วั ไป สว่ นที่ 2 เป็นแบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับความคดิ เห็น ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะ ของการปูองกันอทุ กภยั และโคลนถล่ม เพอ่ื ความปลอดภัยของประชาชน จากการสัมภาษณม์ ผี ู้ตอบคาถามในแบบสัมภาษณแ์ บ่งเป็น 4 หวั ข้อดังน้ี 4.1 การจัดการสภาพภูมิประเทศและวิธกี ารเตือนภัย ขอ้ ท่ี 1 ทา่ นคดิ วา่ สภาพพ้ืนท่ีในอาเภอแมพ่ ริกเปน็ อย่างไร (ทีร่ าบลมุ่ แอง่ กระทะ ฯลฯ) - นายประพันธ์ ภกั ดีนติ ิ ให้สมั ภาษณว์ ่า เป็นพ้ืนท่ีแอ่งกระทะ และเป็นพ้ืนที่สูงชนั - นางธวลั รัตน์ ไชยอนิ ปัน ให้สัมภาษณ์ว่า พื้นที่ของ อ.แม่พริก จ.ลาปาง เป็นที่ราบลุ่มและที่ราบ เชิงเขา ทม่ี นี ้าไหลผา่ น มคี วามลาดชันของลานา้ สูงทาให้ปริมาณนา้ ไหลแรงและรวดเร็ว - นายประดิษฐ์ สุวรรณศักดิ์ ให้สัมภาษณ์ว่า ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ของ อ.แม่พริก จ.ลาปาง เปน็ ทร่ี าบเชงิ เขาทม่ี นี า้ ไหลผ่านคอื หว้ ยแมพ่ รกิ หว้ ยแม่ปุ แมน่ า้ วัง พื้นท่ีมีลักษณะแคบ ทอดยาวไปตามแมน่ า้ - นายวนั ชัย คาแผลง ให้สมั ภาษณว์ า่ เปน็ ทรี่ าบลุ่มเชงิ เขามภี ูเขาล้อมรอบ - นายสรุ พงษ์ ทิพยว์ รรณ์ กล่าววา่ มลี กั ษณะเปน็ ทร่ี าบปากนา้ เปน็ ส่วนใหญ่ (แมน่ า้ วงั บรรจบ ลาหว้ ยแมพ่ ริก) จงึ เกดิ ทลี่ ุ่มปากน้า และมบี างส่วนเปน็ พ้นื ท่ีตามหบุ เขา - นางวรรธณพร ใจนิวงศ์ ให้สัมภาษณว์ ่า สภาพพ้นื ทเี่ ป็นท่รี าบเชงิ เขาบางแหง่ มคี วามลาดชันของ พื้นท่ีสงู

- 26 - - นางวารี ใจดี ใหส้ มั ภาษณ์วา่ เป็นท่รี าบลุ่มและแอง่ กระทะเชงิ เขา มีลาห้วยและแม่น้าลายสาย ไหลผา่ น - นางสภุ าวดี สงิ ห์เชือ้ ให้สมั ภาษณว์ ่า เป็นแอง่ กระทะที่สูงมีน้าไหลผา่ น - นายจรญั ยศตื้อ ให้สัมภาษณ์ว่า เปน็ ทล่ี มุ่ มภี ูเขาล้อมรอบ - นางหน่ึงฤทยั ถาคาฟู ใหส้ ัมภาษณว์ ่า เป็นแอง่ กระทะมภี ูเขาล้อมรอบ จากขอ้ มลู การสัมภาษณ์แบบเชงิ ลกึ สภาพพื้นทใี่ นอาเภอแมพ่ รกิ เป็นอย่างไร - สภาพพ้ืนท่ีเป็นแอ่งกระทะมีภูเขาล้อมรอบ เป็นพ้ืนที่สูงชัน มีความลาดชันของลาน้าสูง ทาให้มี ปรมิ าณนา้ ไหลรนุ แรง และรวดเร็ว บรเิ วณตอนลา่ งเปน็ ที่ราบลมุ่ ปากแมน่ ้า ขอ้ ที่ 2 ทา่ นคดิ วา่ วิธีการป้องกนั น้าทว่ มในอาเภอแมพ่ รกิ ทาไดอ้ ย่างไร - นายประพันธ์ ภักดีนิติ ให้สัมภาษณ์ว่า ใช้การปูองกันเชิงโครงสร้าง(เช่น เขื่อน,อ่างเก็บน้า, พื้นที่แก้มลงิ )ผสมผสานกบั การปูองกันไมใ่ ชโ้ ครงสรา้ ง (การสร้างชุมชนเข้มแข็ง การเตรียมพร้อม การเผ้าระวงั การแจง้ เตือนภัย และการอพยพประชากร) - นางธวัลรัตน์ ไชยอินปัน ให้สัมภาษณ์ว่า การทาการปูองกันน้าท่วมไม่สามารถปูองกันได้ 100% แต่สามารถหลีกเล่ียงผลกระทบจากการน้าท่วมได้ เช่นการเตือนภัยล่วงหน้า การสร้าง จิตสานกึ ใหป้ ระชาชนรกั ษาสภาพแวดลอ้ มและ สร้างอา่ งเก็บน้า - นายประดิษฐ์ สุวรรณศักด์ิ ให้สัมภาษณ์ว่า โดยการสร้างฝายชะลอการไหลของน้า ตาม ลาห้วยสาขาต่างๆ ให้มากท่ีสุดควบคู่ไปกับการทาแหล่งกักเก็บน้า เพ่ือเป็นแก้มลิง กระจายไป ตามพื้นทท่ี ่เี หมาะสม - นายวันชัย คาแผลง ให้สัมภาษณ์ว่า แนวทางการปูองกันและแก้ไขปัญหาจึงต้องกระทาไป พร้อมๆกันในทุกระดับจึงจะสัมฤทธ์ิ ผลอย่างสมบูรณ์ อย่างไรก็ดี ความรู้ความเข้าใจต่อมูลเหตุ ของ อุทกภัยคือส่ิงที่ทุกคนจะต้องตระหนัก เพ่ือไม่ให้ไปสร้างปัญหาเพ่ิม การปูองกันและแก้ไข ปัญหาในระดบั บุคคลและชุมชน เปน็ สิง่ แรกที่ต้องลงมอื กระทา - นายสุรพงษ์ ทิพย์วรรณ์ ให้สัมภาษณ์ว่า เร่งฟ้ืนฟูปุาชุมชนในพ้ืนที่การเร่งการสร้างอ่างเก็บน้า “ผาวิ่งชู้” ใหแ้ ล้วเสร็จสรา้ งเครือข่ายการจัดการลมุ่ น้าแกป่ ระชาชนในพ้ืนที่

- 27 - - นางวรรธณพร ใจนิวงศ์ ให้สัมภาษณ์ว่า การปูองกันแบบไม่ใช้โครงสร้างโดยการสร้างความ ตระหนักแก่ชุมชนอพยพออกจากพ้ืนที่เส่ียงภัยปลูกพืชช่วยชะลดการกัดเซาะของน้า และชะลอ ความเรว็ ของนา้ ไม่ควรใชก้ ารปูองกันโดยอาศัยโครงสรา้ ง - นางวารี ใจดี ให้สัมภาษณ์ว่า จดั การเก็บกกั น้าในฤดนู ้าหลากให้มากท่สี ดุ - นางสภุ าวดี สงิ ห์เชอื้ ใหส้ มั ภาษณว์ า่ มรี ะบบเตอื นภัย อาจจะใช้เป็นคนในหมู่บ้าน(อาสาสมัคร) ชว่ ยงานสอดส่องดูแลและเฝูาระวัง - นายจรัญ ยศตื้อ ให้สัมภาษณ์ว่า เฝูาระวังการจะถูกน้าท่วมใหญ่ อาสาสมัครเตือนภัยสร้าง จิตสานึกในการชว่ ยกนั ไม่บุกรุกถมแหล่งน้า - นางหน่งึ ฤทยั ถาคาฟู ให้สมั ภาษณว์ ่า สร้างเข่ือน-อา่ งเกบ็ น้า จากข้อมูลการสัมภาษณ์แบบเชิงลึกวิธีการป้องกันน้าท่วมในอาเภอแม่พริกทาได้ อย่างไร วิธีปูองกันโดยการใช้โครงสร้าง เช่น เขื่อน อ่างเก็บน้า ทาพ้ืนที่แก้มลิง ก่อสร้าง ฝายชะลอน้า เพ่ือลดความเร็วของอัตราการไหล และผสมผสานกับการปูองกันท่ี ไม่ใช่ โครงสรา้ ง โดยการสรา้ งชุมชนเขม้ แขง็ การเตรียมพร้อมรบั มือ เร่งฟ้ืนฟูปุาชุมชนจัดระบบ การเตือนภัย ข้อท่ี 3 ท่านคิดว่าการแจ้งเตือนภัยให้กับประชาชนมีความสาคัญหรือไม่ ถ้าสาคัญควรทา เมอื่ ใด และควรทาอย่างไร - นายประพันธ์ ภักดีนิติ ให้สัมภาษณ์ว่า สาคัญอย่างย่ิง ควรมีการเตือนภัยโดยอาสาสมัครชุมชน และเชอื่ มโยงเป็นเครือขา่ ยการเตอื นภยั กบั ชุมชน ท่อี ยู่เหนอื ข้นึ ไป - นางธวัลรัตน์ ไชยอินปัน ให้สัมภาษณ์ว่า การแจ้งเตือนภัยเป็นสิ่งสาคัญ ย่ิงในการเตือนภัยให้ ประชาชนรู้ล่วงหน้าต้องมีการเฝูาระวังตลอด 24 ชั่วโมง มีการรับฟังข่าวสารเตือนภัย จากภาค ราชการกรมอุตุนิยมวิทยา สร้างจิตสานึกว่าประชาชนควรหลบไปอยู่ท่ีปลอดภัยและเตรียมตัว อย่างไรใน ขณะเกิดภัย และในขณะเดียวกันควรมีการฝึกซ้อมแผน ปฏิบัติการในการปูองกันภัย

- 28 - ควรมีการบูรณการสร้างความเข้มแข็งในชุมชน เพื่อให้มีความพร้อมในการปูองกันและบรรเทาสา ธารณภัย - นายประดิษฐ์ สุวรรณศักดิ์ ให้สัมภาษณ์ว่า ราษฎรในพื้นที่เส่ียงภัยควรได้รับการแจ้งเตือนภัย ก่อนที่จะเกิดภัยพิบัติทั้งน้ีเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมและลดวามสูญเสียชีวิตและทรัพย์สิน ใน กรณีของอุทกภัยควรใช้เคร่ืองวัดปริมาณน้าฝน(น้าฟูา ) และหลักวัดระดับน้า (น้าท่า ) โดย ผู้รบั ผดิ ชอบตามท่ีกาหนด - นายวนั ชัย คาแผลง ใหส้ ัมภาษณ์ว่า ระบบการเตือนภัยมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่ง เพ่ือให้ศูนย์เตือน ภยั มศี กั ยภาพมากยง่ิ ขึน้ เพื่อใชใ้ นการวิเคราะหส์ ถานการณ์ที่จะเกดิ ขึ้นได้อย่างแม่นยา ควรมกี ารศึกษาและจดั ทาเคร่อื งมือและระบบเตือนภยั เชน่ 1. เครอ่ื งวัดน้าฝน เพื่อทาการตรวจวดั ปริมาณนา้ ฝนทุกวัน 2. เครือ่ งวัดความช้ืนในดิน เพอ่ื ทาการตรวจวัดความชนื้ ในดนิ 3. เครอ่ื งวดั ความสัน่ เทือน 4. เคร่ืองวัดระดับน้าอัตโนมัติและเสาวัดระดับน้า ในกรณีท่ีมีลาน้าไหลผ่าน พื้นท่ี เส่ียงภยั 5. สถานเี ฝูาระวังและเตือนภยั เพ่ือทาการเกบ็ บนั ทึกข้อมลู และประมวลผล 6. อุปกรณ์สาหรับเตือนภัย โดยสัญญาณเตือนภัยน้ันออกแบบเป็นรูปแบบของ สัญญาณเสยี งและสญั ญาณแสง โดยระบบการส่งข้อมูลจากระยะไกล หรือจะใช้ระบบ GPRS - นายสุรพงษ์ ทิพย์วรรณ์ ให้สัมภาษณ์ว่า มีมีความสาคัญมาก ควรกระทาเมื่ออยู่ในฤดูหรือ ช่วงเวลาท่ีเป็นหน้าฝนและควรทาอยา่ งต่อเน่ือง ตลอดเวลาในช่วงฤดดู งั กล่าว - นางวรรธณพร ใจนิวงศ์ ให้สัมภาษณ์ว่า มีความสาคัญโดยเฉพาะประชาชนในพื้นที่การสร้าง ความระหนักให้มากการสร้างเครือข่ายในการแจ้งเตือนภัยการเข้าถึงข้อมูลด้านการเตือนภัยของ สอื่ ต่างๆ - นางวารี ใจดี ให้สัมภาษณ์ว่า มีความสาคัญมากที่สุด ควรทาในฤดูฝน ควรอบรมอาสาสมัคร หรือมสิ เตอรเ์ ตอื นภัย - นางสุภาวดี สิงห์เชื้อ ให้สัมภาษณ์ว่า สาคัญ ควรแจ้งเตือนภัยช่วงท่ีมีลมมรสุม พายุเข้า และ ช่วงท่ีฝนตกหนักต่อเนื่องหลายวัน ให้เตรียมสร้างส่ิงก่อสร้างเพ่ือปูองกันน้าท่วม และขนย้าย ส่ิงของทจ่ี าเป็น

- 29 - - นายจรัญ ยศต้ือ ให้สัมภาษณ์ว่า มีความสาคัญมากท่ีสุด ควรทาตลอดเวลาเพราะฟูาฝนมักจะ ตกไม่เปน็ ฤดกู าล ควรทาโดยจดั ต้ังอาสาสมคั รติดตามการเปลีย่ นแปลงภมู ิอากาศ - นางหนึ่งฤทัย ถาคาฟู ให้สัมภาษณ์ว่า สาคัญ ควรแจ้งเตือนล่วงหน้า โดยแจ้ง/ประกาศให้ทราบ อยา่ งทวั่ ถึง จากข้อมูลการสัมภาษณ์แบบเชิงลึกการแจ้งเตือนภัยให้กับ ประชาชนมี ความสาคญั หรอื ไม่ ถ้าสาคัญควรทาเม่ือใด และควรทาอย่างไร การแจ้งเตือนภัยให้กับประชาชน มีความสาคัญอย่างย่ิง ควรมีการเตือนภัยในระดับ ชุมชนเอง อันดับแรก ในพ้ืนที่ต้นน้า และทันทีที่เสี่ยงต่อดินโคลนถล่ม มีการรับข้อมูลข่าวสารจากทางราชการ จากกรมอุตุนิยมวิทายา มีการตรวจสอบได้จากเครื่องวัดปริมาณน้าฝนและน้าท่า เคร่ืองวัดความ สัน่ สะเทือน อาสาสมัครติดตามการเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศ เพือ่ ทาการแจ้งเตอื นลว่ งหนา้ 4.2 การจดั การด้านส่งิ กอ่ สร้างเพือ่ การป้องกนั ข้อท่ี 1 ท่านคดิ ว่าสง่ิ กอ่ สร้างใดในอาเภอแม่พรกิ ที่ช่วยป้องกันไม่ให้เกดิ นา้ ทว่ มและ โคลนถลม่ - นายประพันธ์ ภักดีนิติ ให้สัมภาษณ์ว่า เข่ือนท่ีกาลังก่อสร้างและการขุดลอกคูคลองเพ่ิม ปรมิ าณการเกบ็ กกั น้า - นางธวลั รัตน์ ไชยอินปนั ใหส้ มั ภาษณว์ า่ การสร้างอ่างเกบ็ น้า,เขอื่ นเก็บนา้ - นายประดิษฐ์ สุวรรณศักด์ิ ให้สัมภาษณ์ว่า สิ่งก่อสร้าง ที่ช่วยปูองกันไม่ให้เกิดน้าท่วมและ โคลนถลม่ คือฝายชะลอการไหลของน้า ฝายกกั ตะกอน/ฝายแม้วก่อสร้างแหล่งกักเก็บน้าเช่น อ่าง เกบ็ น้าและเขือ่ นเพื่อเป็นแก้มลงิ การปลกู หญ้าแฝกในพ้ืนที่ลาดชัน - นายวันชัย คาแผลง ให้สัมภาษณ์ว่า การปูองกันน้าท่วมและบรรเทาอุทกภัยน้ันสามารถ ดาเนนิ การได้หลายรปู แบบ โดยเฉพาะการใช้ส่ิงก่อสร้าง เช่น เขื่อน, อ่างเก็บน้า, ฝาย, คันกั้นน้า, การขุดรอกลาน้าสาขา เป็นต้น แต่ส่ิงท่ีหน่วยงานของรัฐแทบจะไม่ได้พิจารณากันเลย คือ มาตรการท่จี ะไมใ่ ชส้ ่ิงกอ่ สร้าง เช่น การกาหนดการใชท้ ่ีดิน การบริหารจัดการผืนปุาชุมชน ระบบ การเตือนภัย การประกันทรัพย์สิน การมีส่วนร่วมของชุมชน การให้ความรู้เพื่อสร้างความ

- 30 - ตระหนักถึงปัญหาในระยะยาว และอ่ืนๆ อีกหลายมาตรการ ซึ่งการดาเนินการดังกล่าว รัฐบาล จะตอ้ งมอี งค์กร ทีร่ ับผดิ ชอบในการดาเนนิ การโดยตรงและชัดเจน - นายสรุ พงษ์ ทิพย์วรรณ์ ใหส้ มั ภาษณว์ า่ 1.ปาุ ชุมชน 2.คนั ดนิ กนั้ ทาอ่างเกบ็ นา้ ทาโครงการแกม้ ลิง 3.การขดุ ลอกทางน้าของลาน้าในเขตพื้นที่ - นางวรรธณพร ใจนิวงศ์ ใหส้ ัมภาษณว์ ่า สิ่งก่อสร้าง ที่ช่วยปูองกนั ไมใ่ หเ้ กิดนา้ ท่วมและโคลน ถล่มคืออ่างเกบ็ นา้ และเข่ือน - นางวารี ใจดี ใหส้ ัมภาษณว์ า่ 1 .เขือ่ นหรอื อา่ งเกบ็ น้าขนาดใหญ่ 2.การปอู งกันการกัดเซาะของตลงิ่ - นางสภุ าวดี สิงห์เชือ้ ให้สมั ภาษณว์ ่า โครงการแกม้ ลิง ทาฝายชะลอน้า - นายจรัญ ยศตอื้ ให้สัมภาษณว์ ่า ทาฝายชะลอน้า - นางหนึ่งฤทัย ถาคาฟู ให้สมั ภาษณว์ า่ อ่างเก็บนา้ จากข้อมูลการสัมภาษณ์แบบเชิงลึกท่านคิดว่าส่ิงก่อสร้างใดในอาเภอแม่พริก ทชี่ ว่ ยปอ้ งกนั ไมใ่ ห้เกดิ นา้ ทว่ มและโคลนถล่ม การก่อสร้างเข่ือน การขุดลอกคูคลอง เพิ่มปริมาณการเก็บกักน้า ฝายชะลอน้า ช่วยชะลอปริมาณน้า และอัตราการไหลของน้า ฝายดักตะกอน ก่อสร้างอ่างเก็บน้า และก่อสร้าง พื้นท่ีแก้มลิง การปลูกต้นไม้ หญ้าแฝก ปูองกันดินพัง การกาหนดใช้พื้นท่ีการจัดการพื้นที่ปุา อนุรกั ษ์ปาุ ชุมชน ขอ้ ท่ี 2 ถ้าท่านได้รับมอบหมายให้เป็นตัวแทนในการสร้าง สิ่งก่อสร้างเพ่ือป้องกันน้าท่วมใน อาเภอ แมพ่ รกิ ทา่ นคิดว่าควรจะสร้างสิ่งใด ระหว่าง ทาดินกั้นน้า แนวกันโคลน ทาอ่างฝาย หรือขุดลอกคคู ลอง สาเหตทุ ท่ี า่ นเลอื กเพราะอะไร - นายประพนั ธ์ ภักดีนติ ิ ทาอ่างฝายเพือ่ เพ่ิมแก้มลงิ กักเก็บนา้ และชะลอการไหลของน้า

- 31 - - นางธวัลรัตน์ ไชยอินปัน ใหส้ ัมภาษณ์ว่า การสร้างอ่างเก็บน้า เพื่อปูองกันน้าท่วมและเก็บน้าไว้ ใชใ้ นฤดูแลง้ - นายประดิษฐ์ สุวรรณศักดิ์ ให้สมั ภาษณว์ ่า การขุดลอกคุคลองเพ่อื ใหน้ า้ จากลานา้ สาขาไหล ลงสแู่ มน่ ้าสายหลกั ได้สะดวกและรวดเร็วท่สี ดุ กอ่ สรา้ งอา่ งเก็บนา้ ขนาดเล็ก กระจายตามพน้ื ท่ที ่ี เหมาะสม - นายวันชัย คาแผลง ให้สัมภาษณ์ว่า การสร้างเขื่อนและอ่างเก็บน้าจะต้องสร้างในพ้ืนที่ ท่ี สามารถรองรับปริมาณน้าได้อย่างพอเพียง มีพ้ืนที่เพียงพอต่อการเก็บน้าท่ีสามารถให้ความ ปลอดภัยกับประชาชนท้ายน้า ซึ่งถ้าสามารถดาเนินการได้ ตามท่ีกาหนดก็จะปลอดภัยต่อการ ปูองกันน้าท่วม แต่ปัญหาที่ตามมาและเป็นปัญหาท่ีเกิดในปัจจุบัน คือ สถานท่ีตั้งเข่ือนและอ่าง เก็บน้าส่วนใหญ่อยู่ในพ้ืนที่ภูเขา และต้องมีพื้นท่ีน้าท่วมตามปริมาณความต้องการเก็บกัก ปกติ จะต้องกว้างพอที่จะรองรับปริมาณน้าที่ได้ออกแบบไว้ ซึ่งจะมีผลกระทบกับทรัพยากรธรรมชาติ เช่น ปุาไม้และสัตว์ปุา รวมถึงประชาชนท่ีต้องอพยพออกจากพื้นที่ อ่างเก็บน้า และท่ีสาคัญการ ก่อสร้างเข่ือนท่ีมีขนาดใหญ่มากเท่าใด ค่าก่อสร้างก็จะมากตามไปด้วย รวมถึงค่าชดเชยให้กับ ประชาชนที่ต้องอพยพออกจากพ้ืนท่ีที่ทามาหากินอีกด้วย เม่ือเปรียบเทียบกับการให้มีพื้นที่สี เขียวหรือพ้นื ท่ีชะลอน้านั้น มีความแตกตา่ งกันมาก ถา้ มีการศกึ ษาในรายละเอียดและมีมาตรการ ควบคมุ การใช้ท่ีดินทด่ี ี และมปี ระสิทธิภาพ จะสามารถลดปัญหา การทาลายทรัพยากรธรรมชาติ อย่างถาวรได้ ประชาชนไม่ต้องอพยพออกจากพ้ืนท่ีทามาหากิน มีการช่วยเหลือด้านการ เกษตรกรรม มีการชดเชยความเสียหายที่เกิดจากน้าท่วม ซึ่งถ้ามีการจัดการที่ดีก็คงจะไม่ต้องมี การชดเชยกันทุกปี ส่ิงที่ยากต่อการปฏิบัติ คือการควบคุมการใช้ท่ีดินและการให้ประชาชน ยอมรับให้น้าท่วมพ้ืนที่ทามาหากิน จึงควรมีการพิจารณาว่า ถ้ามีการควบคุมการใช้ท่ีดินที่ ชัดเจนและถูกต้อง พื้นท่ีที่อาจถูกน้าท่วมจะเกิดความเสียหายมากน้อยเพียงใด ระยะเวลาและ ระดับน้าท่ีท่วมในพ้ืนท่ีจะเป็นเท่าใด ใครควรจะเป็นผู้รับผิดชอบในการจ่ายหรือชดเชยความ เสียหายที่เกิดขึ้น และท่ีสาคัญใครควรจะเป็นผู้ท่ีเข้ามาจัดการเพื่อให้เกิดเป็นธรรมแก่ทุกฝุาย โดยเฉพาะผู้ท่ีได้รับความเสียหาย การบริหารและจัดการเพ่ือการอนุรักษ์ในพ้ืนที่จะมีการ ดาเนนิ การเช่นใด การบรรเทาอุทกภยั โดยการสรา้ งเขื่อนนั้นเป็นวิธีการท่ีง่ายและสะดวกสาหรับ หนว่ ยงานท่ีรับผิดชอบ แตเ่ ม่ือพิจารณาผลดแี ละผลเสีย โดยการนามาตรการไม่ใช้สิ่งก่อสร้างเข้า

- 32 - มาร่วมพิจารณาเปรียบเทียบ ผลลัพธ์ส่วนใหญ่จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่า เข่ือนอาจจะไม่มีความ จาเป็นในการบรรเทาน้าท่วมเลย ถ้าไม่นับผลพลอยได้อ่ืนๆ เช่น การเก็บกักน้าสาหรับเป็นน้าใช้ เพื่อการประมงและอ่ืนๆ ซึง่ จาเป็นจะต้องมีการวิเคราะห์อีกหลายด้าน การนามาตรการอื่นมาใช้ นอกเหนือจากเข่ือนอาจจะมีผลดีมากกว่า แต่ก็ต้องยอมรับว่ายังมีปัญหาอีกหลายด้านที่จะต้อง พิจารณา เช่น กฎหมายในการควบคุมการใช้ท่ีดินท่ีมีประสิทธิภาพ การยอมรับค่าชดเชยจาก ความเสียหายที่เกิดข้ึน และการให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดาเนินโครงการหรือการบริหาร จัดการการบรรเทาอุทกภัย - นายสุรพงษ์ ทิพยว์ รรณ์ ใหส้ มั ภาษณว์ า่ 1.อา่ งเก็บนา้ – ให้ควบคุมปริมาณน้าในฤดูฝน และ ชว่ ยประชาชนในฤดแู ล้งได้ การขดุ ลอกกาจดั สง่ิ กีดขวางทางนา้ - นางวรรธณพร ใจนิวงศ์ ให้สัมภาษณ์ว่า สร้างอ่างเก็บน้าหรือเขื่อน เน่ืองจากมีการควบคุมน้า ปริมาณมากๆได้ พร้อมท้งั เกบ็ กักนา้ ในฤดูนา้ หลาก และเกบ็ น้าใช้ในฤดแู ล้ง - นางวารี ใจดี ให้สัมภาษณ์ว่า ทาอ่างฝาย เพราะเก็บน้าไว้ใช้ยามแล้งเพื่อเกษตรกรรม ประมง และแกป้ ัญหาภัยแลง้ - นางสุภาวดี สิงห์เชื้อ ให้สัมภาษณ์ว่า ทาฝายฯ เพราะจะไม่ทาให้เกิดน้าท่วมฉับพลัน มีที่ รองรบั นา้ ได้ - นายจรญั ยศตอ้ื ให้สัมภาษณ์วา่ ทาดนิ ก้ันนา้ ก่อสรา้ งแหล่งกักเก็บน้าเช่น อ่างเก็บน้าและเขื่อน เพือ่ เป็นแกม้ ลิง - นางหนึ่งฤทัย ถาคาฟู ให้สัมภาษณ์ว่า ทาฝายฯ อ่างเก็บน้า เพราะสามารถเก็บกักน้าไว้ใช้ภาย หนา้ ได้ จากข้อมูลการสัมภาษณ์แบบเชิงลึกถ้าท่านได้รับมอบหมายให้เป็นตัวแทน ในการสร้าง ส่ิงก่อสร้างเพื่อป้องกันน้าท่วมในอาเภอ แม่พริก ท่านคิดว่าควรจะ สร้างส่ิงใด ระหว่าง ทาดินก้ันน้า แนวกันโคลน ทาอ่างฝาย หรือขุดลอกคูคลอง สาเหตุทที่ า่ นเลือกเพราะอะไร การสร้างอ่างฝายเพื่อเพิ่มแก้มลิงกักเก็บน้าและชะลอการไหลของน้าเป็นการปูองกัน แบบใช้โครงสร้างท่ีเหมาะสมที่สุดอันดับรองลงมาคือการขุดลอกลาน้ากาจัดสิ่งกีดขวางทางน้า และสดุ ท้ายคอื การสร้างฝายชะลอน้าลดการเกิดน้าทว่ มฉบั พลนั

- 33 - 4.3 การกาหนดแนวทางการป้องกัน ข้อท่ี 1 เม่ือเกดิ อุทกภยั นา้ ทว่ มหรือโคลนถลม่ ในอาเภอแม่พริกทา่ นคิดวา่ ทา่ นจะวางแผน อยา่ งไรเพอ่ื ป้องกนั ไมใ่ หเ้ กดิ เหตุการณน์ ซี้ า้ อกี - .นายประพันธ์ ภักดีนิติ ให้สัมภาษณ์ว่า การปูองกันไม่ให้เกิดซ้าต้องใช้การปูองกันเชิง โครงสร้างขนาดใหญ่ซึ้งต้องลงทุนสูงแต่การสร้างจิตสานึกและการทาให้ชุมชนเข็มแข็งในการ เตรียมความพร้อมปูองกันภัยโดยชุมชน ตั้งแต่การเฝูาระวังติดตามสถานการณ์ แจ้งเตือนภัย และการอพยพท่ดี าเนินการโดยชมุ ชนเองจะเปน็ การปอู งกันอยา่ งดีทส่ี ุด - นางธวัลรัตน์ ไชยอินปัน ให้สัมภาษณ์ว่า การที่จะไม่ให้เกิดเลยเป็นเร่ืองยาก เพราะเป็น ธรรมชาติ ท่ีมีผลมาจาการกระทาของมนุษย์ ดังน้ันจะตองให้ความรู้ แก่ประชาชน ในการหวง แหนรกั ษาปาุ ต้นน้า ลาธาร ให้ความรู้ในการเตือนภัย การเตรียมตัว ท้ังก่อนเกิดภัย ขณะเกิดภัย และหลงั เกิดภยั วา่ ควร จะปฏบิ ตั ิอยา่ งไร - นายประดิษฐ์ สุวรรณศักด์ิ ให้สัมภาษณ์ว่า โดยการสร้างความตระหนักให้แก่ราษฎรใน ชุมชนทีเ่ ส่ียงภยั ใหร้ จู้ กั วธิ กี ารปอู งกนั และแกไ้ ข ทง้ั ก่อนเกดิ ภัย ขณะเกดิ ภยั และหลังเกดิ ภยั - นายวันชัย คาแผลง ให้สัมภาษณ์ว่า ความเสียหายจากสภาวะน้าท่วมมีมากมายและเพิ่มขึ้น ตลอด ในระยะยาวปญั หาต่างๆ เหล่าน้ีจะบรรเทาไดม้ ากน้อยเพียงใด องค์กรใดที่ควรจะต้องเป็น ผู้รับผิดชอบในการดาเนินการ แต่ละหน่วยงานท่ีรับผิดชอบในการปูองกันและแก้ปัญหาน้าท่วม ต่างดาเนินการโดยแทบจะไม่มีการร่วมมือหรือความเห็นชอบจากหน่วยงานอื่น ท่ีอาจได้รับ ผลกระทบจากโครงการเสมือนต่างคนต่างทา ดังน้ันจึงเป็นหน้าท่ี ที่รัฐจะต้องพิจารณาอย่าง แท้จริงว่า แผนการแก้ไขปัญหาต่างๆ จะ ต้องเป็นแผน ที่พิจารณาองค์ประกอบ ทุกด้านอย่าง บูรณาการ ไม่ใช่เฉพาะด้านใดด้านหนึ่ง การบริหารจัดการ เพ่ือบรรเทาอุทกภัย ควรมีการนา มาตรการตา่ งๆ มาใชใ้ นการวเิ คราะห์ ทั้งมาตรการใชแ้ ละไมใ่ ช้สิ่งกอ่ สรา้ ง - นายสุรพงษ์ ทิพย์วรรณ์ ให้สัมภาษณ์ว่า 1.ก่อตั้งเครือข่ายการปูองกันและบรรเทา สาธารณ ภัย 2.การก่อสร้างปรับปรุงสิ่งที่เป็นอุปสรรคกีดขวางทางน้า 3.จัดทาแผนปูองกันอุทกภัยหรือ โคลนถลม่ โดยมผี ทู้ รงคณุ วฒุ ใิ หค้ าปรึกษาและชาวบ้านช่วยกันคดิ และทา

- 34 - - นางวรรธณพร ใจนวิ งศ์ ให้สัมภาษณว์ า่ การสรา้ งเครอื ขา่ ยในการแจ้งและหน่วยปฏิบัติให้ความ ช่วยเหลือ เพ่ือบรรเทาความเสียหาย จัดการด้านโครงสร้างต่างๆ ให้มีความแข็งแรงและรับกับ เหตกุ ารณ์ - นางวารี ใจดี ให้สัมภาษณ์ว่า ประชาชนต้องร่วมให้ข้อมูลท่ีเป็นจริง ร่วมคิด ร่วมกาหนด แนวทางปูองกนั - นางสุภาวดี สงิ หเ์ ช้ือ ให้สัมภาษณว์ ่า ไดโ้ ดยใช้การอนุรกั ษป์ าุ ไม้แรง่ ทาพน้ื ทส่ี เี ขยี ว - นายจรญั ยศตื้อ ให้สัมภาษณ์ว่า จัดทาแผนปูองกันน้าท่วม โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิให้คาแนะนากับ ชาวบ้าน และช่วยกนั คดิ /ทา/แก้ปญั หา นางหน่งึ ฤทยั ถาคาฟู กลา่ ววา่ ช่วยเหลอื ผู้ประสบภัย และรณรงค์ใหส้ รา้ งฝายชะลอน้าหลาย แหง่ จากขอ้ มูลการสมั ภาษณแ์ บบเชงิ ลกึ เม่อื เกดิ อทุ กภัยน้าท่วมหรอื โคลนถล่มในอาเภอ แมพ่ ริกท่านคดิ ว่าท่านจะวางแผนอยา่ งไรเพือ่ ป้องกันไม่ให้เกิดเหตุการณ์นซี้ า้ อกี การวางแผนปอู งกันจะต้องใช้เชิงโครงสร้างเป็นหลักใหญ่ โดยการก่อสร้างขนาดใหญ่ ซ่ึงต้องการ พื้นท่ีมากอาจเสียพื้นท่ีปุาต้นน้าไปบ้าง แต่เป็นวิธีที่จะปูองกันได้ดี คือ การมีปุาหรือต้นไม้ปกคลุมดิน ให้เต็มพื้นท่ีอนุรักษ์ปุาต้นน้า มีการแจ้งเตือนภัย การจัดการชุมชนเป็นฐาน การเฝูาระวัง การติดตาม พ้นื ที่เสยี่ ง ขอ้ ท่ี 2 ถา้ หากไม่มีสิ่งก่อสร้าง เช่น ฝาย หรือ เขื่อน ชุมชนของท่านจะใช้ภูมิปัญญาชาวบ้าน ช่วยปอ้ งกนั การเกดิ อุทกภัยไดห้ รือไม่ ถา้ ได้ ทาอย่างไร - นายประพันธ์ ภักดนี ิติ ให้สัมภาษณ์ว่า ได้ โดยการสร้างจิตสานึกและการทาให้ชุมชนเข็มแข็ง ในการเตรียมความพรอ้ มปูองกนั ภัยโดยชุมชน ตั้งแต่การเฝูาระวังติดตามสถานการณ์ แจ้งเตือน ภยั และการอพยพท่ีดาเนนิ การโดยชุมชน - นางธวัลรัตน์ ไชยอินปัน ให้สัมภาษณ์ว่า ให้ความรู้ในการปฏิบัติตัว ท้ังก่อนเกิดภัย ขณะเกิด ภัย และหลังเกิดภัย สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน ในการเตือนภัย การอพยพไปในพ้ืนท่ี ปลอดภยั การปฏบิ ัตติ ัวในสถานการณต์ ่างๆ

- 35 - - นายประดษิ ฐ์ สุวรรณศักดิ์ ให้สัมภาษณ์ว่า โครงการทาฝายชะลอการไหลของน้า พร้อมกับ การปลูกหญ้าแฝกราษฎรที่ได้รับผลกระทบควรช่วยกันจัดการเศษไม้เศษวัสดุในลาน้าเพ่ือให้น้า ไหลสะดวกและรวดเร็วให้ความรู้แก่ราษฎรในชุมชน ที่เส่ียงภัยในการปูองกันและบรรเทาภัย โดยใชท้ รัพยากรท่ีมอี ยใู่ หม้ ากทสี่ ดุ ก่อนทจี่ ะขอรับการช่วยเหลือจากภายนอก - นายวนั ชัย คาแผลง ให้สมั ภาษณว์ ่า การจดั การโดยใชแ้ นวทางทางภมู นิ เิ วศวทิ ยา การจัดการนา้ แบบใหม่ และการพัฒนาที่ย่งั ยนื โดยมองภาพรวมการแก้ไขปัญหาการจดั การน้าทั้งระบบ 1. การฟืน้ ฟูปาุ ต้นน้า การฟื้นฟปู าุ ไม้ การอนรุ กั ษ์ปุา การปลูกปาุ เสรมิ การปกปูอง พทิ กั ษ์ รักษา และการจัดการปุา โดยใหป้ ระชาชนมสี ่วนร่วม (การประกาศปาุ ชมุ ชน ปุาอนุรักษ์ ปลกู ปาุ ฯลฯ) นับเปน็ แนวทางหนึง่ ท่จี ะฟื้นฟเู สถียรภาพของระบบนเิ วศนใ์ ห้กลับคนื มาสูส่ มดุล อยา่ งยั่งยืน 2. การขดุ ลอกตะกอนแม่นา้ อันจะสามารถฟื้นฟูแม่นา้ ให้กลบั มาทาหน้าท่ีแม่นา้ ตาม ธรรมชาติได้ การทาทางเบีย่ งน้าเพ่ือระบายออกนอกเขตชมุ ชน การสรา้ งเครือขา่ ยทางน้าเพอ่ื กระจายน้าไปยงั นอกเขตชมุ ชน ฯลฯ 3. การฟ้นื ฟูท่รี าบลมุ่ สามารถทาได้โดย ขดุ ลอกคคู ลองท่เี ชอ่ื มระหว่างแม่นา้ กบั หนองบึง การยกถนนให้สูงข้ึน หรอื เจาะถนนไม่ใหก้ ดี ขวางทางน้า การสร้างบ้านเรอื นใหอ้ ย่าง น้อยชน้ั ล่างสดุ ตอ้ งสงู กวา่ ระดับนา้ ทว่ มสงู สุด การแนะนาให้เกษตรกรการปลูกพืช พันธุ์พืชที่ เหมาะสมกบั สภาพพนื้ ที่ การใชป้ ระโยชนจ์ ากพน้ื ท่ีใหเ้ หมาะสม เชน่ เป็นทที่ ่องเท่ียว เขตอนรุ กั ษ์ ความ หลากหลายทางชวี ภาพ สิง่ เหล่านีน้ อกจากจะสอดคล้องกับระบบนิเวศน์ ยังสามารถ ปูองกนั นา้ ท่วมพื้นที่ทางตอนลา่ งลงไปอีกได้ 4. จดั ทาแผนทีเ่ ฝูาระวงั พ้ืนทีเ่ สยี่ งภยั และการจดั ต้งั เครือข่ายเฝาู ระวังแจง้ เตือน ภัยดนิ ถล่ม สาหรับพ้ืนท่ภี เู ขาสงู ถงึ ลาดเชงิ เขา ควรใหช้ ุมชนเขา้ มามีบทบาทในการเฝาู ระวังและ แจ้งเตอื นภัย 5. เฝูาระวังติดตามข้อมูลน้าฝนน้าท่า พายุที่มีอิทธิพลต่อประเทศไทยตลอด 24 ชัว่ โมง ทาแผนทเี่ สี่ยงอทุ กภยั - ดินถลม่ เพ่ือวิเคราะห์สถานการณ์และโอกาสเกิดอุทกภัย ในการ พร้อมรับมอื และหาแนวทางปูองกนั - นายสุรพงษ์ ทิพย์วรรณ์ ให้สัมภาษณ์ว่า สามารถช่วยได้ เพราะจะลดความรุนแรงของ กระแสนา้ หรือทาให้เปล่ียนทศิ ทางนา้ ไปในทางทีไ่ ม่เปน็ อนั ตรายได้

- 36 - - นางวรรธณพร ใจนิวงศ์ ให้สัมภาษณ์ว่า ได้โดยใช้ต้นไม้เช่นการปลูกพืชคลุมดินเช่นหญ้าแฝก ช่วยชะลอความเร็วของน้าและยึดหน้าดินรวมท้ังบารุงดินโดยหญ้าแฝกช่วยกรองการตกตะกอน ของแรธ่ าตุ - นางวารี ใจดี ให้สัมภาษณ์ว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่รับผิดชอบอยู่ในพ้ืนที่และ หนว่ ยงานตา่ งๆที่เกี่ยวขอ้ ง - นางสภุ าวดี สงิ ห์เชือ้ ใหส้ มั ภาษณ์วา่ ฝายชะลอนา้ - นายจรญั ยศตือ้ ใหส้ ัมภาษณ์วา่ เหมืองฝายดักนา้ แบบโบราณ - นางหน่งึ ฤทัย ถาคาฟู ให้สมั ภาษณ์ว่า สรา้ งฝายชะลอน้า จากข้อมูลการสัมภาษณ์แบบเชิงลึกถ้าหากไม่มีส่ิงก่อสร้าง เช่น ฝาย หรือ เขื่อน ชุมชนของท่านจะใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านช่วยป้องกันการเกิดอุทกภัยได้หรือไม่ ถ้าได้ ทาอยา่ งไร การสร้างจิตสานึก และการทาให้ชุมชนเข้มแข็งในการเตรียมความพร้อมปูองกันภัยโดยชุมชน การติดตามตามเฝาู ระวงั แจง้ สถานการณ์ แจ้งเตือนภัยและเตรียมการอพยพในชุมชนไปยังท่ีปลอดภัย ใช้ทรัพยากรในชุมชนจัดทาฝายชะลอนา้ ชะลอการไหลของนา้ ลดอัตราการไหลท่ีรุนแรง การฟื้นฟูปุา ต้นน้า อนุรักษ์ปุาไม้ การปลูกปุา ปูองกันพิทักษ์ปุาจัดการปุา โดยให้ประชาชนในชุมชนมีส่วนจัดการ ระบบพร้อมขุดลอกคูคลอง เพ่ือระบายน้าได้รวดเร็วในประมาณไม่มาก การจัดทาพ้ืนที่เส่ียง การเฝูา ระวังแจ้งเตือนภัย ข้อท่ี 3 ท่านคิดว่าหน่วยงานใดบ้างท่ีมีส่วนร่วมในการกาหนด วางแผน เพื่อป้องกันไม่ให้ เกิดอุทกภยั และโคลนถล่ม - นายประพันธ์ ภักดีนิติ ให้สัมภาษณ์ว่า อุทกภัยและโคลนถล่มในปัจจุบันไม่อาจห้ามไม่ให้เกิด ได้ โดยหน่วยงานใดๆ แต่การวางแผนเพื่อเตรียมการปูองกัน กระทาได้โดยการจะต้องบูรณา การกนั ทกุ หน่วยงานทเี่ กี่ยวข้องทัง้ ลุม่ น้าไมใ่ ช่ตา่ งคนต่างทาตามทีเ่ ป็นอยู่ขณะนี้ - นางธวัลรัตน์ ไชยอินปัน ให้สัมภาษณ์ว่า องค์การปกครองส่วนท้องถ่ิน ในพื้นที่อาเภอ องค์การบริหารส่วนจงั หวัด

- 37 - - นายประดษิ ฐ์ สวุ รรณศักด์ิ ให้สมั ภาษณว์ า่ กรมทรพั ยากรธรณี กรมชลประทาน กรมปอู งกันและบรรเทาสาธารณะภัย สานักงานปูองกันและบรรเทาสาธารณ ภยั จงั หวัดและศนู ย์ปูองกนั และบรรเทาสาธารณภัยเขต - นายวันชัย คาแผลง ให้สัมภาษณ์ว่า หน่วยงานที่เก่ียวข้อง ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่ งชาติ ดาเนินการปูองกันอบุ ตั ภิ ัย ควรใหค้ วามสาคัญกบั ศาสตร์ 4 ด้านคอื ดา้ นอุตุนิยมวิทยา ด้านอุทก วิทยา (น้าและชลประทาน) ด้านธรณีวิทยา ด้านการปกครอง เพื่อให้การแก้ปัญหาเกิดผลเป็น รูปธรรมและดาเนินการเป็นแนวทางเดียวกัน กรมทรัพยากรธรณี จัดทาแผนท่ีเสี่ยงภัยดินถล่ม จัดตั้งเครือข่ายเฝูาระวังแจ้งเตือนภัยล่วงหน้า เร่ืองดินถล่ม เพ่ือเผยแพร่ข้อมูลให้ประชาชนและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้รับทราบ ประสานงานแจ้งเตือนภัยดินถล่มร่วมกับหน่วยงานราชการท่ี เก่ียวข้อง อบรมอาสาสมัคร เพื่อเฝูาระวังและปูองกันดินถล่ม กรมพัฒนาที่ดิน จัดทาแผนที่ แสดงพ้ืนที่เสี่ยงภัย โดยใช้ข้อมูล Real Time ของกรมอุตุ-นิยมวิทยา กรมทรัพยากรน้า จัดต้ัง ศูนยป์ ฏบิ ัตกิ ารปูองกันและบรรเทาวิกฤตน้า เพ่ือเป็นศูนย์กลางในการรวบรวม/วิเคราะห์ข้อมูล ประสานงาน กรมปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย กาหนดแผนงาน/มาตรการปูองกันและแก้ไข ปญั หาจากวกิ ฤตนา้ - นายสรุ พงษ์ ทพิ ย์วรรณ์ ให้สมั ภาษณว์ ่า 1.ชุมชน ของอาเภอแม่พริก 2.องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น 3.หนว่ ยงานราชการระดบั จงั หวดั กรม - นางวรรธณพร ใจนิวงศ์ ใหส้ มั ภาษณ์วา่ กระทรวงเกษตร กรมการปกครอง กรมทรัพยากรธรณี กรมปุาไม้ กรมปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภัย - นางวารี ใจดี ให้สัมภาษณ์ว่า หน่วยงานสังกัดกระทรวงเกษตร/ทรัพยากรธรรมชาติ/ มหาดไทย/อุตสากรรม/อบจ./อบต./เทศบาล/ประชาสงั คม/ประชาชน - นางสุภาวดี สิงห์เชื้อ ให้สัมภาษณ์ว่า หน่วยงานสังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ/ อบจ./ อบต./ประชาชน - นายจรัญ ยศตื้อ ให้สัมภาษณ์ว่า หน่วยงานสังกัดกระทรวงเกษตร/ทรัพยากรธรรมชาติ/ มหาดไทย/อตุ สากรรม/อบจ./อบต./เทศบาล/ประชาสงั คม/ประชาชน

- 38 - - นางหนึ่งฤทยั ถาคาฟู ใหส้ มั ภาษณว์ า่ สนง.ปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เขต10 ลาปาง สนง. ปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรมการปกครองมี ความสาคญั ตอ้ งสร้างเครอื ขา่ ยและอปุ กรณ์เตือนภยั ให้ ครอบคลุมพนื้ ที่ จากขอ้ มูลการสมั ภาษณ์แบบเชิงลกึ ทา่ นคิดว่าหน่วยงานใดบ้างที่มีส่วนร่วมใน การกาหนด วางแผน เพ่อื ป้องกนั ไมใ่ ห้เกดิ อทุ กภยั และโคลนถล่ม ควรมีการบูรณาการร่วมกันทุกหน่วยงานในการปูองกัน โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในพื้นท่ีอาเภอ องค์การบริหารส่วนจังหวัด เป็นหน่วยงานแรก กรมปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กรมอุตุนิยมวิทยา กรมพัฒนาที่ดิน เป็นหน่วยงานร่วมใน การปูองกันพ้ืนท่ีน้าทว่ มในเขตอาเภอแม่พริก 4.4 บทบาท หนา้ ท่ีรับผิดชอบ การจดั การความร่วมมอื ระหว่างหนว่ ยงานราชการ ข้อที่ 1 ท่านคิดว่าในการเตรียมพร้อมเพื่อป้องกันการเกิดอุทกภัย ควรมีการจัดการหรือ ประสานงานอยา่ งไรบา้ งในหน่วยงานราชการท่เี ก่ียวข้อง - นายประพันธ์ ภักดีนิติ ให้สัมภาษณ์ว่า ควรมีการบูรณาการแผนงานโครงการงบประมาณ จากทกุ หนว่ ยงานทีเ่ ก่ียวขอ้ งอยา่ งแท้จรงิ และจริงจงั นางธวัลรัตน์ ไชยอินปัน ให้สัมภาษณ์ว่า การเตรียมความพร้อมควรเป็นหน่วยงานต้ังแต่ระดับ กระทรวง กรมจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นภาคเอกชน ประชาชน ชุมชนต้องมีส่วนร่วม ในการประสานงาน การเตรียมความพร้อม - นายประดิษฐ์ สุวรรณศักดิ์ ให้สัมภาษณ์ว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ในพื้นที่ควรทา หนา้ ทใี่ นการประสานระหว่างหนว่ ยงานท่เี ก่ียวข้องกับราษฎรในชุมชน ในการให้ความรู้ฝึกอบรม และจัดทาแผนปูองกันและบรรเทาสาธารณะภยั ของชุมชนของตน - นายวันชัย คาแผลง กลา่ ววา่ การแจง้ เตือนภยั ในระดับทอ้ งถิ่น ซ่งึ เปน็ พื้นทเี่ สยี่ งภยั ขาดผู้นา ในระดับท้องถ่ินในการแจ้งเตือนภัย ขาดการประสานงานระดับปฏิบัติงานในพื้นท่ี ขาดการ ฝึกซ้อมอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ สร้างเครือข่ายเตือนภัยในพ้ืนที่เสี่ยงภัย โดยกาหนด ผู้รับผิดชอบในพ้ืนที่โดยตรง เพ่ือทาหน้าที่ประสานงาน และแจ้งเตือนภัยให้กับประชาชนใน

- 39 - พ้ืนที่เส่ียงภัย องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินควรพิจารณาตั้งงบประมาณสนับสนุนเพ่ิมเติมในการ เตรียมฝึกซ้อมแผนเตือนภัยเสมือนเหตุการณ์จริง เพ่ือนาปัญหาที่เกิดจากการฝึกซ้อมแผนมา กาหนดแนวทางแก้ไขให้มีประสิทธิภาพต่อไป กรมปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย กรม อุตุนิยมวิทยา และศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติร่วมกันเพื่อซักซ้อมแผนเตือนภัยและการอพยพ ประชาชนในพืน้ ที่เสย่ี งภัยอยา่ งเปน็ ระบบและตอ่ เนือ่ ง - นายสุรพงษ์ ทิพย์วรรณ์ ให้สัมภาษณ์ว่า ควรมีการประสานกับทุกๆหน่วยงานท้ังภาครัฐและ เอกชน - นางวรรธณพร ใจนิวงศ์ ให้สัมภาษณ์ว่า จัดระบบการใช้พื้นที่ให้เกิดความเป็นเอกภาพยั่งยืน ดูแลจัดระเบียบการใช้พ้ืนที่ การใช้น้ารวมทั้งส่งเสริมอาชีพและรายได้ของประชาชนในพ้ืนที่อยู่ อย่างพอเพียง - นางวารี ใจดี กล่าวว่า นายอดิศร โครงไพบูลย์ ให้สัมภาษณ์ว่า จัดทาแผนแม่บทปูองกัน การเกิดอทุ กภัย โดยภาครัฐและประชาชนมีส่วนร่วม - นางสุภาวดี สิงห์เช้ือ ให้สัมภาษณ์ว่า จัดทาแผนการปูองกันการเกิดน้าท่วม โดยให้ชาวบ้าน/ ประชาชนมสี ่วนร่วม - นายจรัญ ยศต้ือ ให้สัมภาษณ์ว่า จัดทาแผนแม่บทปูองกันการเกิดอุทกภัย โดยภาครัฐและ ประชาชนมสี ่วนร่วม - นางหนึ่งฤทยั ถาคาฟู ให้สมั ภาษณว์ ่า การจดั สรรงบประมาณเหมาะสมตอ่ การดาเนนิ งาน จากข้อมูลการสมั ภาษณ์แบบเชิงลึกท่านคิดว่าในการเตรียมพร้อมเพ่ือป้องกันการ เกิดอุทกภัย ควรมีการจัดการหรือประสานงานอย่างไรบ้างในหน่วยงานราชการที่ เก่ียวข้อง การบูรณาการแผนงานโครงการงบประมาณการจัดการทุกหน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้องอยา่ ง จริงจัง โดยให้มีการเตรียมความพร้อม โดยใช้หน่วยงานในพ้ืนท่ีเป็นหลัก คือ องค์กรปกครองส่วน ทอ้ งถนิ่ องคก์ รเอกชน ประชาชนในพ้นื ที่ ระดบั จงั หวดั ระดับกรม และกระทรวง

- 40 - ขอ้ ท่ี 2 ทา่ นคดิ ว่าการพัฒนาระบบปอ้ งกันอทุ กภยั ควรเปน็ อยา่ งไร - นายประพันธ์ ภักดีนิติ ให้สัมภาษณ์ว่า ต้องผสมผสารกันทั้งระบบที่เป็นโครงสร้างการใช้ ระบบผังเมืองการบังคับใช้กฎหมายการปูองกันโดยไม่เป็นโครงสร้าง การปลูกจิตสานึก การ สร้างชุมชนให้เข็มแข็งและการใช้ภูมปัญญาชาวบ้าน โดยบูรณาการกันทุกภาคส่วน รัฐบาล เอกชน ประชาชน - นางธวัลรตั น์ ไชยอนิ ปัน ใหส้ ัมภาษณว์ า่ การพัฒนาระบบการปอู งกันอุทกภัย ควรพัฒนาระบบ การเตือนภัย การติดจามคาเตือนจากรมอุตุนิยมวิทยา การฝึกซ้อมแผนการให้ความรู้แก่ ประชาชน การสร้างจิตสานึกท่ีดี ในการรักษาสภาพแวดล้อมปุาไม้ การพัฒนาระบบการบริหาร จัดการ ให้ เป็นระบบท่ีดี การประสานงานการให้ความช่วยเหลือ รายละเอียดข้อมูลต่าง ๆ ท่ี จาเป็นตอ้ งใช้ หรือขอความช่วยเหลอื - นายประดษิ ฐ์ สวุ รรณศกั ด์ิ ใหส้ ัมภาษณว์ า่ ควรให้ราษฎรในพ้นื ที่เสี่ยงภัยมีส่วนร่วม(ร่วม คิด ร่วมทา ร่วมวางแผน ) ในการพัฒนาระบบปูองกันภัย ร่วมกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง โดยมี องค์การปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ เป็นผปู้ ระสาน - นายวันชยั คาแผลง ให้สมั ภาษณว์ ่า แบ่งออกเปน็ 3 ระดับดังนี้ 1. ก่อนเกิดเหตุ ซึ่งจะประกอบด้วย การให้ความรู้ การรณรงค์ปูองกัน และการตรวจ ตราเฝูาระวัง มีมาตรการด้านการส่ือสารและข้อมูลทางวิชาการที่มีประสิทธิภาพ อาทิ เช่น การเชื่อมต่อระบบสื่อสารระหว่างหน่วยงานด้านเตือนภัย ให้ข้อมูลลงพื้นที่เสี่ยงภัย โดยตรง โดยใช้การสื่อสารและสื่อสารมวลชนแจ้งเตือน เป็นต้น ควรมีการประสานงานที่ดี รวมถงึ การกาหนดเจา้ ภาพรับผดิ ชอบดาเนนิ การในเร่อื ง การแก้ไขปัญหาน้าท่วม ดินถล่ม เพื่อให้ เกิดการทางานร่วมกันปูองกันน้าท่วมเชิงบูรณการณ์ควรมีหน่วยงานหลักรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนทราบ ให้หน่วยงานราชการปรับปรุงพัฒนาเคร่ืองมือตรวจวัดให้ทันสมัยมี ฐานข้อมูลแลกเปล่ียนระหว่างหน่วยงาน เพิ่มเครือข่ายการเฝูาระวังด้านอุตุนิยมวิทยาระดับ ท้องถ่ิน การประสานงาน ดาเนินงานให้สอดคล้องซ่ึงกันและกัน อาทิ เช่น การใช้ผู้นาท้องถิ่น ควรมีการส่งเสริมให้ความรู้ การสร้างจิตสานึก การมีส่วนร่วมของชุมชน ควรมีการฝึกซ้อม แผนการเตือนภัยหรือการอพยพภายในชุมชน ภาครัฐควรสนับสนุนงบประมาณ ให้การ สนบั สนนุ ด้านเครือ่ งมือวัด ต่างๆ เพ่อื ดาเนนิ การให้มปี ระสทิ ธภิ าพ

- 41 - 2. ระหวา่ งเกิดเหตุ ควรมีการจัดทาแผนเพ่ือเตรียมตวั รบั มือ เพอื่ ลดความสญู เสยี แผนการอพยพ และแผนการบรรเทาทกุ ข์ 3. หลงั เกดิ เหตุ ควรจัดทาแผนหลงั เกิด คือแผนบรรเทาทุกข์ จะดาเนินการต่อเนื่องจาก ภาวะเกิดเหตุ และแผนปฏริ ูปฟ้ืนฟู - นายสุรพงษ์ ทิพย์วรรณ์ ให้สัมภาษณ์ว่า ควรพัฒนาให้อยู่ร่วมกับธรรมชาติได้ เพราะไม่ สามารถเปลีย่ นแปลงธรรมชาตไิ ด้ ดงั นน้ั ควรปรับตวั ใหเ้ ขา้ กบั ธรรมชาติ - นางวรรธณพร ใจนิวงศ์ ให้สัมภาษณ์ว่า ส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนในพื้นท่ีให้เกิดความ ตระหนักถึงอุทกภัย การเปลี่ยนแปลงของโลก แนวทางการแก้ไข ปัญหาโดยการมีส่วนร่วมของ ประชาชน มีระบบเครือข่ายในการเฝูาระวงั เตอื นภัย ตดิ ต่อส่อื สารกบั หนว่ ยช่วยเหลอื ต่างๆ - นางวารี ใจดี ให้สัมภาษณ์ว่า ชาวบ้านต้องทาความเข้าใจกับปัญหาอุทกภัย เพราะเป็นเจ้าของ พ้นื ทเ่ี จา้ ของปัญหา น่าจะมขี อ้ มลู เสนอหน่วยงานเก่ียวขอ้ งพัฒนาระบบปูองกันอทุ กภัย - นางสุภาวดี สิงห์เช้ือ ให้สัมภาษณ์ว่า ควรทาในลักษณะทุกคนทุกฝุายมีส่วนร่วม หรือมีการ บูรณาการกันเป็นระบบควบวงจร - นายจรัญ ยศตื้อ ให้สัมภาษณ์ว่า ควรจะมีอุปกรณ์หรือระบบเตือนภัยที่ทันสมัยและชาวบ้าน ต้องทาความเข้าใจกับปัญหาอุทกภัย เพราะเป็นเจ้าของพ้ืนท่ีเจ้าของปัญหา น่าจะมีข้อมูลเสนอ หนว่ ยงานเกี่ยวขอ้ งพัฒนาระบบปอู งกันอทุ กภยั - นางหนึ่งฤทัย ถาคาฟู ให้สัมภาษณ์ว่า ควรจะมีอุปกรณ์หรือระบบเตือนภัยท่ีทันสมัยองค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ิน ในพ้ืนท่ีควรทาหน้าท่ีในการประสานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ ราษฎรในชุมชน ในการให้ความรู้ฝึกอบรม และจัดทาแผนปูองกันและบรรเทาสาธารณะภัยของ ชุมชนของตนควรให้ราษฎรในพ้ืนที่เส่ียงภัยมีส่วนร่วม(ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมวางแผน ) ในการ พัฒนาระบบปอู งกันภัย ร่วมกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง โดยมี องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นผู้ ประสาน ส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนในพ้ืนที่ให้เกิดความตระหนักถึงอุทกภัย การ เปลี่ยนแปลงของโลก แนวทางการแก้ไข ปัญหาโดยการมีส่วนร่วมของประชาชน มีระบบ เครอื ขา่ ยในการเฝาู ระวงั เตือนภยั ตดิ ต่อสื่อสารกับหน่วยช่วยเหลือต่างๆควรพัฒนาให้อยู่ร่วมกับ ธรรมชาตไิ ด้ เพราะไมส่ ามารถเปลย่ี นแปลงธรรมชาตไิ ด้ ดงั นั้น ควรปรับตัวใหเ้ ข้ากับธรรมชาติ

- 42 - จ า ก ข้ อ มู ล ก า ร สั ม ภ า ษ ณ์ แ บ บ เ ชิ ง ลึ ก ท่ า น คิ ด ว่ า ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ ป้ อ ง กั น อุทกภัยควรเปน็ อยา่ งไร ต้องมีการผสมผสานกันทั้งระบบท่ีเป็นโครงสร้าง การใช้ระบบผังเมือง การบังคับใช้ กฎหมาย การปูองกันโดยใช้โครงสร้างและไม่ใช่โครงสร้าง การปลูกจิตสานึก การสร้างชุมชน เขม้ แขง็ พร้อมทั้งการพัฒนาการปอู งกันอทุ กภยั การพัฒนาระบบการเตือนภัย การฝึกซ้อมแผน การให้ความร้แู ก่ประชาชน การอยรู่ ่วมกับธรรมชาติ การปรบั ตวั ให้เข้ากับธรรมชาติ การเข้าใจ ปัญหาโดยให้มีการบูรณาการกันอย่างเป็นระบบ การรวบรวมข้อมูล การประชาสัมพันธ์ และ การแลกเปล่ียนแนวคดิ วิเคราะห์จากคาตอบทีไ่ ดจ้ ากการสมั ภาษณ์ 1. การจดั การสภาพภมู ปิ ระเทศและวิธกี ารเตือนภยั สามารถวิเคราะห์ข้อมลู ของผู้ให้สมั ภาษณ์เกย่ี วกับการจดั การสภาพภมู ิประเทศและวิธีการเตือนภยั ดังน้ี สภาพภูมิประเทศส่วนใหญ่ ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่ให้ข้อมูลว่าเป็นที่ราบลุ่มและท่ีราบเชิงเขา มี บางสว่ นเทา่ น้นั ท่ใี ห้ข้อมูลว่าเป็นพื้นทแ่ี อง่ กระทะ สาหรบั วิธกี ารปอู งกันอุทกภยั น้นั ผู้ให้สมั ภาษณ์ส่วนใหญ่ให้ข้อมูลว่าสามารถปูองกันได้โดยการสร้าง เขื่อน อา่ งเกบ็ นา้ พื้นท่ีแกม้ ลิง และสร้างฝายชะลอการไหลของนา้ การแจ้งเตือนภัยให้กับประชาชนน้ันมีความสาคัญ ซ่ึงสามารถทาได้โดยมีการเฝูาระวังตลอด 24 ช่ัวโมง รวมท้ังรับข่าวสารจากหน่วยงานราชที่เกี่ยวข้อง มีการเตรียมพร้อมและฝึกซ้อมแผนเพ่ือ ปฏบิ ัตกิ ารในการปูองกันภัย และการปฏบิ ตั ติ นขณะเกดิ ภัย สร้างความเข้มแข็ง และความตระหนักให้กับประชาชุนในกลุ่มชุมชน เพื่อให้เกิดความพร้อมในการ ปูองกันและบรรเทาภัย สาหรับหน่วยงานที่เก่ียวข้องควรมีศักยภาพในการให้ข้อมูลแจ้งเตือนภัย มากขึน้ 2. การจดั การด้านสงิ่ กอ่ สร้างเพอ่ื การปอ้ งกนั สามารถวิเคราะหข์ ้อมลู ของผู้ใหส้ ัมภาษณ์เกย่ี วกับการจัดการด้านส่งิ กอ่ สร้างเพ่ือการปูองกัน ดังนี้

- 43 - การสรา้ งเขอ่ื น อ่างเกบ็ น้า ฝายชะลอการไหลของนา้ ฝากกกั ตะกอน ฝายแม้ว พื้นที่แก้มลิง ล้วน แต่เป็นส่งิ กอ่ สรา้ งท่ีช่วยปูองกันไมใ่ ห้เกดิ นา้ ทว่ มฉับพลนั และดินโคลนถล่ม การสร้างอ่าง / ฝายเก็บน้า ใช้ประโยชน์ได้ มีเพียงผู้ให้สัมภาษณ์เพียง 1 ท่านเท่านั้นท่ีเห็นว่าควร สรา้ งพื้นทส่ี ีเขียวหรอื พ้ืนท่ีชะลอน้า จะสามารถลดปญั หาได้อยา่ งถาวร 3. การกาหนดแนวทางการป้องกัน สามารถวเิ คราะห์ข้อมูลของผู้ใหส้ ัมภาษณเ์ ก่ียวกบั การกาหนดแนวทางการปูองกัน ดงั นี้ การสร้างจิตสานึก และให้ความรู้ในการเตือนภัย การเตรียมตัว ทั้งก่อนและหลังเกิดภัย การสร้าง เครือข่ายการปูองกันบรรเทาสาธารณภัย การจัดทาแผนปูองกันอุทกภัยหรือโคลนถล่มโดยมีผู้รู้ หรอื ผูท้ รงคณุ วฒุ ิรว่ มดว้ ย จะทาใหช้ ุมชนเขม้ แขง็ ซึ่งถอื เป็นการเตรียมพรอ้ มโดยชมุ ชน การทาใหช้ ุมชนเข้มแขง็ โดยใช้แนวทางนิเวศวิทยา ภูมิปัญญาชาวบ้านด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การทา ฝาย การปลูกหญ้าแฝก การฟ้นื ฟูปุาต้นน้า หน่วยราชการที่เข้ามามีส่วนร่วมในการกาหนดแนวทางปูองกันการเกิดอุทกภัยและโคลนถล่มในเขต อาเภอแม่พริกน้ัน ข้อมูลส่วนใหญ่เป็น องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น โดย อบจ. อบต. เทศบาล รองลงมาคือ กรมทรัพยากรธรรมชาติ ประชาชน กระทรวงเกษตร สานักงานปูองกันและ บรรเทาสาธารณภัย กรมปาุ ไม้ 4. บทบาท หน้าท่ีรบั ผดิ ชอบ การจดั การความร่วมมอื ระหวา่ งหนว่ ยงานราชการ สามารถวิเคราะห์ข้อมูลของผู้ให้สัมภาษณ์เก่ียวกับบทบาท หน้าที่รับผิดชอบ การจัดการความ ร่วมมือระหวา่ งหนว่ ยงานราชการ ดงั น้ี ข้อมูลส่วนใหญ่คือ ควรมีการประสานงานระหว่างหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง โดยการบูรณาการแผนงาน ตรงงบประมาณ โดยจัดทาแผนแม่บท ซึ่งทาโดยภาครฐั และเอกชนรว่ มมือกนั หน่วยงานราชการควรมีส่วนร่วมกับประชาชนในพ้ืนท่ี โดยใช้วิธีการต่างๆ เช่น การให้ความรู้ การ รณรงค์ปูองกัน การเฝูาระวัง การใช้ภูมิปัญญาชาวบ้าน ท้ังการเตรียมพร้อมทางด้านศักยภาพ ของหนว่ ยงานราชการทเ่ี ก่ยี วข้อง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook