Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 22 เมธาสิทธิ์ วิจัย นบ.ปภ.10 PDF

22 เมธาสิทธิ์ วิจัย นบ.ปภ.10 PDF

Published by Hommer ASsa, 2021-05-03 06:57:57

Description: 22 เมธาสิทธิ์ วิจัย นบ.ปภ.10 PDF

Search

Read the Text Version

รายงานการศกึ ษา เรือ่ ง ปัจจัยสนับสนุนที่มีผลตอ่ ความสาเรจ็ ในการดาเนินงานของศูนยอ์ าสาสมัครปอ้ งกนั ภัยฝ่ายพลเรือน องค์การบริหารส่วนตาบลวงั ดาล อาเภอกบินทรบ์ รุ ี จังหวัดปราจีนบรุ ี จัดทาโดย นายเมธาสิทธิ์ หอมจะบก รหสั ประจาตัวนกั ศกึ ษา 22 เอกสารฉบับนเ้ี ป็นสว่ นหน่งึ ในการศกึ ษาอบรม หลักสูตร นกั บริหารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รนุ่ ท่ี 10 ระหว่างวนั ท่ี 7 มกราคม – 10 เมษายน 2557 วทิ ยาลัยปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั

คำนำ การศึกษาเก่ียวกับปัจจัยสนับสนุนที่มีผลต่อความสาเร็จในการดาเนินงานของศูนย์อาสาสมัคร ป้องกนั ภยั ฝา่ ยพลเรอื นองค์การบรหิ ารส่วนตาบลวงั ดาล อาเภอกบินทรบ์ รุ ี จังหวัดปราจีนบุรี ในการศึกษา ครั้งน้ี ผู้ศึกษาขอขอบคุณท่าน ดร.ปิยวัตน์ ขนิษฐบุตร ท่ีได้กรุณาชี้แนะแนวทางในการศึกษาทาให้ ประสบความสาเร็จเรียบร้อยตามแนวทางการศึกษาและขอขอบคุณผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตาบล วังดาล และเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตาบลวังดาล สมาชิกอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน และพ่ีน้องประชาชนชาวตาบลวังดาลทุกท่าน ที่กรุณาให้ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถามพร้อมเก็บ รวบรวมข้อมูลจากประชาชนกลุ่มตัวอย่างในพื้นท่ีที่รับผิดชอบของท่านจนสาเร็จลุล่วงด้วยดี ทาให้นามาสู่ การประสบความสาเร็จเป็นอยา่ งดี ในการศึกษาคร้ังนี้ผู้ศึกษาได้รวบรวมค้นคว้าเอกสารท่ีเก่ียวข้องกับกระบวนการบริหารท่ีนาไปสู่ ผลสาเร็จในการดาเนินงานของศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนองค์การบริหารส่วนตาบลวังดาล อาเภอกบนิ ทรบ์ รุ ี จังหวดั ปราจีนบุรี เพ่ือเป็นข้อมูลและแนวทางที่สามารถนาไปเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจ และด้านการศึกษาได้ต่อไป นายเมธาสทิ ธิ์ หอมจะบก นักศกึ ษา นบ.ปภ. รนุ่ ท่ี 10 รหัส 22

กิตตกิ รรมประกาศ งานวิจัยฉบับน้ีสาเร็จได้ด้วยความกรุณาจากท่านอาจารย์ ดร.ปิยวัตน์ ขนิษฐบุตร และท่านอาจารย์ วรชพร เพชรสุวรรณ ที่ได้กรุณาตรวจสอบ และแก้ไขงานวิจัยของข้าพเจ้า ตลอดจนให้คาปรึกษางานวิจัย พร้อมช้ีแนะ ข้อบกพร่องในงานวิจยั ครัง้ นี้ ผูว้ ิจยั ขอขอบคณุ ผ้ทู ม่ี สี ว่ นร่วมในการดาเนินงานครัง้ น้ี ท่ที าใหง้ านวิจัยช้ินน้ีสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ผู้วิจัยหวังเป็น อย่างย่ิงว่า เอกสารวิจัยฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และผู้ท่ีเกี่ยวข้องจะได้นาไป ประยุกต์ใช้เป็นแนวทางในการดาเนินงานให้เกิดผลสัมฤทธ์ิ และเกิดประโยชน์ต่อประเทศชาติ และประชาชนต่อไป หากพบ ข้อบกพร่องใดๆ ในรายงานการวิจัยฉบับนี้ ผู้วิจัยจะขอน้อมรับไปแก้ไข ด้วยความเคารพ และหากมีข้อแนะนาประการใด ผูว้ ิจัยขอน้อมรับดว้ ยความขอบคุณอย่างยิ่ง นายเมธาสิทธ์ิ หอมจะบก ผวู้ ิจัย

ก บทสรปุ สำหรับผ้บู รหิ ำร ในปัจจุบันสาธารณภัยทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และที่เกิดขึ้นจากการกระทาของมนุษย์ ได้กลายเป็นปัญหาสาคัญของโลกรวมทั้งประเทศไทย ซึ่งมีแนวโน้มว่าจะมีความรุนแรงและมีความถี่ เพ่ิมมากขึ้น เช่น แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด สึนามิ อุทกภัย วาตภัย ดินโคลนถล่ม อัคคีภัย ภัยแล้ง โรคระบาดท้งั ในสตั ว์ พชื และมนุษย์ สารเคมีวัตถุอันตราย ตลอดจนภัยจากคมนาคมขนส่ง ซ่ึงสร้างความ เสียหายให้กับชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนจานวนมาก การเตรียมความพร้อมรับภัยพิบัติดังกล่าว จงึ เป็นสิง่ จาเปน็ ในการป้องกันอันตรายและชว่ ยเหลือตนเองและช่วยเหลือผู้อ่ืน ซ่ึงจะช่วยลดความสูญเสีย ทีจ่ ะเกิดขน้ึ ได้เปน็ อย่างดี การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ดังกลา่ ว ถอื เปน็ ภารกจิ ทสี่ าคัญและส่งผลต่อ สภาพความเป็นอยู่คุณภาพชีวิต ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน รัฐบาลจึงออก พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 โดยกาหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แห่งพื้นท่ี มีหน้าท่ีในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขตท้องถิ่นของตน และยังกาหนดให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดตั้งหน่วยอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน เพ่ือช่วยเหลือสนับสนุน หน่วยราชการในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยท่ัวราชอาณาจักร ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยหนว่ ยอาสาสมัครปอ้ งกันภยั ฝ่ายพลเรือน พ.ศ. 2553 ในการศกึ ษาครั้งน้ี เป็นการศึกษาเก่ียวกับปัจจัยสนับสนุนที่มีผลต่อความสาเร็จในการดาเนินงาน ของศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนองค์การบริหารส่วนตาบลวังดาล อาเภอกบินทร์บุรี จงั หวดั ปราจนี บุรี โดยศึกษาถงึ ปัจจัยนาเขา้ ได้แก่ คน งบประมาณ เครือ่ งมอื วสั ดุอุปกรณ์ ผ่านกระบวนการบริหาร ประกอบด้วย การวางแผน การจัดองค์การ การบริหารงานบุคคลการอานวยการ และการควบคุม โดยมีวตั ถปุ ระสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่นาไปสู่ผลสาเร็จในการดาเนินงานของศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัย ฝ่ายพลเรือนองค์การบริหารส่วนตาบลวังดาล อาเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี 2) เพ่ือศึกษาแนว ทางการพัฒนาและปรับปรุงศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนองค์การบริหารส่วนตาบลวังดาล อาเภอกบนิ ทรบ์ ุรี จังหวดั ปราจีนบรุ ี ใหม้ ปี ระสิทธิภาพมากยงิ่ ขึ้น การศึกษาครง้ั นี้ เปน็ การศกึ ษาเชงิ ปรมิ าณ ประชากรที่ศึกษา ได้แก่ สมาชิกอาสาสมัครป้องกันภัย ฝ่ายพลเรือน และประชาชน จานวน 184 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ใช้แบบสอบถาม สถติ ิท่ีใช้ ไดแ้ ก่ คา่ ร้อยละ คา่ เฉลี่ย ค่าความถ่ี และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ซ่ึงสรปุ ผลการวจิ ยั ดงั น้ี สรปุ ผลการวิจัย ดังนี้ 1. ระดับความคิดเห็นของอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ต่อการดาเนินงานของ ศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนองค์การบริหารส่วนตาบลวังดาล สรุปในภาพรวมอยู่ในระดับมาก สามารถแยกเป็นรายด้าน ดงั นี้ 1.1 ด้านปัจจัยนาเข้า ได้แก่ คน งบประมาณ และเครื่องมืออุปกรณ์ มีความเหมาะสม ในภาพรวม อยูใ่ นระดับมาก 1.2 ด้านกระบวนการบริการ ประกอบด้วย การวางแผน การจัดองค์กร การบริหารงาน บคุ คล การอานวยการ และการควบคมุ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2. ระดับความคิดเห็นของประชาชนในพ้ืนท่ีตาบลวังดาล ส่วนใหญ่เห็นว่าการดาเนินงาน ของศูนย์ฯ มีความพร้อมในการบรรเทาสาธารณภัยในระดับสูง สามารถช่วยเหลือผู้ประสบภัยได้รวดเร็ว และมีประสทิ ธภิ าพ ในภาพรวม อยู่ในระดบั มาก

ข จากการศึกษาเกยี่ วกบั ปจั จัยสนบั สนนุ ทีม่ ีผลตอ่ ความสาเรจ็ ในการดาเนินงานของศูนย์อาสาสมัคร ป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนองค์การบริหารส่วนตาบลวังดาล อาเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี พบว่า ศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนองค์การบริหารส่วนตาบลวังดาล ประสบผลสาเร็จในการ ดาเนินงานอยู่ในระดับมาก ซ่ึงมาจากปัจจัยตามหลักเกณฑ์ที่ ศูนย์ อปพร. กลางกาหนดแล้วยัง ประกอบด้วยปัจจัย ด้านคน คือมีสมาชิก อปพร. ที่พร้อมปฏิบัติงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยใน พ้ืนที่ มีการตั้งงบประมาณ และมีเครื่องมืออุปกรณ์ที่พร้อมใช้งานอย่างเพียงพอและเหมาะสม โดยผ่าน กระบวนการบรหิ ารจดั การท่ดี ี ไดแ้ ก่ การวางแผน ซ่งึ เน้นการมีส่วนร่วมของประชาชน แสดงให้เห็นถึงการ มุ่งเน้นในการตอบสนองความต้องการของประชาชนเป็นหลัก ในด้านการจัดการองค์กร มีกา รจัด โครงสร้างและกาหนดบทบาทหน้าท่ีความรับผิดชอบตลอดจนมอบหมายงานที่ชัดเจน การบริหารบุคคล ผู้บริหารองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ได้ให้ความสาคัญในกิจการ อปพร. เห็นได้จากการให้มีกิจกรรม อย่างตอ่ เน่อื ง เช่น การประชุม การอบรมให้ความรู้แก่สมาชิก อปพร. ส่วนในด้านการอานวยการ ถือเป็น ปัจจัยที่ศูนย์ อปพร. ประสบผลสาเร็จท่ี ศูนย์ฯ อปพร. ประสบผลสาเร็จมากท่ีสุด มีการสร้างแรงจูงใจ ให้สมาชิก อปพร. มีส่วนร่วมการทางานอย่างทุ่มเทและเสียสละ สาหรับในด้านการควบคุม ก็จะมี ระบบรายงาน การตรวจสอบติดตามและการปรับปรุงแก้ไข อย่างไรก็ตามประชาชนส่วนใหญ่เห็นว่าศูนย์ อปพร. โดยเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชน ที่เหมาะสมในทุกข้ันตอน เป็นหลักในการบริหารจัดการซ่ึง นาไปสผู่ ลสาเรจ็ ในการดาเนนิ งาน จากผลการศึกษาเก่ียวกับปัจจัยสนับสนุนที่มีผลต่อความสาเร็จในการดาเนินงานของศูนย์อาสาสมัคร ป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนองค์การบริหารส่วนตาบลวังดาล อาเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี สามารถ ท่ีจะใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาศูนย์ฯ อปพร. ให้ประสบผลสาเร็จได้สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการ สร้างเครือข่ายความร่วมมือของประชาชนในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ซ่ึงจะเป็นกลไกสาคัญ ทีช่ ว่ ยให้บริหารจดั การภยั พิบัติ (การปอ้ งกนั บรรเทา ฟ้นื ฟู) ในพื้นทีร่ บั ผดิ ชอบเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ประชาชนผู้ประสบภัยจะได้รับการช่วยเหลืออย่างทันท่วงที และเกิดความมั่นใจความปลอดภัยของชีวิต และทรัพย์สิน ด้ังนั้น ศูนย์ฯ อปพร. จังหวัด ศูนย์ฯ อปพร. อาเภอ จึงควรสร้างความเข้าใจและการทาให้ ผ้บู รหิ ารองค์การปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน เห็นความสาคัญของกจิ การ อปพร. พิจารณาตั้งงบประมาณเพ่ือการ ฝึกอบรม อปพร. รวมทั้งการสนับสนุนกิจการ อปพร. ด้านอ่ืนๆ ตลอดจนพัฒนาองค์กรที่เก่ียวข้อง ให้เข้มแข็ง เช่น คณะกรรมการประสานงานศูนย์ อปพร. ในทุกระดับ เพ่ือสร้างความเข้าใจให้เกิดความ รว่ มมอื ต่อกนั ระหวา่ งศูนย์ อปพร. กบั สมาชิก อปพร.

ค สารบัญ หนา้ คานา กิตตกิ รรมประกาศ บทสรปุ สาหรับผู้บริหาร ก สารบัญ ค บทท่ี 1 บทนา ความสาคญั และทมี่ าของปญั หาวจิ ยั 1 วตั ถุประสงค์ของการศึกษา 3 ขอบเขตการศึกษา 3 ประโยชนท์ ใี่ ชใ้ นการศึกษา 3 นยิ ามศพั ท์เฉพาะ 3 บทที่ 2 แนวคดิ ทฤษฎีและงานวจิ ัยท่ีเกยี่ วข้อง 1. แนวความคิดและทฤษฎีเร่ืองกระบวนการบรหิ าร 4 2. แนวความคดิ และทฤษฎีเรอ่ื งการบรหิ ารจัดการสาธารณภยั 5 3. แนวความคิดและทฤษฎเี รอื่ งอาสาสมคั รปอ้ งกนั ภยั ฝ่ายพลเรือน 5 4. พระราชบญั ญัตปิ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 6 5. งานวจิ ัยทเ่ี ก่ียวข้อง เรอื่ ง ปัญหาและอปุ สรรคในการบริหารศูนย์อาสาสมัคร 7 ปอ้ งกันภยั ฝ่ายพลเรือน กรอบแนวคดิ 9 บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย ประชากร 10 ตวั อย่าง 10 เคร่อื งมอื ทใ่ี ช้ในการศกึ ษา 10 การตรวจสอบเครื่องมอื 11 องคป์ ระกอบแบบสอบถาม 11 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 11 การแปลผลขอ้ มลู 12 สถิตทิ ีใ่ ชใ้ นการวเิ คราะห์ 12 บทที่ 4 การวเิ คราะหข์ ้อมลู ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู สว่ นบคุ คลของกลมุ่ ตัวอย่าง 13 สว่ นท่ี 2 ระดบั ความคิดเห็นของอาสาสมคั รปอ้ งกนั ภยั ฝ่ายพลเรือนตอ่ การดาเนนิ งานของ 16 ศนู ย์อาสาสมคั รปอ้ งกันภยั ฝ่ายพลเรอื นองค์การบริหารสว่ นตาบลวงั ดาล อาเภอกบินทรบ์ รุ ี จังหวัดปราจนี บรุ ี สว่ นที่ 3 ความคิดเห็นของประชาชนในพ้ืนท่ีตาบลวังดาล ต่อความเหมาะสมในการดาเนินงาน 22 ของศูนย์ฯ

สารบญั ง บทที่ 5 บทสรุปผลการศกึ ษาวิจัยและข้อเสนอแนะ หนา้ สรปุ ผลการศึกษา การอภปิ รายผล 24 ข้อเสนอแนะสาหรบั การนาผลไปใช้ 26 ขอ้ เสนอแนะสาหรับการวจิ ัยคร้งั ต่อไป 26 26 บรรณานกุ รม แบบสอบถามเพื่อการวิจยั แบบอนมุ ัติเสนอโครงรา่ ง ประวตั ผิ ู้ศกึ ษา

บทท่ี 1 บทนำ ควำมสำคัญและท่มี ำของปัญหำวจิ ยั ในปัจจุบันสาธารณภัยทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและที่เกิดข้ึนจากการกระทาของมนุษย์ ได้กลายเป็นปัญหาสาคัญของโลกรวมท้งั ประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างย่ิงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีท่ีทา ให้เกิดการขยายตัวของเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน เป็นปัจจัยสาคัญท่ีส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อการ ทาลายสิ่งแวดล้อมของโลก ทาให้ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ และมนุษย์กับธรรมชาติ เปลี่ยนแปลงไป เป็นปัจจัยเร่งให้โลกต้องเผชิญกับวิกฤติด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะสถานการณ์ภาวะโลกร้อน ส่งผลให้เหตุสาธารณภัยมีแนวโน้มว่าจะมีความรุนแรงและมีความถ่ี เพ่มิ มากขึ้น เช่น แผ่นดนิ ไหว สนึ ามิ อุทกภัย วาตภัย ดินโคลนถล่ม อัคคีภัย ภัยแล้ง โรคระบาดทั้งในสัตว์ พืช และมนุษย์สารเคมีวัตถุอันตรายตลอดจนภัยจากคมนาคมขนส่งซ่ึงสร้างความเสียหายให้กับชีวิตและ ทรัพย์สินของประชาชนจานวนมาก การเตรียมความพร้อมรับภัยพิบัติดังกล่าวจึงเป็นส่ิงจาเป็นในการ ป้องกันอันตรายและช่วยเหลือตนเองและช่วยเหลือผู้อ่ืน ซ่ึงจะช่วยลดความสูญเสียท่ีจะเกิดขึ้นได้ เปน็ อยา่ งดี (กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย, 2552) การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยดังกล่าว ถือเป็นภารกิจที่สาคัญและส่งผลต่อสภาพความ เป็นอยู่คุณภาพชีวิต ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน รัฐบาลจึงออกกฎหมายในการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยฉบับแรก ชอื่ วา่ พระราชบญั ญตั ิป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน พ.ศ. 2522 ต่อมา ไดย้ กเลกิ และออกพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 มีผลบังคับใช้ต้ังแต่วันท่ี 6 พฤศจิกายน 2550 โดยกาหนดให้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งพ้ืนท่ี มีหน้าที่ในการป้องกัน แลบรรเทาสาธารณภัยในเขตท้องถิ่นของตน ซ่ึงมีผู้บริหารท้องถ่ินแห่งพ้ืนท่ีนั้นเป็นผู้รับผิดชอบ (กรม ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย, 2552) องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นหน่วยงานบริหารราชการส่วน ท้องถ่ิน มีอานาจหน้าที่และภารกิจตามพระราชบัญญัติกาหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอานาจให้แก่ องค์การปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน พ.ศ. 2542 มาตรา 16 ให้เทศบาลเมืองพัทยาและองค์การบริหารส่วนตาบล มีอานาจหน้าที่ในการจัดบริการสาธารณะเพ่ือประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง ดังน้ี (29) ป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั (กรมส่งเสรมิ การปกครองส่วนท้องถิน่ , 2549) การบริหารจัดการสาธารณภัยที่นานาอารยประเทศถือเป็นหลักสากลที่ต้องจัดให้มีข้ึน คือการ คัดเลือกและฝึกอบรมอาสาสมัครเพราะเม่ือเกิดสาธารณภัยขนาดใหญ่ข้ึน ประชาชนผู้ประสบภัยมีเป็น จานวนมาก เจ้าหน้าที่บ้านเมืองท่ีจะช่วยเหลือผู้ประสบภัยมีจานวนไม่เพียงพอกับการเข้าช่วยเหลือ ผปู้ ระสบภยั จาเป็นท่ีจะต้องคดั เลือกประชาชนทอี่ ยบู่ รเิ วณเดยี วกันนามาฝึกอบรมให้ความรู้ในการป้องกัน แจ้งเตือน ปฏิบัติการระงับบรรเทาภัย เพ่ือให้การจัดการในสถานการณ์ฉุกเฉินได้ดาเนินไปอย่างมี ประสิทธิภาพ ซึ่งพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 กาหนดให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นจัดตั้งหน่วยงานอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน เพื่อช่วยเหลือสนับสนุนหน่วยราชการใน การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยทัว่ ราชอาณาจกั ร โดยไดด้ าเนนิ การตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่า ดว้ ยหนว่ ยอาสาสมคั รปอ้ งกนั ภยั ฝา่ ยพลเรอื น พ.ศ. 2553 (กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย, 2552) จังหวัดปราจีนบุรี ต้ังอยู่ทางภาคตะวันออกของประเทศไทย อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร 136 กิโลเมตร ตามทางหลวงหมายเลข 33, 304 ใช้เวลาเดินทาง 1 ช่ัวโมง 30 นาที เป็นจุดเช่ือมโยงการ

2 คมนาคมจาก กรุงเทพมหานคร ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และประเทศกัมพูชา มีพ้ืนท่ีท้ังหมด 4,762,362 ตารางกิโลเมตร หรือ 2,976,476 ไร่ แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 7 อาเภอ ได้แก่ อาเภอเมืองปราจีนบุรี อาเภอกบินทร์บุรี อาเภอศรีมหาโพธิ อาเภอประจันตคาม อาเภอบ้านสร้าง อาเภอนาดี และอาเภอศรีโหสถ ซ่ึงมีประชากร 476,167 คน ทิศเหนือติดกับจังหวัดนครราชสีมา ทิศตะวันออกติดกับจังหวัดสระแก้ว ทิศตะวันตกติดกับจังหวัดนครนายก ทิศใต้ติดกับจังหวัดฉะเชิงเทรา สภาพโดยท่ัวไปของจังหวัดปราจีนบุรี ตอนบนเป็นที่ราบสูงและป่าทึบสลับซับซ้อน มียอดเขาสูง 1,326 เมตร และเป็นแหล่งกาเนิดต้นน้าหลายสาย มีธรรมชาติสวยงามจนได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก ส่วนตอนล่างเป็นท่ีราบลุ่มแม่น้า เหมาะแก่การเพาะปลูก ได้แก่ ท่ีร าบลุ่มแม่น้าบางปะกง สูงกวา่ ระดบั นา้ ทะเล 5 เมตร แมน่ ้าปราจีนบุรี เกดิ จากแควหนุมาน และแควพระปรางไหลมาบรรจบกันที่ อาเภอกบนิ ทร์บุรี และไหลลงสอู่ ่าวไทยทอ่ี าเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา ประชากรส่วนใหญ่ประกอบ อาชีพเกษตรกรรม จังหวัดปราจีนบุรีเป็นจังหวัดที่มีธรรมชาติสวยงาม ประกอบกับใกล้กรุงเทพมหานคร ทาให้มีประชาชนสัญจรเดินทางมาเป็นจานวนมาก โดยเฉพาะในวันหยุด สาหรับภัยพิบัติท่ีเกิดขึ้น ในจังหวดั ปราจีนบุรี ได้แก่ อทุ กภยั ภยั แลง้ ไฟป่าและหมอกควนั น้าทะเลหนุนในฤดูแลง้ สภาพท่ัวไปของตาบลวังดาล มีพ้ืนท่ี 38.414 ตารางกิโลเมตร หรือ 24,009 ไร่ อยู่ห่างจาก ท่ีว่าการอาเภอกบินทร์บุรี ประมาณ 20 กิโลเมตร และมีอาณาเขตติดต่อดังน้ี ทิศเหนือติดตาบลนนทรี ทิศใต้ติดแม่น้าปราจีนบุรี ทิศตะวันออกติดตาบลกบินทร์บุรี ทิศตะวันตกติดตาบลดงบัง ตาบลบ้านหอย อาเภอประจันตคาม และตาบลบ้านทาม อาเภอศรีมหาโพธิ สภาพพ้ืนท่ีทิศเหนือเป็นพื้นที่ราบสูงสลับกับ พน้ื ที่ราบลุ่มเป็นแนวยาวตั้งแต่ทิศตะวันออกจนถึงทิศตะวันตก ทางทิศใต้จะเป็นพื้นที่ราบลุ่มสลับซับซ้อน มีคลองและแม่น้าปราจีนบุรีไหลผ่าน แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 16 ตาบล ราษฎรจานวน 7,391 คน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ ทานา ทาสวน ทาไร่ ค้าขาย ประมงน้าจืด และรับจ้างทั่วไป มสี ถานศกึ ษา 9 แหง่ แยกเปน็ โรงเรยี นประถมศึกษา 7 แห่ง โรงเรียนมัธยมศึกษา 2 แห่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 7 แห่ง วัด 7 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล 2 แห่ง ที่ทาการตารวจชุมชน 1 แห่ง ศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนตาบลวังดาล 1 แห่ง มีสมาชิกอาสาสมัครป้องกันภัย ฝ่ายพลเรอื น 140 คน จังหวัดปราจีนบุรี มีศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน องค์การบริหารส่วนตาบลและ ศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนเทศบาล จานวน 70 แห่ง แต่ละแห่งมีโครงสร้างการดาเนินงาน เหมือนกัน แต่ผลของการดาเนินงานแตกต่างกัน ซึ่งมีจานวนไม่มากนักที่ประสบผลสาเร็จ สาหรับศูนย์ อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน องค์การบริหารส่วนตาบลวังดาล อาเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี ก็เป็นศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนแห่งหนึ่งท่ีค่อนข้างจะประสบผลสาเร็จในการปฏิบัติงาน ช่วยเหลือผู้ประสบภัยและดูแลรักษาความสงบเรียบร้อยในชุมชน และได้ดาเนินการมาเป็นระยะเวลา 11 ปี จนเปน็ ทีป่ ระจกั ษ์แก่ประชาชนโดยทวั่ ไป ด้ังน้ันจากเหตุผลดังกล่าว จึงเป็นมูลเหตุให้ผู้ศึกษามีความสนใจท่ีจะศึกษาเกี่ยวกับความคิดเห็น ของอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน และประชาชนในพื้นที่ตาบลวังดาล ต่อการดาเนินการของศูนย์ อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนองค์การบริหารส่วนตาบลวังดาล เพื่อให้ทราบถึงกระบวนการบริหาร อนั จะนาไปสผู่ ลสาเรจ็ ในการดาเนนิ งานของศูนยอ์ าสาสมคั รป้องกนั ภัยฝ่ายพลเรือน ตลอดจนแนวทางการ พัฒนาและปรับปรุงอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน เพื่อจะได้เป็นแนวทางการพัฒนาให้กับศูนย์ อาสาสมัครปอ้ งกนั ภยั ฝ่ายพลเรอื นของจงั หวัดปราจนี บรุ ี ต่อไป

3 วัตถปุ ระสงค์ของกำรศกึ ษำ 1. เพ่ือศึกษาปัจจัยที่นาไปสู่ผลสาเร็จในการดาเนินงานของศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลวงั ดาล อาเภอกบินทรบ์ รุ ี จังหวัดปราจีนบุรี 2. เพ่ือศึกษาแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนองค์การ บรหิ ารสว่ นตาบลวังดาล อาเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบรุ ี ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากยิ่งขึน้ ขอบเขตกำรศกึ ษำ ผู้วจิ ัยใชก้ ารวิจยั เชิงปริมาณสาหรับการศกึ ษาคร้ังน้ี โดยเลือกใช้วิธีการสารวจด้วยแบบสอบถามท่ี สร้างขนึ้ และได้กาหนดขอบเขตของการวิจยั ไวด้ งั นี้ คือ 1. ประชากรท่ีใช้ศึกษาเป็น อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนและประชาชนในพ้ืนที่ตาบลวังดาล อาเภอกบนิ ทรบ์ ุรี จังหวัดปราจนี บรุ ี 2. ตัวอย่างที่ใช้ศึกษาเลือกจากประชากร โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเชิงปริมาณ และใช้จานวน 184 คน ซงึ่ จานวนน้ีได้จากการใช้ตารางสาเรจ็ รูปของ Yamane (1967) 3. ตัวแปรทเ่ี กย่ี วข้องกบั การศึกษา ประกอบดว้ ย ตวั แปรตาม คือ ผลสาเร็จในการดาเนินงานของศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลวังดาล อาเภอกบนิ ทร์บรุ ี จังหวัดปราจนี บรุ ี ตัวแปรอสิ ระ คือ ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ เพศ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส อาชีพ รายได้ ปัจจัยนาเข้าได้แก่การวางแผน การจัดองค์กร การบริหารงานบุคคลด้านการอานวยการ และด้าน การควบคมุ 4. สถานที่ศึกษาที่ผ้วู จิ ัยใช้เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู คอื บริเวณ ตาบลวังดาล อาเภอกบินทร์บุรี จังหวัด ปราจนี บรุ ี 5. ระยะเวลาในการศึกษา เร่ิมต้งั แต่ 15 มกราคม 2557 ถงึ 15 มีนาคม 2557 ประโยชนท์ ่ีใชใ้ นกำรศกึ ษำ ผลจากการศึกษามปี ระโยชน์ต่อฝา่ ยทเี่ กยี่ วขอ้ งดังน้ี คือ 6.1 นาเสนอผู้บังคับบัญชาให้ทราบถึงปัจจัยท่ีนาไปสู่ผลสาเร็จในการดาเนินงานของศูนย์ อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการตัดสินใจ อันจะนาไปสู่การพัฒนารูปแบบการ บรหิ ารกิจการ อปพร. ทดี่ ีให้กบั ศูนย์ อปพร. ในพื้นท่จี งั หวัดปราจีนบรุ ี 6.2 นาเรียนผ้บู ังคบั บัญชาให้ทราบถงึ ความคดิ เหน็ ของอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนและ ประชาชนต่อการดาเนินงานของศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน เพ่ือใช้เป็นแนวทางการพัฒนา และปรับปรงุ ศนู ย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนจงั หวัดปราจนี บุรี ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพมากยิ่งขน้ึ นิยำมศพั ท์เฉพำะ คานยิ ามศัพทเ์ ฉพาะในการศึกษาในครงั้ นี้ ได้แก่ ประชาชน หมายถงึ ประชาชนในพ้ืนท่ี ตาบลวังดาล อาเภอกบินทรบ์ ุรี จังหวดั ปราจีนบุรี ชมุ ชน หมายถึง พื้นท่ีตาบลวังดาล อาเภอกบนิ ทรบ์ รุ ี จังหวัดปราจนี บุรี อปพร หมายถึง อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน องค์การบริหารส่วนตาบลวังดาล อาเภอกบนิ ทร์บรุ ี จังหวดั ปราจีนบรุ ี

บทท่ี 2 แนวคดิ ทฤษฎแี ละงานวจิ ัยทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง บทนเี้ ป็นการนาเสนอ แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจยั ที่เกีย่ วข้องกบั ตวั แปรของการศกึ ษาซ่งึ ผู้วจิ ยั ได้ ทาการสบื ค้น จากเอกสารทางวิชาการและงานวิจัยจากแหล่งต่างๆ โดยแบ่งเนือ้ หาของบทเป็น 5 ส่วน คอื 1. แนวความคิดและทฤษฎีเรื่องกระบวนการบริหาร 2. แนวความคดิ และทฤษฎีเร่อื งการบริหารจัดการสาธารณภัย 3. แนวความคิดและทฤษฎีเร่ืองอาสาสมคั รป้องกันภยั ฝา่ ยพลเรอื น 4. พระราชบัญญตั ปิ ้องกันและบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 5. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เร่ือง ปัญหาและอุปสรรคในการบริหารศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัย ฝ่ายพลเรือน 1. แนวความคดิ และทฤษฎีเรือ่ งกระบวนการบริหาร เสนาะ ติเยาว์ (2544) ได้ให้ความหมายว่า กระบวนการบริหาร คือ กระบวนการทางานกับคน และโดยอาศัยคนอื่น เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์การภายใต้สภาพแวดล้อมท่ีเปลี่ยนแปลง โดยสรุปไว้ เป็นประเด็นสาคัญ คือ (1) การบริหารเป็นการทางานกับคนและโดยอาศัยคน (2) การบริหารทาให้งาน บรรลุเป้าหมายขององค์กร (3) การบริหารเป็นความสมดุลระหว่างประสิทธิผลและประสิทธิภาพ (4) การบริหารเป็นการใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างจากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด (5) การบริหารต้องเผชิญ กับสภาพแวดล้อมที่เปล่ียนแปลงเสมอ อย่างไรก็ตาม ศิริวรรณ เสรีรัตน์ (2549) ได้กล่าวถึงกระบวนการ บริหารแบบใหม่ว่าการบริหารองค์กรมีลักษณะที่เป็นระบบและเป็นกระบวนการทางานให้สาเร็จตาม วัตถุประสงค์ อย่างมีประสทธิภาพและประสิทธิผล โดยมีปัจจัยนาเข้า คือ ปัจจัยด้านกาลังคน ปัจจัยการเงิน และปัจจัยด้านวัสดุอุปกรณ์ ผ่านกระบวนการบริหาร ซึ่งประกอบไปด้วย 5 ประการ คือ การวางแผน (Planning) การจัดองค์การ (Organizing) การบริหารงานบุคคล (Staffing) การอานยการ (Directing) และการควบคมุ (Controlling) กระบวนการบริหารตามแนวคิดของ Weichrich ซ่ึงมีข้ันตอน ดังนี้ (1) การวางแผน (Planning) เกี่ยวข้องกับการคาดการณ์ (Forecasting) การกาหนดวัตถุประสงค์ (Set objective) การพัฒนากลวิธี (Develop strategies) ในการวางแผนจาแนกแผนออกเป็นโครงการ (Program) กาหนดงบประมาณ (Budget) และแนวการปฏิบัติ (Procedure) ตลอดจนปรับปรุงนโยบาย (Policy) ใหส้ อดคล้องและทันกับเหตุการณ์อยู่เสมอ กล่าวโดยสรุปก็คือ เป็นการเตรียมการข้ันแรกในการ ท่ีจะปฏิบัติงานน่ันเอง (2) การจัดองค์การ (Organizing) เกี่ยวข้องกับการจัดโครงสร้างขององค์การ (Organization structure) การสร้างขอบเขตงาน และความสัมพันธ์ของงานต่างๆ (Delineate relationships) การกาหนดตาแหน่งหน้าท่ี (Create position descriptions) ตลอดจนการกาหนดคุณสมบัติที่ต้องการ ตาแหน่งนั้นๆ กล่าวโดยสรุปการดาเนินงานข้ันน้ีเป็นการจัดงานให้ประสานสอดคล้องเพ่ือบรรลุ วัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ (3) การบริหารงานบุคคล (Staffing) เป็นขั้นตอนที่เก่ียวกับการเลือกสรร (Select) ปฐมนิเทศ (Orientation) การฝึกอบรม (Training) และการพัฒนาบุคคล (Personnel development) เพ่อื ใหบ้ คุ คลที่ดารงตาแหน่งตา่ งๆ มคี วามรเู้ หมาะสมกับตาแหน่งหน้าท่ีรับผิดชอบท่ีมีอยู่ ซงึ่ อาจสรุปกระบวนการขั้นน้ีได้ว่า เป็นการเลือกสรรบุคคลเพื่อให้ได้บุคคลท่ีมีความรู้ความสามารถเหมาะ กับตาแหน่งที่กาหนดไว้ (4) การอานวยการ (Directing) การบริหารขั้นนี้เป็นหน้าที่เก่ียวกับการตัดสินใจ (Decision making) มอบหมายหน้าท่ีการงาน (Delegation) การจูงใจ (Motivation) การประสานงาน

5 (Coordination) การจัดให้มีส่วนร่วม (Participation) ในการปฏิบัติงานเพ่ือก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง (Change) ไปในทางสร้างสรรค์ ความเจริญก้าวหน้าให้แก่องค์การ อันอาจกล่าวได้ว่าเป็นการดาเนินการ เพื่อให้ภารกิจขององค์การบรรลุวัตถุประสงค์ท่ีกาหนดไว้ (5) การควบคุม (Controlling) ในการควบคุม งานนน้ั จะตอ้ งกาหนดระบบการรายงาน (Establish reporting system) พัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงาน (Develop performance standard) การวัดผล (Measurement result) ดาเนินการแก้ไขข้อบกพร่อง (Correct) ท้งั นี้เพ่อื ให้งานดาเนินงานไปโดยถกู ต้อง ความมงุ่ หมายสาคัญของการควบคุมงานก็คือ ต้องการ ให้งานบรรลุวัตถุประสงค์ท่ีกาหนดไว้และหากไม่บรรลุวัตถุประสงค์ ก็จะได้ทราบอุปสรรคข้อขัดข้องได้ ซง่ึ ถ้าแบ่งงานเปน็ ขน้ั ตอนดว้ ยแลว้ ก็เปน็ ความสะดวกท่ีจะแก้ไขอุปสรรคท่ีเกิดข้ึนแต่ต้นก่อนที่เหตุเหล่าน้ัน จะลุกลามเสียหายมากมายจนเกินแก้ 2. แนวความคดิ และทฤษฎเี รอ่ื งการบริหารจดั การสาธารณภยั จากสภาพแวดล้อมท่ีเปลี่ยนแปลงไป เช่นความแปรปรวนของภูมิอากาศ ความไม่สมดุลของ ระบบนิเวศน์ ทาให้สาธารณภัยมีแนวโน้มท่ีจะทวีความถ่ีและความรุนแรงเพ่ิมข้ึนไม่ว่าจะเป็นสาธารณภัย ท่เี กดิ ข้นึ จากปรากฏการณท์ างธรรมชาติและสาธารณภัยที่เกิดขึ้นจากการกระทาของมนุษย์ ขณะเดียวกัน การท่ปี ระเทศไทยมกี ารพฒั นาและเจริญกา้ วหนา้ ทางด้านอุตสาหกรรมยังส่งผลให้ภัยพิบัติท่ีเกิดข้ึนมีความ หลากหลายและสลับซับซ้อนมากย่ิงข้ึน ดังน้ันการบริหารจัดการสาธารณภัยจึงเป็นเร่ืองสาคัญอย่างย่ิง จาเป็นต้องคานึงถึงการเตรียมความพร้อมที่ดี มีกาลังคน การมีระบบเตือนภัย การมีแผนรับมือ การฝึกซ้อมแผน การทบทวนหรือปรับปรุงการป้องกันภัยให้สอดคล้องกับสถานการณ์อยู่เสมอ เพื่อเตรียม ความพรอ้ มไวร้ องรบั สถานการณ์ และเพ่ือเป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้การปฏิบัติงานในภาวะฉุกเฉินสามารถ ดาเนินไปได้อย่างเป็นระบบมีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผลสูงสุด ระยะของการเกิดภัยประกอบด้วย (1) ระยะก่อนเกิดภัย เป็นห้วงระยะเวลาก่อนภัย ซึ่งอาจจะส้ันหรือยาวแล้วแต่ชนิดของภัย ทาให้มีโอกาส เตือนภัยกับประชาชนได้ ประชาชนมีโอกาสรับทราบข่าวภัยล่วงหน้า จากโทรทัศน์ เสียงสัญญาณต่างๆ หากมีการประชาสัมพันธ์และฝึกปฏิบัติล่วงหน้า ก็จะมีเวลาเพียงพอสาหรับเตรียมการป้องกัน หรือหลีกเล่ียงอันตราย เพื่อให้ทรัพย์สินได้รับความเสียหายน้อยท่ีสุด ระยะน้ีจึงเป็นช่วงเวลาสาหรับการ เตรียมการณ์ต่างๆ เพื่อให้เกิดความพร้อมในการให้ความช่วยเหลือประชาชน เพ่ือลดการสูญเสียชีวิต และทรัพย์สินให้มากท่ีสุด (2) ระยะเกิดภัย เป็นระยะท่ีทาให้เกิดความเสียหาย ทั้งชีวิตและทรัพย์สิน ระยะการเกิดภัยจะแตกต่างกันไปตามแต่ชนิดของภัยพิบัตินั้นๆ ภัยที่เกิดข้ึนในระยะเวลาช่วงส้ันๆ เป็นนาทีหรือวินาที เช่น การระเบิด แผ่นดินไหว อุบัติภัยจากการจราจร ภัยที่เกิดในช่วงเวลาเป็น ช่ัวโมง/วัน เช่น อุทกภัย วาตภัย ภัยท่ีเกิดในช่วงเวลาเป็นเดือน/ปี เช่น โรคระบาด ความแห้งแล้ง (3) ระยะหลังเกิดภัย เป็นห้วงระยะเวลาท่ีภัยเกิดขึ้นแล้วหรือยังคงอยู่แต่ละความรุนแรงลง ซ่ึงระยะนี้ จะเปน็ ระยะของการช่วยชีวติ การระงับภัยและการฟ้ืนฟูบรู ณะความเสยี หาย 3. แนวความคดิ และทฤษฎเี รอ่ื งอาสาสมคั รปอ้ งกนั ภัยฝ่ายพลเรอื น กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั (2550) ได้กาหนดว่า พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 เป็นกฎหมายหลักในการบริหารจัดการสาธารณภัยในปัจจุบัน โดยสรุปสาระสาคัญที่เก่ียวข้อง ดังนี้ มาตรา 4 กาหนดว่า (1) สาธารณภัย หมายความว่า อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ภัยแล้ง โรคระบาดในมนุษย์ โรคระบาดในสัตว์ โรคระบาดสตั ว์นา้ การระบาดของศตั รพู ชื ตลอดจนภัยอ่ืนๆ อันมีผลกระทบต่อสาธารณชน ไม่ว่า เกิดจากธรรมชาติ มีผู้ทาให้เกิดขึ้น อุบัติเหตุ หรือเหตุอื่นใด ซ่ึงก่อให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ร่างกายของประชาชน หรือความเสียหายแก่ทรัพย์สินของประชาชน หรือของรัฐ และให้ความหมายรวมถึงภัยทางอากาศ

6 และการก่อวินาศกรรมด้วย (2) ภัยทางอากาศ หมายความว่า ภัยอันเกิดจากการโจมตีทางอากาศ (3) การก่อวินาศกรรม หมายความว่า การกระทาใดๆ อันเป็นการมุ่งทาลายทรัพย์สินของประชาชนหรือของรัฐหรือ ส่ิงอันเป็นสาธารณูปโภค หรือการรบกวนขัดขวางหน่วงเหน่ียวระบบการปฏิบัติงานใดๆ ตลอดจนการประทุษร้าย ต่อบุคคลอันเป็นการก่อให้เกิดความป่ันป่วนทางการเมือง การเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดยมุ่งหมายที่จะ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อความมั่นคงแห่งรัฐ (4) องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หมายความว่า องค์การบริหาร ส่วนตาบล เทศบาล องค์การบริหารส่วนจังหวัด เมืองพัทยา กรุงเทพมหานคร และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอ่ืน ท่ีมีกฎหมายจัดตั้ง (5) ผู้บริหารท้องถิ่น หมายความว่า นายกองค์การบริหารส่วนตาบล นายกเทศมนตรี นายก เมอื งพทั ยา และหวั หน้าผบู้ ริหารองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ แห่งพืน้ ที่อ่นื ผู้อานวยการ หมายความว่า ผู้อานวยการ กลาง ผู้อานวยการจังหวัด ผู้อานวยการอาเภอ ผู้อานวยการท้องถิ่น และผู้อานวยการกรุงเทพมหานคร (6) อาสาสมัคร หมายความว่า อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน มาตรา 20 ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินแห่ง พื้นที่ มีหน้าท่ีป้องกันและบรรเทาสาธาณภัยในเขตท้องถิ่นของตนเอง และมีหน้าท่ีช่วยเหลือผู้อานวยการจังหวัด และผู้อานวยการอาเภอตามท่ไี ด้รับมอบหมาย มาตรา 21 เม่อื เกิดหรอื คาดวา่ จะเกดิ สาธารณภัยข้ึนในเขตขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งพ้ืนท่ีใด ให้ผู้อานวยการท้องถ่ินมีหน้าท่ีเข้าดาเนินการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย โดยเร็ว และมาตรา 41 ให้ผู้อานวยการจัดให้มีอาสาสมัครในพื้นท่ีรับผิดชอบเพ่ือปฏิบัติหน้าที่ ดังต่อไปน้ี (1) ใหค้ วามชว่ ยเหลือเจา้ พนกั งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย (2) ปฏิบัติหนา้ ทอี่ นื่ ตามที่ผอู้ านวยการมอบหมาย การบริหารและกากบั ดแู ลอาสาสมัคร การคดั เลือก การฝกึ อบรม สิทธิ หน้าที่และวินัยของอาสาสมัครให้เป็นไปตาม ระเบียบกระทรวงมหาดไทยกาหนด 4. พระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (2553) อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) ตรงกับ ภาษาอังกฤษว่า “Civil Defence” คือประชาชนในท้องถิ่นที่อาสาและสมัครใจ โดยไม่หวังผลตอบแทน ใดๆ เพื่อช่วยเหลือทางราชการ ในการป้องกันและบรรเทาสธารณภัย เป็นกาลังเสริมในการปฏิบัติหน้าท่ี เมื่อเกิดภัยพิบัติขึ้น ภายใต้แนวคิดท่ีจะให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการจัดการภัยพิบัติ หน้าท่ีของ อาสาสมัครป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบ รวมทั้งสนับสนุนการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย ให้กับพื้นที่ใกล้เคียง ดังต่อไปน้ี ก่อนเกิดภัย ได้แก่ (1) สอดส่องดูแลสิ่งผิดปกติ ที่เกิดข้ึน (2) สารวจ ตรวจสอบจุดเสี่ยงภัย (3) เตรียมความพร้อมด้านคน วัสดุ แจ้งเตือนภัย (4) เป็นแกนนาในการสร้างจิตสานึกเก่ียวกับความปลอดภัย (5) เฝ้าระวังเหตุ (6) สร้างพันธมิตรความ ร่วมมือของประชาชนตั้งแต่ในสภาวะปกติ (7) อื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย ขณะเกิดภัย ได้แก่ (1) ร่วม ปฏบิ ัติการในการบรรเทาภยั (2) ระดมความรว่ มมอื จากประชาชนในการบรรเทาภัย (3) ปฏิบัติการอ่ืนๆ ท่ี ได้รับมอบหมาย และภายหลังเกิดภัย ได้แก่ (1) ช่วยปฏิบัติงานด้านสงเคราะห์ผู้ประสบภัย (2) ช่วยฟ้ืนฟู ส่ิงท่ีได้รับความเสียหายให้กลับคืนสภาพปกติโดยเร็ว (3) ระดมความช่วยเหลือจากประชาชน ในปี พ.ศ. 2522 ได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ในราชกิจานุกเบกษา เล่มท่ี 96 ตอนที่ 39 โดยมีผลบังคับใช้ต้ังแต่วันท่ี 22 มีนาคม 2522 ซึ่งได้กาหนดจัดต้ังหน่วยอาสาสมัครป้องกัน ภัยฝ่ายพลเรอื น (อปพร.) ขนึ้ ทุกเขตในกรุงเทพมหานคร และทุกอาเภอทั่วราชอาณาจักร เพ่ือช่วยเหลือใน การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน จึงได้ถือเอาวันท่ี 22 มีนาคม ของทุกปีเป็นวันอาสาสมัครป้องกันภัย ฝ่ายพลเรือนในปี พ.ศ. 2531 กระทรวงมหาดไทย ได้กาหนดระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหน่วย อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน พ.ศ. 2531 ขึ้นโดยได้ประกาศใช้เม่ือวันท่ี 13 ตุลาคม พ.ศ. 2531 จึงทาให้การดาเนินงานเก่ียวกับ อปพร. เป็นไปอย่างมีระบบและมีกฎหมายรองรับอย่างถูกต้องและได้มี การเปลี่ยนแปลงเรื่อยมา เช่น พ.ศ. 2540 พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2547 และปัจจุบันอยู่ระหว่างยกร่างแก้ไข

7 ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยหน่วยอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน เพ่ือให้สอดคล้องกับ พระราชบัญญตั ิปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 และเพื่อให้เหมาะสมกับสภาพการปฏิบัติงาน ด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ซึ่งสาระสาคัญของระเบียบกระทรวงมหาดไทย ที่ได้มีการแก้ไข มีผลให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในระดับองค์การบริหารส่วนตาบลและเทศบาลท่ัวประเทศมีฐานะเป็น ศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ซ่ึงสอดคล้องกับหลักการกระจายอานาจ หลักการมีส่วนร่วมของ ประชาชน และหลักการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนท่ีเน้นบทบาทความสาคัญขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และประชาชนใหเ้ ขา้ มามีสว่ นร่วมในการบรหิ ารจัดการเกี่ยวกับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในพ้ืนที่ ซึ่งหน่วยอาสาสมัครประกอบไปด้วย ศูนย์ อปพร. กลาง ศูนย์ อปพร. เขต ศูนย์ อปพร. จังหวัด ศูนย์ อปพร. อาเภอ ศูนย์ อปพร. กงิ่ อาเภอ ศูนย์ อปพร. เทศบาล ศนู ย์ อปพร. องค์การบริหารส่วนตาบล ศนู ย์ อปพร. กรงุ เทพมหานคร ศูนย์ อปพร. เขตในกรุงเทพมหานคร ศนู ย์ อปพร. เมืองพัทยา ลักษณะการ ปฏิบัติหนา้ ทช่ี ว่ ยเหลือในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 5. งานวิจัยที่เก่ียวข้อง เร่ือง ปัญหาและอุปสรรคในการบริหารศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัย ฝ่ายพลเรือน ธิดารัตน์ รวยอบกล่ิน (2553) ได้ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการบริหารศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัย ฝ่ายพลเรือน กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนตาบลวังทอง อาเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก พบว่า ปัจจัยด้านการ บริหารจัดการ ประกอบด้วย โครงสร้างศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน มีปัญหาอุปสรรคอยู่ในระดับน้อย ด้านบคุ คลากร ด้านงบประมาณ ดา้ นอาคารสถานที่ วัสดอุ ปุ กรณ์ มปี ัญหาอุปสรรคอยู่ในระดับปานกลาง นอกจากนี้ ยังพบปญั หาด้านเครือ่ งมอื ส่อื สารมจี านวนไมเ่ พยี งพอ ขาดความชัดเจนในการประชาสัมพันธ์ ด้านอาคารสถานท่ีต้ัง ศูนย์ ยังขาดความพร้อมสาหรับดาเนินกิจกรรม และด้านความรู้ ความเข้าใจและการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน ตอ้ งการให้ศูนย์ฯ จัดสวัสดกิ ารตา่ งๆ และมคี ่าตอบแทนในการประชุม ต้องการให้ศูนย์ อปพร. จัดชุดเคลื่อนที่เร็วใน การแจ้งข้อมูลข่าวสารได้ทันเหตุการณ์ และเสรี พันธ์ุเจริญ (2550) ได้ศึกษาการพัฒนาศักยภาพการบริหารศูนย์ อปพร. ขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ในอาเภอปลวกแดง จังหวดั ระยอง พบว่า อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติงานในระดับปานกลางถึงค่อนข้างน้อย จะมีผลศักยภาพในการให้ความช่วยเหลือ และบรรเทาสาธารณภัย ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทาให้ไม่สามารถดูแลและสนองต่อความต้องการของ ประชาชนในท้องถ่ินได้ตามเจตนารมณ์ ขณะเดียวกัน อรชร หม่ันนางรอง (2554) ได้ศึกษาการบริหารจัดการ ศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนเทศบาลตาบลอุบล อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี พบว่า ในด้าน งบประมาณผู้บริหารไม่ให้ความสาคัญในการตั้งจ่ายงบประมาณ ด้านการจัดองค์กรไม่มีการประชุมชี้แจงบทบาท หนา้ ท่ขี องอาสาสมคั รปอ้ งกนั ภยั ฝ่ายพลเรือน ไม่มีระเบียบข้อบังคับของศูนย์ที่ชัดเจน ไม่มีการจัดทาแผนฝึกอบรม เพ่ิมจานวนสมาชิกให้ได้ร้อยละ 2 สาหรับ สุนทร นาเมืองรักษ์ ได้ศึกษากระบวนการบริหารที่นาไปสู่ ความสาเร็จของการดาเนินงานตามระบบบริหารคุณภาพ ISO 9000:2000 กรณีศึกษาธนาคารเพ่ือ การเกษตรและสหกรณ์ในจังหวัดขอนแกน่ พบว่า แนวทางการบริหารท่ีนาไปสู่ความสาเร็จการดาเนินงาน ให้บรรลุวัตถุประสงค์ การวางแผน ถือเป็นหน้าท่ีสาคัญอันดับแรก ซ่ึงเป็นการกาหนดทางเลือกในการ ปฏิบัติล่วงหน้า และต้องจัดให้มีการประชุมช้ีแจงให้พนักงานทุกระดับได้รับทราบขั้นตอน วิธีปฏิบัติต่างๆ จัดเตรียมอุปกรณ์ เครื่องมืออุปกรณ์ ให้เพียงพอพร้อมใช้งาน และปรับปรุงข้ันตอนการปฏิบัติงานให้ เหมาะสม กาหนดตวั ชว้ี ัดผลการปฏบิ ัติงานให้ชัดเจน พรอ้ มเปิดโอกาสให้ทุกคนไดม้ สี ่วนร่วมในการกาหนด ขนั้ ตอน กระบวนการปฏบิ ตั งิ านและปรับปรงุ แก้ไขอย่างต่อเนื่อง ซึ่งสอดคลอ้ งกบั นวลศรี วิจารณ์ (2540) ไดศ้ ึกษาความสัมพนั ธ์ระหว่างกระบวนการบริหารจดั การและประสทิ ธิผลโครงการผู้นาเยาวชนสาธารณสุข ในโรงเรยี นของจงั หวดั ในเขตสาธารณสขุ ท่ี 2 พบว่า กระบวนการบริหารจดั การโครงการฯ ฝา่ ยสาธารณสุข

8 อยู่ในระดับดี ฝ่ายการศึกษาอยู่ในระดับพอใช้ และไม่มีความแตกต่างกันระหว่างจังหวัด เมื่อพิจารณา รายด้าน พบว่า ด้านการจัดองค์การของคณะปฏิบัติงานฯ ท้ังสองฝ่ายมีความแตกต่างกันโดยเฉพาะด้าน การวางแผนการจัดองค์การและการควบคุม ส่วนผลการปฏิบัติกิจกรรมผู้นา ยสร. พบว่า ผู้นา ยสร. มีผลการปฏิบัติกิจกรรมนอกโรงเรียนดีกว่าผลการปฏิบัติกิจกรรมในโรงเรียน ผลการปฏิบัติกิจกรรมรวม ทุกด้านและผลการปฏิบัติกิจกรรมในโรงเรียนอยู่ในระดับต่า ผลการปฏิบัติกิจกรรมนอกโรงเรียนอยู่ใน ระดับปานกลาง เม่ือเปรียบเทียบผลการปฏิบัติกิจกรรมผู้นา ยสร. ระหว่างจังหวัด พบว่า มีความ แตกต่างกันและความสัมพันธ์ของกระบวนการบริหารจัดการและประสิทธิผลโครงการฯ พบว่า ไม่มี ความสัมพันธ์กัน ข้อเสนอแนะจากการวิจัย คือ นอกจากนโยบายของทั้งสองหน่วยงานควรมีความ ชัดเจนแล้ว ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติโครงการฯ ทั้งสองฝ่ายควรบริหารโครงการด้วยความตระหนักถึง ความสาคญั ดา้ นการวางแผน การจดั องคก์ ร การอานวยการ และการควบคุมงาน เพ่ือปรับปรุงโครงการให้ มีประสิทธภิ าพต่อไป ตอ่ มา วีระศักดิ์ บุญประกอบ (2541) ได้ศึกษากระบวนการบริหารกับผลสัมฤทธ์ิของการจัดการ ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัด จังหวัดหนองคาย ผลการวิจัยพบว่า ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดได้นา กระบวนการบริหาร 4 ด้าน คือ การวางแผน การมอบหมายงาน การประสานงาน และการประเมินผล มาปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง ปัจจัยสิ่งแวดล้อมด้านวัฒนธรรมองค์กร บุคลากร อาคารสถานที่ งบประมาณ และความสัมพันธ์กับชุมชน จะมีปัญหาอยู่ในระดับน้อย ขณะเดียวกัน ปิยนุช ภูคา (2545) ได้ทาการศึกษา เร่ือง การศึกษาเปรียบเทียบกระบวนการบริหารท่ีมีผลต่อการดาเนินงานของ คณะกรรมการบริหารศูนย์สงเคราะห์ราษฎรประจาหมู่บ้าน ในอาเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี พบว่า กระบวนการบริหารและการดาเนินงานของคณะกรรมการบริหารศูนย์สงเคราะห์ประจาหมู่บ้านมีความ เข้มแข็งมากและศูนย์สงเคราะห์ประจาหมู่บ้านที่ไม่มีความเข้มแข็ง มีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับปานกลาง ซึ่งประกอบดว้ ยความเขา้ ใจกระบวนการบริหารด้านนโยบาย การวางแผน การจัดองค์กร การประสานงาน การควบคุม การติดตมผลและประเมินผล กระบวนการบริหารมีความสัมพันธ์กับการดาเนินงานของ คณะกรรมการบริหารศูนย์สงเคราะห์ประจาหมู่บ้านทุกด้าน กระบวนการบริหารที่สามารถพยากรณ์ ผลการดาเนนิ งานของคณะกรรมการบริหารศนู ยส์ งเคราะหป์ ระจาหมู่บ้าน คือ การติดตามและประเมินผล และการประสานงาน ซ่ึงสามารถเข้าร่วมทานายผลการดาเนินงานได้ร้อยละ 86 ส่วนการบริหารของศูนย์ สงเคราะห์ราษฎรประจาหมูบ่ า้ น มีปัญหาคอื รัฐมีข้อกาหนดด้านงบประมาณ ไม่สามารถประสานงานเพื่อ แจ้งข้อมูลข่าวสาร และการปรับเปลี่ยนระเบียบการดาเนินงานศูนย์สงเคราะห์ราษฎรประจาหมู่บ้านให้ ประชาชนในหมู่บ้านรับรู้ได้อย่างทั่วถึง ประกอบกับในระดับหมู่บ้านเองยังขาดความพร้อมด้านอุปกรณ์ สถานท่ี และบุคลากรท่ีมีความรู้ความสามารถ ดังน้ัน แนวทางการแก้ไขปัญหา รัฐควรทบทวนนโยบาย เพ่อื กระต้นุ ส่งเสริมเงินอุดหนุนศูนย์สงเคราะห์ราษฎรประจาหมู่บ้าน และควรกาหนดแผนเพื่อนาไปสู่การ ปฏิบัติเพ่ือแก้ไขปัญหา โดยให้ความรู้กับประชาชนและคณะกรรมการเพ่ือเพิ่มขีดความสามารถทางการ พัฒนากระบวนการบริหาร ให้ความรู้กับประชาชนและคณะกรรมการเพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถทางการ พัฒนากระบวนการบริหาร โดยการฝึกอบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน และกระตุ้นให้ประชาชนเข้ามามีส่วน รว่ มในการติดตามและประเมินผล การประสานงาน เช่นเดียวกัน ร้อยตารวจโท ชินวัฒน์ ศรีสวัสดิ์ (2547) ได้ทาการวิจัยเรื่อง กระบวนการบริหาร จัดการของสถานีตารวจภูธร อาเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ พบว่า ข้าราชการตารวจมีระดับความคิดเห็น เก่ียวกับการบริหารจัดการของสถานีตารวจภูธรอาเภอเมืองกาฬสินธ์ุ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และมีความคิดเห็นเก่ียวกับการบริหารจัดการของสถานีตารวจภูธรอาเภอเมืองกาฬสินธุ์ โดยรวม

9 และรายด้านไม่แตกต่างกัน ซ่ึงจิตราภรณ์ แสงรุ่งนภาพรรณ (2549) ได้ศึกษาเร่ือง ปัจจัยทางการบริหาร และกระบวนการบริหารท่ีมีผลต่อการดาเนินงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขใน ศูนย์สุขภาพชุมชน จังหวัดนครราชสีมา พบว่า ปัจจัยท่ีมีความสัมพันธ์กับการดาเนินงานเฝ้าระวั ง ทางระบาดวิทยาของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในศูนย์สุขภาพชุมชน ได้แก่ (1) ปัจจัยลักษณะประชากร ประกอบด้วย ด้านประสบการณ์การฝึกอบรมการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา (2) ปัจจัยทางการบริหาร ประกอบด้วย ด้านกาลังคน ด้านงบประมาณ ด้านวัสดุอุปกรณ์ (3) กระบวนการบริหาร ประกอบด้วย ด้านการจัดองค์กร การบังคับบัญชาส่ังการ การประสานงาน และการควบคุม นอกจากนี้ยังพบว่า ปัจจัย ด้านกระบวนการบริหาร ได้แก่ การจัดองค์กร การควบคุม การวางแผน การบังคับบัญชาส่ังการมีผลต่อ การดาเนินงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาของเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขในศูนย์สุขภาพชุมชนจัง หวัด นครราชสมี าไดร้ ้อยละ 67 สมชาย อุทัยประดิษฐ์ (2551) ได้ศึกษาบทบาทขององค์การบริหารส่วนตาบล ตอ่ การพฒั นาทักษะการปฏิบัติหน้าท่ีของอาสาสมัครป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (อปพร.) กรณีศึกษา องค์การบริหารส่วนตาบลโนนธาตุ พบว่าสามารถตอบคาถามเก่ียวกับบทบาทขององค์การบริ หาร ส่วนตาบล ต่อการพัฒนาทักษะการปฏิบัติหน้าที่ของอาสาสมัครป้องกันฝ่ายพลเรือน (อปพร.) มีการ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงทัศนคติให้เกิดผลดีต่อหน่วยงานได้ สาหรับการนานโยบายไปปฏิบัตินั้น มีปัญหา ในการปฏิบัติอยู่บ้างแต่ก็มีแนวทางในการแก้ไขเพ่ือให้มีประสิทธิภาพ และมีทักษะในการปฏิบัติหน้าท่ี สามารถช่วยเหลือประชาชนในด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดงั นั้น เพ่อื ใหก้ ารช่วยเหลอื ประชาชนในดา้ นการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเป็นไปอย่างทัว่ ถึง กรอบแนวคิด ภาพที่ 2.1 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยจากการได้รับการสนับสนุนด้านต่างๆ มีผลต่อ ความสาเร็จในการดาเนนิ งานของศนู ยอ์ าสาสมัครป้องกนั ภยั ฝา่ ยพลเรือนองคก์ ารบริหารสว่ นตาบลวังดาล ตัวแปรอสิ ระ ตวั แปรตาม ปัจจัยส่วนบคุ คล ได้แก่ ความสาเรจ็ ในการดาเนนิ งานของ 1. เพศ 2. อายุ ศนู ยอ์ าสาสมัครป้องกนั ภัยฝ่ายพล 3. ระดบั การศึกษา เรือน องค์การบริหารส่วนตาบล 4. สถานภาพสมรส วงั ดาล อาเภอกบินทรบ์ ุรี จังหวัด 5. รายได้ ปราจนี บรุ ี ปจั จัยจากการไดร้ บั การ สนบั สนนุ ดา้ นตา่ งๆ ดงั น้ี - การวางแผน - การจัดการองคก์ ร การบรหิ าร การควบคมุ - การอานวยการ

บทที่ 3 ระเบยี บวธิ ีวจิ ยั ในการศึกษาเรื่อง ปัจจัยสนับสนุนท่ีมีผลต่อความสาเร็จในการดาเนินงานของศูนย์อาสาสมัคร ปอ้ งกนั ภยั ฝา่ ยพลเรือน ในครั้งนี้ได้กาหนดขอบเขตการศึกษาเฉพาะพ้ืนที่องค์การบริหารส่วนตาบลวังดาล อาเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี เพื่อเป็นแนวทางการพัฒนา ปรับปรุงศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัย ฝ่ายพลเรอื นของจงั หวดั ปราจนี บรุ ี ให้ดยี ิ่งข้ึน ดงั ตอ่ ไปน้ี ประชากร ประชากรท่ีใช้ศึกษา คืออาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนองค์การบริหารส่วนตาบลวังดาล และประชาชนในพืน้ ทตี่ าบลวังดาล ตัวอย่าง ประชากรและกล่มุ ตวั อยา่ ง การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ประชากรท่ีใช้ในการศึกษา เชิงปริมาณได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยใช้วิธีการหาแบบสัดส่วน (Proportion) ดังน้ี (1) ประชากรท่ีเป็นสมาชิกอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน จากการคานวณโดยใช้สูตรของ Taro Yamane (พวงรัตน์ ทวีรัตน์, 2535) ดงั นี้ n= N 1 + Ne2 โดย n หมายถงึ ขนาดของกล่มุ ตัวอยา่ ง N หมายถึง จานวนประชากร e หมายถงึ ความคาดเคล่ือน (เท่ากับ 0.05) ขนาดของกลุม่ ตวั อยา่ งทีเ่ ป็นสมาชิกอาสาสมคั รป้องกันภัยฝ่ายพลเรอื น = 140 1+140(0.05)2 = 104 คน (2) ประชาชนทั่วไปท่ีพักอาศัยอยู่ในพ้ืนท่ีตาบลวังดาล อาเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี จานวน 16 หมู่บ้าน ๆ ละ 5 คน = 80 คน รวมกลุ่มตวั อย่าง ทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษาเชงิ ปริมาณครง้ั น้ี (ขอ้ 1 + ข้อ 2) จานวน 184 คน เครื่องมอื ที่ใช้ในการศึกษา ผวู้ จิ ัยใชแ้ บบสอบถามเป็นเครื่องมือเพ่ือเกบ็ รวบรวมข้อมูลจากตวั อยา่ ง โดยมรี ายละเอียดเกี่ยวกับ การสรา้ งแบบสอบถามเปน็ ขั้นตอน ดงั น้ี 1. ศกึ ษาวิธกี ารสร้างแบบสอบถามจากเอกสาร งานวจิ ัย และทฤษฎีที่เกย่ี วข้อง 2. สรา้ งแบบสอบถามเพ่ือถามความคดิ เหน็ ในประเดน็ ต่างๆ 3 ประเดน็ คือ

11 2.1 ขอ้ มลู ท่ัวไปเกยี่ วกับผู้ตอบแบบสอบถาม 2.2 ความคิดเห็นต่อการปฏิบัติงานของ ศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนองค์การ บรหิ ารสว่ นตาบลวงั ดาล 2.3 ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆ ในการปฏิบัติงานของศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัย ฝ่ายพลเรอื นองค์การบรหิ ารสว่ นตาบลวงั ดาล 3. นาแบบสอบถามทีไ่ ด้สรา้ งขนึ้ มาเสนอต่ออาจารยท์ ่ีปรกึ ษา เพื่อปรับปรุงแกไ้ ข 4. ทาการปรับปรุงแก้ไขและนาเสนอให้อาจารย์ท่ีปรึกษาตรวจสอบความถูกต้องอีกคร้ังหน่ึง เพ่อื ให้อาจารยท์ ี่ปรึกษาอนุมตั กิ ่อนแจกแบบสอบถาม 5. นาแบบสอบถามไปทดลองกับตวั อย่างจานวน 20 ราย เพ่อื หาค่าความเชือ่ มนั่ 6. ทาการปรบั ปรุงและนาเสนอใหอ้ าจารย์ทปี่ รึกษาอนมุ ัติกอ่ นแจกแบบสอบถาม 7. แจกแบบสอบถามไปยงั ตวั อยา่ ง การตรวจสอบเครอ่ื งมอื การตรวจสอบเนื้อหา ผู้วิจัยได้นาเสนอแบบสอบถามที่ได้สร้างข้ึนต่อาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อ ตรวจสอบความครบถ้วนและความสอดคล้องของเน้อื หาของแบบสอบถามท่ีตรงกบั เรื่องท่ีจะศึกษา การตรวจสอบความเชื่อมั่น ผู้วิจัยพิจารณาจากค่าสัมประสิทธ์ิครอนแบ็ค อัลฟ่า (Cronbach’s Alpha Coefficient) ซง่ึ มรี ายละเอยี ด ดงั น้ี สว่ นของคาถาม ค่าอลั ฟา่ แสดงความเช่อื มนั่ กระบวนการบรหิ ารที่นาไปสคู่ วามสาเรจ็ ในการดาเนินงาน 95 ของศนู ย์ อปพร. ค่าความเชอื่ ม่นั รวม คอื 95 องค์ประกอบของแบบสอบถาม ผู้ทาวิจยั ได้ออกแบบสอบถามซงึ่ ประกอบด้วย 3 ส่วนพร้อมกับวธิ กี ารตอบคาถามดงั ต่อไปนี้ คอื ส่วนที่ 1 เป็นคาถามเก่ียวกับข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบคาถาม ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ อาชีพ และรายได้ ลกั ษณะเป็นคาถามปลายปิดแบบใหเ้ ลอื กตอบ ส่วนที่ 2 เปน็ คาถามเกย่ี วข้องกับ การปฏิบัติงานและการดาเนินงาน ของศูนย์อาสาสมัครป้องกัน ภัยฝ่ายพลเรือนองค์การบรหิ ารส่วนตาบลวงั ดาล ลกั ษณะเป็นคาถามปลายปิดโดยคาถามแบ่งเป็น 5 ระดับ ตง้ั แต่นอ้ ยทสี่ ุดถึงมากทส่ี ดุ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ผู้วจิ ยั ไดด้ าเนนิ การเก็บข้อมูลตามขั้นตอนตอ่ ไปนี้ คอื 1. ผู้วิจัยอธิบายรายละเอียดเก่ียวกับเนื้อหาภายในแบบสอบถามและวิธีการตอบแก่ตัวแทน และทมี งาน 2. ผวู้ ิจยั หรือตวั แทนและทีมงาน เขา้ ไปในสถานทต่ี ่างๆทตี่ ้องการศกึ ษาตามทร่ี ะบุไวข้ ้างต้น 3. ผู้วิจัยหรือตัวแทนและทีมงาน ได้แจกแบบสอบถามให้กลุ่มเป้าหมายและรอจนกระท่ังตอบ คาถามครบถว้ น ซ่ึงในระหวา่ งนนั้ ถา้ มผี ตู้ อบขอ้ สงสยั เกีย่ วกับคาถาม ผูว้ จิ ัยหรอื ทมี งานจะตอบขอ้ สงสยั น้ัน

12 การแปรผลข้อมูล แบบสอบถามเป็นคาถามแบบมาตราส่วนประเมินค่า (Rating Scale) 5 ระดับ คือ มากท่ีสุด มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยท่สี ดุ โดยมีเกณฑค์ ะแนนและความหมาย (บุญชม ศรสี ะอาด, 2535) ดังน้ี ชว่ งชัน้ คาอธบิ ายสาหรับการแปลผล 1.00 – 1.50 ระดบั น้อยท่สี ุด 1.51 – 2.50 ระดบั น้อย 2.51 – 3.50 ระดบั ปานกลาง 3.51 – 4.50 ระดับมาก 4.51 – 5.00 ระดบั มากทส่ี ุด สถิติที่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ นาข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถาม ตรวจสอบความถกู ต้องครบถว้ นสมบรู ณ์ในการตอบแบบสอบถาม แล้วจึงนาผลไปประมวลวิเคราะห์ ด้วยโปรแกรม SPSS และแปรผลข้อมูลต่อไป สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ คา่ รอ้ ยละ และค่าเฉล่ยี

บทที่ 4 การวเิ คราะห์ข้อมลู การศึกษาเรื่อง ปัจจัยสนับสนุนท่ีมีผลต่อความสาเร็จในการดาเนินงานของศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัย ฝ่ายพลเรือนองค์การบริหารส่วนตาบลวังดาล อาเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี ผู้ศึกษานาเสนอผลการวิจัย ซงึ่ ประกอบด้วยขอ้ มลู 3 ส่วน ตามลาดับดังนี้ ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบคุ คลของกล่มุ ตวั อยา่ ง ดงั ตารางท่ี 1-7 ส่วนท่ี 2 ระดบั ความคิดเหน็ ของอาสาสมคั รปอ้ งกนั ภัยฝ่ายพลเรอื นต่อการดาเนินงานของศูนย์อาสาสมัคร ปอ้ งกนั ภัยฝ่ายพลเรือนองค์การบริหารสว่ นตาบลวงั ดาล อาเภอกบนิ ทรบ์ ุรี จงั หวัดปราจีนบุรี ดังตารางที่ 8-13 ส่วนท่ี 3 ระดับความคิดเห็นของประชาชนในพ้ืนท่ีตาบลวังดาล อาเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี ตอ่ ความเหมาะสมของการปฏิบัติงานศูนย์อาสาสมัครป้องกนั ภัยฝ่ายพลเรอื น ดงั ตารางท่ี 14 สว่ นที่ 1 ขอ้ มลู ส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง ตารางที่ 1 จานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง กลมุ่ ตัวอย่าง จานวน ร้อยละ สมาชกิ อาสาสมัครปอ้ งกนั ภยั ฝา่ ยพลเรอื น 124 67.4 ประชาชน 60 32.6 184 100 รวม (N) ผลการศึกษาตามตารางท่ี 1 พบว่ากลุ่มตัวอย่างที่เป็นสมาชิกอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ในองค์การบริหารส่วนตาบลวังดาล ร้อยละ 67.4 และเป็นประชาชนในพื้นที่ตาบลวังดาล อาเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจนี บรุ ี ร้อยละ 32.6 ตารางที่ 2 จานวนและรอ้ ยละของกล่มุ ตัวอย่างจาแนกตามเพศ เพศ จานวน ร้อยละ ชาย 104 56.6 หญงิ 80 43.4 รวม (N) 184 100 ผลการศึกษาตามตารางที่ 2 พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 56.6 เป็นเพศชาย และร้อยละ 43.4 เป็นเพศหญิง

14 ตารางที่ 3 จานวนและร้อยละของกลุม่ ตัวอยา่ งจาแนกตามอายุ อายุ จานวน รอ้ ยละ ตา่ กวา่ 25 ปี 5 2.7 25 - 35 ปี 50 27.2 36 - 45 ปี 80 43.5 46 - 60 ปี 49 26.6 184 100 รวม (N) ผลการศึกษาตามตารางท่ี 3 พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 43.5 มีอายุระหว่าง 36-45 ปี รองลงมา รอ้ ยละ 27.2 มอี ายุระหวา่ ง 25-35 ปี ร้อยละ 26.6 มีอายุระหว่าง 46-60 ปี และมีอายุต่ากว่า 25 ปี น้อยที่สุดเพียง รอ้ ยละ 2.7 ตารางที่ 4 จานวนและรอ้ ยละของกลมุ่ ตัวอย่างจาแนกตามระดบั การศกึ ษา ระดับการศึกษา จานวน ร้อยละ ประถมศึกษา 50 27.1 มธั ยมศกึ ษา 45 24.5 มธั ยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา่ ปวช. 19 10.4 อนปุ ริญญา 30 16.3 ปริญญาตรี 40 21.7 184 100 รวม (N) ผลการศึกษาตามตารางที่ 4 พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 27.1 จบการศึกษาสูงสุดระดับประถมศึกษา รองลงมาร้อยละ 24.5 จบการศึกษาในระดับมัธยาศึกษา จบการศึกษาในระดับปริญญาตรี ร้อยละ 21.7 จบการศึกษาในระดับอนุปริญญา ร้อยละ 16.3 และจบการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าปวช. น้อยทีส่ ดุ เพยี งรอ้ ยละ 10.4

ตารางที่ 5 จานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามอาชีพ 15 อาชีพ จานวน ร้อยละ เกษตรกร 66 35.8 รับจ้าง 54 29.4 พนกั งาน/ลกู จ้าง 10 6.5 ค้าขาย 19 10.3 รบั ราชการ 11 8.7 อาชพี สว่ นตัว 12 9.3 100 รวม (N) 184 ผลการศกึ ษาตามตารางท่ี 5 พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 35.8 ประกอบอาชีพเกษตรกร รองลงมา ร้อยละ 29.4 ประกอบอาชีพรับจ้าง ร้อยละ 10.3 ประกอบอาชีพค้าขายและประกอบอาชีพพนักงาน/ลูกจ้าง นอ้ ยทส่ี ดุ เพยี งรอ้ ยละ 6.5 ตารางท่ี 6 จานวนและร้อยละของกลุ่มตวั อย่างจาแนกสถานภาพสมรส สถานภาพ จานวน รอ้ ยละ สมรส 150 81.5 โสด 24 13 หยา่ ร้าง 7 3.8 หม้าย 3 1.7 รวม (N) 184 100 ผลการศกึ ษาตามตารางท่ี 6 พบว่า กลมุ่ ตัวอยา่ งส่วนใหญร่ อ้ ยละ 81.5 มีสถานภาพสมรส รองลงมาร้อยละ 13 เป็นโสด ร้อยละ 3.8 มสี ถานภาพอยา่ ร้างและมสี ถานภาพหม้าย น้อยที่สดุ เพยี งรอ้ ยละ 1.7 ตารางที่ 7 จานวนและร้อยละของกลมุ่ ตวั อย่างจาแนกตามรายได้ รายได้/เดือน จานวน ร้อยละ ตา่ กวา่ 5,000 บาท 16 8.7 5,000 - 10,000 บาท 130 70.7 10,000 - 15,000 บาท 24 13 มากกว่า 15,000 บาท 14 7.6 รวม (N) 184 100

16 ผลการศึกษาตามตาตารางท่ี 7 พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ร้อยละ 70.7 มีรายได้ระหว่าง 5,000-10,000 บาท รองลงมาร้อยละ 13 มีรายได้ระหว่าง 10,000-15,000 บาท ร้อยละ 8.7 มีรายได้ต่าว่า 5,000 บาท และมีรายได้ มากกว่า 15,000 บาท น้อยทส่ี ดุ เพียงรอ้ ยละ 7.6 ส่วนที่ 2 ระดับความคิดเห็นของอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนต่อการดาเนินงานของศูนย์ อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนองค์การบริหารส่วนตาบลวังดาล อาเภอกบินทร์บุรี จงั หวดั ปราจนี บุรี ตารางที่ 8 ความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลยี่ ของระดับความคิดเหน็ ด้านปัจจยั นาเขา้ ระดบั ความคดิ เห็น (N=124) ด้านปจั จยั นาเข้า มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย SD แปล ทส่ี ดุ กลาง ทส่ี ดุ ความ 1. ศู นย์ ฯ มี จ านว น 58 66 - - - 4.47 .50 มาก สมาชิก อปพร.เพียงพอใน (46.8%) (53.2%) การป้องกันและบรรเทาสา ธารณภัยให้กับประชาชน ในพ้นื ท่ี 2. ศูนย์ฯ ตั้งงบประมาณ 89 26 9 - - 4.67 .57 มาก เพื่อสนบั สนนุ กจิ การ (71.8%) (21%) (7.3%) ท่สี ุด อปพร.ในการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย ให้กับ ประชาชนในพ้นื ท่ี 3. ศูนย์ฯ มกี าร 25 81 18 - - 4.06 .59 มาก เตรียมพร้อมเครื่องมือ (20.2%) (65.3%) (14.5%) อุปกรณ์ ยานพาหนะ ในการดาเนินงานฯ ให้อยู่ ในสภาพพร้อมใช้งาน รวม 4.40 .53 มาก ผลการศึกษาตามตารางที่ 8 พบว่า ความคิดเห็นด้านปัจจัยนาเข้าได้แก่ คน งบประมาณ และเคร่ืองมือ อุปกรณ์ โดยรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่าศูนย์อปพร. ได้ต้ังงบประมาณเพื่อสนับสนุน กจิ การ อปพร. ในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย ให้กับประชาชนในพื้นที่ อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ศูนย์ฯ มีจานวนสมาชิก อปพร. เพียงพอในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยให้กับประชาชนในพื้นท่ี และศูนย์ฯ มีการเตรียมเครื่องมืออุปกรณ์ ยานพาหนะ ในการดาเนินงานฯ ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานอยู่ในระดับมาก ตามลาดับ

17 ตารางท่ี 9 ความถี่ ร้อยละ และคา่ เฉลีย่ ของระดับความคิดเห็น ด้านการวางแผน การดาเนินงานของ ระดบั ความคิดเหน็ ( N=124) ศนู ยฯ์ มาก มาก ปาน น้อย น้อย SD แปล ดา้ นการวางแผน ทีส่ ุด กลาง ที่สดุ ความ 1. ศูนย์ฯ มีการจัดทา 50 72 2 - - 4.42 .50 มาก แผนทั้งระยะส้ันและ (40.3%) (58.1%) (1.6%) ระยะยาว 2. ศูนย์ฯ ได้นาข้อมูล 77 42 5 - - 4.58 .57 มาก - ทส่ี ดุ จากการปฏิบัติงานเม่ือ (62.1%) (33.9%) (4%)- - 4.29 .57 มาก ปที ีผ่ า่ นใชป้ ระกอบการ จัดทาแผน 3. ศูนย์ฯ ให้ทุกภาค 43 74 7 ส่วนมีส่วนร่วมในการ (34.7%) (59.7%) (5.6%) วางแผนป้องกันและ - บรรเทาสาธารณภยั รวม 4.43 0.53 มาก ผลการศึกษาตามตารางที่ 9 พบว่าความคิดเห็นด้านการวางแผน โดยรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณา รายข้อ พบว่าศูนย์ฯ ได้นาข้อมูลจากการปฏิบัติงานเม่ือปีท่ีผ่านใช้ประกอบการจัดทาแผน อยู่ในระดับมาก ทสี่ ุด รองลงมาคือ มกี ารจัดทาแผนทั้งระยะส้ันและระยะยาว และให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการวางแผน ปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั อยู่ในระดบั มาก

18 ตารางท่ี 10 ความถ่ี รอ้ ยละ และค่าเฉล่ยี ของระดบั ความคิดเห็น ด้านการจดั องคก์ ร การดาเนนิ งานของศนู ย์ฯ ระดับความคดิ เห็น ( N=124) ดา้ นการจัดองคก์ ร มาก มาก ปาน น้อย น้อย SD แปล ท่สี ดุ กลาง ทสี่ ดุ ความ 1.ศูนย์ฯ มีการจัดโครงสร้าง 74 45 5 - - 4.56 .57 มาก การบังคับบัญช า และมี (59.7%) (36.3%) (4.%) ทีส่ ดุ คาส่ังแต่งต้ังหน่วย อปพร. อยา่ งชัดเจน 2. ศูนย์ฯ มีการกาหนด 73 39 12 - - 4.50 .67 มาก หนา้ ที่ความรับผิดชอบให้แก่ (58.9%) (31.5%) (9.7%) สมาชิก อปพร .ไว้อย่าง ชดั เจน 3. ศูนย์ฯ มีการมอบหมาย 49 75 - - - 4.40 .49 มาก งานให้กับสมาชิก อปพร. (39.5%) (60.5%) อย่างเหมาะสม และท่ัวถึง รวม 4.49 .58 มาก ผลการศึกษาตามตารางที่ 10 พบว่าความคิดเห็นด้านการจัดองค์กรโดยรวม อยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณารายข้อ พบว่าศูนย์ฯ มีการจัดโครงสร้างการบังคับบัญชา และมีคาสั่งแต่งต้ังหน่วย อปพร. อย่างชัดเจน อยู่ในระดับ มากที่สุด รองลงมาคือ มีการกาหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้แก่สมาชิก อปพร. ไว้อย่างชัดเจน และมกี ารมอบหมายงานให้กับสมาชกิ อปพร. อย่างเหมาะสมและทัว่ ถงึ อยูใ่ นระดบั มาก

19 ตารางที่ 11 ความถ่ี ร้อยละ และค่าเฉลี่ยระดบั ความคิดเหน็ ด้านการบรหิ ารงานบุคคล การปฏบิ ตั ิงานของศูนยฯ์ ระดับความคดิ เห็น (N=124) ด้านการบริหารงานบคุ คล มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย SD แปล ท่สี ุด กลาง ทีส่ ุด ความ 1. ผูอ้ านวยการศูนย์ 95 29 - - 4.77 .43 มาก อปพร.ให้ความสนใจและ (76.6%) (23.4%) ท่ีสุด เห็ น ค ว า ม ส าคั ญ ข อ ง สมาชิก อปพร.ในการ ป้องกันและบรรเทาสา ธารณภยั 2. ศูนย์ฯ จัดให้มีการ 26 89 9 - - 4.14 .52 มาก ฝึกอบรมให้ความรู้ให้กับ (21%) (71.8%) 7.3%) ส ม า ชิ ก อ ป พ ร . เ ป็ น ประจา 3. ศูนย์ฯ จัดให้มีการ 25 81 18 - - 4.06 .59 มาก ประชุมสมาชิก อปพร. (20.2%) (65.3%) (14.5%) เป็นประจา รวม 4.32 .52 มาก ผลการศึกษาตามตารางท่ี 11 พบว่าความคิดเห็นด้านการบริหารงานบุคคลโดยรวม อยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณารายข้อ พบว่าผู้อานวยการศูนย์ อปพร. ให้ความสนใจและเห็นความสาคัญของสมาชิก อปพร. ในการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั รองลงมา ไดแ้ ก่ การจัดใหม้ กี ารฝกึ อบรมให้ความรู้ให้กับสมาชิก อปพร. เป็นประจา และจดั ให้มกี ารประชมุ สมาชกิ อปพร. เปน็ ประจา อยใู่ นระดับมาก

20 ตารางท่ี 12 ความถ่ี ร้อยละ และคา่ เฉล่ยี ของระดบั ความคิดเหน็ ดา้ นการอานวยการ การปฏิบตั ิงานของศูนย์ฯ ระดับความคิดเห็น (N=124) ด้านการอานวยการ มาก มาก ปาน น้อย น้อย SD แปล ท่ีสดุ กลาง ทส่ี ดุ ความ 1. สมาชกิ อปพร. มี 66 58 - - - 4.53 .50 มาก สว่ นรว่ มในการ (53.2%) (46.8%) ทส่ี ดุ ดาเนินงาน และทราบ บทบาทหนา้ ท่ีของ ตนเอง มากน้อยเพยี งใด 2. การส่งเสรมิ ให้สมาชิก 89 26 9 - - 4.65 .61 มาก ได้รับโล่หรือใบประกาศ (71.8%) (21%) 7.3%) ทส่ี ดุ เกียรตคิ ณุ แก่สมาชิก อปพร.ผู้บาเพ็ญตนด้วย ความอุสาหะและทุม่ เท 3. ศูนยฯ์ มรี ะบบการ 25 81 18 - - 4.06 .59 มาก ประสานงานกบั (20.2%) (65.3%) (14.5%) หนว่ ยงานภายนอก เม่อื เกิดสาธารณภัย 4. มีการสร้างแรงจูงใจ 97 25 - - - 4.78 .41 มาก ในการปฏิบัติงานให้แก่ (78.2%) (21.8%) ที่สุด สมาชิก อปพร. เชน่ การ ได้รับเบ้ียเล้ียงจากการ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ท่ี ห รื อ เครอ่ื งแบบ ชุดฝึก รวม 4.51 .53 มาก ทสี่ ุด ผลการศึกษาตามตารางที่ 12 พบว่าความคิดเห็นด้านการอานวยการโดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณรายข้อ พบว่า สมาชิก อปพร. มีส่วนร่วมในการดาเนินงาน และทราบบทบาทหน้าที่ของตนเอง การสง่ เสรมิ ใหส้ มาชกิ ไดร้ บั โล่หรือใบประกาศเกียรติคุณแก่สมาชิก อปพร. ผู้บาเพ็ญตนด้วยความอุสาหะและทุ่มเท ตลอดการสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานให้แก่สมาชิก อปพร. เช่น การได้รับเบี้ยเล้ียงจากการปฏิบัติหน้าท่ี หรอื เคร่อื งแบบ ชดุ ฝกึ อย่ใู นระดบั มากท่ีสุด และมรี ะบบการประสานงานกบั หน่วยงานภายนอกเม่ือเกิดสาธารณภัย อยูใ่ นระดบั มาก

21 ตารางที่ 13 ความถี่ รอ้ ยละ และค่าเฉลย่ี ระดับความคดิ เห็น ดา้ นการควบคมุ การปฏิบัติงานของศูนย์ฯ ระดบั ความคิดเห็น (N=124) ดา้ นการควบคมุ มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย SD แปล ทสี่ ดุ กลาง ทส่ี ดุ ความ 1. ศูนย์ฯ มีระบบการ 41 48 30 5 - 4.01 .86 มาก รายงานผลการดาเนินงาน (33.1%) (38.7%) (24.2%) (4.0%) ในส่วนต่างๆท่ีเกี่ยวขอ้ ง 2. ศู น ย์ ฯ ใ ห้ ผู้ มี ส่ ว น 39 51 24 10 - 3.96 .91 มาก เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการ (31.5%) (41.1%) (29.4%) (8.1%) ติดตามตรวจสอบผลการ ดาเนินงาน อยา่ งใกลช้ ดิ 3. ศูนย์ฯ ได้กาหนด 34 52 28 10 1 3.82 .95 มาก ระยะเวลาในการ (27.4%) (41.9%) (21.8%) (8.1%) (0.8%) ตรวจสอบวสั ดุอปุ กรณ์ และอ่นื ๆ ทเ่ี กยี่ วข้อง เพื่อใหก้ ารดาเนนิ งาน สามารถดาเนนิ ไปได้อย่าง มปี ระสิทธภิ าพ 4. ศนู ยฯ์ มีการประชุม 24 63 15 17 5 3.68 .97 มาก หารอื ระหว่างบุคลากรผู้ (19.4%) (50.8%) (12.1%) (13.7%) (4.0%) ทางานเพื่อพฒั นางานที่ พบข้อดอ้ ยหรือ ขอ้ บกพร่อง เพ่ือแก้ไข ปรับปรงุ รวม 3.87 .92 มาก ผลการศึกษาตามตารางท่ี 13 พบว่าความคิดเห็น ด้านการควบคุม โดยรวม อยู่ในระดับมาก เมือ่ พจิ ารณารายขอ้ พบวา่ ทุกขอ้ มรี ะบบการรายงานผลการดาเนนิ งานในส่วนต่างๆที่เกี่ยวข้อง ให้ผู้มีส่วน เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการติดตามตรวจสอบผลการดาเนินงาน อย่างใกล้ชิด ได้กาหนดระยะเวลาในการ ตรวจสอบวัสดุอุปกรณ์ และอื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อให้การดาเนินงานสามารถดาเนินไปได้อย่างมี ประสิทธิภาพ มีการประชุมหารือระหว่างบุคลากรผู้ทางานเพื่อพัฒนางานท่ีพบข้อด้อยหรือข้อบกพร่อง เพื่อแก้ไขปรบั ปรุง ซง่ึ อยู่ในระดับมาก

22 ส่วนที่ 3 ความคดิ เหน็ ของประชาชนในพนื้ ที่ตาบลวังดาล ตอ่ ความเหมาะสมในการดาเนนิ งาน ของศูนยฯ์ ตารางท่ี 14 ความถ่ี ร้อยละ และค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นของประชาชนในพ้ืนที่ตาบลวังดาล ตอ่ ความเหมาะสมของการดาเนินงานของศนู ย์ฯ ระดับความคดิ เห็น (N=60) การดาเนินงานของศูนย์ฯ มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย SD แปล ทสี่ ุด กลาง ทสี่ ุด ความ 1. ประชาชนและหน่วยงาน 35 20 5 - - 4.42 .87 มาก ภายนอกมีส่วนร่วมในการ (58.3%) (33.3%) (8.3%) วางแผนจัดทาแผนการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย 2. ศูนย์ฯให้ความรู้ด้านการ 21 36 3 - - 4.30 .56 มาก ป้องกันและบรรเทาสาธารณ (53%) (60%) (5 %) ภยั แก่ชมุ ชน 3. ศูนย์ฯมีการจัดเตรียม 26 34 - - - 4.43 .50 มาก เครื่องมือ อุปกรณ์ยานพาหนะ (43.3%) (56.7%) - - 4.30 .65 มาก สาหรับการปฏิบัติงานให้อยู่ใน 6 สภาพพรอ้ มใช้งาน 24 30 (10%) - - 4.33 .63 มาก (40%) (50%) - - 4.13 .50 มาก 4. ศูนย์ฯมีการดาเนินการ 5 ป้องกันและบรรเทาสาธารณ 25 30 ภั ย ร่ ว ม กั บ ห น่ ว ย ง า น ที่ (41.7%) (50%) (8.3%) เก่ียวข้อง เช่น สถานีตารวจ 44 โรงพยาบาล 12 (73.3%) 4 (20%) 5. ศูนย์ฯมีการซ้อมแผน (6.7%) ป้องกันและบรรเทาสาธารณ ภัยร่วมกบั หน่วยงานในชมุ ชน 6. ศูนย์ฯ มีความพร้อมในการ บรรเทาสาธารณภยั ในระดบั สูง 7. ศูนยฯ์ มกี าประชาสมั พันธ์ 9 44 7 2 - 4.03 .52 มาก ขอ้ มลู ข่าวสารใหป้ ระชาชนใน (15%) 73.3%) (11.7%) (0.5%) พ้นื ทท่ี ราบเก่ยี วกบั ภยั ตา่ ง ๆ

23 ระดบั ความคิดเห็น (N=60) การดาเนนิ งานของศูนย์ฯ มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย SD แปล ทส่ี ดุ กลาง ทส่ี ดุ ความ 8. ศูนย์ฯ สามารถช่วยเหลือ 9 40 11 - - 4.15 .36 มาก ผู้ประสบภัยได้รวดเร็วและ (15%) (66.7%) (18.3%) ประสทิ ธภิ าพ โดยรวม 4.26 .53 มาก ผลการศึกษาตามตารางท่ี 14 พบว่า ประชาชนในพื้นที่ตาบลวังดาล ส่วนใหญ่เห็นว่าการดาเนินงานของ ศูนย์ฯ มีความเหมาะสมในการดาเนินงาน โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายข้อ ได้แก่ ประชาชน และหน่วยงานภายนอกมีส่วนร่วมในการวางแผนจัดทาแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การให้ความรู้ ด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแก่ชุมชน มีการจัดเตรียมเคร่ืองมือ อุปกรณ์ ยานพาหนะ สาหรับการ ปฏบิ ัติงานให้อยใู่ นสภาพพรอ้ มใชง้ าน มกี ารดาเนินการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยร่วมกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เช่น สถานีตารวจ โรงพยาบาล มีการซ้อมแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยร่วมกับหน่วยงานในชุมชน มีการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารให้ประชาชนในพ้ืนท่ีทราบเก่ียวกับภัยต่างๆ สามารถช่วยเหลือผู้ประสบภัยได้ รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ มีความพร้อมในการบรรเทาสาธารณภัยในระดับสูง ประชาชนเห็นว่ามีการดาเนินงาน เหมาะสม ในระดับมาก

บทท่ี 5 สรปุ และอภิปรายผล ในการศึกษาครั้งน้ี เป็นการศึกษาปัจจัยสนับสนุนที่มีผลต่อความสาเร็จในการดาเนินงานของ ศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนองค์การบริหารส่วนตาบลวังดาล อาเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี โดยศกึ ษาถึงปจั จัยนาเขา้ ได้แก่ คน งบประมาณ เคร่ืองมือ วัสดุ อุปกรณ์ ผ่านกระบวนการบริหาร ซ่ึงประกอบด้วย การวางแผน การจัดองค์กร การบริหารงานบุคคล การอานวยการ และการควบคุม โดยศึกษาถึงแนวทางการพัฒนา ที่นาไปสู่ความสาเร็จของการดาเนินกิจกรรม กระบวนการบริหารที่นาไปสู่ผลสาเร็จ โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือศกึ ษาปัจจยั ท่ีนาไปสผู่ ลสาเร็จในการดาเนนิ งานของศนู ย์อาสาสมคั รป้องกนั ภยั ฝา่ ยพลเรือนองค์การบริหาร ส่วนตาบลวังดาล อาเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี 2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงศูนย์ อาสาสมัครป้องกนั ภัยฝา่ ยพลเรอื นองค์การบริหารส่วนตาบลวงั ดาล อาเภอกบนิ ทรบ์ รุ ี จังหวัดปราจีนบุรี การศึกษาครั้งน้ี เป็นการศึกษาเชิงปริมาณ ประชากรท่ีศึกษา ได้แก่ สมาชิกอาสาสมัครป้องกันภัย ฝ่ายพลเรือนองค์การบริหารส่วนตาบลวังดาล และประชาชนในเขตพื้นที่ตาบลวังดาล อาเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี ซี่งใช้วิธีการกาหนดกลุ่มตัวอย่าง คือการศึกษาเชิงปริมาณ ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างง่าย (Simple random sampling) โดยกาหนดจานวนจากสูตร Taro Yamane (พวงรัตน์ ทวีรัตน์, 2535) ได้จานวน 184 คน เคร่ืองมือท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังนี้ ใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) ที่ได้สร้างข้ึนจากวัตถุประสงค์ และกรอบแนวคิดของการศึกษา ดาเนินการเก็บข้อมูล โดยผู้ศึกษาได้ออกแบบสอบถาม จานวน 184 ชุด โดยได้ตรวจสอบความสมบูรณ์ถูกต้องครบถ้วน แล้วนาข้อมูลจากแบบสอบถามมาวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรม สาเร็จรูป SPSS for Windows version ใช้สถิติบรรยาย ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย ค่าความถี่ และส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐาน ซึง่ สรปุ ผลการวิจยั ดังน้ี สรุปผลการศกึ ษา สรุปผลการวจิ ยั จากการศึกษาครั้งนสี้ ามารถสรุปผลได้ ดังน้ี 1. ข้อมลู สว่ นบุคคลของอาสาสมคั รปอ้ งกนั ภยั ฝา่ ยพลเรือนองค์การบริหารส่วนตาบลวังดาลและประชาชน ตาบลวังดาล อาเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี ผลการศึกษา พบว่า จากกลุ่มตัวอย่าง 184 คน เป็นสมาชิก อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนตาบลวังดาล คิดเป็นร้อยละ 67.4 และเป็นประชาชนในตาบลวังดาล ร้อยละ 32.6 มีเพศชายมากกว่าเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 56.6 และ 43.4 ตามลาดับ มีช่วงอายุมากที่สุด คือช่วง 36-45 ปี คิดเป็นร้อยละ 43.5 และรองลงมา ได้แก่ช่วงอายุ 25-35 ปี, 46-60 ปี และมีอายุต่ากว่า 25 ปี คิดเป็น ร้อยละ 27.2, 26.6 และ 2.7 ตามลาดับ อายุมากสุด 60 ปี อายุต่าสุด 18 ปี อายุเฉลี่ย 35.03 ปี มีระดับการศึกษา ระดับประถมศึกษามากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 27.1 รองลงมาระดับการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดบั ปริญญาตรี ระดับอนุปริญญา และระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ปวช. คดิ เปน็ รอ้ ยละ 24.5, 21.7, 16.3 และ 10.4 ตามลาดับ ส่วนอาชีพส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม คิดเป็นร้อยละ 35.8 รองลงมาประกอบ อาชีพรับจ้าง ประกอบอาชีพพนักงาน/ลูกจ้าง ประกอบอาชีพอ่ืนๆ และประกอบอาชีพส่วนตัว คิดเป็นร้อยละ 29.4, 10.3, 9.3 และ 6.5 ตามลาดับ มีสถานภาพสมรสมากที่สุด คือร้อยละ 81.5 รองลงมาโสด อย่าร้าง และหม้าย คดิ เป็นรอ้ ยละ 13.0, 3.8 และ 1.7 ตามลาดบั มีรายได้ระหว่าง 5,000-10,000 บาท มากทสี่ ดุ 2. ระดับความคิดเห็นของอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ต่อการดาเนินงานของศูนย์อาสาสมัคร ป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนองค์การบริหารส่วนตาบลวังดาล สรุปโดยรวมอยู่ในระดับมาก ( =4.14) แยกเป็น รายด้าน ดงั นี้

25 2.1 ด้านปัจจัยนาเข้า ได้แก่ คน งบประมาณ และเครื่องมือุปกรณ์ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( =4.40) พิจารณารายข้อ พบว่า ศูนย์ อปพร. ได้ต้ังงบประมาณเพ่ือสนับสนุนกิจการ อปพร. ในการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย ให้กับประชาชนในพื้นท่ี อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ ศูนย์ฯ มีจานวนสมาชิก อปพร. เพียงพอในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยให้กับประชาชนในพื้นท่ี และศูนย์ฯ มีเครื่องมือ อุปกรณ์ ยานพาหนะ ในการดาเนินงาน ใหอ้ ย่ใู นสภาพพรอ้ มใช้งาน อย่ใู นระดบั มาก ตามลาดับ 2.2 ด้านการวางแผน โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( =4.43) พิจารณารายข้อ พบว่า ศูนย์ฯ ได้นาข้อมูล จากการปฏิบัติงานเมื่อปีที่ผ่านมาใช้ประกอบการจัดทาแผน อยู่ในระดับมากท่ีสุด รองลงมาคือมีการจัดทาแผน ท้ังระยะสั้นและระยะยาว และให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการวางแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อย่ใู นระดบั มาก 2.3 ด้านการจัดการองค์กร โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( =4.49) พิจารณารายข้อ พบว่า มีการจัด โครงสร้างการบังคับบัญชา และมีคาสั่งแต่งตั้งหน่วย อปพร. อย่างชัดเจน อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา คือ มีการกาหนดหน้าท่คี วามรับผิดชอบให้แก่สมาชิก อปพร. ไว้อย่างชัดเจน และมีการมอบหมายงานให้กับสมาชิก อปพร. อย่างเหมาะสมและท่วั ถงึ อยู่ในระดับมาก 2.4 ด้านการบริหารงานบุคคล โดยรวมอยู่ระดับมาก ( =4.32) พิจารณารายข้อ พบว่า ผู้อานวยการ ศูนย์ อปพร. ให้ความสนใจและให้ความสาคัญของสมาชิก อปพร. ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย รองลงมา ได้แก่ การจัดให้มีการฝึกอบรมให้ความรู้กับสมาชิก อปพร. เป็นประจา และจัดให้มีการประชุมสมาชิก อปพร. เปน็ ประจา อยใู่ นระดับมาก 2.5 ด้านการอานวยการ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.51) พิจารณารายข้อ พบว่า สมาชิก อปพร. มีส่วนร่วมในการดาเนินงาน และทราบบทบาทหน้าที่ของตนเอง การส่งเสริมให้สมาชิกได้รับโล่ หรือประกาศเกียรติคุณแก่สมาชิก อปพร. ผู้บาเพ็ญตนด้วยความอุตสาหะและทุ่มเท ตลอดการสร้างแรงจูงใจ ในการปฏิบัติงานให้แก่สมาชิก อปพร. เช่นการได้รับเบี้ยเล้ียงจากการปฏิบัติหน้าที่ หรือเครื่องแบบ ชุดฝึก อยใู่ นระดับมากทส่ี ุด และมรี ะบบการประสานงานกบั หน่วยงานภายนอกเม่ือเกิดสาธารณภัย อยใู่ นระดบั มาก 2.6 ด้านการควบคุม โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( =3.87) พิจารณารายข้อ พบว่า ทุกข้อมีระบบ การรายงานผลการดาเนินงานในส่วนต่างๆ ที่เก่ียวข้อง ให้ผู้มีส่วนเก่ียวข้องมีส่วนร่วมในการติดตามการรายงาน ผลการดาเนนิ งานอยา่ งใกลช้ ิด ไดก้ าหนดระยะเวลาในการตรวจสอบวัสดุ อุปกรณ์ และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพ่ือให้การ ดาเนินงานสามารถดาเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการประชุมหารือระหว่างบุคลากรผู้ทางาน เพ่ือพัฒนางาน ทพี่ บข้อดอ้ ยหรอื ข้อบกพรอ่ ง เพ่อื แก้ไขปรับปรุง ซึง่ อยู่ในระดบั มาก 3. ระดับความคิดเห็นของประชาชนในพื้นที่ตาบลวังดาล ส่วนใหญ่เห็นว่าการดาเนินงานของศูนย์ฯ มีความเหมาะสมในการดาเนินงาน โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( =4.26) พิจารณารายข้อ ได้แก่ ประชาชน และหน่วยงานภายนอกมีส่วนร่วมในการวางแผนจัดทาแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การให้ความรู้ ด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแก่ชุมชน มีการจัดเตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ ยานพาหนะ สาหรับการ ปฏบิ ัติงานให้อยู่ในสภาพพรอ้ มใช้งาน มกี ารดาเนินการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยร่วมกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เช่น สถานีตารวจ โรงพยาบาล มีการซ้อมแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยร่วมกับหน่วยงานในชุมชน มกี ารประชาสมั พันธ์ขอ้ มลู ขา่ วสารใหป้ ระชาชนในพ้ืนที่ทราบ เกี่ยวข้องกับภัยต่างๆ สามารถช่วยเหลือผู้ประสบภัย ไดร้ วดเร็วและมปี ระสิทธิภาพ มคี วามพร้อมในการบรรเทาสาธารณภัยในระดับสูง ประชาชนเห็นว่ามีการดาเนินงาน เหมาะสมในระดับมาก

26 การอภิปรายผล จากการศึกษาปัจจัยสนับสนุนที่มีผลต่อความผลสาเร็จในการดาเนินงานของศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัย ฝ่ายพลเรือนองค์การบริหารส่วนตาบลวังดาล อาเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี พบว่า ศูนย์อาสาสมัคร ป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนองค์การบริหารส่วนตาบลวังดาล ประสบผลสาเร็จในการดาเนินงานอยู่ในระดับมาก ซึ่งมาจากปัจจัยตามหลักเกณฑ์ที่ศูนย์ อปพร. กลางกาหนดแล้ว ยังประกอบปัจจัย ด้านคน คือสมาชิก อปพร. ที่พร้อมปฏิบัติงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในพื้นที่ มีการต้ังงบประมาณ และมีเครื่องมือ อุปกรณ์ ท่ีพร้อม ใช้งานอย่างเพียงพอและเหมาะสม โดยผ่านการบริหารจัดการที่ดี ได้แก่ การวางแผน ซึ่งเน้นการมีส่วนร่วมของ ประชาชน แสดงให้เห็นถึงการมุ่งเน้นในการตอบสนองความต้องการของประชาชนเป็นหลัก ในด้านการจัดองค์กร มีการจัดโครงสร้าง และกาหนดบทบาทหน้าท่ีความรับผิดชอบตลอดจนมอบหมายงานที่ชัดเจน การบริหารบุคคล ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้ให้ความสาคัญในกิจการ อปพร. เห็นได้จากการให้มีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง เช่น การประชุม การอบรมให้ความรู้แก่สมาชิก อปพร. ส่วนในด้านการอานวยการ ถือเป็นปัจจัยท่ี ศูนย์ อปพร. ประสบผลสาเร็จมากที่สุด มีการสร้างแรงจูงใจให้สมาชิก อปพร. มีส่วนร่วมการทางานอย่างทุ่มเทและเสียสละ สาหรบั ในด้านการควบคมุ กจ็ ะมรี ะบบรายงาน การตรวจสอบ ติดตาม และการปรบั ปรงุ แก้ไข อย่างไรก็ตามจากผลการศึกษา ประชาชนส่วนใหญ่เห็นว่าศูนย์ อปพร. โดยเน้นการมีส่วนร่วมของ ประชาชนท่เี หมาะสมในทุกขนั้ ตอน เป็นหลักในการบรหิ ารจัดการ ซง่ึ นาไปสู่ผลสาเร็จในการดาเนนิ งาน ข้อเสนอแนะสาหรบั การนาผลไปใช้ จากผลการศึกษาปัจจัยสนับสนุนที่มีผลต่อความสาเร็จในการดาเนินงานของศูนย์อาสาสมัคร ป้องกนั ภยั ฝ่ายพลเรอื นองคก์ ารบริหารส่วนตาบลวังดาล อาเภอกบินทร์บุรี จงั หวัดปราจีนบุรี สามารถที่จะ ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาศูนย์ อปพร. ให้ประสบผลสาเร็จได้ สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการสร้าง เครอื ขา่ ยความร่วมมือของประชาชนในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ซึ่งจะเป็นกลไกลสาคัญที่ช่วย ให้บริหารจัดการภัยพิบัติ (การป้องกัน บรรเทา ฟ้ืนฟูสาธารณภัย) ในพ้ืนท่ีรับผิดชอบเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ ประชาชนผู้ประสบภัยจะได้รับการช่วยเหลืออย่างทันท่วงที และเกิดความม่ันใจ ความปลอดภัยของชวี ติ และทรพั ยส์ นิ ดั้งนั้น ศูนย์ อปพร. จังหวัด ศูนย์ อปพร. อาเภอ จึงควรมีการสร้างความเข้าใจ และการทาให้ ผู้บริหารองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน เห็นความสาคญั ของกจิ การ อปพร. พิจารณาต้ังงบประมาณ เพื่อการ ฝึกอบรม อปพร. รวมทั้งการสนับสนุนกิจการ อปพร. ด้านอ่ืนๆ ตลอดจนพัฒนาองค์กรที่เกี่ยวข้อง ให้เข้มแข็ง เช่น คณะกรรมการประสานงานศูนย์ อปพร. ในทุกระดับ เพื่อสร้างความเข้าใจให้เกิดความ รว่ มมือต่อกันระหวา่ งศูนย์ อปพร. กับสมาชกิ อปพร. ขอ้ เสนอแนะสาหรับการวิจัยครง้ั ต่อไป เพ่ือให้กิจการ อปพร. ดาเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ จาเป็นท่ีจะต้องมีการศึกษาวิจัย เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยการศึกษาคร้ังต่อไปควรมีการศึกษาปัจจัยอ่ืนๆ ที่มีผลต่อ ความสาเร็จของการบริหารในการดาเนินงานของศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน เช่น แรงจูงใจ ในการปฏิบัติงาน ภาวะผู้นา การทางานเป็นทีม การมีส่วนร่วมของประชาชน ความพึงพอใจของ ผู้ปฏิบัติงาน และเปรียบเทียบการดาเนินงานของศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนท่ีมีลักษณะ คลา้ ยกนั

บรรณานกุ รม กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. (2552). คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนงานการฝึกซ้อมแผน การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยตามสภาพพื้นท่ีเส่ียงภัย. กรุงเทพฯ : ส่วนนโยบาย ภัยธรรมชาติ สานักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. . (ม.ป.ป.). คู่มือการพัฒนาระบบความปลอดภัยให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท่ีมี ผงั เมอื งรวม. กรุงเทพฯ : กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั . . (2554). คู่มือการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. กรุงเทพฯ : กระทรวงมหาดไทย . (2550). พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550. กรุงเทพฯ : กระทรวงมหาดไทย . (2553). แผนป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2553-2557. กรุงเทพฯ : กระทรวงมหาดไทย . (2555). ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2555-2557. กรุงเทพฯ : กระทรวงมหาดไทย กระทรวงมหาดไทย. (2553). ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหน่วยอาสาสมัครป้องกันภัย ฝ่ายพลเรอื น พ.ศ. 2553. กรุงเทพฯ: กระทรวงมหาดไทย จิตราภรณ์ แสงร่งุ นภาพรรณ. (2549). ปัจจัยทางการบริหารจัดการและกระบวนการบริหารงานที่มีผล ต่อการดาเนินงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาของเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขในศูนย์สุ ขภาพชุมชน จังหวดั นครราชสีมา. วทิ ยานพิ นธศ์ ิลปศาสตร์มหาบณั ฑิต มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ . นรนิ ทรช์ ัย พัฒนพงศา. (2547). การมีส่วนรว่ มหลกั การพื้นฐานเทคนคิ และกรณตี วั อย่าง. พิมพ์ครั้งที่ 2. เชียงใหม่ : สิริลกั ษณ์การพิมพ์, ปิยนุช ภูคา. (2545). การศึกษาเปรียบเทียบกระบวนการบริหารท่ีมีผลต่อการดาเนินงานของคณะกรรมการ บริหารศูนย์สงเคราะห์ราษฎรประจาหมู่บ้านในอาเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี. วิทยานิพนธ์ ศลิ ปศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. ร้อยตารวจโทชินวัฒน์ ศรีสวัสดิ์. (2547). กระบวนการบริหารกับผลสัมฤทธิ์ของการจัดการศูนย์อบรม เด็กก่อนเกณฑ์ในวดั จังหวัดหนองคาย. วิทยานิพนธศ์ ิลปศาสตร์มหาบัณฑติ , มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ . สมชาย อุทยั ดษิ ฐ์. (2551). บทบาทขององค์การบรหิ ารส่วนตาบลตอ่ การพฒั นาทักษะการปฏิบัติหน้าที่ ของอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) กรณีศึกษา องค์การบริหารส่วนตาบลโนนธาตุ. สารนิพนธ์รัฐศาสตร์มหาบณั ฑิต มหาวิทยาลัยรามคาแหง วีระพล บุญประกอบ. (2541). กระบวนการบริหารกับผลสัมฤทธ์ิของการจัดการศูนย์อบรมเด็กก่อน เกณฑ์ในวดั จังหวัดหนองคาย. วทิ ยานิพนธ์ศลิ ปศาสตรม์ หาบณั ฑติ , มหาวิทยาลัยขอนแกน่ . ธิดารัตน์ รวยอบกล่ิน. (2553). ปัญหาอุปสรรคในการบริหารศูนย์ อปพร. องค์การบริหารส่วนตาบลวังทอง จงั หวดั พษิ ณโุ ลก. คณะสงั คมศาสตร์, มหาวทิ ยาลัยนเรศวร.

แบบสอบถาม คาช้ีแจง แ บ บ ส อ บ ถ า ม นี้ เ ป็ น ส่ ว น ห น่ึ ง ข อ ง ร า ย ง า น ก า ร ศึ ก ษ า วิ จั ย ส่ ว น บุ ค ค ล ข อ ง ก า ร ศึ ก ษ า ห ลั ก สู ต ร นักบริหารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นที่ 10 วิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย ใคร่ขอความอนุเคราะห์ จากท่านตอบแบบสอบถามทุก ๆ ข้อ ตามความเป็นจริงเพ่ือเป็นประโยชน์ใช้เป็นแนวทางการพัฒนาการบริหารงานศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัย ฝ่ายพลเรือนตาบลวังดาล ขอรับรองว่าข้อมูลที่ท่านตอบท้ังหมด จะถือเป็นความลับซ่ึงไม่มีผลกระทบต่อตัวท่าน แตอ่ ย่างใด เนื่องจากผลการศึกษาจะนาเสนอในภาพรวมเท่าน้ัน มิได้แจกแจงข้อมลู เป็นรายบคุ คลไมว่ ่ากรณใี ด ๆ (นายเมธาสิทธ์ิ หอมจะบก) นกั ศกึ ษา นบ.ปภ.รนุ่ ที่ 10 วิทยาลยั ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

-2- แบบสอบถามเร่ือง กระบวนการบรหิ ารงานของศูนย์อาสาสมคั รป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ตาบลวังดาล อาเภอกบนิ ทร์บุรี จังหวดั ปราจนี บุรี โปรดทาเครอ่ื งหมาย  ในข้อที่เป็นจรงิ หรือตรงกบั ความคิดเหน็ ของท่านมากท่สี ดุ 1. อายุ…………ปี  ชาย  หญงิ 2. เพศ 3. ระดบั การศกึ ษา  ประถมศึกษา  มธั ยมศึกษาตอนตน้  มธั ยมศึกษาตอนปลายหรือเทยี บเท่าปวช.  อนุปรญิ ญา  ปรญิ ญาตรี  สงู กว่าปริญญาตรี 4. สถานภาพสมรส  สมรส  โสด  หย่ารา้ ง  หม้าย 5. อาชีพหลัก  เกษตรกร  รับจา้ ง  พนักงาน/ลกู จา้ ง  ค้าขาย  รบั ราชการ  อาชพี สว่ นตวั  อืน่ ๆ (โปรดระบุ)............................................................... 6. รายได้ ตอ่ เดอื น  นอ้ ยกว่า 5000 บาท  5000-10000 บาท  10000-15000 บาท  มากกวา่ 15000 บาท 7. ความคิดเหน็ ของสมาชกิ อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนตอ่ การดาเนินงานของศนู ย์อาสาสมัครป้องกัน ภัยฝ่ายพลเรอื นตาบลวังดาล 7.1 ด้านปัจจยั นาเข้า ระดับความเหมาะสม/การดาเนนิ งาน การปฏบิ ัติงานของศนู ยฯ์ ด้านปัจจัยนาเข้า มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย 1. ศูนย์ฯ มจี านวนสมาชิก อปพร.เพียงพอในการป้องกันและ ทีส่ ดุ กลาง ที่สุด บรรเทาสาธารณภยั ให้กบั ประชาชนในพ้นื ที่ 2. ศูนย์ฯ ไดจ้ ดั ต้งั งบประมาณเพื่อสนับสนุนกิจการ อปพร. ในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ให้กับประชาชนในพ้ืนที่ มากน้อยเพยี งใด 3. ศนู ยฯ์ มีการจัดเตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ ยานพาหนะ ในการดาเนินงาน การป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ให้อยูใ่ นสภาพพรอ้ มใชง้ าน

-3- 7.2 ด้านกระบวนการบรหิ าร ระดบั ความเหมาะสม/การดาเนนิ งาน การปฏบิ ตั งิ านของศนู ยฯ์ ด้านปัจจัยนาเข้า ดา้ นการวางแผน มาก มาก ปาน น้อย น้อย ที่สดุ กลาง ทส่ี ุด 1. ศูนย์ฯ มีการจดั ทาแผนทัง้ ระยะส้ันและระยะยาว 2. ศนู ยฯ์ ไดน้ าข้อมูลจากการปฏบิ ตั ิงานเมอ่ื ปีทผี่ า่ นมาใช้ ประกอบการจัดทาแผน 3. ศนู ยฯ์ ให้ทกุ ภาคสว่ นมีสว่ นรว่ มในการวางแผนป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย ด้านการจัดองคก์ ร 1. ศูนย์ฯ มีการจัดโครงสรา้ งการบงั คบั บัญชา และมีคาสง่ั แตง่ ตง้ั หนว่ ย อปพร. อยา่ งชดั เจน 2. ศูนย์ฯ มกี ารกาหนดหน้าที่ความรับผดิ ชอบให้แก่สมาชิก อปพร. ไว้อย่างชดั เจน 3. ศนู ย์ฯ มกี ารมอบหมายงานใหก้ ับสมาชิก อปพร. อยา่ งเหมาะสม และท่วั ถึง ดา้ นการบรหิ ารงานบุคคล 1. ผู้อานวยการศูนย์ อปพร. ใหค้ วามสนใจและเห็นความสาคัญ ของสมาชิก อปพร. ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั 2. ศนู ย์ฯ จัดให้มกี ารฝึกอบรมให้ความรู้ให้กับสมาชิก อปพร. เปน็ ประจา 3. ศูนยฯ์ จัดใหม้ ีการประชุมสมาชกิ อปพร. เปน็ ประจา ด้านอานวยการ 1. สมาชกิ อปพร. มสี ว่ นรว่ มในการดาเนินงาน และทราบ บทบาทหน้าที่ของตนเอง มากน้อยเพยี งใด 2. การส่งเสรมิ ให้สมาชิกไดร้ ับโลห่ รอื ใบประกาศเกียรติคณุ แก่ สมาชิก อปพร. ผู้บาเพญ็ ตนด้วยความอสุ าหะและทุ่มเท 3. ศนู ย์ฯ มีระบบการประสานงานกบั หน่วยงานภายนอกเมื่อ เกิดสาธารณภัย 4. มีการสรา้ งแรงจงู ใจในการปฏบิ ัตงิ านใหแ้ ก่สมาชกิ อปพร. เชน่ การไดร้ บั เบยี้ เล้ียงจากการปฏบิ ตั หิ นา้ ทหี่ รอื เคร่ืองแบบชุดฝึก

-4- การปฏบิ ตั งิ านของศูนย์ฯ ด้านปจั จัยนาเข้า ระดับความเหมาะสม/การดาเนินงาน ดา้ นการควบคุม มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย ทส่ี ดุ กลาง ท่ีสดุ 1. ศูนย์ฯ มีระบบการรายงานผลการดาเนนิ การในสว่ นต่างท่ี เก่ยี วข้อง 2. ศูนยฯ์ ใหผ้ มู้ สี ่วนเก่ยี วข้องมีส่วนร่วมในการตดิ ตาม ตรวจสอบผลการดาเนนิ งาน อย่างใกลช้ ิด 3. ศูนยฯ์ ไดก้ าหนดระยะเวลาในการตรวจสอบวสั ดุอุปกรณ์ และอืน่ ๆ ท่ีเกย่ี วข้อง เพอ่ื ให้การดาเนนิ งานสามารถดาเนนิ ไป ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ 4. ศูนยฯ์ มีการประชมุ หารือระหว่างบคุ คลผู้ทางานเพ่ือพัฒนา งานที่พบขอ้ ด้อยหรือข้อบกพรอ่ ง เพื่อแก้ไขปรับปรงุ 8. ความคิดเห็นของประชาชนในพ้นื ท่ีตาบลวังดาล ต่อความเหมาะสมของการดาเนินงานศูนย์อาสาสมคั ร ป้องกนั ภัยฝ่ายพลเรือนตาบลวงั ดาล การดาเนนิ งานของศูนย์ฯ ระดบั ความเหมาะสม/การดาเนินงาน 1. ศูนย์ฯ ใหค้ วามรดู้ ้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย แก่ประชาชนและชุมชน ทสี่ ดุ กลาง ท่ีสดุ 2. ศนู ยฯ์ มีการจดั เตรียมเคร่ืองมือ อปุ กรณย์ านพาหนะ สาหรับการปฏบิ ตั งิ านให้อยู่ในสภาพพร้อมใชง้ าน 3. ศนู ยฯ์ มีการดาเนินการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ร่วมกบั หน่วยงานท่ีเกย่ี วข้อง เชน่ สถานตี ารวจ โรงพยาบาล 4. ศนู ย์ฯ มีการซ้อมแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ร่วมกับหน่วยงานในชมุ ชน 5. ศนู ยฯ์ มีการประชาสัมพนั ธ์ขอ้ มลู ขา่ วสารใหป้ ระชาชนใน พื้นท่ีทราบเกยี่ วกับภัยตา่ งๆ 6. ศนู ยฯ์ สามารถช่วยเหลือผปู้ ระสบภัยได้รวดเรว็ และ ประสทิ ธภิ าพ 7. ศูนยฯ์ ไดม้ ีการแจง้ ขา่ วเตือนภยั ต่างๆใหป้ ระชาชนในท้องท่ี ทราบ

-5- 9. ขอ้ คิดเห็น/ข้อเสนอแนะ ...................................................................................................................................................................... ............ .................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................ ...................... ................................................................................................................................................................ .................. .................................................................................................................................................................................. ...................................................................................................................................... ............................................ .................................................................................................................................... ..................

แบบการเสนอโครงรา่ งการศึกษาวิจัยสว่ นบคุ คล (Proposal) หลักสูตร นักบรหิ ารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุน่ ท่ี 10 1. ช่อื ผจู้ ดั ทา นายเมธาสิทธ์ิ หอมจะบก เลขประจาตวั 22 2. ช่ือเรือ่ ง ความคิดเห็นของอาสาสมคั รป้องกันภัยฝ่ายพลเรอื นและประชาชนตอ่ การดาเนนิ การของ ศูนยอ์ าสาสมคั รป้องกันภัยฝา่ ยพลเรอื น กรณศี กึ ษา : องค์การบริหารส่วนตาบลวงั ดาล อาเภอกบนิ ทร์บุรี จังหวัดปราจีนบรุ ี 3. ความเป็นมาของเร่ืองและสถานการณป์ จั จุบัน ในปัจจุบันสาธารณภัยท้ังท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ และท่ีเกิดขึ้นเองจากการกระทาของมนุษย์ ไดก้ ลายเป็นปัญหาสาคัญของโลก รวมท้ังประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่ทาให้ เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน เป็นปัจจัยสาคัญที่ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อการทาลาย ส่ิงแวดล้อมโลก ทาใหค้ วามสัมพันธร์ ะหว่างมนษุ ย์กับมนุษย์ และมนุษย์กับธรรมชาติเปล่ียนแปลงไป เป็นปัจจัย เร่งให้โลกต้องเผชิญกับวิกฤติด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะสถานการณ์ภาวะโลกร้อน สง่ ผลให้เหตุสาธารณภัยมแี นวโนม้ วา่ จะมีความรนุ แรงและมีความถีเ่ พมิ่ มากข้ึน เช่น แผน่ ดินไหว ภูเขาไฟระเบิด สึนามิ อุทกภัย วาตภัย ดินโคลนถล่ม อัคคีภัย ภัยแล้ง โรคระบาดท้ังในสัตว์ พืช มนุษย์ สารเคมีวัตถุอันตราย ตลอดจนภัยจากคมนาคมขนส่ง ซ่ึงสร้างความเสียหายให้กับชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนจานวนมาก การเตรียมความพร้อมรับภัยพิบัติดังกล่าว จึงเป็นส่ิงจาเป็นในการป้องกันอันตรายและช่วยเหลือตนเอง และช่วยเหลือผู้อ่ืน ซ่ึงจะชว่ ยลดความสูญเสยี ทจ่ี ะเกิดขน้ึ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี 4. เหตผุ ลและความจาเปน็ ในการศกึ ษาและคาถามในการวิจัย 4.1 ศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนองค์การบริหารส่วนตาบลวังดาล อาเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบรุ ี มีกระบวนการบริหารงานกจิ การ อปพร. อยา่ งไร 4.2 ประชาชนมสี ่วนร่วม และมคี วามพงึ พอใจตอ่ การดาเนนิ งานของศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน องค์การบริหารสว่ นตาบลวังดาล อาเภอกบินทรบ์ รุ ี จังหวัดปราจีนบุรี มากนอ้ ยเพียงใด 5. วัตถุประสงคข์ องการศึกษา 5.1 เพื่อศึกษากระบวนการบริหารที่นาไปสู่ผลสาเร็จในการดาเนินงานของศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัย ฝ่ายพลเรอื นองคก์ ารบริหารส่วนตาบลวังดาล อาเภอกบินทรบ์ รุ ี จงั หวดั ปราจนี บุรี 5.2 เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนองค์การบริหาร ส่วนตาบลวงั ดาล อาเภอกบินทรบ์ รุ ี จงั หวดั ปราจนี บรุ ี ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพมากยิ่งขนึ้ 6. วธิ ีการและขอบเขตการศึกษา 6.1 วิธีการศึกษา เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลสาหรับการศึกษาคร้ังนี้ผู้ศึกษาได้ จดั เก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม เก็บจากกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน และประชาชน ในพ้นื ทต่ี าบลวงั ดาล อาเภอกบนิ ทรบ์ รุ ี จังหวัดปราจนี บรุ ี 6.2 ขอบเขตการศึกษา การศึกษาคร้ังน้ี เป็นการศึกษากระบวนการบริหารที่นาไปสู่ผลสาเร็จในการ ดาเนินงานของศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนองค์การบริหารส่วนตาบลวังดาล อาเภอกบินทร์บุรี จงั หวัดปราจนี บุรี

-2- 6.3 กรอบแนวคิดในการศึกษา เพ่ือหาแนวทางในการพัฒนาศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน อยา่ งต่อเนอื่ ง เพอื่ ใชเ้ ปน็ แนวทางการพัฒนาใหก้ บั ศูนยอ์ าสาสมัครป้องกันภยั ฝา่ ยพลเรอื นในจังหวัดปราจีนบุรี 7. ทฤษฎี แนวความคดิ ระเบียบกฎหมายทใี่ ช้ในการศึกษา 7.1 แนวคิดเกี่ยวกบั กระบวนการบริหาร 7.2 แนวคดิ เกยี่ วกับการพัฒนา 7.3 แนวคดิ เกย่ี วกบั การมสี ว่ นร่วม 7.4 แนวคิดเก่ียวกบั การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย 7.5 แนวคิดเก่ียวกบั อาสาสมคั รป้องกันภัยฝา่ ยพลเรือน (อปพร.) 7.6 วรรณกรรมที่เก่ียวขอ้ ง 8. ผลทีค่ าดว่าจะไดร้ ับ 8.1 นาเสนอผู้บังคับบัญชาให้ทราบถึงกระบวนการบริหารท่ีนาไปสู่ผลสาเร็จในการดาเนินงานของ ศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการตัดสินใจ อันจะนาไปสู่การพัฒนารูปแบบการ บรหิ ารกิจการ อปพร. ท่ดี ใี หก้ บั ศูนย์ อปพร. ในพ้ืนทจ่ี ังหวัดปราจีนบรุ ี 8.2 นาเรียนผู้บังคับบัญชาให้ทราบถึงความคิดเห็นของอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนและประชาชน ต่อการดาเนินงานของศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน เพ่ือใช้เป็นแนวทางการพัฒนาและปรับปรุง ศนู ย์อาสาสมัครป้องกนั ภยั ฝ่ายพลเรอื นจังหวดั ปราจีนบรุ ี ให้มปี ระสิทธิภาพมากยง่ิ ขน้ึ ความเห็นของอาจารย์ท่ีปรกึ ษา …………………....….………………. ลงชื่อ ……………………………………………………… ลงชอ่ื ………………......………….......…………… (ปยิ วตั น์ ขนิษฐบุตร) (นายเมธาสทิ ธ์ิ หอมจะบก) อาจารย์ทีป่ รึกษานักศกึ ษา นบ.ปภ. รนุ่ ที่ 10 นกั ศกึ ษา นบ.ปภ.รุ่นท่ี 10  อนุมัติ  ไม่อนมุ ตั ิ เนือ่ งจาก...…………………………………………………................……………………… ลงชื่อ ……………………………………………….. (นางสาวลกั ขณา มนมิ นากร) ผู้อานวยการวิทยาลยั ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

ประวัติผู้เขียน ชอื่ – นามสกุล นายเมธาสทิ ธิ์ หอมจะบก วนั เดือน ปี เกดิ 21 กุมภาพันธ์ 2512 สถานทเ่ี กดิ จังหวัดนครราชสีมา วุฒิการศกึ ษา ปรญิ ญาตรี บริหารธรุ กิจบัณฑติ สาขาการจัดการงานกอ่ สรา้ ง มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช ตาแหนง่ หนา้ ที่การงานปจั จุบัน หัวหน้าฝ่ายสงเคราะห์ผู้ประสบภัย (นายช่างโยธาอาวุโส) สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัดปราจีนบุรี ถนนสวุ นิ ทวงค์ ตาบลไมเ้ ด็ด อาเภอเมืองปราจนี บุรี จังหวัดปราจีนบุรี 25230


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook