Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 13_นิกร จันทร์นาเป็ง_รวมต้นฉบับ

13_นิกร จันทร์นาเป็ง_รวมต้นฉบับ

Published by Hommer ASsa, 2021-04-30 04:46:45

Description: 13_นิกร จันทร์นาเป็ง_รวมต้นฉบับ

Search

Read the Text Version

รายงานการศึกษา ความพงึ พอใจของผูเ้ ขา้ รบั การฝึ กอบรม ที่มตี ่อหลกั สูตรพนกั งานดบั เพลิง กรณศี ึกษา : วิทยาลยั ป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั วิทยาเขตเชียงใหม่ จัดทาโดย นายนิกร จันทรน์ าเป็ ง รหสั ประจาตวั นกั ศึกษา 13 เอกสารฉบบั น้ เี ป็ นส่วนหนงึ่ ในการศึกษาอบรม หลกั สูตรนกั บริหารงานป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั (นบ.ปภ.) รุ่นที่ 10 วิทยาลยั ป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั กรมป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั

ก คำนำ การศึกษาวจิ ยั เรอ่ื งความพงึ พอใจของผ้เู ข้ารับการฝกึ อบรมท่มี ตี อ่ หลกั สตู รพนกั งาน ดับเพลิง กรณศี กึ ษา : วทิ ยาลัยป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย วิทยาเขตเชียงใหม่ ฉบบั นี้ เป็นสว่ นหนงึ่ ของการศึกษาวจิ ัยสว่ นบุคคลหลักสูตรนักบริหารงานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุ่นท่ี 10 วิทยาลยั ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภโัยดยเป็นการศกึ ษาค้นควา้ ว่าผู้ เข้ารบั การฝกึ อบรมหลกั สตู รพนกั งานดบั เพลิง มีความพงึ พอใจ หรอื มปี ญั หาและอปุ สรรคหรือไม่ ในการฝึกอบรม เพอื่ นาเสนอเปน็ ข้อมลู ให้ผบู้ รหิ ารของวทิ ยาลัยปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั วิทยาเขต เชยี งใหม่ ใชเ้ ปน็ ขอ้ มูลเบือ้ งตน้ ในการพัฒนา ปรบั ปรงุ งาน และวางแผนการฝกึ อบรมหลกั สูตรพนักงาน ดับเพลงิ ในโอกาสตอ่ ไป ดังนัน้ หากเอกสารงานวิจยั ส่วนบคุ คลฉบบั น้ี มีขอ้ บกพร่อง หรอื ผดิ พลาดประการใด ผูศ้ ึกษาวิจัย ขอนอ้ มรับดว้ ยความเคารพ และจะนาไปปรบั ปรุง แก้ไข ในโอกาส ตอ่ ไป นกิ ร จนั ทรน์ าเป็ง นกั ศกึ ษาหลักสูตร นบ.ปภ. รุน่ ที่ 10 เมษายน 2557

ข กิตติกรรมประกาศ เอกสาร การศกึ ษาวจิ ัย สว่ นบคุ คล เรอื่ งความพึงพอใจของผเู้ ข้ารับการฝกึ อบรมทมี่ ีตอ่ หลักสูตรพนกั งานดับเพลิง กรณศี กึ ษา : วทิ ยาลยั ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั วิทยาเขตเชียงใหม่ ฉบับน้ี สาเร็จลุลว่ งด้วยดี เพราะไดร้ ับความเมตตาและความกรุณาให้คาแนะนา จาก ทา่ นอาจารย์ ดร.ปิยวฒั น์ ขนษิ ฐบตุ ร และอาจารยว์ รชพร เพชรสวุ รรณ อาจารยท์ ีป่ รงึกาษนาวจิ ัยนกั ศึกษา นบ.ปภ. รนุ่ ท่ี 10 อยา่ งใกลช้ ิด และขอขอบพระคุณผบู้ ริหารกรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ทุกท่าน ท่ไี ด้ กรณุ าคัดเลือกให้ผวู้ จิ ัยไดเ้ ข้ารับการฝกึ อบรมในหลกั สูตรนกั บริหารงานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รนุ่ ท่ี 10 ในคร้งั น้ี โดยเฉพาะ ผูอ้ านวยการวิทยาลยั ป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั (นางสาวลักขณา มนิมนากร ) รองผู้อานวยการวิทยาลัยปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย ฝา่ ยฝึกอบรม (นายวจิ ารณ์ เหลา่ ธรรมยิง่ ยง) และเจ้าหน้าทว่ี ทิ ยาลัยปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทุกคน นอกจากน้ี ขอขอบพระคุณผอู้ านวยการวทิ ยาลยั ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั วิทยาเขตเชียงใหม่ และเจา้ หนา้ ท่ีทกุ คน รวมถงึ บุคลากร ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทไ่ี ดก้ รุณาตอบ แบบสอบถาม ตลอดจนเพือ่ น ๆ นบ.ปภ. รนุ่ ที่ 10 ทุกท่าน ท่ใี ห้ขอ้ มูลและคาแนะนา ในการศกึ ษาวจิ ยั ในคร้ังน้ี หากเอกสารงานวจิ ัยส่วนบุคคลฉบับนี้ มีข้อบกพรอ่ งผดิ พลาดประการใด ผู้ วิจยั ขอน้อมรับ ดว้ ยความเคารพ และจะนาไปปรบั ปรงุ แกไ้ ข ในโอกาส ต่อไป นิกร จนั ทร์นาเปง็ นักศึกษาหลกั สตู ร นบ.ปภ. รนุ่ ที่ 10 เมษายน 2557

ค บทสรุปสำหรบั ผูบ้ ริหำร การศึกษาความพึงพอใจของผเู้ ขา้ รับการฝกึ อบรม ทม่ี ีต่อหลักสูตรพนักงานดับเพลงิ กรณีศึกษา : วิทยาลยั ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย วิทยาเขตเชียงใหม่ โดยมวี ัตถปุ ระสงค์ เพือ่ ศกึ ษา ความพึงพอใจของผเู้ ขา้ รับการฝกึ อบรมตอ่ หลักสูตรพนกั งานดบั เพลงิ และเพื่อศกึ ษาปญั หา และอุปสรรค ในการฝึกอบรมหลกั สูตรพนกั งานดบั เพลงิ ใชว้ ธิ ีการศกึ ษาเชงิ ปริมาณ อนั ประกอบไปด้วย การศึกษา ค้นคว้าขอ้ มลู จากเอกสารทางวชิ าการและงานวจิ ยั ที่เก่ยี วข้อง การเก็บขอ้ มูลจากแบบสอบถาม โดยนา ข้อมลู ท่ไี ดท้ งั้ หมดมาประมวลผล ทาการวเิ คราะห์เชงิ พรรณนา และเนอ้ื หา เพือ่ ตอบคาถาม ตาม วัตถุประสงคข์ องการวจิ ยั และแสวงหาข้อค้นพบจากการศึกษาวิจัย ผลการศึกษาครง้ั น้ีพบว่า ผ้เู ขา้ รบั การฝกึ อบรมมคี วามพึงพอใจต่อหลกั สตู รพนกั งาน ดับเพลิงเปน็ เพศชาย ส่วนใหญม่ อี ายอุ ยู่ระหว่าง 30 – 39 ปี ประมาณรอ้ ยละ 76 มีการศกึ ษาระดับ ตา่ กว่าปริญญาตรี ปัจจัยจากการได้รบั การสนบั สนุนทที่ าใหเ้ กดิ ความพงึ พอใจของผูเ้ ข้ารบั การฝึกอบรม ในภาพรวมมอี ยใู่ นระดบั มากทสี่ ดุ เม่อื พจิ ารณาเป็นรายด้านเรียงลาดับจากคา่ เฉลย่ี มาทกีส่ ดุ ไปหานอ้ ย ที่สดุ คือ ดา้ นหลักสตู ร ด้านการบรหิ ารจดั การโครงการ ดา้ นวทิ ยากร และด้านอาคารสถานทแี่ ละการใหบ้ รกิ าร ขอ้ เสนอเชิงนโยบาย ซง่ึ จะสง่ ผลตอ่ ความพงึ พอใจของผ้เู ข้ารับการฝกึ อบรมตอ่ หลกั สูตร พนกั งานดับเพลงิ 1) ด้านอาคารสถานท่แี ละการให้บรกิ าร ทตี่ ้องปรบั ปรุงแกไ้ ข ในเร่ือง ของความ สะดวกสบายของท่จี อดรถ ความเพียงพอของห้องน้า ความสะอาดของห้องน้า เสียงรบกวนจากภายนอก ห้องเรียน สิ่งอานวยความสะดวกในห้องพัก การทาความสะอาดหอ้ งพกั การรกั ษาความปลอดภยั ของ ทพี่ กั คุณภาพและความเพยี งพอของอาหารประจาวนั การใหบ้ ริการของเจา้ หนา้ ทีป่ ระจาห้องอาหาร และ ความสะดวกสบายในการขึน้ ลงอาคาร ตลอดจน ควรหาท่ีจอดรถให้เพียงพอ เช่น เพิ่มเติมทีห่ น้าหอ้ งพัก บริเวณใต้ร่มตน้ ไม้ ควรซ่อมแซมห้องน้า และปรับปรงุ ระบบนา้ ภายในห้องนา้ ในอาคาร ตลอดจนการดูแล ทาความสะอาดห้องนา้ อย่างสมา่ เสมอ ๆ การจัดให้มีภาชนะไวร้ องรับสาหรับการซักถุงเทา้ กางเกงใน ของ ผู้เขา้ รับการฝึกอบรม และควรมีราวตากผ้าด้านนอกห้องพัก การปรับปรุงการจัดทน่ี อน อาหารประจาวนั รอบดกึ กอ่ นนอน ควรเป็นประเภทนา้ เต้าหู้ ปลาท่องโก๋ อาหารเบา ๆ ร้อน ๆ หวาน ๆ และควรใหบ้ รกิ าร WIFI (Free) เพอื่ ใชใ้ นการติดตามข่าวสารต่าง ๆ รวมทง้ั มรี ้านค้าสวสั ดกิ ารภายในวิทยาลยั เพื่อหลกี เลย่ี ง การขออนุญาตออกไปขา้ งนอกของผูเ้ ขา้ รับการฝกึ อบรม 2) ด้านวิทยากร ที่ต้องปรบั ปรงุ แก้ไข คือ การรกั ษาเวลา และวิทยากรควรมอี ารม ณ์ ขบขนั บ้าง เพื่อไม่ใหเ้ กิดการง่วงนอน หรือมวี ทิ ยากรผ้หู ญงิ เพื่อดึงดดู ความสนใจ วทิ ยากรและครูฝกึ ควรทา ความเขา้ ใจในเนื้อหาวชิ าให้ตรงกัน กอ่ นการสอน เพอื่ ใหเ้ ป็นแนวทางเดยี วกัน ผูเ้ ข้าอบรมจะไดไ้ ม่สบั สน ข้อเสนอแนะในการทาวจิ ัยครั้งต่อไป ควรศกึ ษาวจิ ยั เพิม่ เตมิ ในประเดน็ ความพึงพอใจของผเู้ ขา้ รับการฝกึ อบรม ทีม่ ตี ่อเน้ือหา วชิ าการฝึกอบรมหลักสูตรพนักงานดบั เพลงิ ที่เจาะลึกลงไปในเน้ือหารายวิชา เพ่ือใหไ้ ดร้ ายละเอียด และ ขอ้ มลู ในรายวชิ าตา่ ง ๆ ทชี่ ดั เจนยง่ิ ข้ึน ซึง่ จะเปน็ ประโยชน์ต่อการปรับปรุง และพัฒนาเอกสาร ประกอบการฝึกอบรม การวางแผนการสอนของวิทยากร ครฝู กึ ซ่ึงจะเกดิ ประโยชน์สงู สุดต่อหนว่ ยงาน และตรงกบั ความตอ้ งการของผเู้ ข้ารับการฝึกอบรม ทาใหเ้ กิดความพึงพอใจมากยิ่งขึ้น

ง สารบญั คานา ก หนา้ กติ ตกิ รรมประกาศ ข ค ง-จ บทสรุปสาหรับผูบ้ รหิ าร 1 สารบญั 2 2 สารบญั ตาราง ฉ 3 4 บทที่ 1 บทนา 5 ความสาคัญ และทม่ี าของปญั หาวจิ ยั 6 7 วตั ถุประสงคข์ องการศึกษา 9 ขอบเขตของการศึกษา 10 10 ประโยชนท์ ี่ไดร้ บั ในการศกึ ษา 11 11 นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ 11 12 บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกย่ี วข้อง 12 13 แนวคดิ เก่ยี วกับการสรา้ งหลกั สตู รฝึกอบรม แนวคิดและทฤษฎเี ก่ียวกบั ความพงึ พอใจ งานวสิ ยั ทเ่ี กย่ี วข้อง กรอบแนวคดิ บทท่ี 3 ระเบียบวธิ ีวจิ ยั วิธดี าเนินการวิจยั ประชากร ตวั อย่าง เคร่ืองมอื ทใี่ ช้ในการศึกษา องคป์ ระกอบของแบบสอบถาม การเก็บรวบรวมข้อมูล การแปรผลขอ้ มลู สถติ ิท่ีใชใ้ นการวิเคราะห์

จ 14 15 บทท่ี 4 การวิเคราะหข์ อ้ มลู 18 สว่ นที่ 1 ขอ้ มลู ทั่วไปสว่ นบุคคล สว่ นท่ี 2 ข้อมูลเกยี่ วกบั ความพึงพอใจของผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรม 20 สว่ นที่ 3 ข้อมลู ดา้ นปัญหาและอปุ สรรค ในการฝกึ อบรม หรอื ขอ้ เสนอแนะ 21 และความคดิ เหน็ เพม่ิ เตมิ 23 24 บทที่ 5 บทสรุปและอภปิ รายผล สรุปผลการศกึ ษา อภิปรายผล ข้อเสนอแนะสาหรบั การนาผลไปใช้ ขอ้ เสนอแนะในการทาวิจยั ครงั้ ต่อไป บรรณานุกรม ภาคผนวก โครงการฝึกอบรมหลกั สตู รพนักงานดับเพลิง หนงั สอื ขอความอนุเคราะหต์ อบแบบสอบถาม แบบสอบถาม แบบเสนอโครงรา่ งการศึกษาวิจยั ส่วนบุคคล (Proposal) ประวัติผ้วู ิจยั

ฉ หนา้ สารบญั ตาราง 1 10 ตารางที่ 1.1 สถิตสิ ถานการณอ์ คั คภี ัย ระหวา่ งปี พ.ศ. 2545-2553 14 ตารางที่ 3.1 แสดงข้อมลู ประชากร 15 ตารางที่ 4.1 แสดงจานวนและร้อยละของผู้เขา้ รบั การฝึกอบรม 16 ตารางท่ี 4.2 ระดับความพึงพอใจของผู้เข้ารบั การฝึกอบรมในแตล่ ะดา้ น 16 ตารางท่ี 4.3 ระดับความพงึ พอใจทมี่ ีต่อด้านหลักสูตร 17 ตารางที่ 4.4 ระดบั ความพงึ พอใจที่มีตอ่ ด้านวทิ ยากร 17 ตารางท่ี 4.5 ระดบั ความพึงพอใจที่มีตอ่ ดา้ นอาคารสถานที่และการใหบ้ รกิ าร ตารางที่ 4.6 ระดบั ความพึงพอใจที่มีตอ่ ด้านการบรหิ ารจดั การโครงการ

บทที่ 1 บทนา ความสาคญั และท่มี าของปญั หาวจิ ัย สถานการณส์ าธารณภยั และอบุ ตั ภิ ัย โดยเฉพาะอคั คภี ยั ปัจจุบนั มีแนวโน้มความรุนแรง และมโี อกาสเกดิ ขึน้ ได้ตลอดเวลา สามารถเผาผลาญทรัพย์สนิ ใหว้ อดวายได้ในช่วั ระยะเวลาไมก่ ่ชี ว่ั โมง ก่อให้เกดิ ความสญู เสยี ตอ่ ชีวติ ทรพั ย์สนิ ของประชาชน และเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ ซง่ึ สาเหตุ การเกิดอัคคภี ัยส่วนใหญ่เกดิ จากความประมาท ขาดความระมัดระวงั หรอื ความพลั้งเผลอ สถานท่ที ่ีเกิด อคั คีภัยมักเปน็ ทอ่ี ยอู่ าศัยและชมุ ชนท่ีหนาแน่น หรือมีความแออัดของประชาชน อาคารสงู โรงงาน อุตสาหกรรม ศนู ยก์ ารค้า และโรงมหรสพ ซ่งึ สถานท่ีเหลา่ นี้มกั จะมีการใช้พลังงานไฟฟา้ พลงั งานเช้อื เพลงิ พลงั งานความร้อน และอื่น ๆ ท่ีเอือ้ ตอ่ การเกิดอัคคีภัย โดยเฉพาะในฤดูท่มี ีอากาศร้อนและแหง้ แลง้ ระหวา่ งเดอื นธันวาคม ถึง เดอื นพฤษภาคม ของทกุ ปี มักมีอัคคีภัยเกดิ ขึ้นบ่อยครัง้ ดงั น้ัน การป้องกันและ ระงับอัคคภี ัย จึงมคี วามสาคญั อยา่ งยิ่งในการทจ่ี ะชว่ ยลดความสญู เสยี ในชีวติ และทรัพยส์ นิ ของประชาชน และของรัฐ ท่อี าจเกดิ ข้ึนใหม้ ีน้อยทีส่ ดุ จากสถติ ิการเกิดอคั คภี ยั ระหวา่ งปี พ.ศ. 2545-2553 ของประเทศไทย ที่เก็บรวบรวมโดย ศนู ยอ์ านวยการบรรเทาสาธารณภัย กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั พบวา่ อัคคภี ยั ท่ีเกิดข้ึนในแต่ละปี มีจานวนมาก มผี ้บู าดเจบ็ เฉลย่ี ปลี ะ 130 คน ผู้เสียชีวิต เฉลีย่ ปีละ 43 คน และมมี ูลคา่ ความเสียหาย เฉลยี่ ปลี ะ 920 ลา้ นบาท อยา่ งไรก็ตามการเก็บสถิตกิ ารเกิดเพลิงไหม้ดงั กล่าว ไมไ่ ดแ้ ยกประเภท ชนิดสง่ิ ปลูกสรา้ ง และสาเหตุทีท่ าให้เกดิ อัคคภี ยั ไว้อยา่ งชัดเจน ตามตารางที่ 1.1 ตารางที่ 1.1 สถิติสถานการณ์อคั คีภยั ระหว่างปี พ.ศ. 2545-2553 ปี พ.ศ. จานวน จานวน บาดเจ็บ (คน) ความเสียหาย มูลค่า (บาท) (ครั้ง) (จังหวัด) เสียชวี ิต (คน) 805.81 565.54 2545 1,135 74 150 24 487.02 931.91 2546 2,267 76 167 56 1,083.84 875.79 2547 1,727 76 69 31 1,424.89 817.33 2548 1,559 62 68 48 1,283.78 2549 1,734 66 66 37 2550 1,901 71 156 45 2551 1,695 61 92 30 2552 1,527 62 312 83 2553 1,903 66 83 28 ทีม่ า : ศูนยอ์ านวยการบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย

2 จากปญั หาอัคคีภัยทเ่ี กิดขึน้ ชอ่ งทางหน่ึงทอี่ าจช่วยลดความเสียหายทเี่ กดิ ขึ้นได้ ก็คอื การที่ชมุ ชนในพ้นื ท่ี หรือองคก์ รทุกภาคส่วน มีความเข้มแขง็ มเี ครือข่าย และมีพนกั งานเจ้าหนา้ ที่ ทีม่ คี วามรู้ ความสามารถ และความชานาญในการปฏบิ ัตงิ านช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยและระงบั อคั คีภยั ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ ดังนัน้ วทิ ยาลัยป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย วทิ ยาเขตเชยี งใหม่ ซงึ่ เป็น หน่วยงานในสงั กัดกรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย ทมี่ หี นา้ ทหี่ ลักในการพฒั นา บุคลากรทเ่ี ก่ียวขอ้ งดา้ นการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย โดยเฉพาะการอบรมหลกั สตู รพนกั งาน ดับเพลงิ ใหก้ ับบคุ ลากรภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน ในเขตพนื้ ที่ท่ีรบั ผิดชอบ 9 จังหวัดภาคเหนอื ตอนบน ไดแ้ ก่ จังหวัดลาพนู ลาปาง แม่ฮ่องสอน พะเยา เชียงราย แพร่ น่าน อุตรดิตถ์ และจังหวดั เชยี งใหม่ เพือ่ สร้างความรูค้ วามเขา้ ใจในการป้องกันและระงับอคั คภี ยั สามารถเข้าปฏบิ ตั กิ ารระงับอัคคีภัย ควบคมุ เพลิงไหมไ้ ดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพตามหลักวชิ าการ จงึ ได้จัดให้มกี ารฝกึ อบรมหลกั สตู รพนกั งาน ดับเพลิงขึน้ เป็นประจาทุกปี ต้ังแต่เปิดทาการวิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั วทิ ยาเขตเชยี งใหม่ เมื่อปี 2548 จนถึงปัจจบุ ัน ซ่งึ พบว่าจานวนผ้เู ข้ารับการฝึกอบรมลดน้อยลงเปน็ ประจาทกุ ปี ไม่เปน็ ไปตาม แผนการฝกึ อบรมทีต่ ้งั เป้าหมายไว้ ซึง่ อาจเกดิ ขึ้นได้จากหลายปัจจยั ทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั การฝกึ อบรม ดังนัน้ จงึ มคี วามจาเป็นทจ่ี ะตอ้ งทาการศกึ ษาค้นคว้าว่า ผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรมหลกั สตู ร พนักงานดบั เพลงิ มคี วามพึงพอใจ หรอื มีปญั หา และอปุ สรรค หรือไม่ อย่างไร ในการฝึกอบรม เพือ่ นาเสนอเปน็ ข้อมูลใหผ้ ู้บริหารของวิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั วิทยาเขตเชียงใหม่ และ ฝา่ ยงานทีเ่ กยี่ วขอ้ งต่าง ๆ นาไปเป็นข้อมลู เบอื้ งตน้ ในการพัฒนา ปรบั ปรุง และวางแผนการฝึกอบรม หลักสูตรพนักงานดับเพลิง ต่อไป วตั ถปุ ระสงค์ของการศกึ ษา การศึกษาในครง้ั นี้ มีวตั ถปุ ระสงคด์ งั ตอ่ ไปน้ี 1. เพื่อศกึ ษาความพงึ พอใจของผู้เข้ารับการฝึกอบรมต่อหลักสตู รพนกั งานดบั เพลงิ 2. เพ่ือศึกษาปัญหา และอปุ สรรค ในการฝึกอบรมหลกั สูตรพนกั งานดบั เพลิง ขอบเขตการศึกษา ผวู้ ิจัยใชก้ ารวจิ ยั เชงิ ปรมิ าณสาหรบั การศกึ ษาในครงั้ นี้ โดยเลอื กใช้วิธกี ารสารวจดว้ ย แบบสอบถามทีส่ รา้ งขึน้ และไดก้ าหนดขอบเขตของการวิจัยไว้ดังนี้ 1. ประชากรท่ใี ชศ้ กึ ษา เปน็ เจ้าหน้าท่ี เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั หรือพนักงานดับเพลงิ หรอื เปน็ ผู้มีหนา้ ทีด่ ้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยขององค์กรปกครองสว่ น ท้องถ่ิน หนว่ ยงานของรัฐ และภาคเอกชน ในเขตความรับผดิ ชอบของ วทิ ยาลัยป้องกนั และบรรเทา สาธารณภยั วิทยาเขตเชียงใหม่ จาก 9 จงั หวัดภาคเหนอื ตอนบน ประกอบดว้ ย หนว่ ยงานองค์การบริหาร

3 ส่วนตาบล เทศบาลตาบล เทศบาลเมือง เทศบาลนคร และองคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวดั รวมกลมุ่ เป้าหมาย 902 หนว่ ยงาน ๆ ละ 1 คน รวม 902 คน 2. ตัวอย่างที่ใชศ้ ึกษาเป็นผเู้ ขา้ รบั การฝึกอบรมหลกั สูตรพนกั งานดบั เพลงิ จานวน 150 คน ณ วทิ ยาลัยปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย วิทยาเขตเชยี งใหม่ 3. ตวั แปรทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับการศกึ ษา ประกอบดว้ ย ตัวแปรตาม คือ ความพงึ พอใจของผ้เู ข้ารับการฝกึ อบรมทมี่ ตี อ่ หลกั สตู รพนักงาน ดบั เพลิง ตวั แปรอิสระ คอื ปัจจัยสว่ นบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ และระดับการศึกษา โดยมปี จั จัยที่ สนบั สนุนดา้ นตา่ ง ๆ ได้แก่ ดา้ นหลกั สตู ร ด้านวทิ ยากร ด้านอาคารสถานทีแ่ ละการให้บรกิ าร และ การบริหารจัดการโครงการ 4. สถานทศ่ี ึกษาท่ี ใชเ้ กบ็ รวบร วมข้อมูล ณ วทิ ยาลัยปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย วิทยาเขตเชียงใหม่ 5. ระยะเวลาในการศึกษา เร่มิ ต้ังแตเ่ ดือนมกราคม ถงึ เดือนเมษายน 2557 ประโยชนท์ ไี่ ดร้ ับในการศึกษา ผลจากการศึกษามปี ระโยชนต์ ่อฝ่ายที่เกย่ี วข้อง ดงั นี้ 1. ฝ่ายวชิ าการ สามารถนาผลเรือ่ งความพงึ พอใจท่ีเกี่ยวขอ้ งกับหลกั สูตรการฝกึ อบรม ไปใช้ในการเป็นข้อมลู เบ้อื งตน้ ตอ่ การปรับปรงุ หลกั สูตรการฝึกอบรม ให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกบั ความตอ้ งการของผู้ปฏิบตั งิ านในพ้ืนที่ 2. ฝา่ ยฝกึ อบรม สามารถนาผลเรื่องความพงึ พอใจท่เี กย่ี วขอ้ งกบั วทิ ยากร ไปใช้เปน็ ข้อมลู เบื้องต้นประกอบในการจดั เชิญวิทยากร ที่เหมาะสมกับหลักสตู รและผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรม และใช้เปน็ ขอ้ มลู เบอื้ งตน้ ในการวางแผนการประสานงานกบั วิทยากร ในระยะเวลาทเ่ี หมาะสม 3. ฝ่ายบรหิ าร สามารถนาผลเรื่องอาคารสถานที่ การใหบ้ รกิ าร และด้านการบริหาร จดั การโครงการ ไปใช้ในการวางแผน การจัดเตรียมอาคารสถานที่ และการจดั หาวสั ดุ อุปกรณ์ ทเี่ หมาะสม ตอ่ การฝึกอบรม 4. ผู้บริหาร สามารถนาผลเรอื่ งความพึงพอใจของผูเ้ ขา้ รับการฝึกอบรม ทม่ี ีต่อหลักสตู ร พนักงานดับเพลิง เป็นข้อมลู เบ้อื งตน้ ในการพัฒนา ปรบั ปรงุ หลักสตู รพนักงานดับเพลิงต่อไป

4 นยิ ามศัพท์เฉพาะ คานยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะในการศกึ ษาในครง้ั น้ี ได้แก่ ความพึงพอใจของผเู้ ขา้ รับการอบรม หมายถึง ความคิดเห็นและความรู้สึกของผ้เู ขา้ รบั การฝึกอบรม ท่ีมีตอ่ หลักสูตรพนกั งานดบั เพลงิ ทจี่ ัดข้ึน ณ วิทยาลยั ปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั วิทยาเขตเชียงใหม่ หลักสตู รพนักงานดับเพลงิ หมายถึง หลักสตู รเก่ยี วกับระเบียบ กฎหมาย มาตรการ และ เทคนคิ วชิ าการทีเ่ กย่ี วขอ้ งกับการปอ้ งกันและระงับอัคคภี ัย รวมท้งั การเสริมสรา้ งทกั ษะในการปฏิบัติงาน การชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภยั และการปฏบิ ตั ิงานตามแผนระงบั อัคคภี ยั ของหน่วยงาน ผเู้ ขา้ รบั การอบรม หมายถึง เจ้าหน้าท่ี เจ้าพนกั งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย หรือพนักงานดบั เพลงิ หรือเป็นผูม้ ีหน้าทีด่ ้านการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ขององคก์ รปกครองส่วน ทอ้ งถิน่ หน่วยงานของรฐั และภาคเอกชน ในเขตความรบั ผดิ ชอบของ วิทยาลยั ปอ้ งกันและบรรเทา สาธารณภัย วิทยาเขตเชยี งใหม่ จาก 9 จงั หวดั ภาคเหนอื ตอนบน ประกอบดว้ ย หนว่ ยงานองค์การบรหิ าร ส่วนตาบล เทศบาลตาบล เทศบาลเมอื ง เทศบาลนคร และองค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั

บทท่ี 2 แนวคดิ ทฤษฎแี ละงานวจิ ยั ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง บทนีเ้ ป็นการนาเสนอ แนวคิด ทฤแษลฎะี งานวิจยั ทเี่ กี่ยวขอ้ งกับตัวแปรของการศซกึ งึ่ษผาู้วิจัยได้ทาการ สบื ค้นจากเอกสารทางวชิ าแกลาะรงานวิจยั จากแหล่งตา่โงดยๆแบ่งเนือ้ หาเป4น็ ส่วนคือ 1.แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างหลกั สูตรฝกึ อบรม 2. แนวคดิ และทฤษฎีเกยี่ วกบั คพวงึ าพมอใจ 3.งานวจิ ัยทเ่ี ก่ียวข้อง 4.กรอบแนวคดิ แนวคดิ เกี่ยวกับการสรา้ งหลกั สตู รฝกึ อบรม จากการศกึ ษาเกย่ี วกบั หลักสตู ร สรุปได้ว่าหลักสูตร คือ มวลประสบการณ์ทั้งปวงทจ่ี ใัดหผ้ ้เู รยี น เกดิ การเรียนร้คู รบถว้ นตามมาตรฐาน(วิชัย วงษใ์ หญ่, 2537) ซ่งึ สอดคลอ้ งกบั ธารง บวั ศรี (2542) กล่าวว่า หลักสูตรสามารถแยกออกเปน็ วสั ดุหลกั สตู รและส่อื การเรียนการสอน ได้แก่ เอกสารสิ่งพมิ พ์ แผ่นฟิลม์ แถบ วดี ีทศั น์ และวัสดุอปุ กรณ์ต่าง ๆรวมทงั้ อปุ กรณ์ โสตทัศนศึกษาเทคโนโลยีการศึกษา และอนื่ ๆทช่ี ว่ ยสง่ เสรมิ คุณภาพและประสทิ ธภิ าพการเรยี นหลักสูตรทีด่ ีย่อมสง่ ผลดตี อ่ การบรหิ ารหลักสูตรและการจดั การเรียนร้ใู นโรงเรียน กลา่ วคอื หลกั สูตรท่ีดี จะเป็นแนวทางให้ผู้บรหิ ารโรงเรียนนาไปปฏบิ ตั ไิ ดด้ ี มีประสิทธแภิ ลาะทพางด้านครูสามารถ นาไปใช้ในการจดั การเรยี นการสอนใหเ้ กิดผลดีตอ่ ผ้เู รียน จากที่กลา่ วมาสรุปไดห้วลา่ ักสตู รคอื มวลประสบการณ์ความรๆู้ตท่างีจ่ ัดให้ผเู้ รียนทัง้ ในและนอกหอ้ งเรียน ซ่ึงมีลกั ษณะเป็นกิจกรรม โครงการหรือแผน ซึง่ ประกอบด้วย ความมงุ่ หมายของการสอน เพอ่ื เปน็ แนวทางในการจัดการเรีย การสอน ใหผ้ เู้ รยี นได้พัฒนาและมคี ุณลกั ษณะตามความมุ่งหมายท่ีไดก้ าหนดไว้ หลกั สูตรเปน็ ส่ิงสาคัญในการจดั การศึกษา ทชี่ ใี้ ห้เหน็ ถึงแนวทางการจัดการศกึ ษาของประเทศ หรอื กล่าวอกี ในหน่งึ ไดว้ ่าหลกั สูตรเปน็ หวั ใจของการจัดการเรียนการสอน ท่ีกาหนดแนวทางวา่ จะสอนใคร เรอื่ งใด เพือ่ อะไร จากการศกึ ษการฝกึ อบรมสรุปไดว้ า่ การฝึกอบเรปมน็ กระบวนการในอนั ทจี่ ะทาใหผ้ ูเ้ ข้ารบั การฝึกอบรม เกดิ ความรู้ ความเข้าใจ ความชานาญ ในเรอื่ งใดเรื่องหนึง่ อนั จะเปน็ ผลทาให้เกดิ การเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมตามวัตถุประสง ของการฝึกอบรมสามารถ นามาใช้ ในการจดั ลาดับความสาคัญของภารกจิ ท่ีเปน็ ความจาเป็นในการฝึกอบรม หลักความสมั พนั ธ์ระหวา่ งค่าใช้จ่ายกับผลประโยชน์หรือควเาปม็นคกุ้มาครา่พจิ ารณาเปรียบเทยี บระหวา่ ง การใช้ทรัพยากร ต่าง ๆ ในการจัดฝกึ อบรม ไเดว้แลกา่ เงิน วัสดุอุปกรณ์ สถานท่ี และบคุ ลากร ตลอดจนคา่ เสยี โอกาส ทผี่ควเู้ ขร้าจอะบไดร้ม ปฏิบตั งิ านต่าง กๆับผลประโยชน์ทไ่ี ด้รบั จากการจัดฝึกอเพบ่ือรมทาให้เกิดการเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมของผ้เู ข้าอบรมในการ

6 ปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ทีเ่ ปน็ ความจาเปน็ ในการฝกึ อบรมแล้ววา่ มคี วามคมุ้ คา่ มากนอ้ ยเพียงใด หากมีความคุ้มคา่ ใน อันทจี่ ะฝกึ อบร ม เร่ืองของภารกิจน้นั ๆ มาก กจ็ ัดภารกจิ นั้นใหม้ ีระดับความสาคัญในอันท่ีจะจดั การ ฝึกอบรมสงู (กริช อมั โภชน์, 2545 ; William, R. Tracy, 1971) การสร้างหลกั สูตรฝกึ อบรม หมายถงึ การกาหนดว่าจะทาใหผ้ ู้เขา้ รบั การฝึกอบรมเกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะ และทศั นคติ ในเรื่องอะไรบ้าง โดยเทคนิค และวธิ ีการอย่างใด และจะตอ้ งใชเ้ วลามากน้อยเพียงใด จึงจะทาให้ผ้เู ข้ารบั การฝกึ อบรมเกดิ การเรยี นรู้ และเปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรม ตามวตั ถปุ ระสงค์ ทเคนคิ การฝกึ อบรม หมา\"ยวถธิ กีงึ ารทจี่ ะทาให้ผู้เขา้ รบั การฝึกอบรมเกดิ ความรู้ ความเข้าใจ ทแศัลนะคติ ความสามารถอยา่ งมีประสิทธิภ(ากพริช\" อัมโภชน, ์2545) เทคนคิ การฝึกอบรมจงึ เปน็ เสมือนเครอ่ื งมือไปสู่ความสาเร็จ เท่านนั้ แตก่ ถ็ ือว่ามคี วามสาคเญั พราะถา้ ผู้จัดการฝึกอบรม หรือวิทยากรเลือกใชไ้ ดอ้ ย่างเหจมะาทะสาใมห้ผู้เข้ารับการ ฝกึ อบรม เกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ ทัศแนลคะตคิ วามสามารถหรอื ทักษะได้อยา่ งรวอดนั เรเป็ว็นการประหยดั คา่ ใช้จา่ ยและ เวลาได้เปน็ อย่างมาก จึงมผี ู้พยายามคดิ เทคนิคการฝกึ อบรมใหม่ ๆ ท่มี ีประสทิ ธวิภชาใพดอใยชู่เ้ สทมคอนคิ ในการฝกึ อบรม แบบกล่มุ เป็นศูนยก์ ลคาวงรจะให้เวลามากกว่าวชิ าที่ใช้เทคนิคแบบวิทยากร เป็นศูนย์กลาง กลโา่ดวยสรปุ ส่ิงสาคัญทต่ี อ้ งพจิ ารณาในการกาหนดระยะเวลาอบรมแตล่ ะหัวข้อววิชตั าถกปุค็ รอื ะสงค์ ของหวั ข้อวิชา เนอ้ื หาวิชา และเทคนคิ การฝึกสอ่วนบกรามรอภิปรายเพียงอยา่ งเดียว หากสามารถคทวารไจดดั ้ ให้กระจาย อยใู่ นวนั หรือเวลาตา่ ง ๆแกลนั ะการเรยี งลาดบั หัวข้อวิชาควรพจิ ารณาจัดตามวตั ถุประสงคข์ องหัวขอ้ วชิ า ความยากงา่ ยของ หัวขอ้ วชิ า และหลักการเรียนรู้ของผนู้ในั่หเญอ่ง แนวคดิ และทฤษฎเี ก่ยี วกบั ความพึงพอใจ จากการศกึ ษคาวามพงึ พอใสจรปุ ไดว้ า่ความพึงพอใเจปน็ ความรู้สึกสว่ นตวั ท่รี ู้สึกเป็นสุขหรอื ยินดที ไ่ี ด้รบั การตอบสนองความตอ้ งการในสง่ิ ทข่ี าดหหราือยสไงิ่ ปที่ทาให้เกดิ ความไมส่ มดคุลวามพงึ พอใจเปน็ สิง่ ทกี่ าหนดพฤตกิ รรมที่ จะแสดงออกของบุคซคง่ึ ลมผี ลต่อการเลือกทจี่ ะปฏิบตั ใิ นกจิ กรๆรมนใน้ั ด(สุภาลักษณ์ชยั อนนั ต,์ 2540)ซึง่ สอดคล้องกับ อรรถพรคาคม(2556) ได้สรุปวา่ความพึงพอใหจมายถงึ ทัศนคติหรอื ระดับความพงึ พอใจของบุคคลตอ่ กิจกรรๆมซตึง่ ่าง สะทอ้ นให้เหน็ ถงึ ประสิทธภิ าพของกิจกรๆรมโดนยน้ั เกิดจากพื้นฐานของการรคบั ่านรู้ยิ มและประสบการณท์ ่แี ตล่ ะบุคคล ได้รับระดบั ความพงึ พอใจจะเกดิ ข้ึนเม่อื กจิ กรๆรสมานมั้นารถตอบสนองความตอ้ งการแก่บคุ คลน้นั ได้ ความพึงพอใจเปน็ ความร้สู กึ ท่ีมตี อ่ ส่ิงใดสิง่ หนซึ่งึง่ เปน็ ไปไดท้ ้งั ทางบวกและทางแลตบถ่ ้าเม่อื ใดสง่ิ น้นั สามารถตอบสนองความต้องการหรือทาใหบ้ รรลจุ ุดมกุง่ หจ็ ะมเากยิดไคดว้ ามรู้สึกทางบแวตกใ่ นทางตรงกนั ขา้ถมา้ ส่งิ ใดสรา้ ง ความรสู้ ึกผิดหวังไมบ่ รรลุจุดมุ่งหกมจ็ายะทาใหเ้ กิดความรสู้ กึ ทางลบเปน็ ความรูส้ ึกไมพ่ ึงพ(สอาใยจจติ รสิงหเสน,ี 2546) ซึ่งสอดคลอ้ งกบั พทิ กั ษ์ ตรษุ ทิม(25382, 4)ไดก้ ล่าววา่ ความพงึ พอใจเป็นความร้สู ึกของบุคคลที่มตี ่อเรือ่ งใดเรอ่ื งหน่ึงใน เชงิ การประมาณค่า ซึ่งมีความเกย่ี วข้องสัมพันธ์กบั ทตศั ิ นกาครวดั ความพึงพอใจน้นั สามารถทาไดห้ ลาเยชว่นธิ กี ารใช้ แบบสอบถามการสมั ภาษณ์ และการสงั(ภเกณติดาชยั ปญั ญา, 2541)

7 จากความหมายของนักวชิ าการทก่ี ล่าวมาขา้ งตน้ สรุปไดว้ า่ ความพึงพอใจ เปน็ ทัศนคตอิ ย่างหนึ่งทม่ี ี ลักษณะเป็นนามธรรม ไม่สามารถมองเห็นรูปรา่ งได้ เปน็ ความรู้สกึ สว่ นตัวทีเ่ ปน็ สขุ เมอ่ื ไดร้ ับการตอบสนองความตอ้ งการขอ ตนในสงิ่ ทข่ี าดหายไป และเปน็ สง่ิ ท่ีกาหนดพฤติกรรมในการแสดงออกของบุคคลท่มี ีผลต่อการเลอื กที่จะปฏิบตั ิในกิจกรรม น้นั ๆ ความพงึ พอใจจะทาใหบ้ คุ คลเกดิ ความสบายใจ หรอื สนองความตอ้ งการทาใหเ้ กดิ ความสุข รวมท้งั สภาพแวดลอ้ มต่าง ท่เี กีย่ วข้อง เปน็ ปัจจัยทาใหเ้ กดิ ความพึงพอหใรจือไม่พงึ พอใจเปน็ การบอกถงึ ความชอบของบุคคลทม่ี ตี อ่ ส่ิงหน่งึ ส่งิ ใด ซ่งึ สามารถวดั ไดห้ ลายวธิ ี เชน่ การสัมภาษณ์ การใชแ้ บบสอบถามความคดิ เหน็ การใชแ้ บบสารวจความรูส้ กึ เป็นตน้ งานวิจยั ท่ีเก่ยี วข้อง จรรเยจายี มหาทรพั ย(2์ 545, 1-50) ศกึ ษาความพึงพอใจของลกู คา้ ตอ่ การใชบ้ รกิ ารของห้างคสาารข์ฟารู ์ เชียงใหมพ่ บวา่ ก่อนการรับบริการลกู คา้ ส่วนใหญม่ คี วามคาดหวังโดยรวมอยู่ในรเะกดยี่ ับวมกับากปัจจัยด้านความสะดวก และความปลอดภยั ของทจ่ี อชดื่อรเสถียงของห้าแงละความน่าเช่อื ถือของสินคา้ ราคาพิเศษทโี่ ฆคษวาณมาพึงพอใจของลกู คา้ ในขณะรบั บริกาพรบวา่ ลกู ค้าทมี่ คี วามพึงพอใจโดยรวมอยใู่ นระดับมากในปจั จัยด้านผลรติ าภคณั าแฑล์ ะสถานทแ่ี ละมี ความพึงพอใจโดยรวมอย่ใู นระดับปานกลาง ในปจั จยั ด้านการส่งเสครวมิ ากมาพรึงตพลอาใดจของลกู ค้าหลังบรกิ ารพแบลว้ า่ ลกู คา้ มีความพงึ พอใจโดยรวมอยใู่ นระดับใมนาปกจั จัยด้านสถานที่ และมีความพงึ พอใจโดยรวมอยู่ในระดับ ปานกลางใน ปัจจัยด้านผลิตภัณฑรา์ คาการส่งเสรมิ การตลแาลดะความคุ้มคา่ ของเงนิ หลงั จากทไ่ี ดร้ ับบรกิ ารครบถ้วนแล้ว วรนชุ บวรนนั ทเดช (2546, 1-105) ได้ศึกษาความพึงพอใจของประชาชนต่อบริการของหน่วยบรกิ าร ปฐมภมู เิ ขตหนองจกอรกงุ เทพมหานคพรบวา่ ประชาชนมคี วามพึงพอใจโดยรวมอย่ใู นระดบั ปใานนดก้าลนาบงริการหลกั การ ใหค้ าปรึกษาและบริการกอ่ นกลับบ้านปจั จยั สว่ นบคุ คลทีม่ ีความสมั พันธก์ บั ความพึงพอใจต่อบริกไดาแ้รก่ ระดับ การศกึ ษารายไดแ้ ละเขตท่อี ยอู่ าศัยของประชาชนท่ีมารับบแรกิลาะรไดใ้ หข้ อ้ เสนอแนะเพิม่ เตคมิือหน่วยงานควรกาหนด มาตรฐานบรกิ ารให้เหมาะสมกบั พมืน้ีกทาร่ี นเิ ทศติดตามประเมนิ ผลการปฏิบัติงานของเจา้ หนา้ ท่ี เนน้ บรกิ ารเชงิ รุกเข้าสู่ ชุมชนด้านการส่งต่อ การเย่ยี มบแา้ลนะดา้ นกิจกรรมในชมุ ชน สรุ ชรยัชตประทา(น2546,1-56)ไดศ้ ึกษาความพึงพอใจของประชาชนต่อบริการของสานกั งานทด่ี นิ จังหวดั เชยี งใหม่ สาขาสารภี ผลการศกึ ษาพบวา่ ประชาชนสว่ นใหญ่มีความพึงพอใจในระดับมาก ทั้งในดา้ นการปฏบิ ัติงาน การปฏิบัตติ นการพูดจา มารยแาลทะการให้คาแนะนาปรกึ ษาของเจา้ หนคว้าทาม่ี สะดวกในการติดตเจอ่ า้ หนา้ ที่มีความรู้ ความสามารใถหบ้ รกิ ารดว้ ยความเตม็ ใจและเปน็แมนติะรนาใหข้ ้อมลู ใหค้ วามรู้อย่างชัดเใจหนบ้ ริการตามลาดับก่อนหลงั และมคี วามรวดเร็วในการให้บเรจกิ ้าาหรน้าทก่ี ระตือรอื รตน้ ้งั ใจทางานบริการไดถ้ กู ต้องครบถว้ นไมผ่ ิดพลสาาดมารถแก้ไข ปญั หาความเดอื ดรอ้ นของประชาชนไดอ้ ยา่ งรกวดารเรท็วางานมคี วามยุติธรรนมา่ เชื่อถือเปน็ ไปด้วยความโปรง่ สใสุจรติ สามารถตรวจสอบแไลดะ้ การขยายเวลาการบรกิ ารเป็น0เ8ว.0ล0า–18.00น.สว่ นดา้ นที่ประชาชนมีความพงึ พอใจมากที่สดุ คือ สถานทแี่ ละบรเิ วณโดยรอบมคี วามสะดวกสขบ้ันตายอนในการรับบริการระยะเวลาในการรับบริกกาฎรระเบยี บท่ใี ช้ คา่ ธรรมเนียมทีช่ าระในขณะทดี่ า้ นอัตรากาลงั เจา้ หน้าทแล่ี ะการประชาสมั พันธใ์ ห้ความรูแ้ กป่ ระชาปชรนะชาชนมี

8 ความพึงพอใจในระดับปานกลนาองกจากนีผ้ ลการศึกษามีข้อเสนอแนะคควือรนาระบบเทคโนโลยีสมัยใหม่มาช่วยในการ บริการประชาชจนดั ระเบียบการทางานใหม้ ีความถูกต้องชตดัลเอจดนจนพัฒนาเจ้าหน้าที่ทุกฝ่ายให้สามารถทางานทดแทน กนั ไดป้ รบั ปรงุ ระบบการบรกิ ารประชาชนใหเ้ กดิ ควารมวสดะเรดว็ยกุติธรรมมากขน้ึแก้ไขระเบยี บกฎหมายขน้ั ตอนตา่ ง ๆ ทม่ี คี วามลา้ สมซัยา้ ซอ้ นพฒั นาความรู้ความสามแาลรถะทกั ษะตา่ ง แๆกเ่ จ้าหนา้ ทใ่ี นด้านการให้บริการแกป่ ระชแาลชะน ปลูกจิตสานกึ ของการเป็นผู้ใหบ้ รมิกีกาารรประเมินและติดตามผลงานของบุคลากรอยา่ งสมสา่ รเา้สงมขอวญั กาลังใจและ ทศั นคติของเจ้าหน้าท่ีเพ่อื ให้ประชาชนเกิดความพงึ พอใจเมือ่ มารบั บริการ จากผลทไ่ี ดก้ บั การศึกษาตามแนวคิดและทฤษฎแี ละงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วข้องข้างตน้ สรปุ ไดว้ า่ ความพงึ พอใจเปน็ ทัศนคติหรอื ความรสู้ ึกของบคุ คลอย่างหน่งึ ที่มีลกั ษณะเปน็ นามธรรม ไม่สามารถมองเหพ็นื่อรขูปจรดั า่คงวไาดม้ ตงึ เครียด หรอื ความกระวนกระวาย ท่ีมีตอ่ เรอ่ื งใดเรเือ่ ปง็นหคนวึง่ ามรสู้ ึกส่วนตัวท่เี ปน็ สุข เม่อื ไดร้ บั การตอบสนองกับความต้องการ ของตนในสงิ่ ที่ขาดหายไปเรเอ่ืปง็นทเ่ี กีย่ วขอ้ งสัมพันธก์ บั ทศั นคติ ความชอบ หรอื ไมช่ อบด้วยมูลเหตกุ ารณจ์ ูงใจ ไมว่ ่าทาง รา่ งกาย หรอื ทางจติแใลจะเป็นสง่ิ ทก่ี าหนดพฤตกิ รรมในการแสดงออกของบคุ คล ท่มี ผี ลต่อการเลอื กท่ีจะปฏบิ ัติในกิจกรรม นน้ั ๆ ความพงึ พอใจจะทาให้บุคคลเกดิ ความสบายใจ หรอื สนองความต้องการทาใหเ้ กดิ ความสุข รวมทงั้ สภาพแวดลอ้ มต่าง ท่เี ก่ยี วขอ้ ง จะเปน็ ปจั จยั ทาให้เกดิ ความพงึหพรอื ใไจมพ่ งึ พอใซจ่งึ ความตอ้ งการโดยขั้นพ้ืนฐานไม่ต่างกนั นอกจากน้ี ความพงึ พอใจ ยงั เปน็ ความรสู้ กึ ทเ่ี กดิ ขนึ้ จากการทค่ี วามตอ้ งการของบคุ คลไดร้ บั การตอบสนอง ตามความคาดหวัง เปน็ ความพงึ พอใจของบทคุี่มคตี ล่อสิ่งหนง่ึ สง่ิ ใด ซงึ่ สามารถวัดไดห้ ลายวธิ ี เช่น การสัมภาษณ์ การใช้ แบบสอบถามความคดิ เห็น การใช้แบบสารวจความรสู้ ึก สาหรับ ผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรมหลกั สตู รพนกั งานดบั เพลงิ แลว้ โดยพน้ื ฐานย่อมมีความพึงพอใจ ความตอ้ งการ หรอื ความคาดหวงั ตอ่ หลกั สตู รพนักงานดบั เพลงิ ไมต่ ่างกัน ซ่งึ ความพึงพอใจ หรอื ความร้สู ึกพอใจดังกลม่าีผวลกระทบต่อการดาเนินการฝกึ อบรมหลักสูตรพนักงานดับเพลิง เพราะเมื่อความตอ้ งการของ ผเู้ ขา้ รับการฝกึ อบรมไดร้ บั การตอบสนองทั้งทางด้านรา่ งกาย และจติ ใจ กจ็ ะเกิดความพงึ พอใจ ชอบใจ เกิดเปน็ ทศั นคติด้าน บวกท่ีแสดงใหเ้ ห็นถึงสภาพความพึงพอใจในสงิ่ นน้ั และทัศนคตใิ นดา้ นลบที่แสดงให้เหน็ ถึงสภาพความไม่พึงพอใจ ซง่ึ เป็น องคป์ ระกอบตา้ นความรู้สกึ ของทัศนคติ ซง่ึ ไม่จาเป็นต้องแสดงหรอื อธบิ ายเชงิ เหตุผลเสมอไปกไ็ ด้ ดังนัน้ ความพึงพอใจจงึ เป็นปฏกิ ิรยิ าดา้ นความรู้สกึ ต่อสิ่งเรา้ หรอื สงิ่ กระตุ้น ท่แี สดงผลออกมาในลักษณะของผลลพั ธ์สุดทา้ ยของขบวนการประเมนิ โดยบง่ บอกถึงทิศทางของผลประเมนิ วา่ จะเป็นไปในลกั ษณะทศิ ทางบวก หรอื ทิศทางลบ หรือไมม่ ีปฏิกริ ยิ าใด ๆ เลย เช่น เฉย ๆ ตอ่ ส่ิงเรา้ หรือส่ิงกระตุน้ นัน้ ๆ ก็ได้ สามารถวัดไดจ้ ากแบบสอบถามวัดระดนับาคไวปาสมู่สพมงึ มพตุ อิฐใาจนเกี่ยวกับ ความสมั พันธร์ ะหวา่ งปัจจัยสว่ นบคุ ล อาทเิ ชน่ เพศ อายุ และระดบั การศกึ ษาท่มี ีผลต่อความรู้สกึ พงึ พอใจกับหลักสตู ร การฝึกอบรม วิทยากร อาคารสถานที่ รวมถึงการใหบ้ รกิ าร อาจสรปุ ได้ดังน้ี ตวั แปรอสิ ระ คอื ปจั จยั สว่ นบคุ คล ได้แก่ เพศ อายุ และระดับการศึกษา ตัวแปรตาม คอื ความพงึ พอใจของผูเ้ ข้ารบั การฝกึ อบรมที่มตี อ่ หลักสูตรพนกั งานดบั เพลิง

9 กรอบแนวคิด จากการศกึ ษาเอกสารและงานวิจัยทเ่ี กี่ยวข้อง สามารถสรุปเปน็ กรอบแนวคดิ ซงึ่ จะนามาประยุกตใ์ ชก้ ับ งานวิจัยในครัง้ น้ี ดงั นี้ ภาพที่ 2.:1ความสมั พันธร์ ะหว่างเพศ อายุ และระดบั การศึกษา ของผูเ้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมมผี ลต่อระดบั ความพึงพอใจของผูเ้ ข้ารับการฝกึ อบรมทม่ี ีตอ่ หลักสตู รพนักงานดับเพลิง ตัวแปรอสิ ระ ตวั แปรตาม ปัจจัยสว่ นบคุ คล ไดแ้ ก่ ความพึงพอใจ 1. เพศ ของผูเ้ ข้ารับการฝกึ อบรม 2. อายุ ทม่ี ีตอ่ หลกั สตู รพนักงานดับเพลิง 3. ระดับการศึกษา ปจั จัยจากการไดร้ บั การ สนับสนุนด้านต่าง ๆ ดังนี้ - ดา้ นหลักสตู ร - ด้านวิทยากร - ด้านอาคารสถานทแ่ี ละ การใหบ้ ริการ - ด้านการบริหารจัดการ โครงการ กรอบแนวคดิ ข้างตน้ แสดงถึงความสมั พนั ธร์ ะหว่างปัจจยั ส่วนบคุ คล ได้แกเ่ พศ อายุ และระดับ การศึกษา กับ ปจั จัยจากการได้รับการสนบั สนุนด้านหลกั สตู ร วิทยากร อาคารสถานท่ีและการใหบ้ รกิ าร และ การบรหิ ารจัดการโครงการ ภายใตแ้ นวความคดิ เรื่องความพงึ พอใจของผ้เู ขา้ รับการฝึกอบรมทีม่ ีตอ่ หลักสูตร พนักงานดับเพลงิ และอาศยั แนวคดิ ความพงึ พอใจของลูกค้าตอ่ การใช้บรกิ ารของหา้ งคาร์ฟรูส์าขาเชียงใหม่ ของ จรรยาเจยี มหาทรพั ย(์ 2545) แนวคิดเร่ืองความพงึ พอใจของประชาชนตอ่ บรกิ ารของหนว่ ยบริการปฐมภมู ิ เขตหนองจอกกรุงเทพมหานคร ของวรนชุ บวรนันทเดช(2546) และงานวิจยั เรื่องความพงึ พอใจของประชาชน ตอ่ บรกิ ารของสานกั งานทด่ี ินจงั หวดั เชยี งใหสมา่ ขาสารภี ของสรุ ชัย รชั ตประทาน(2546) ในการศึกษาครง้ั นี้

บทท่ี 3 ระเบียบวธิ ีวจิ ยั การวิจยั เรอ่ื ง “ความพงึ พอใจของผู้เขา้ รบั การฝึกอบรมทมี่ ีตอ่ หลกั สูตรพนกั งานดับเพลงิ ใช้ผ้เู ขา้ รบั การฝกึ อบรมหลกั สตู รพนกั งานดบั เพลงิ เปน็ หน่วยการวเิ คราะห์ ( Unit of analysis) ผวู้ ิจยั ได้ กาหนดรายละเอยี ดตา่ ง ๆ เกี่ยวกบั ระเบียบวธิ ีวิจัย ประกอบด้วย วิธดี าเนนิ การวิจยั ประชากร ตัวอย่าง ตวั แปรท่ศี ึกษา เครอ่ื งมือทีใ่ ช้ในการศึกษา การสรา้ งเครือ่ งมอื ที่ใชใ้ นการศึกษา การเกบ็ รวบรวม ขอ้ มลู การแปรผลข้อมลู การวิเคราะหข์ อ้ มูล ซึ่งมีรายละเอยี ดดงั นี้ วิธีดาเนนิ การวจิ ัย การศกึ ษาคร้งั น้ี เป็นการศกึ ษาแบบเชงิ ปริมาณ และเกบ็ ขอ้ มลู จาก 1. เอกสาร โครงการฝึกอบรม เอกสาร ความพงึ พอใ จ บทความ เอกสารทาง อินเตอร์เน็ ต วิทยานิพนธ์ งานวจิ ัย และส่ิงพมิ พ์ของหนว่ ยงาน 2. การเก็บขอ้ มูลจากแบบสอบถาม โดยผู้ใหข้ ้อมลู คอื ผู้ทีผ่ า่ นการฝึกอบรม หลกั สตู ร พนักงานดบั เพลงิ ณ วิทยาลัยปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั วทิ ยาเขตเชียงใหม่ ประชากร ประชากรทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษา ไดแ้ ก่ เจา้ หนา้ ที่ เจา้ พนกั งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั หรอื พนักงานดบั เพลิง หรอื เป็นผ้มู หี น้าที่ด้านการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่ิน หนว่ ยงานของรัฐ และภาคเอกชน ในเขตความรับผดิ ชอบของ วิทยาลัยป้องกนั และบรรเทา สาธารณภยั วิทยาเขตเชียงใหม่ จาก 9 จงั หวดั ภาคเหนือตอนบน ประกอบด้วย หน่วยงานประเภท องค์การบริหารสว่ นตาบล เทศบาลตาบล เทศบาลเมือง เทศบาลนคร และองคก์ ารบริหารส่วนจังหวดั รวมกลุ่มเปา้ หมาย 902 หน่วยงาน ๆ ละ ประมาณ 1 คน รวม 902 คน ตามตารางท่ี 3.1 ตารางที่ 3.1 แสดงขอ้ มลู ประชากร ลาดับที่ ประเภทหนว่ ยงาน จานวน (คน) 1 องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล 532 2 เทศบาลตาบล 346 3 เทศบาลเมือง 12 4 เทศบาลนคร 3 5 องค์การบริหารสว่ นจงั หวัด 9 รวม (คน) 902

11 ทมี่ า : กรมสง่ เสริมการปกครองท้องถ่ิน (ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 27 กรกฎาคม 2556) ตวั อยา่ ง การศกึ ษาวิจยั ในครั้งนี้ เนื่องจากมขี อ้ จากดั ในเรอ่ื งของระยะเวลาในการดาเนินงาน ผ้วู ิจัย จึงเลือกศึกษาความพงึ พอใจของผูเ้ ขา้ รับการฝึกอบรมท่ีมตี ่อหลักสตู รพนักงานดบั เพลิง เพยี งบางประเดน็ กับกลมุ่ ตวั อยา่ งเฉพาะผู้ที่ผา่ นการฝึกอบรม ณ วิทยาลยั ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั วทิ ยาเขต เชยี งใหม่ เพอ่ื ให้สอดคล้องกับระยะเวลาในการศึกษาอบรมหลักสตู รนกั บรหิ ารงานปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณภยั (นบ.ปภ.) รุน่ ที่ 10 ณ วทิ ยาลัยป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย ตวั อยา่ งเปน็ ผทู้ ่ผี ่าน การฝกึ อบรมระหว่างปลายปีงบประมาณ 2556 ถึงตน้ ปีงบประมาณ 2557 จานวน 150 คน และเลอื กใช้ วธิ กี ารสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) ดงั นี้ 1. รนุ่ ท่ี 47 อบรมเมื่อวนั ท่ี 14-19 กรกฎาคม 2556 จานวน 56 คน 2. รนุ่ ที่ 48 อบรมเมอื่ วันที่ 1-6 กนั ยายน 2556 จานวน 28 คน 3. รุ่นที่ 49 อบรมเมือ่ วนั ที่ 24-29 พฤศจกิ ายน 2556 จานวน 63 คน 4. รนุ่ ที่ 50 อบรมเมือ่ วันที่ 26-31 มกราคม 2557 จานวน 22 คน เคร่ืองมือท่ใี ช้ในการศกึ ษา ผู้วิจัยใชแ้ บบสอบถามเปน็ เครอ่ื งมอื เพอ่ื เกบ็ รวบรวมข้อมลู จากตัวอย่าง โดยมี รายละเอยี ดเกีย่ วกับการสร้างแบบสอบถามเป็นขั้นตอนดงั น้ี 1. ศกึ ษาวิธกี ารสรา้ งแบบสอบถามจากเอกสาร งานวิจัย และทฤษฎีที่เก่ยี วข้อง 2. สร้างแบบสอบถาม เพอ่ื ถามความคิดเหน็ ในประเดน็ เก่ยี วกับความพงึ พอใ จในด้าน ตา่ ง ๆ 3 ส่วน คอื 1) ขอ้ มลู ท่วั ไปส่วนบคุ คล 2) ความพึงพอใจของผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรมที่มีต่อหลักสตู ร พนกั งานดับเพลิง ไดแ้ ก่ ด้านหลกั สตู ร ดา้ นวิทยากร ดา้ นอาคารสถานท่ีและการให้บริการ และดา้ นการ บริหารจดั การโครงการ 3) ปัญหาและอปุ สรรคในการฝกึ อบรม หรอื ขอ้ เสนอแนะและความคดิ เห็นเพิ่มเติม 3. นาแบบสอบถามทีไ่ ดส้ ร้างขึน้ มาเสนอตอ่ อาจารย์ทปี่ รกึ ษา เพื่อปรบั ปรุงแกไ้ ข 4. ปรบั ปรุงแก้ไข 5. ถอดแบบสอบถามแก่ตัวอย่าง 6. รวบแบบสอบถาม และสรปุ วเิ คราะห์

12 องค์ประกอบของแบบสอบถาม ผู้ทาวิจัยได้ออกแบบสอบถามซ่ึงประกอบดว้ ย 3 ส่วน พรอ้ มกบั วธิ ีการตอบคาถาม ดังตอ่ ไปน้ี คอื ส่วนที่ 1 เปน็ คาถามเกย่ี วกับข้อมลู ทวั่ ไปสว่ นบุคคล ของผตู้ อบคาถาม ไดแ้ ก่ เพศ อายุ และระดบั การศึกษา ลกั ษณะคาถามเป็นคาถามปลายปิดแบบให้เลอื กตอบ สว่ นท่ี 2 เป็นคาถามเกยี่ วข้องกบั ความพงึ พอใจของผู้เขา้ รับการฝกึ อบรม ลกั ษณะเป็น คาถามปลายปิด โดยคาตอบแบบออกเป็น 5 ระดบั ตัง้ แต่น้อยท่ีสุด ถึงมากทีส่ ดุ แ บง่ ออกเปน็ 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ 1. ด้านหลักสูตร 2. ดา้ นวิทยากร 3. ด้านอาคารสถานที่ 4. ดา้ นการบรหิ ารจดั การโครงการ ลักษณะคาตอบเป็นแบบมาตรวัดประเมนิ ค่า(Rating Scale) ระดบั การประเมนิ มี5 ระดบั ดงั น้ี มากทีส่ ดุ ให้ 5 คะแนน มาก ให้ 4 คะแนน ปานกลาง ให้ 3 คะแนน น้อย ให้ 2 คะแนน นอ้ ยทสี่ ุด ให้ 1 คะแนน สว่ นที่ 3 ข้อมลู เกี่ยวกับปัญหาและอปุ สรรคในการฝึกอบรม หรือข้อเสนอแนะและความ คดิ เห็นเพ่มิ เติม ซง่ึ เป็นลกั ษณะคาถามปลายเปดิ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ผวู้ ิจยั ได้ดาเนนิ การเกบ็ ขอ้ มูลตามขน้ั ตอนต่อไปน้ี คอื 1. ผูว้ ิจยั อธบิ ายรายละเอียดเกยี่ วกบั เนอ้ื หาภายในแบบสอบถาม และวธิ ีการตอบแก่ ตวั แทนผวู้ ิจยั และทมี งาน 2. ผวู้ ิจยั /ผู้แทนผวู้ ิจยั และทมี งาน จดั ทาหนงั สือขอความอนเุ คราะห์ตอบแบบสอบถาม 3. ผวู้ จิ ัย/ผแู้ ทนผู้วิจยั และทีมงาน สง่ หนงั สอื พรอ้ ม แบบสอบถามไปยงั ตวั อย่าง ทาง ไปรษณยี ์ ตามท่อี ยขู่ องตัวอย่าง จานวน 169 คน 4. ผวู้ จิ ยั /ผ้แู ทนผวู้ ิจัย และทมี งาน ติดตามทางโทรศัพท์ เฉพาะตวั อย่างท่ีไม่ได้รับการ ตอบรับ

13 8. ผู้วจิ ยั /ผูแ้ ทนผวู้ จิ ัย และทีมงาน รวบรวม ตรวจสอบแบบสอบถามและคัดเลอื กไว้ จานวน 150 คน ในการนามาวเิ คราะห์ผล 9. ผวู้ จิ ัยวเิ คราะห์ และสรปุ ผล จัดทารูปเล่มและนาเสนออาจารยท์ ีป่ รึกษาปรบั ปรงุ แก้ไข 10. ผ้วู จิ ัยปรบั ปรุงแกไ้ ข และจดั ทารูปเล่มสมบรู ณน์ าเสนออาจารย์ และนาเสนองานวจิ ัย การแปรผลขอ้ มูล ผู้ทาวจิ ัย ไดก้ าหนดค่าอนั ตรภาคช้นั สาหรบั การแปลผลข้อมลู โดยคานวณคา่ อันตรภาพช้ัน เพอื่ กาหนดช่วงชน้ั ด้วยการใชส้ ูตรคานวณและคาอธิบายสาหรบั แต่ละช่วงชัน้ ดังนี้ อันตรภาคช้ัน = (คา่ สูงสุด – ค่าตา่ สดุ ) จานวนชั้น = 5–1 5 = 0.8 ค่าเฉลย่ี ชว่ งชั้น และระดบั ความพึงพอใจ คา่ เฉลี่ยช่วงช้นั . ระดับความพึงพอใจ 1.00 – 1.80 ระดบั นอ้ ยทีส่ ดุ 1.81 – 2.61 ระดบั น้อย 2.62 – 3.42 ระดับ ปานกลาง/ระดบั 3.43 – 4.23 ระดบั มาก 4.24 – 5.00 ระดบั มากที่ สุด สถิติท่ีใชใ้ นการวิเคราะห์ 1. สถติ ิเชิงพรรณนา ใช้คา่ ร้อยละ ( Percentage) และการแจกแจงความถี่ (Frequencies) บรรยายลักษณะ ของข้อมลู ทว่ั ไปเก่ียวกับปัจจยั ส่วนบุคคล ไดแ้ ก่ เพศ อายุ ระดับ การศกึ ษา 2. สถิติเชิงพรรณนา ใชค้ ่าเฉล่ยี (Mean) และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ( Standard Deviation) วิเคราะห์ระดบั ความคิดเหน็ ของตัวอยา่ งประชากรเกย่ี วกบั ความพงึ พอใจของผู้เขา้ รับการ ฝกึ อบรมทมี่ ตี ่อหลกั สตู รพนกั งานดบั เพลิง

บทที่ 4 การวเิ คราะห์ข้อมูล การนาเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลการศกึ ษาเร่อื ง ความพึงพอใจของผูเ้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมทม่ี ตี อ่ หลกั สูตรพนกั งานดบั เพลิง เปน็ การวเิ คราะห์ข้อมลู เพอ่ื อธบิ ายเก่ียวกบั ตวั แปรแตล่ ะตวั ขอ้ มูลดังกลา่ ว ผ้วู จิ ยั ได้เกบ็ รวบรวมจากแบบสอบถามที่มีคาตอบครบถว้ นสมบรู ณ์ จานวนทั้งสนิ้ 150 ชุด คิดเป็นรอ้ ยละ 100 ของจานวนแบบสอบถามทง้ั หมด 150 ชดุ และในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู สาหรบั การวจิ ยั ครัง้ นี้ ผวู้ ิจัยใช้สัญลักษณท์ างสถิตใิ นการวิเคราะห์ ดังนี้ n แทน จานวนกล่มุ ตวั อยา่ ง X แทน ค่าเฉลยี่ S.D. แทน ค่าส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู นาเสนอในรูปของตารางประกอบความเรยี งโดยแบง่ อ3อสกว่ เปน็นดังน้ี ส่วน ที่ 1 ขอ้ มลู ท่วั ไปสว่ นบุคคล เก่ียวกบั เพศ อายุ และระดบั การศึกษา ส่วนที่ 2 ข้อมูลเก่ียวกับความพงึ พอใจของผู้เข้ารบั การฝึกอบรม แบ่งออ4กเดปา้ ็นน ไดแ้ ก่ 2.1 ดา้ นหลักสตู ร 2.2 ด้านวทิ ยากร 2.3 ด้านอาคารสถานท่ี 2.4 ด้านการบริหารจัดการโครงการ สว่ นท่ี 3 ข้อมลู เก่ยี วกบั ปัญหาและอปุ สรรคในการฝกึ อบรม หรือข้อเสนอแนะและความคิดเหน็ เพ่มิ เตมิ ส่วนที่ 1 ข้อมลู ทว่ั ไปสว่ นบคุ คล เก่ยี วกบั เพศ อายุ และระดับการศึกษา ตารางท่ี 4.1 แสดงจานวนและร้อยละของผู้เข้ารับการฝึกอบรม จาแนกตามเพศ อายุ และ ระดบั การศกึ ษา ปัจจยั ส่วนบุคคล จานวน รอ้ ยละ เพศ 150 100.0 ชาย 52 34.7 อายุ ตา่ กวา่ 30 ปี

15 จานวน ร้อยละ ปัจจยั สว่ นบุคคล 69 46.0 26 17.3 30 – 39 ปี 3 2.0 40 - 49 ปี 50 ปีขึ้นไป 114 76.0 ระดบั การศกึ ษา 34 22.7 ต่ากว่าปริญญาตรี 2 1.3 ปริญญาตรี ปรญิ ญาโท ผลการศึกษาตามตารางที่ 4.1 แสดงใหเ้ หน็ ว่าผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมเปน็ เพศชาย ซงึ่ มี จานวน 150 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100.0 สว่ นใหญม่ ีอายุระหวา่ ง 30 – 39 ปี มีจานวน 69 คน คิดเป็น ร้อยละ 46.0 และมกี ารศึกษาอยใู่ นระดับตา่ กว่าปรญิ ญาตรี ซง่ึ มจี านวน 114 คน คิดเปน็ ร้อยละ 76.0 ส่วนที่ 2 ขอ้ มลู เกย่ี วกบั ความพงึ พอใจของผูเ้ ขา้ รับการฝึกอบรม ตารางท่ี 4.2 ระดับความพงึ พอใจของผ้เู ข้ารบั การฝึกอบรมในแตล่ ะด้าน ความพงึ พอใจ คา่ เฉลย่ี สว่ นเบีย่ งเบน ระดับ ( X ) มาตรฐาน (S.D.) มากท่สี ดุ 1. ดา้ นหลักสูตร 4.50 .408 มากทสี่ ุด 2. ด้านวทิ ยากร 4.39 .450 3. ด้านอาคารสถานท่ีและการใหบ้ รกิ าร 4.20 .481 มาก 4. ด้านการบรหิ ารจัดการโครงการ 4.47 .503 มากทส่ี ุด 4.39 .450 มากท่สี ุด รวม ผลการศกึ ษาตามตารางท่ี 4.2 แสดงใหเ้ หน็ วา่ ผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมมคี วามพงึ พอใจ โดยรวมมีค่าเฉลยี่ 4.39 อยู่ในระดับมากท่ีสุด และเมือ่ พิจารณาเป็นรายด้าน พบวา่ ดา้ นที่มีคา่ เฉลีย่ สูงสุด คอื ด้านหลักสตู ร มี ค่าเฉลย่ี 4.50 อย่ใู นระดบั มากทส่ี ดุ ด้านรองลงมาดา้ น การบรหิ ารจัดการโครงการ

16 มีค่าเฉลย่ี 4.47 อยู่ในระดบั มากท่สี ุด สว่ นดา้ นท่มี ีค่าเฉล่ียต่าสุด คอื ด้านอาคารสถานทีแ่ ละการใหบ้ รกิ าร มคี ่าเฉลีย่ 4.20 อยใู่ นระดบั มาก ตารางท่ี 4.3 ระดับความพงึ พอใจที่มตี ่อดา้ นหลกั สูตร คา่ เฉล่ยี ส่วนเบ่ยี งเบน ระดบั (X) มาตรฐาน (S.D.) ด้านหลกั สตู ร 4.58 มากท่สี ุด .495 1. เนอ้ื หาของวชิ ามคี วามสอดคลอ้ งกับความตอ้ งการ 4.67 มากที่สดุ ของท่าน 4.56 .514 มากที่สุด 2. การได้รับความรเู้ พมิ่ ข้นึ หลงั จากการฝึกอบรม 4.31 .561 มากทีส่ ุด 3. การนาความรทู้ ไี่ ดร้ ับไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการปฏิบตั งิ าน 4.37 .592 มากทีส่ ดุ 4. ความเหมาะสมของเอกสารประกอบการฝึกอบรม 4.50 .640 มากท่ีสุด 5. ความเหมาะสมของระยะเวลาการฝกึ อบรม .408 รวม ผลการศึกษาตามตารางท่ี 4.3 แสดงให้เหน็ วา่ ผู้เข้ารับการฝกึ อบรมมีความพงึ พอใจ โดยรวมต่อด้านหลักสตู รมคี ่าเฉลี่ย 4.50 อยูใ่ นระดับมากทส่ี ุด และเมอ่ื พจิ ารณาเป็นรายขอ้ พบว่า ขอ้ ท่มี ี ค่าเฉลยี่ สูงสุดคือ การได้รบั ความร้เู พ่มิ ขนึ้ หลังจากการฝกึ อบรม มีค่าเฉลี่ย 4.67 อยู่ในระดบั มากทสี่ ุด รองลงมาข้อ เนอ้ื หาของวิชามีความสอดคลอ้ งกบั ความต้องการ มคี ่าเฉลยี่ 4.58 อยูใ่ นระดับมากทส่ี ุด ส่วนขอ้ ท่ีมคี ่าเฉลี่ยตา่ สดุ คอื ความเหมาะสมของเอกสารประกอบการฝึกอบรม มคี า่ เฉลีย่ 4.31 อยูใ่ น ระดบั มากทีส่ ดุ ตารางที่ 4.4 ระดบั ความพึงพอใจที่มตี ่อดา้ นวิทยากร ค่าเฉลย่ี ส่วนเบ่ยี งเบน ระดับ ( X ) มาตรฐาน (S.D.) ดา้ นวิทยากร 4.45 .538 มากท่ีสดุ 1. ความรอบรใู้ นเน้ือหาวิชา 2. เนอ้ื หาที่ถา่ ยทอดสอดคล้องกบั หวั ข้อหลักสูตร 4.44 .561 มากที่สุด 3. ความสามารถในการถา่ ยทอดเนอื้ หาไดเ้ ขา้ ใจและชัดเจน 4. มีเทคนิคการสอนนา่ สนใจ 4.46 .551 มากที่สุด 5. การรักษาเวลา 4.45 .597 มากทสี่ ดุ รวม 4.16 .752 มาก 4.39 .450 มากทส่ี ุด

17 ผลการศกึ ษาตามตารางท่ี 4.4 แสดงให้เห็นว่า ผ้เู ขา้ รับการฝกึ อบรม มีความพงึ พอใจ โดยรวมตอ่ ดา้ นวิทยากรมคี ่าเฉล่ยี 4.39 อยใู่ นระดับมาก ทส่ี ดุ และเมื่อพจิ ารณารายขอ้ พบว่า ข้อที่มี คา่ เฉล่ียสูงสุดคือ ความสามารถในการถา่ ยทอดเน้อื หาไดเ้ ข้าใจและชดั เจน มีคา่ เฉลยี่ 4.46 อยู่ในระดับ มากที่สดุ รองลงมาข้อ ความรอบรู้ในเนื้อหาวิชา และมเี ทคนคิ การสอนนา่ สนใจ มีค่าเฉล่ีย 4.45 อยใู่ น ระดบั มากท่สี ดุ สว่ นขอ้ ทีม่ ีค่าเฉลี่ยตา่ สุดคือ การรกั ษาเวลา มคี ่าเฉลีย่ 4.16 อยใู่ นระดบั มาก ตารางท่ี 4.5 ระดับความพึงพอใจทม่ี ตี ่อดา้ นอาคารสถานทแี่ ละการใหบ้ รกิ าร ด้านอาคารสถานที่และการให้บรกิ าร ค่าเฉลี่ย สว่ นเบยี่ งเบน ระดบั ( X ) มาตรฐาน (S.D.) 1. แสงสวา่ งของหอ้ งเรยี น 4.56 .661 มากทส่ี ุด 2. เสียงรบกวนจากภายนอกหอ้ งเรยี น 3.93 1.321 มาก 3. เครอื่ งเสยี ง ลาโพง ภายในหอ้ งเรยี น 4.44 .680 มากทส่ี ุด 4. ความเหมาะสม สะดวกสบายของโต๊ะเกา้ อ้ีท่นี ั่งอบรม 4.53 .599 มากทสี่ ดุ 5. วัสดุ อปุ กรณ์ ทใี่ ช้ในการเรียนการสอน 4.39 .663 มากทส่ี ดุ 6. ความสะอาดของหอ้ งเรียน 4.45 .551 มากที่สุด 7. การบริการจัดเขา้ หอ้ งพัก 4.26 .680 มากที่สุด 8. การอานวยความสะดวกขณะเข้าพัก 4.25 .697 มากที่สดุ 9. สง่ิ อานวยความสะดวกในห้องพัก 4.03 .781 มาก 10. การทาความสะอาดหอ้ งพัก 4.08 .773 มาก 11. ความสะอาดของห้องอาหาร 4.31 .685 มากท่ีสดุ 12. สถานที่เพียงพอสาหรับนง่ั รบั ประทานอาหาร 4.41 .656 มากที่สดุ 13. คุณภาพและความเพียงพอของอาหารประจาวนั 4.02 .966 มาก 14. การใหบ้ รกิ ารของเจา้ หนา้ ทีป่ ระจาห้องอาหาร 4.11 .837 มาก 15. ความสะอาดของห้องนา้ 3.98 .746 มาก 16. ความเพียงพอของห้องน้า 3.92 .901 มาก 17. ความสะดวกสบายของทจ่ี อดรถ 3.79 .931 มาก 18. การรกั ษาความปลอดภัยของทพ่ี กั 4.10 .792 มาก 19. ความสะดวกสบายในการขนึ้ ลงอาคาร 4.23 .689 มาก รวม 4.20 .481 มาก

18 ผลการศกึ ษาตามตารางที่ 4.5 แสดงให้เห็นว่า ผูเ้ ข้ารับการฝกึ อบรม มีความพึงพอใจ โดยรวมต่อดา้ นอาคารสถานทแ่ี ละการใหบ้ ริการมีคา่ เฉล่ีย 4.20 อยู่ในระดบั มาก และเมอ่ื พิจารณารายขอ้ พบว่า ข้อท่มี คี า่ เฉลย่ี สูงสดุ คือ แสงสว่างของหอ้ งเรยี นมคี ่าเฉลี่ย 4.56 อยูใ่ นระดบั มากท่ีสุด รองลงมาขอ้ ความเหมาะสมสะดวกสบายของโต๊ะเกา้ อท้ี ีน่ งั่ อบรม มีคา่ เฉลย่ี 4.53 อยู่ในระดับมากที่สดุ สว่ นขอ้ ที่มี คา่ เฉล่ยี ต่าสดุ คอื ความสะดวกสบายของที่จอดรถมีคา่ เฉลยี่ 3.79 อยู่ในระดับมาก ตารางที่ 4.6 ระดับความพึงพอใจทมี่ ตี ่อดา้ นการบริหารจดั การโครงการ ดา้ นการบรหิ ารจดั การโครงการ คา่ เฉลยี่ ส่วนเบ่ียงเบน ระดับ ( X ) มาตรฐาน (S.D.) 1. การอานวยความสะดวกของเจา้ หนา้ ที่ประจาโครงการ 4.50 .540 มากทสี่ ุด 2. การเอาใจใส่ดูแลผ้เู ขา้ รับการฝึกอบรม ของเจ้าหนา้ ท่ี 4.51 .588 มากทสี่ ดุ ประจาโครงการ 3. กิจกรรมประกอบการฝึกอบรมของผู้เขา้ รบั 4.47 .598 มากท่สี ุด การฝึกอบรม 4. การจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ ใหก้ ับผู้เขา้ รับการฝึกอบรม 4.38 .652 มากที่สุด รวม 4.47 .598 มากท่สี ดุ ผลการศกึ ษาตามตารางที่ 4.6 แสดงให้เหน็ ว่า ผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรม มคี วามพงึ พอใจ โดยรวมตอ่ ด้านการบรหิ ารจดั การโครงการมีคา่ เฉลยี่ 4.47 อยใู่ นระดับมากท่สี ุด แต่เม่อื พจิ ารณารายข้อ พบวา่ ข้อที่มคี า่ เฉล่ยี สูงสดุ คือ การเอาใจใสด่ ูแลผูเ้ ขา้ รับการฝึกอบรมของเจ้าหนา้ ทป่ี ระจาโครงการ คา่ เฉล่ีย 4.51 อยใู่ นระดับมากท่ีสุด รองลงมาข้อ การอานวยความสะดวกของเจา้ หน้าท่ีประจาโครงการ มคี า่ เฉลย่ี 4.50 อยใู่ นระดับมาก ส่วนขอ้ ที่มีค่าเฉล่ยี ต่าสดุ คือ การจดั เตรียมวัสดุอุปกรณ์ ใหก้ บั ผู้เขา้ รบั การ ฝึกอบรมมีค่าเฉลย่ี 4.38 อยูใ่ นระดบั มากท่สี ุด ส่วนท่ี 3 ขอ้ มูลดา้ นปญั หาและอปุ สรรค ในการฝึกอบรม หรือขอ้ เสนอแนะและความคิดเห็น เพม่ิ เตมิ 1) ด้านหลักสูตร ปัญหา จานวนช่ัวโมงใน บางวชิ า การฝึกอบรมนอ้ ยเกนิ ไป และวชิ าเรยี นไม่สอดคลอ้ ง ตามลาดับความสาคัญต่อเนือ่ งกนั

19 ขอ้ เสนอแนะ ควรเพม่ิ ช่วั โมงการเรยี นบางวิชา และ จัดการเรียนตาม ลาดบั ความสาคัญ ใหเ้ หมาะสมกบั ภารกิจหนา้ ทที่ ีร่ บั ผิดชอบ เชน่ วชิ าพยาบาล ควรให้เวลามาก เพราะต้องใชเ้ ป็นประจา ปญั หา เนอ้ื หาในเอกสาร ประกอบการฝกึ อบรม บางวิชาไมเ่ หมาะสม โดยเฉพาะ เนอ้ื หา ความสาคญั ในรายวชิ า เช่น วิชาไฟฟา้ เนื้อหาไมค่ วรมากเกินไป ขอ้ เสนอแนะ ควรปรับปรงุ เอกสารประกอบการฝึกอบรม ใหส้ ั้นกระชบั น่าสนใจ ปญั หา การออกกาลังกายตอนเช้านอ้ ยเกนิ ไป และตอนเย็นไมม่ กี ายบรหิ าร ขอ้ เสนอแนะ ควรเพม่ิ เวลาในการออกกาลังกายตอนเชา้ และจัดเวลาใหม้ กี ายบริหารในตอน เย็น 2) ดา้ นวทิ ยากร ปัญหา การรกั ษาเวลาในการฝกึ อบรมไม่เป็นไปตามกาหนดการ การบรรยายของวทิ ยากร ไม่ดงึ ดูดความสนใจ วิธปี ฏบิ ัตขิ องครฝู ึกและการสอนของวิทยากร สอนและปฏบิ ัติในคนละแนวทางกัน ข้อเสนอแนะ ควรให้วิทยากรรักษาเวลาในการฝึกอบรมให้เป็นไปตามกาหนดการ และ วทิ ยากรควรมีอารมณ์ขบขนั บา้ ง เพ่ือไมใ่ ห้เกิดการงว่ งนอน หรอื มีวทิ ยากรผู้หญิงเพ่ือดึงดดู ความสนใจ วิทยากรและครูฝกึ ควรตกลงกันในเน้ือหาวชิ าใหต้ รงกัน ก่อนการบร รยายและ ฝกึ ปฏิบตั ิ เพือ่ ให้เปน็ ไปใน แนวทางเดียวกัน 3) ด้านอาคารสถานทแ่ี ละการใหบ้ ริการ ปญั หา อาคารสถานทค่ี บั แคบ ความสะดวกสบายของท่จี อดรถมไี มเ่ พียงพอ นา้ ไหลนอ้ ย ความสะอาดของหอ้ งน้า คุณภาพและความเพยี งพอของอาหารประจาวัน โดยเฉพาะอาหารไมส่ ะอาด เท่าทค่ี วร สง่ิ อานวยความสะดวกในห้องพกั เชน่ ที่นอนเส่อื มสภาพ ทาให้เจ็บหลงั วัสดุ อปุ กรณ์ท่ีใชใ้ น การอานวยความสะดวก เช่น ปล๊ักพ่วงไม่เพียงพอ เปน็ ต้น การให้บรกิ ารของเจา้ หนา้ ท่ปี ระจาห้องอาหาร โดยเฉพาะการ เพมิ่ อาหาร ชักชา้ ไม่ต่อเนื่อง ทาให้ ขาดชว่ งในการ รบั ประทานอาหาร ปรมิ าณอาหาร ไม่เพียงพอ อาหารไมค่ ่อยอรอ่ ย ยกตวั อย่าง เช่น อาหารประเภทยา คอื มกี ารใสว่ ัตถดุ ิบทเี่ กนิ ปรมิ าณ เชน่ ใสต่ น้ หอม หอมหัวใหญ่ ในปริมาณทม่ี ากเกนิ กวา่ เนื้อ ลูกชน้ิ รวมถงึ อาหารแกงมสั มนั่ ด้วย ข้อเสนอแนะ ควรหาท่ีจอดรถให้เพยี งพอ เพ่ิมเติมที่ หน้าหอ้ งพัก บรเิ วณใต้ร่มต้นไม้ ควร ซ่อมแซมหอ้ งนา้ และปรบั ปรุงระบบนา้ ภายในห้องนา้ ในอาคาร ตลอดจนใหพ้ นกั งานทาความสะอาด บ้าง หม่ันดแู ลความสะอาดบ่อย ๆ ควรมกี ารปรบั ปรงุ การจัดทน่ี อน การจัดใหม้ ีกะละมังไว้รองรบั สาหรบั การ ซักถงุ เทา้ กางเกงในของผู้ฝกึ อบรม และมรี าวตากผา้ ด้านนอกห้องพกั อาหารประจาวัน (รอบดกึ ก่อนนอน ควรเปน็ ประเภทน้าเต้าหู้ ปลาทอ่ งโก๋ อาหารเบา ๆ ร้อน ๆ หวาน ๆ และควรให้บรกิ าร WIFI (Free) เพื่อใชใ้ นการติดตามขา่ วสารตา่ ง ๆ รวมทงั้ มีรา้ นคา้ สวสั ดกิ ารภายในวิทยาลัย เพ่ือหลกี เลย่ี งการขอ อนญุ าตออกไปขา้ งนอก 4) ดา้ นการบริหารจดั การโครงการ

20 ปญั หา เครื่องแต่งกาย เชน่ เสือ้ กางเกง รองเทา้ สาหรับใส่ออกกาลังกายภาคเชา้ ของผ้เู ขา้ รบั การฝึกอบรมมคี วามหลากหลาย แตกตา่ งกนั ข้อเสนอแนะ ควรให้ผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรมจัดเตรียมเครือ่ งแตง่ กายที่เป็นลกั ษณะเดยี วกันมา ด้วย เพือ่ จะได้แตง่ กายเหมอื นกนั เพราะกิจกรรมตอนเชา้ บางครง้ั ต้องออกนอกบรเิ วณของวทิ ยาลัย ซึ่ง ควรแสดงออกถงึ ความพรอ้ มเพรยี ง และความสวยงามของผู้เข้ารับการฝกึ อบรม ปญั หา ขาดชุดดับเพลงิ ของพนักงานดบั เพลิงในพ้ืนที่ปฏิบตั งิ าน ขอ้ เสนอแนะ วทิ ยาลยั ควรปรับปรุงโครงการฝึกอบรม โดยเพมิ่ ค่าชุดดับเพลิงไวเ้ ปน็ ค่าใชจ้ า่ ย ส่วนหนง่ึ ในการลงทะเบียนเขา้ รับการฝกึ อบรม ซึ่งผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรมจะไดม้ เี ครอ่ื งแต่งกายท่พี รอ้ ม ปฏบิ ตั งิ านในพ้นื ท่ี มคี วามเป็นระเบียบ เรยี บร้อย และเป็นรูปแบบเดียวกนั ปัญหา หลกั สตู รการฝกึ อบรมมนี อ้ ย ขอ้ เสนอแนะ วทิ ยาลยั ควรจัดให้มหี ลกั สตู รการฝึกอบรมมากขน้ึ เชน่ หลักสูตรเก่ียวกับ การดแู ล เคร่อื งมอื อปุ กรณ์ ของพนกั งานดบั เพลงิ หรอื หลักสตู รพนักงานดบั เพลิงข้นั กา้ วหนา้ เพอื่ เพิ่ม ศกั ยภาพของพนกั งานดบั เพลิงใหม้ ากข้นึ

บทท่ี 5 สรปุ และอภิปรายผล สรุปผลงานศกึ ษาเรอ่ื งความพงึ พอใจของผู้เข้ารับการฝกึ อบรมที่มตี อ่ หลักสตู รพนกั งาน ดับเพลิง สามารถอภปิ รายผลของการศึกษาเปรยี บเทียบกบั แนวคดิ ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกย่ี วขอ้ งท่ีผู้วจิ ัย ไดท้ าการสบื ค้นและนาเสนอไวใ้ นบทท่ี 2 การนาผลการศึกษาไปใช้ในทางปฏบิ ัติ และขอ้ เสนอแนะสาหรับ การวจิ ัยครง้ั ตอ่ ไป สรุปผลการศึกษา ผลการศกึ ษาดา้ นคุณสมบตั ิของผู้ตอบแบบสอบถาม และผลสรปุ ตามวัตถุประสงค์ มีดงั นี้ 1. ผู้เข้ารับการฝกึ อบรมหลกั สตู รพนักงานดบั เพลิง เป็นเพศชาย สว่ นใหญม่ อี ายุอยู่ ระหวา่ ง 30 – 39 ปี และร้อยละ 76 จบการศึกษาระดบั ตา่ กวา่ ปรญิ ญาตรี 2. จากการศึกษาความพึงพอใจของผ้เู ขา้ รับการฝึกอบรมท่มี ตี อ่ หลกั สตู รพนกั งาน ดับเพลงิ สรุปได้ว่า ในภาพรวมผเู้ ขา้ รับการฝกึ อบรมมีความพงึ พอใจต่อหลักสูตรพนักงานดับเพลิงมากท่ีสุด และเมื่อพจิ ารณาเปน็ รายดา้ น พบวา่ 2.1 ด้านทผี่ ู้เขา้ รบั การฝกึ อบรมมคี วามพงึ พอใจมากทส่ี ดุ ไดแ้ ก่ ด้านหลกั สตู ร โดยเฉพาะประเด็นการไดร้ ับความรเู้ พ่มิ ข้ึนหลังจากการฝึกอบรม ดา้ นการบริหารจัดการโครงการ ประเด็น การเอาใจใส่ดแู ลผเู้ ขา้ รบั การฝึกอบรมของเจ้าหน้าท่ปี ระจาโครงการ และดา้ นวิทยากร ประเดน็ ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาได้เขา้ ใจและชดั เจน ตามลาดับ 2.2 ด้านทผ่ี ูเ้ ขา้ รบั การฝึกอบรมมีความพึงพอใจรองลงมา คือ ดา้ นอาคารสถานทีแ่ ละ การให้บรกิ าร โดยเฉพาะประเดน็ แสงสว่างของหอ้ งเรียน 2.3 ดา้ นทีผ่ เู้ ข้ารับการฝึกอบรมยังไมเ่ กิดพงึ พอใจมากท่สี ดุ ได้แก่ ด้านอาคารสถานที่ และการใหบ้ ริการ โดยเฉพาะประเดน็ ความสะดวกสบายของที่จอดรถ และดา้ นวทิ ยากร ประเดน็ การ รักษาเวลา ตามลาดับ 2.4 ดา้ นท่ีผู้เข้ารับการฝึกอบรมยงั ไมเ่ กดิ ความพึงพอใจรองลงมา ได้แก่ ดา้ นการบริหาร จดั การโครงการ ประเดน็ การจดั เตรียมวสั ดุอุปกรณ์ ใหก้ ับผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรมและดา้ นหลักสูตร ประเด็นความเหมาะสมของเอกสารประกอบการฝกึ อบรม 3. จากการศกึ ษาปญั หาและอปุ สรรค์ หรอื ขอ้ เสนอแนะและความคิดเห็นในการฝกึ อบรม ของผูเ้ ขา้ รบั การฝกึ อบรม สรุปไดว้ ่า 3.1 ด้านหลกั สูตร 1) ชว่ั โมงเรียนในบางวชิ าการฝกึ อบรมนอ้ ยเกินไป และวชิ าเรยี นไม่สอดคลอ้ ง ตามลาดบั ความสาคัญและตอ่ เน่ืองกัน

21 2) เนอ้ื หาในเอกสารประกอบการฝกึ อบรมบางวิชาไม่เหมาะสม เช่น เนอ้ื หามีน้อย 3) การออกกาลงั กายตอนเช้านอ้ ยเกนิ ไป และตอนเย็นไม่มีกายบรหิ าร 3.2 ดา้ นวิทยากร การรกั ษาเวล าในการฝึกอบรมไม่เปน็ ไปตามกาหนดการ การบรรยายของ วิทยากร ไมด่ งึ ดดู ความสนใจ วธิ ปี ฏบิ ัตขิ องครูฝกึ และการสอนของวิทยากร สอนและปฏบิ ัติในคนละ แนวทางกัน 3.3 ดา้ นอาคารสถานทีก่ ารใหบ้ ริการ อาคารสถานทค่ี บั แคบ ความสะดวกสบายของทจ่ี อดรถมไี มเ่ พยี งพอ น้าไหลน้อย ความสะอาดของหอ้ งนา้ คุณภาพและความเพียงพอของอาหารประจาวนั โดยเฉพาะอาหารไมส่ ะอาด เท่าทค่ี วร ส่งิ อานวยความสะดวกในห้องพกั เชน่ ทีน่ อนเสอื่ มสภาพ ทาใหเ้ จ็บหลัง วสั ดุ อปุ กรณ์ท่ใี ช้ อานวยความสะดวก เชน่ ปลั๊กพ่วง มีไม่เพยี งพอ เปน็ ต้น การใหบ้ รกิ ารของเจา้ หนา้ ที่ประจาหอ้ งอาหาร โดยเฉพาะการเพิม่ อาหารชักชา้ ไมต่ ่อเนอ่ื ง ทาใหข้ าดชว่ งในการรบั ประทานอาหาร ปรมิ าณอาหาร ไมเ่ พียงพอ อาหารไม่ค่อยอร่อย ยกตัวอย่าง เชน่ อาหารประเภทยา คือมีการใสว่ ัตถุดิบทเี่ กนิ ปริมาณ เชน่ ใสต่ น้ หอม หอมหวั ใหญ่ ในปรมิ าณทม่ี ากเกินกวา่ เนื้อ ลกู ช้นิ ซ่ึงเปน็ วตั ถุดบิ หลกั รวมถงึ แกงมสั มนั่ ด้วย 3.4 ดา้ นการบริหารจดั การโครงการ เครือ่ งแต่งกาย เช่น เสอ้ื กางเกง รองเท้า สาหรบั ใสอ่ อกกาลังกายภาคเชา้ ของผู้ เข้ารับการฝึกอบรมมีความหลากหลาย แตกตา่ งกนั และในสว่ นของหนว่ ยงานองคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน ขาดชุดดบั เพลิงของพนกั งานดบั เพลงิ ในพ้นื ทปี่ ฏบิ ตั งิ าน นอกจากนห้ี ลกั สตู รการฝึกอบรขมองวิทยาลมยั ีน้อย อภปิ รายผล จากผล การศกึ ษาความพึงพอใจของผเู้ ข้ารับการฝึกอบรม ท่ีมีต่อหลกั สตู รพนกั งาน ดับเพลงิ ของวทิ ยาลัยปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย วิทยาเขตเชียงใหม่ ท้ัง 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ ดา้ นหลักสูตร ดา้ นวิทยากร ดา้ นอาคารสถานทแี่ ละการให้บรกิ าร และดา้ นการบริหารจดั การโครงการ สรปุ ไดว้ ่าผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมมีความพงึ พอใจตอ่ หลักสตู รพนักงานดบั เพลิง อยู่ในระดบั มากทส่ี ุด และผลจากการศึกษาวิจยั สรุปไดว้ า่ 1) ด้านหลกั สูตร ผู้เขา้ รับการฝกึ อบรม มคี วามพงึ พอใจอยูใ่ นระดบั มากทสี่ ดุ เป็นอันดับ แรก โดยเฉพาะประเด็น การได้รับความรเู้ พิม่ ข้นึ หลงั จากการฝกึ อบรม สว่ นประเด็นที่ยังต้องได้รบั การ ปรับปรุง ไดแ้ ก่ ความเหมาะสมของเอกสารประกอบการฝกึ อบรม ซงึ่ จะสังเกตได้วา่ ผู้เข้ารบั การอบรมส่วน ใหญ่จะเป็นวัยทางาน มีอายุระหวา่ ง 30-39 ปี มีการศึกษาตา่ กว่าระดับปริญญาตรี โดยทัว่ ไปจะมี

22 ความชอบในงานทที่ ้าทาย สนใจ และตอ้ งการในสง่ิ ทไ่ี ดเ้ รียนร้เู พอี่ งานในอาชพี ผลดงั กลา่ วมคี วาม สอดคล้องกบั แนวคดิ เร่อื งองค์ประกอบหลักของหลักสตู ร (ธารง บัวศรี, 2542 : 8-9) ซึ่งสามารถอธิบายได้ วา่ วัสดุหลักสตู รและสื่อการเรยี นการสอน (Curriculum Materials and Instructional Media) ได้แก่ เอกสารส่ิงพิมพ์ แผน่ ฟิลม์ แถบวีดีทัศน์ ฯลฯ และวัสดอุ ปุ กรณ์ตา่ ง ๆ รวมทั้งอุปกรณ์โสตทัศนศกึ ษา เทคโนโลยีการศึกษาและอนื่ ๆ ช่วยสง่ เสริมคณุ ภาพและประสิทธภิ าพการเรียนการสอน 2) ดา้ นการบริหารจดั การโครงการ ผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรมมคี วามพงึ พอใจอยใู่ นระดับมาก ท่สี ุด เปน็ อนั ดับที่ 2 โดยเฉพาะในประเด็นการเอาใจใสด่ ูแลผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรม ของเจา้ หนา้ ที่ ประจา โครงการ ส่วนประเดน็ ทย่ี งั ต้องไดร้ ับการปรบั ปรงุ ไดแ้ ก่ การจดั เตรยี มวัสดุอุปกรณ์ ให้กับผเู้ ข้ารับ การฝึกอบรมยังไม่เปน็ ท่นี า่ ประทับใจ ซึง่ สอดคลอ้ งกับแนวคิดเรือ่ งเกี่ยวกับหลกั เกณฑ์ทส่ี ามารถนามาใช้ใน การจดั ลาดบั ความสาคัญของภารกิจ ทเี่ ปน็ ความจาเปน็ ในการฝึกอบรม (William, R. Tracy, 1971 : 86- 95) อธิบายไว้ว่าหลกั ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งคา่ ใชจ้ า่ ยกบั ผลประโยชน์หรอื ความคุม้ คา่ เปน็ การพิจารณา เปรยี บเทยี บระหว่าง การใชท้ รพั ยากรต่าง ๆ ในการจดั ฝกึ อบรม ได้แก่ เวลา เงนิ วสั ดุอุปกรณ์ สถานท่ี และบคุ ลากร ตลอดจนค่าเสยี โอกาส ทผ่ี ู้เข้าอบรม ควรจะได้ปฏิบัตงิ านตา่ ง ๆ กับผลประโยชนท์ ไี่ ดร้ ับจาก การจดั ฝกึ อบรม เพือ่ ทาให้เกิดการเปล่ยี นแปลงพฤติกรรมของผู้เขา้ อบรมในการปฏิบตั ิภารกจิ ทเ่ี ป็นความ จาเปน็ ในการฝึกอบรมแล้วว่า มคี วามคมุ้ คา่ มากน้อยเพียงใด หากมคี วามคมุ้ คา่ ในอันทจ่ี ะฝกึ อบรม เร่อื ง ของภารกิจนัน้ ๆ มาก กจ็ ดั ภารกิจน้นั ให้มรี ะดับความสาคญั ในอันทจี่ ะจดั การฝกึ อบรมสงู 3) ดา้ นวิทยากร ผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรม มคี วามพึงพอใจอยู่ในระดบั มากท่ีสดุ เปน็ อนั ดบั ท่ี 3 โดยเฉพาะในประเด็นความสามารถในการถา่ ยทอดเน้อื หาได้เขา้ ใจและชัดเจน ส่วนประเดน็ ที่ยงั ต้อง ไดร้ ับการปรบั ปรุง ไดแ้ ก่ การรกั ษาเวลา ผลดังกล่าวมคี วามสอดคลอ้ งกับแนวคิดเรื่องหลกั การเลือกใช้ เทคนิคการฝกึ อบรมของ กริช อัมโภชน์ (2545) ซ่ึงสามารถอธบิ ายไดว้ ่า หากระยะเวลาในการฝกึ อบรมมี นอ้ ย ควรจะใชเ้ ทคนคิ ฝกึ อบรมแบบมวี ทิ ยากรเป็นศนู ยก์ ลาง หากมีระยะเวลามาก ควรจะใชเ้ ทคนิคแบบ กลมุ่ เปน็ ศนู ยก์ ลาง 4) ดา้ นอาคารสถานทแ่ี ละการให้บรกิ าร ผู้เข้ารบั การฝกึ อบรมมีความพึงพอใจอยูใ่ นระดบั มากที่สดุ เปน็ อันดบั ท่ี 4 โดยเฉพาะประเดน็ แสงสว่างของห้องเรียน ส่วนประเดน็ ที่ยงั ตอ้ งไดร้ ับการ ปรับปรงุ ไดแ้ ก่ ในเรื่องความสะดวกสบายของท่จี อดรถ ซึ่งผลดังกลา่ วมคี วามสอดคลอ้ งกับงานวจิ ยั เรื่อง ความพงึ พอใจของลูกคา้ ตอ่ การใช้บรกิ ารของหา้ งคารฟ์ รู ์ สาขาเชียงใหม่ ของ จรรยา เจยี มหาทรัพย์ (2545, 1-50) ซ่งึ สามารถอธิปรายไดว้ า่ กอ่ นการรบั บริการลกู ค้าสว่ นใหญม่ ีความคาดหวังโดยรวมอยใู่ น ระดบั มาก เก่ยี วกบั ปัจจยั ดา้ นความสะดวก และความปลอดภัยของท่ีจอดรถ ช่อื เสียงของห้าง และความ น่าเชอ่ื ถอื ของสินคา้ ราคาพิเศษท่โี ฆษณา ความพึงพอใจของลกู คา้ ในขณะรบั บริการ พบวา่ ลกู คา้ ทมี่ คี วาม พึงพอใจโดยรวมอยใู่ นระดับมากในปัจจัยด้านผลติ ภณั ฑ์ ราคา และสถานที่ และมีความพึงพอใจโดย รวมอย่ใู นระดับปานกลางในปัจจัยด้านการส่งเสรมิ การตลาด ความพงึ พอใจของลูกค้าหลงั บรกิ ารแล้ว พบวา่ ลูกคา้ มคี วามพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดบั มาก ในปัจจัยด้านสถานที่ และมีความพงึ พอใจโดยรวมอยู่

23 ในระดับปานกลางในปจั จยั ดา้ นผลิตภัณฑ์ ราคา การส่งเสริมการตลาด และความค้มุ ค่าของเงินหลังจากที่ ไดร้ บั บรกิ ารครบถว้ นแล้ว ดงั น้ัน จะเห็นวา่ ผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรม หลักสูตรพนกั งานดับเพลงิ ณ วิทยาลัยป้องกัน และบรรเทาสาธารณภยั วทิ ยาเขตเชยี งใหม่ มีความพงึ พอใจตอ่ การฝึกอบรมหลักสตู รพนกั งานดับเพลิง ด้านหลกั สตู รเปน็ สว่ นใหญ่ ซ่ึงแสดงถงึ ผลสาเร็จ เปน็ หนงึ่ ตวั ชี้วัดสาคัญของมาตรฐานการศกึ ษา นอกจากน้ี หลกั สตู รยังมีความสาคัญอกี ประการหนึง่ ตอ่ การจดั การเรียนการสอนในห้องเรยี น กลา่ วคือผู้สอนจะใช้ หลกั สตู รเปน็ เสมือนแมแ่ บบในการดาเนนิ กิจกรรมการเรยี นการสอนต่าง ๆ เพอื่ ให้การจดั กจิ กรรม การเรียนการสอนไมห่ ลงทาง และบรรลวุ ัตถุประสงคท์ ตี่ ั้งไว้อย่างครบถว้ น สาหรับความสาคัญของ หลกั สูตรกับผู้เรียน หากหลกั สูตรนน้ั เป็นหลักสตู รท่ดี ีจะสามารถช่วยใหผ้ ูเ้ รียนเกดิ ทักษะการเรียนรตู้ ลอด ชีวิต รวมถงึ สรา้ งทักษะอ่ืน ๆ ท้ังการเคารพสทิ ธมิ นษุ ยชน และสามารถยอมรบั ในความหลากหลายของ ผู้คนได้ ข้อเสนอแนะสาหรับการนาผลไปใช้ 1. จากผลการศึกษาที่พบวา่ ระดับความพงึ พอใจของผูเ้ ข้ารบั การฝกึ อบรม ทม่ี ีต่อ หลักสตู รพนักงานดบั เพลิง ในด้านอาคารสถานท่ีและการใหบ้ ริการยังไมเ่ กิดความพึงพอใจมากทีส่ ดุ โดยเฉพาะประเด็นความสะดวกสบายของท่ีจอดรถ ดังน้นั ผู้บริหารจึงควรมีมาตรการ หรอื การจัดเตรยี ม สถานทจ่ี อดรถ สาหรบั ผู้มาใชบ้ รกิ ารใหเ้ พยี งพอ เหมาะสม ตลอดจนคานึงถึงความสะดวก และความ ปลอดภัยของทจี่ อดรถด้วย 2. จากผลการศกึ ษาทพ่ี บว่า ระดับความพงึ พอใจของผ้เู ข้ารบั การฝกึ อบรม ท่ีมีตอ่ หลักสูตรพนักงานดับเพลิง ในดา้ นวิทยากรยังไม่เกดิ ความพึงพอใจมากท่สี ดุ โดยเฉพาะประเด็นการรักษา เวลาของวทิ ยากร ดังนนั้ ผบู้ ริหารควรให้ความสาคัญกับแผนการสอนในแตล่ ะวิชา เพอื่ วทิ ยากร หรือ ผสู้ อน จะได้หมนั่ ตรวจสอบเวลาใหพ้ อดกี บั เรือ่ งทพี่ ูด โดยส่วนใหญ่หอ้ งทจ่ี ดั การฟังบรรยายมักจะมีนาฬิกา ตดิ ไว้ฝ่ังตรงข้ามกบั ผบู้ รรยาย หรือฝาผนังหอ้ งด้านใดด้านหนึ่ง ซ่งึ วิทยากรควรสังเกตใหแ้ นน่ อนกอ่ นวา่ นาฬิกาอยทู่ ่ไี หน จะได้ไม่ต้องก้มมองนาฬิกาข้อมือใหเ้ สยี บุคคลกิ และจะกลับกลายเปน็ ผลเสยี ผเู้ ข้าอบรม กจ็ ะเหลือบมองตาม ทาใหก้ ารจดจอ่ กบั เรอ่ื งทบี่ รรยายขาดชว่ งไป 3. จากผลการศึกษาท่ีพบวา่ ระดบั ความพงึ พอใจของผ้เู ขา้ รบั การฝึกอบรม ท่มี ตี ่อ หลกั สตู รพนกั งานดับเพลิง ในดา้ น การบริหารจดั การโครงการ โดยเฉพาะประเด็น การจัดเตรยี มวสั ดุ อปุ กรณ์ ใหก้ บั ผู้เขา้ รับการฝึกอบรม ถงึ แมผ้ ้เู ขา้ รับการฝกึ อบรมมรี ะดับความพงึ พอใจมากทสี่ ุดแล้ว แต่ก็

24 เป็นลาดบั สุดทา้ ยของกลุ่ม ซงึ่ หากผบู้ ริหารต้องการทีจ่ ะเพ่มิ ระดับความพงึ พอใจให้มากยิ่งข้ึน ก็สามารถ กระทาได้ จากปัญหาท่สี รปุ ได้ดงั น้ี ปญั หา เคร่อื งแต่งกาย เช่น เสื้อ กางเกง รองเทา้ สาหรับใส่ออกกาลงั กายภาคเช้าของ ผเู้ ขา้ รบั การฝึกอบรมมคี วามหลากหลาย แตกต่างกัน ขอ้ เสนอแนะ ผบู้ ริหารควรแจ้งใหผ้ ูเ้ ข้ารับการฝกึ อบรมจัดเตรยี มเครื่องแตง่ กายที่เป็น ลักษณะเดียวกนั มาใชใ้ นการฝกึ อบรมดว้ ย เพอ่ื จะได้ แตง่ กายเหมือนกนั เพราะกิจกรรมตอนเชา้ บางครงั้ ตอ้ งออกนอกบรเิ วณของวทิ ยาลัย ซึ่งควรแสดงออกถงึ ความพร้อมเพรียง และ ความสวยงามของผเู้ ขา้ รบั การฝึกอบรม โดยอาจแจ้งไปพร้อมกับหนงั สือตอบรบั การเข้ารบั การฝกึ อบรม ปญั หา ขาดชดุ ดับเพลงิ ของพนักงานดบั เพลงิ ในพ้นื ท่ีปฏิบัตงิ าน ขอ้ เสนอแนะ ผบู้ ริหารควรพิจารณาปรบั ปรงุ โครงการหรือหลักสตู รการฝกึ อบรมให้ ทันสมัย ตรงกบั ความตอ้ งการของกล่มุ เป้าหมายที่เปน็ ไปได้ อาทเิ ช่น กาหนดค่าใช้จา่ ยเกี่ยวกบั ค่าตัดชดุ ดบั เพลิง ไว้เป็นคา่ ใชจ้ ่ายสว่ นหนงึ่ ในการลงทะเบียนเข้ารบั การฝึกอบรม ซึ่งจะทาใหผ้ ู้เขา้ รับการฝึกอบรม ได้มีเครอื่ งแต่งกายทพี่ ร้อมปฏิบตั งิ านในพ้นื ที่ มคี วามเปน็ ระเบยี บ เรียบร้อย และเปน็ รูปแบบเดยี วกัน 4. จากผลการศึกษาทพี่ บวา่ ระดับความพึงพอใจของผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรมทม่ี ีต่อหลกั สูตร พนกั งานดับเพลงิ ในดา้ นหลกั สตู ร โดยเฉพาะประเด็นความเหมาะสมของเอกสารประกอบการฝึกอบรม ถึงแมผ้ เู้ ข้ารับการฝกึ อบรมมีระดับความพงึ พอใจมากท่สี ดุ แลว้ แต่กเ็ ป็นลาดับสดุ ทา้ ยของกลุ่ม ซ่ึงหาก ผู้บริหารตอ้ งการท่ีจะเพมิ่ ระดับความพึงพอใจใหม้ ากยิง่ ข้ึน กส็ ามารถกระทาได้ จากปัญหาท่ีสรุปได้ดังนี้ ปญั หา เน้ือหาในเอกสารประกอบการฝึกอบรมบางวิชาไม่เหมาะสม โดยเฉพาะเนื้อหา ความสาคัญในรายวิชาบางวิชามีมาก บางวิชามนี อ้ ย เชน่ วิชาไฟฟ้า เนื้อหาไมค่ วรมากเกินไป เป็นตน้ ขอ้ เสนอแนะ ผู้บรหิ ารควรมีการปรบั ปรุงเอกสารประกอบการฝึกอบรม ใหส้ น้ั กระชบั นา่ สนใจ และทนั สมยั อยู่ตลอดเวลา ข้อเสนอแนะในการทาวจิ ัยคร้ังต่อไป การศึกษาวจิ ัยในครั้งนี้ เนื่องจากมีข้อจากดั ในเร่ืองของระยะเวลาในการดาเนินงาน ผวู้ จิ ัยจงึ ได้ศึกษาความพงึ พอใจของผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมที่มตี อ่ หลกั สูตรพนกั งานดับเพลิง เพียงบาง ประเดน็ เพอ่ื ใหส้ อดคล้องกับระยะเวลาในการศกึ ษาอบรมในหลกั สตู รนกั บรหิ ารงานป้องกนั และบรรเทา สาธารณภยั (นบ.ปภ.) รุน่ ที่ 10 ซ่ึงหากมรี ะยะทเี่ หมาะสม ควรศึกษาวจิ ยั เพ่ิมเติมในประเด็นอน่ื ๆ ดังนี้ 1. ความพงึ พอใจของผู้เข้ารับการฝกึ อบรม ทมี่ ีตอ่ เนื้อหาวิชาการฝกึ อบรมหลักสูตร พนกั งานดับเพลงิ ที่เจาะลึกลงไปในเน้ือหารายวชิ า เพ่ือใหไ้ ด้รายละเอยี ด และขอ้ มูลในรายวชิ าต่าง ๆ ท่ี ชดั เจนยิง่ ขนึ้ ซง่ึ จะเป็นประโยชนต์ อ่ การปรับปรงุ และพัฒนาเอกสารประกอบการฝกึ อบรม การวางแผน การสอนของวทิ ยากร ครฝู กึ ซงึ่ จะเกิดประโยชน์สูงสดุ ตอ่ หนว่ ยงาน และตรงกบั ความตอ้ งการของผเู้ ขา้ รับ การฝึกอบรม ทาใหเ้ กิดความพึงพอใจมากย่งิ ข้นึ

25 2. ประสทิ ธิภาพ การปฏบิ ตั ิงานของพนักงานดบั เพลิงทผ่ี ่านการฝึกอบรมหลกั สูตร พนกั งานดับเพลงิ จากวิทยาลยั ป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั วิทยาเขตเชยี งใหม่ เพอ่ื การปรับปรุงและ พฒั นาหลกั สตู รพนกั งานดับเพลงิ ใหต้ รงกบั การปฏิบตั ิงานจริงของพนกั งานดับเพลิง 3. ความพงึ พอใจของผ้บู ังคบั บัญชาของพนักงานดบั เพลิง ตอ่ หลกั สตู รการฝกึ อบรมของ วทิ ยาลัยปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั วิทยาเขตเชียงใหม่ เพือ่ ใช้เป็นขอ้ มูลในการวางแผนงาน โครงการ ต่าง ๆ ทีจ่ ะเกดิ ขนึ้ ในอนาคตได้

บรรณานกุ รม กรชิ อมั โภชน.์ 2545. การสร้างหลกั สตู รและโครงการฝกึ อบรม : เอกสารประกอบการบรรยายในการ ฝึกอบรมหลกั สูตรการบรหิ ารงานฝกึ อบรม. สานักฝึกอบรม สถาบันบณั ฑิตพฒั นบริหารศา. สตร์ จรรยา เจยี มหาทรพั ย์. 2545. ความพงึ พอใจของลูกค้าตอ่ การใช้บรกิ ารของหา้ งคสาารขฟ์ าูรเ์ชียงให.ม่ ค้นคว้าอสิ ระเชงิ นพิ นธ์ (สาขาบริหารธุรกจิ มหาบัณฑติ ) บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ธารง บัวศรี. 2542. ทฤษฏหี ลักสตู ร : การออกแบบและพัฒนา. กรุงเทพมหานคร : พฒั นาศกึ ษา. พทิ กั ษ์ ตรษุ ทมิ . 2538. กลวิธกี ารมสี ่วนร่วมของชุมชนในยทุ ธศาสตร์การพัฒนาในป. จั กจรุบงุ ันเทพมหานคร : ศกั ดโิ์ สภาการพมิ พ์. ภนิดา ชยั ปัญญา. 2541. ความพงึ พอใจของเกษตรต่อกิจกรรมไร่นาสวนผสมภายใต้โครงการปรับ โครงสรา้ งและระบบการผลติ การเกษตรของจังหวัดเชยี งราย. วทิ ยานิพนธว์ ทิ ยาศาสตร์ มหาบัณฑติ สาขาส่งเสรมิ การเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่. วรนุช บวรนันทเดช. 2546. ความพึงพอใจของประชาชนตอ่ บรกิ ารของหน่วยบริการปฐมภูมิ เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร . วิทยานพิ นธม์ หาบณั ฑติ (รัฐประศาสนศาสตร์) บัณฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยเกษมบัณฑติ . วชิ ยั วงษ์ใหญ่. 2537. กระบวนการพัฒนาหลกั สตู รและการเรียนการสอน : ภาคปฏิบัติ . พิมพค์ รง้ั แรก. กรุงเทพมหานคร : สุวีรยิ าสาส์น. สภุ าลักษณ์ ชยั อนนั ต.์ 2540. ความพงึ พอใจของเกษตรกรทีม่ ีตอ่ โครงการสง่ เสริมการปลูกมะเขือเทศ แบบมสี ัญญาผกู พันในจังหวดั ลาปาง . วิทยานิพนธ์ เกษตรศาสตร์ มหาบณั ฑิต มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่. สรุ ชยั รัชตประทาน. 2546. ความพงึ พอใจของประชาชนต่อบริการของสานักงานทีด่ นิ จังหวัด เชยี งใหม่ สาขาสารภี. เชยี งใหม่ : มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่. สายจิตร สงิ หเสน.ี 2546. สังคมสงเคราะห์จลุ ภาค. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร.์ อรรถพร คาคม. 2546. การใหบ้ ริการสนิ เชือ่ ของธนาคารอาคารสงเคราะห์ : ศกึ ษาจากความคดิ เห็น ของผ้ใู ชบ้ รกิ ารฝ่ายกจิ การสาขากรงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล. วทิ ยานพิ นธศ์ ลิ ปะศาสตร์ มหาบณั ฑิต คณะศิลปะศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์. William, R. Tracy, 1971. Designing Training and Development System. American : Management Association, Inc.

ภาคผนวก











ที่ มท ๐๖๒๙.ชม / ว ๐๒๘ วทิ ยาลัยป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั วทิ ยาเขตเชียงใหม่ ถนนอนสุ าวรีย์สงิ ห์ ตาบลช้างเผอื ก อาเภอเมอื งเชียงใหม่ จงั หวดั เชียงใหม่ ๕๐๓๐๐ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ เร่อื ง ขอความอนุเคราะหต์ อบแบบสอบถาม เรยี น ทา่ นผู้ตอบแบบสอบถาม สงิ่ ทีส่ ง่ มาด้วย แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เข้ารับการฝึกอบรม ๑ ชุด ด้วย นายนิกร จนั ทร์นาเปง็ ตาแหนง่ นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผนชานาญการ สงั กดั วิทยาลัยป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย วิทยาเขตเชียงใหม่ เข้ารบั การศกึ ษาอบรมหลกั สูตรนักบริหารงาน ป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย (นบ.ปภ.) รุน่ ท่ี ๑๐ ระหว่างวันท่ี ๗ มกราคม – ๑๐ เมษายน ๒๕๕๗ ณ วิทยาลยั ปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ตาบลบางพูน อาเภอเมืองปทมุ ธานี จงั หวดั ปทุมธานี กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย และไดร้ ับอนุมัติใหท้ างานวจิ ยั เรอื่ งความพงึ พอใจของผูเ้ ข้ารับ การฝึกอบรมท่ีมตี ่อหลกั สตู รพนักงานดับเพลิง เพอ่ื ศกึ ษาความพึงพอใจของผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมท่ีมีตอ่ หลกั สตู รพนักงานดบั เพลงิ รวมถงึ ปญั หาและอปุ สรรค ในการฝึกอบรมหลกั สูตรพนกั งานดบั เพลงิ ซึ่งคาดวา่ จะ เปน็ ประโยชน์ตอ่ การพัฒนาการฝกึ อบรมหลกั สตู รพนกั งานดับเพลงิ ต่อไปในอนาคต ท่านเปน็ บคุ คลหนงึ่ ทผ่ี ่านการฝึกอบรมหลักสูตรพนกั งานดับเพลิง จากวิทยาลัยปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณภยั วิทยาเขตเชยี งใหม่ และเปน็ กลุ่มเปา้ หมายทส่ี ามารถชว่ ยใหข้ ้อมูล เพื่อการพัฒนาพัฒนาหลักสูตรพนักงาน ดบั เพลิงได้เป็นอย่างดีย่ิง และคาตอบของทา่ นจะมีคณุ ค่าอยา่ งยิ่งตอ่ งานวิจัยในครง้ั น้ี วทิ ยาลัยปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณภยั วทิ ยาเขตเชยี งใหม่ จึงใคร่ขอความอนุเคราะหจ์ ากทา่ น โปรดตอบแบบสอบถามตามความคิดเหน็ ของทา่ น อยา่ งรอบคอบและสง่ กลับมายัง วิทยาลัยปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย วิทยาเขตเชยี งใหม่ เลขท่ี ๑๑๘/๔ ถนนอนุสาวรยี ส์ ิงห์ ตาบลชา้ งเผือก อาเภอเมอื งเชยี งใหมจ่ังหวดั เชียงใหม่ ๕๐๓๐๐เพอื่ จกั ได้ดาเนินการต่อไป จึงเรยี นมาเพอ่ื โปรดพิจารณาใหค้ วามอนเุ คราะห์ จกั ขอบคุณมา ณ โอกาส น้ี ขอแสดงความนบั ถอื วา่ ทีร่ ้อยตรี (ณัฐพงค์ ฐิตวิกรานต์) ผอู้ านวยการวทิ ยาลยั ป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ฝ่ายวิชาการและฝึกอบรม วทิ ยาเขตเชียงใหม่ โทรศัพท/์ โทรสาร ๐-๕๓๔๐-๘๘๔๕

1 แบบสอบถาม ความพึงพอใจของผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมทีม่ ตี ่อหลกั สูตรพนกั งานดับเพลิง ……………………………………………………… วัตถุประสงคข์ องการประเมนิ แบบสอบถามนี้มีวัตถปุ ระสงค์ เพ่ือประเมินความพึงพอใจของผู้เข้ารบั การฝึกอบรมท่ีมี ตอ่ หลกั สตู รพนักงานดบั เพลิง โดยจดั หมวดหม่คู าถามเป็น 3 ส่วน ขอใหท้ า่ นตอบแบบสอบถามทั้ง 3 สว่ น ได้แก่ ส่วนที่ 1 ข้อมลู ทั่วไปสว่ นบุคคล ส่วนท่ี 2 ความพงึ พอใจของผู้เข้ารบั การฝกึ อบรม แบ่งเปน็ 4 ด้าน ได้แก่ 2.1 ด้านหลักสูตร 2.2 ด้านวิทยากร 2.3 ดา้ นอาคารสถานท่แี ละการให้บรกิ าร 2.4 ดา้ นการบรหิ ารจัดการโครงการ ส่วนท่ี 3 ปัญหาและอปุ สรรคในการฝกึ อบรม หรือขอ้ เสนอแนะและความคิดเห็นเพิ่มเติม คาแนะนาในการตอบแบบสอบถาม สว่ นท่ี 1 โปรดทาเครอื่ งหมาย / ลงใน ( ) และกรอกข้อความในชอ่ งตามความจริง สว่ นท่ี 2 โปรดประเมิน ความ พึงพอใจของผู้เข้ารบั การฝึกอบรมท่มี ีตอ่ หลักสตู ร พนกั งานดับเพลิง โดยเขียนเครื่องหมาย / ลงในช่องระดับความคิดเห็นตามเกณฑ์ตอ่ ไปน้ี 5 หมายถึง ท่านเห็นดว้ ยมากท่ีสดุ 4 หมายถงึ ทา่ นเห็นดว้ ยมาก 3 หมายถงึ ทา่ นเหน็ ดว้ ยปานกลาง 2 หมายถึง ท่านเหน็ ดว้ ยน้อย 1 หมายถงึ ท่านเห็นด้วยนอ้ ยทีส่ ดุ สว่ น ที่ 3 โปรดเขียนขอ้ เสนอแนะและความคิดเหน็ เพมิ่ เติม ในสว่ นท้ายของ แบบสอบถาม สว่ นที่ 1 ข้อมูลเบ้ืองตน้ คาช้แี จง โปรดเขียนเครื่องหมาย / ลงใน ( ) หน้าขอ้ ความตามความเปน็ จริง 1. เพศ ( ) ชาย ( ) หญิง

2 2. อายุ ( ) ตา่ กวา่ 30 ปี ( ) 30-39 ปี ( ) 40-49 ปี ( ) 50 ปีข้นึ 3. ระดับการศกึ ษา ( ) ตา่ กว่าปรญิ ญาตรี ( ) ปริญญาตรี ( ) ปรญิ ญาโทข้นึ ไป /…สว่ นที่ ๒ ส่วนที่ 2 เปน็ คาถามเพื่อประเมนิ ระดับความพึงพอใจ คาชีแ้ จง โปรดพจิ ารณาระดบั ความพึงพอใจ แล้วทาเครือ่ งหมาย / ลงในช่องระดบั ความ พงึ พอใจ ใหต้ รงกับความเป็นจริง และตามความคดิ เห็นของท่านโดยมีหลกั เกณฑ์ต่อไปนี้ ตัวอย่างการตอบแบบสอบถาม รายการประเมิน ระดบั ความพงึ พอใจ 54 3 21 ดา้ นหลกั สูตร 0 มีความรู้ ความเขา้ ใจเพิ่มข้นึ .… … ../. … … 00 มคี วามเหมาะสม … … … ../.. … ในข้อ 0 ทา่ นทาเครอ่ื งหมายในช่องระดับความพงึ พอใจ 3 หมายความวา่ ท่านประเมนิ วา่ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเพม่ิ ข้นึ ปานกลาง ในข้อ 00 ทา่ นทาเครอ่ื งหมายในช่องระดบั ความพงึ พอใจ 2 หมายความวา่ ท่านประเมนิ ว่ามคี วามเหมาะสมน้อย รายการประเมนิ ระดับความพงึ พอใจ 54 321 ด้านหลกั สตู ร 1. เนอ้ื หาของวชิ ามีความสอดคล้องกบั ความตอ้ งการของทา่ น …………… 2. การได้รบั ความรูเ้ พ่มิ ข้ึนหลังจากการฝกึ อบรม …………… 3. การนาความรทู้ ี่ไดร้ บั ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการปฏบิ ตั ิงาน …………… 4. ความเหมาะสมของเอกสารประกอบการฝึกอบรม …………… 5. ความเหมาะสมของระยะเวลาการฝึกอบรม …………… ด้านวิทยากร 1. ความรอบรูใ้ นเนือ้ หาวิชา …………… 2. เน้อื หาท่ถี ่ายทอดสอดคล้องกบั หัวขอ้ หลักสูตร …………… 3. ความสามารถในการถ่ายทอดเนอ้ื หาไดเ้ ข้าใจและชัดเจน ……………

รายการประเมนิ 3 ระดับความพึงพอใจ 4. มเี ทคนคิ การสอนนา่ สนใจ 54 321 5. การรักษาเวลา …………… ดา้ นอาคารสถานทแี่ ละการให้บรกิ าร …………… 1. แสงสว่างของห้องเรียน 2. เสยี งรบกวนจากภายนอกห้องเรียน …………… 3. เคร่อื งเสียง ลาโพง ภายในห้องเรียน …………… 4. ความเหมาะสม สะดวกสบายของโต๊ะเกา้ อีท้ นี่ ง่ั อบรม …………… 5. วสั ดุ อปุ กรณ์ ทใี่ ช้ในการเรยี นการสอน …………… 6. ความสะอาดของหอ้ งเรยี น …………… 7. การบริการจัดเขา้ หอ้ งพัก …………… 8. การอานวยความสะดวกขณะเขา้ พกั …………… 9. ส่งิ อานวยความสะดวกในห้องพัก …………… 10. การทาความสะอาดห้องพัก …………… 11. ความสะอาดของห้องอาหาร …………… 12. สถานท่ีเพยี งพอสาหรับนงั่ รบั ประทานอาหาร …………… 13. คณุ ภาพและความเพยี งพอของอาหารประจาวัน …………… 14. การให้บริการของเจ้าหน้าทปี่ ระจาหอ้ งอาหาร …………… 15. ความสะอาดของห้องน้า …………… 16. ความเพียงพอของห้องน้า …………… 17. ความสะดวกสบายของท่จี อดรถ …………… 18. การรักษาความปลอดภยั ของท่พี ัก …………… 19. ความสะดวกสบายในการข้นึ ลงอาคาร …………… ด้านการบรหิ ารจัดการโครงการ …………… 1. การอานวยความสะดวกของเจ้าหน้าที่ประจาโครงการ 2. การเอาใจใสด่ แู ลผ้เู ขา้ รับการฝกึ อบรม ของเจา้ หนา้ ทปี่ ระจาโครงการ …………… 3. กิจกรรมประกอบการฝึกอบรมของผู้เข้ารบั การฝึกอบรม …………… 4. การจดั เตรียมวสั ดอุ ปุ กรณ์ ใหก้ ับผู้เขา้ รบั การฝึกอบรม …………… ……………

4 สว่ นที่ 3 ปัญหาและอปุ สรรค ในการฝึกอบรมขห้อรเสือนอแนะและความคิดเหพ็นิม่ เติม (เช่น หลกั สูตรท่ีตอ้ งการฝึกอบรม หรือปรบั ปรุง แก้ไข ให้สอดคล้องกับการปฏิบตั งิ านในพน้ื ที่ ฯลฯ) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ขอขอบคณุ ท่กี รณุ าให้ขอ้ มลู







ประวัตผิ ู้วิจัย ชือ่ - สกลุ นายนกิ ร จันทรน์ าเป็ง วนั เดือน ปี เกิด 1 เมษายน 2514 ประวตั กิ ารศกึ ษา ครศุ าสตรบณั ฑิต(คอมพวิ เตอร์ศกึ ษา) สถาบนั ราชภัฎลาปาง รฐั ประศาสนศาสตรบัณฑิต (รฐั ประศาสนศาสตร์) ประวัติการทางาน มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช นายช่างเคร่อื งกล สาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑิต (อาชีวอนามัยและความปลอดภยั ) มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช ตาแหนง่ ปัจจบุ นั นายช่างเครื่องกล 2 ศูนย์ปฏบิ ัติการเร่งรดั พัฒนาชนบทลาปาง 3 ศนู ยป์ ฏิบัติการเร่งรัดพฒั นาชนบทลาปาง นายช่างเคร่อื งกล 4 ศูนย์ปฏบิ ัตกิ ารเร่งรดั พัฒนาชนบทลาปาง นายชา่ งเครอ่ื งกล 5 ศนู ย์ปฏบิ ตั กิ ารเร่งรัดพัฒนาชนบทลาปาง นายช่างเครอ่ื งกล 5 โอนไปสังกัดกรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย นายชา่ งเครอื่ งกล 5 สานักงานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั จังหวัดลาพูน นายชา่ งเคร่ืองกล 6 วิทยาลัยปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย วิทยาเขตเชยี งใหม่ รก.เจ้าหนา้ ท่ีวเิ คราะห์นโยบายและแผน 6ว ศูนย์ปฏิบตั ิการเร่งรดั พฒั นาชนบทลาปาง เจา้ หน้าทว่ี ิเคราะห์นโยบายและแผน 6ว วิทยาลยั ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย วทิ ยาเขตเชียงใหม่ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ วทิ ยาลยั ป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั วทิ ยาเขตเชยี งใหม่ นักวเิ คราะห์นโยบายและแผนชานาญการ ฝา่ ยวชิ าการและฝกึ อบรม วิทยาลยั ปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั วทิ ยาเขตเชยี งใหม่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook