Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore death and dying 2559 wira

death and dying 2559 wira

Published by chutima.w, 2018-07-04 22:35:53

Description: death and dying 2559 wira

Search

Read the Text Version

การดูแลผู้ป่วยใกล้ถึงแก่กรรม ดร.วริ าวรรณ คลา้ ยหริ ัญ

WHO CAN SAY WHERE THE ROAD GOES? WHERE THE DAY FLOWS? ONLY TIME

เมือ่ คุณเป็นพยาบาล คุณร้วู า่ ทุกๆวัน คุณสัมผัสกับชีวติ หรือในอีกทางคอื ชีวิตจะสัมผัส ความเป็นตัวคุณ ทุกวันเชน่ กัน





จะทาอยา่ งไรใหผ้ ู้ปว่ ยและครอบครัว...

วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักศึกษา• เขา้ ใจธรรมชาติของการตายที่มีผลต่อชีวิตคน อยา่ งองคร์ วม• เขา้ ใจบทบาทของพยาบาลในการดูแลคนท่ีกาลงั จะตาย (ถึงแก่กรรม) อยา่ งองคร์ วม• เขา้ ใจหลกั การและเทคนิคในการดูแลคนที่ใกลถ้ ึงแก่ กรรมแบบองคร์ วม

ธรรมชาติของความตาย • รู้สึกอย่างไรต่อความตาย • ความหมายของความตาย ตามความคิดเห็นของเราคือ อะไร • ความตายให้บทเรียนอะไร แก่เรา

ชีวิตและความตายในมิติวัฒนธรรม วัฒนธรรมเก่า วัฒนธรรมใหม่-จุดเรมิ่ ต้นของการเกดิ ใหม่ -จุดสุดทา้ ยของชีวิต-ทาดีได้ไปสุคติ -ไม่มีโลกหน้า ไม่รูท้ ่ไี ป-ยอมรับ ไมผ่ ลักไส -นา่ กลัว ต้องหนีห่าง-เปน็ ธรรมดาของชีวิต -คนกลัวตาย ใชช้ ีวติ ลืมตาย-ตายที่บ้าน ตัง้ ศพทีบ่ า้ น -ตายที่ รพ. ตัง้ ศพทว่ี ัด-ไม่ประมาทตอ่ ชีวิต -ใช้ชีวิตเตม็ ที่ ท้าทาย

ความกลัวตายกับการรักษาพยาบาล• คนพยายามหนีความตาย• ขอประวิงเวลาใหต้ ายชา้ ที่สุด• พยายามย้ อื ชีวติ ใหน้ านที่สุด• สนใจแต่เพียงสญั ญาณชีพเป็ นสาคญั• ความเจ็บปวดมากจากการรกั ษาแบบกา้ วรา้ วรุนแรง• ผปู้ ่ วยไม่สามารถตายอย่างสงบ

LEARN FROM THE OLD LADY

การยุติการรกั ษาพยาบาลที่ยืดชีวิต• เมตตามรณะโดยสมคั รใจ (voluntary euthanasia)• เมตตามรณะโดยผปู้ ่ วยไม่สมคั รใจ (involuntary euthanasia) “ประเทศไทยมีพระราชบัญญตั ิสุขภาพแห่งชาติ (พ.ศ.2550 ประกาศ ณ วันท่ี 3 มีนาคม พ.ศ.2550: 10) “มาตรา 12 บคุ คลมีสิทธ์ิทาหนังสือ แสดงเจตนาไม่ประสงค์ จะรั บบริ การสาธารณสุขที่เป็ นไป เพียงเพ่ือยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตคน หรือเพ่ือยตุ ิการทรมานจากการเจบ็ ป่ วยได้”



ตายแบบไหนที่เรียกว่า “ตายดี”กรณีศึกษา “ตายดี ที่บ้าน”





การดแู ลผูป้ ่ วยในระยะสุดทา้ ย• “เมื่อป่วยหนักจนอยู่ในระยะสุดท้ายของชีวิต นอกจากการดูแล ทางกายแล้ว การดูแลทางจิตใจก็มีความสาคัญอย่างย่ิง ผู้เกี่ยวข้อง ควรทาทุกอย่างเพื่อให้ผู้ป่วยมีจิตใจสงบ พร้อมรับความตาย หรือสามารถเผชิญกับความทุกข์จากความตายให้ได้มากที่สุด เช่น การสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ป่วยกับญาติมิตร ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ป่วย มีโอกาสเล่าความในใจที่คั่งค้าง รวมท้ังมีโอกาสปลดเปลื้องทั้งภาระ (ทางการงาน ครอบครัว และภาระทางใจ) ตลอดจนปลดเปล้ือง ความกังวลขุ่นเคืองใจที่มีอยู่” (พระไพศาล วสิ าโล, 2552)

อลิซาเบต คูเบอรร์ อส อธิบายปฏิกิริยาตอบสนอง ต่อการสญู เสียไวเ้ ป็ น 5 ระยะ ดงั น้ ี• ปฏิเสธ (denial) - ใหค้ วามจริง• โกรธ (anger) - ใหร้ ะบายความรสู้ ึก• ต่อรอง (bargaining) - ใหท้ างเลือกท่ีเหมาะสม• ซึมเศรา้ (depression) - รบั ฟัง อยเู่ ป็ นเพ่ือน• ยอมรบั (acceptance) - ใหก้ าลงั ใจ

การดูแลแบบประคบั ประคอง (PALLIATIVE CARE)• การดูแลท่ีมุ่งเน้นการจดั การอาการท่ีทาใหผ้ ูป้ ่ วยและครอบครวั ลดความทุกขท์ รมาน (Symptoms management) มีคุณภาพชีวิตท่ี ดี (good quality of life) และตายอย่างสงบ (อยสู่ บาย ตายสงบ)

การรกั ษา การเผชญิ การคงสภาวะ ความตายก(าcรurรatกั iveษcาaเrฉe)พาะโรค อยา่ งสงบ ความเขม้ แขง็ (HospicemCuordaiftyivineg/ diseaปsกระาeคร-บดั แูปลรแะคบอบง การดแู ล ของครอบครวั care)therapy (Palliative care) หลงั การตาย (Bereavement care)ระยะเวลาของความเจบ็ ป่ วย ช่วงสดุ ท้ายของชีวิตกรอบแนวคดิ ดแู ลผปู้ ว่ ยระยะสดุ ทา้ ย ทม่ี า : รปู แบบการบรู ณาการการดแู ลผปู้ ว่ ยแบบประคบั ประคอง (ประยกุ ตจ์ าก Emanuel, & Ferris, eds. Plenary 3: Elements andmodels of end-of-life care. The education for physicians on end-of-life care. [EPEC]Curriculum: ©The EPEC Project, 1999, 2003. cited in Kuebler, Davis and Moore.2005 : 22)

All hospice care is palliative, but not all palliative care is hospice Palliative Care Hospice





ตวั อยา่ งการดูแลผูป้ ่ วยท่ีถึงแก่กรรม

การดแู ลหลงั ผูป้ ่ วยถึงแก่กรรม• พยาบาลปฏิบตั ิต่อผูป้ ่ วยอย่างสมเกียรติและศกั ด์ิศรีของความ เป็ นมนุษย์ 1. การปฏิบตั ิต่อศพควรกระทาเช่นเดียวกบั ผตู้ ายยงั มีชีวิตอยู่ 2. การทาส่ิงต่างๆ ดว้ ยความนุ่มนวล 3. การตบแต่งร่างกายส่วนต่างๆ ตอ้ งทาใหเ้ รียบรอ้ ยท่ีสุดเหมือนคนธรรมดา

การดแู ลหลงั ผูป้ ่ วยถึงแก่กรรม (ต่อ)• พยาบาลปฏิบตั ิต่อผปู้ ่ วยอย่างสมเกียรติและศกั ด์ิศรีของความ เป็ นมนุษย์ 4. เย็บแผลใหเ้ รียบรอ้ ย ไม่ปล่อยส่วนท่ีพิการเปิ ดเผยต่อสายตาผอู้ ่ืน 5. การแต่งศพ ควรแต่งหน้าและสวมเส้ ือผา้ ใหม้ องดูคลา้ ยขณะท่ีมีชีวิตมากที่สุด เหมือนสภาพคนที่กาลงั นอนหลบั สนิท

การดแู ลหลงั ผูป้ ่ วยถึงแก่กรรม (ต่อ)• พยาบาลปฏิบตั ิต่อผปู้ ่ วยอยา่ งสมเกียรติและศกั ด์ิศรีของความ เป็ นมนุษย์ 6. การห่มผา้ คลุมศพ ไม่ควรคลุมใบหน้าหรือศีรษะ แต่ควรคลุมแค่อก ใหเ้ หมือนคนนอนหลบั ทวั่ ไป

การดแู ลหลงั ผูป้ ่ วยถึงแก่กรรม (ต่อ)• ขอ้ แนะนาสาหรบั ญาติเม่ือผปู้ ่ วยถึงแก่กรรมท่ีโรงพยาบาล 1. การเก็บหรือตรวจศพผปู้ ่ วยท่ีถึงแก่กรรม โรงพยาบาลจะเก็บรกั ษาศพท่ีหอ้ งเก็บศพ 2. แพทยผ์ ใู้ หก้ ารดูแลรกั ษาอาจขออนุญาตใหม้ ีการตรวจศพเพ่ือศึกษาหาสาเหตุของการเสียชีวิต

การดูแลหลงั ผูป้ ่ วยถึงแก่กรรม (ต่อ)• ขอ้ แนะนาสาหรบั ญาติเม่ือผปู้ ่ วยถึงแก่กรรมท่ีโรงพยาบาล 3. ญาติของผปู้ ่ วยจะตอ้ งไปขอใบมรณะบตั รจากนายทะเบียนเขต/อาเภอ ท่ีโรงพยาบาลต้งั อยู่ มีเอกสาร ดงั น้ ี

การดูแลหลงั ผูป้ ่ วยถึงแก่กรรม (ต่อ)• 3.1 บตั รประจาตวั ประชาชน หรือบตั รประจาตวั ขา้ ราชการหรือ หนังสือสาคญั บุคคลต่างดา้ วของผปู้ ่ วยท่ีถึงแก่กรรมพรอ้ ม สาเนา 1 ชุด สาเนาทะเบียนบา้ นของผปู้ ่ วยที่ถึงแก่กรรมพรอ้ ม สาเนา 1 ชุด 3.2 บตั รประจาตวั ประชาชน หรือบตั รประจาตวั ขา้ ราชการหรือ หนังสือสาคญั บุคคลต่างดา้ วของผทู้ ่ีไปติดต่อขอรบั ใบมรณะ บตั รพรอ้ มสาเนา 1 ชุด สาเนาทะเบียนบา้ นของผตู้ ิดต่อพรอ้ ม สาเนา 1 ชุด

การดูแลหลงั ผูป้ ่ วยถึงแก่กรรม (ต่อ)• ขอ้ แนะนาสาหรบั ญาติเม่ือผปู้ ่ วยถึงแก่กรรมท่ีโรงพยาบาล4. หนังสือรบั รองการตาย ใบรบั แจง้ การตายและหนังสือมอบหมายขอใหญ้ าติติดต่อขอรบั ไดท้ ี่งานเวชระเบียนของโรงพยาบาล5. ญาติติดต่อขอรบั ใบมรณะบตั รกบั นายทะเบียนเขต/อาเภอ

การดูแลหลงั ผูป้ ่ วยถึงแก่กรรม (ต่อ)• ขอ้ แนะนาสาหรบั ญาติเมื่อผปู้ ่ วยถึงแก่กรรมท่ีโรงพยาบาล6. นายทะเบียนตรวจสอบเอกสารเรียบรอ้ ยแลว้ จะออกใบมรณะบตั รเพ่ือใหญ้ าตินาไปแสดงกบั ทางวดั และแจง้ ต่อนายทะเบียนทอ้ งถ่ินที่ผตู้ ายอาศยั อยู่7.การขอรบั ศพออกจากโรงพยาบาล ญาติจะตอ้ งแสดงใบมรณะบตั ร ใหก้ บั เจา้ หน้าท่ีหอ้ งศพก่อน ยกเวน้ ผปู้ ่ วยท่ีถึงแก่กรรมเป็ นอิสลามิกชน ขอใหน้ าใบรบั รองจากจุฬาราชมนตรีมาแสดงกบั ผอู้ านวยการ

คะแนนเก็บ 5 คะแนน1. รสู้ ึกอย่างไร2. ไดเ้ รียนรอู้ ะไร3. จะนาไปประยุกต์ ใชไ้ ดอ้ ยา่ งไร

ถ้าเราสามารถทาให้คนทต่ี ายอยู่ในทรงจาของคนทอ่ี ยู่อย่างงดงาม เมือ่ น้ัน...การดูแลแบบประคบั ประคองประสบความสาเร็จ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook