รายงานผลการดำเนินงาน LAMPANG โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคม รายตำบลแบบบูรณาการ จังหวัดลำปาง https://www.lpru.ac.th
สารบัญ บทสรุปผู้บริหาร บทนำ รายงานสรุปตัวชี้วัดการดำเนิ นงานระดับตำบล และระดับสถานบันอุดมศึกษา ของโครงการฯ ระดับจังหวัด ผลการศึกษาผลกระทบเชิงเศรษฐกิจและสังคม รายจังหวัดของโครงการ U2T ด้วยเครื่องมือ SROI
สารบัญ รายงานผลการวิเคราะห์ข้อมูล THAILAND COMMUNITY BIG DATA เรื่องเล่าความสำเร็จ SUCCES STORY ของจังหวัดลำปาง ข้อเสนอจังหวัดจากการวิเคราะห์ GAP ANALYSIS เพื่ อต่อยอดการพัฒนาจังหวัด ภาคผนวก
บทสรุปผู้บริหาร การประเมินศักยภาพตำบล จังหวัดลำปางมีพื้นที่ดำเนินโครงการยกระดับเศรษฐกิจ และสังคมรายตำบลแบบบูรณาการจำนวน 83 ตำบลและมี ก่อนประเมิน หลังประเมิน สถาบันอุดมศึกษาที่ร่วมทำงานในพื้นที่ จำนวน 6 สถาบัน 50 มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชมงคลล้านนา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 40 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยราชมงคลกรุงเทพ 30 ผลการดำเนินการในระยะที่ 1 สามารถกล่าวโดยสรุปได้ว่า มหาวิทยาลัยฯ ประสบความสำเร็จในการดำเนินการตาม 20 วัตถุประสงค์ทั้ง 4 ประการ กล่าวคือ 1) มหาวิทยาลัยได้ทำหน้ าที่เป็นหน่วยงานบูรณาการโครงการ 10 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2) สามารถจ้างงานได้จำนวน 1,494 คน แบ่งเป็นประชาชน 0 ทั่วไป 415 คน บัณฑิตจบใหม่ 664 คน และนักศึกษา 415 ตำบลยากลำบาก ตำบลอยู่รอด ตำบลพอเพียง ตำบลยั่งยืน คน 3) พัฒนาตามปัญหาและความต้องการของชุมชนทั้งสี่ด้าน (จะ Social Literacy Digital Literacy ได้วิเคราะห์เพิ่มเติมในตอนต่อไป) และ 85.44 % 79.77 % 4) ได้จัดทำข้อมูลขนาดใหญ่ของชุมชน (Community Big Data) เพื่อเป็นข้อมูลในการวิเคราะห์และตัดสินใจในการแก้ไข ปัญหาความยากจนแบบมีเป้ าหมายชัดเจน Financial Literacy English Literacy การมีส่วนร่วม/ภาคีเครือข่าย 95.91 % 81.17 % 80.3 ล้านบาท บนพื้นฐานข้อมูลขนาดใหญ่ของชุมชนที่เก็บรวมรวมโดย ศักยภาพ ผู้รับจ้างทำงานประจำตำบลทั้ง 83 ตำบลตามกรอบที่ อว. กำหนด 108.8 ล้านบาท สามารถสรุปได้ว่าระดับของปั ญหาความยากจนยังมีความแตกต่าง กันค่อนข้างชัดเจนเมื่อเทียบเกณฑ์ของ อว. ที่กำหนดไว้ 4 ระดับ เศรษฐกิจ/การเงิน คือ ตำบลที่ยังไม่สามารถอยู่รอด ตำบลที่อยู่รอด ตำบลมุ่งสู่ความพอ 448.8 ล้านบาท เพียง และตำบลมุ่งสู่ความยั่งยืน ตัวเลขสถิติดังแสดงในแผนภูมิ ศักยภาพตำบล และผู้รับจ้างทำงานประจำตำบลทั้ง 83 ตำบลได้รับ สุขภาวะ(กาย-ใจ) การฝึกอบรมทักษะและหลักสูตร 4 ด้าน ได้แก่ Digital 185.5 ล้านบาท Literacy,English Literacy,Financial Literacy และ Social Literacy การร่วมทำกิจกรรมภายใน 83 ตำบล ได้แก่ การพัฒนา สิ่งแวดล้อม สัมมาชีพและสร้างอาชีพใหม่จำนวน 249 กิจกรรม การสร้างและ 1.2 ล้านบาท พัฒนา Creative Economyจำนวน 197 กิจกรรม การนำองค์ความ รู้ไปช่วยบริการชุมชนจำนวน 146 กิจกรรมการส่งเสริมด้านสิ่ง มูลค่าผลลัพท์รวม แวดล้อม/Circular Economyจำนวน 141 กิจกรรม และอื่นๆ 824.5 ล้านบาท จำนวน 4 กิจกรรม
ลำปางเป็นจังหวัดหนึ่งในภาคเหนือ ตั้งอยู่ในแอ่งที่ราบ บทนำ ล้อมรอบด้วยภูเขา มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน มีชื่อ เรียกอย่างหลากหลายตั้งแต่ เขลางค์นคร , เวียงละกอน, นครลำปาง ฯลฯ ในภายหลังเป็นที่รู้จักกันดีอีกชื่อหนึ่งว่า \"เมืองรถม้า\" ที่สัมพันธ์กับเอกลักษณ์ของลำปาง ลำปางตั้งอยู่ในพื้นที่ราบลุ่มรอบล้อมด้วยหุบเขาจากทุก ด้าน ทำให้มีลักษณะเป็นแอ่งกระทะ มีแม่น้ำสำคัญคือ แม่น้ำวังที่มีต้นน้ำอยู่ที่ตอนเหนือ บริเวณอำเภอวังเหนือ ที่ ไหลลงจากเหนือสู่ใต้ พื้นที่ราบที่กว้างใหญ่ที่สุดอยู่บริเวณ ตอนกลางนั่นคือ บริเวณอำเภอเมืองลำปาง อำเภอเกาะคา และอำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปางมีพื้นที่ติดต่อกับจังหวัดอื่น ๆ เรียงตาม เข็มนาฬิกา ดังนี้ ทิศเหนือ ติดกับ จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย และ พะเยา ทิศตะวันออก ติดกับ จังหวัดพะเยา แพร่ และสุโขทัย ทิศใต้ ติดกับ จังหวัดสุโขทัยและตาก ทิศตะวันตก ติดกับ จังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน และตาก จังหวัดลำปางแบ่งการปกครองออกเป็น 13 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมืองลำปาง อำเภอแม่เมาะ อำเภอเกาะคา อำเภอเสริมงาม อำเภองาว อำเภอแจ้ห่ม อำเภอวังเหนือ อำเภอเถิน อำเภอแม่พริก อำเภอแม่ทะ อำเภอสบปราบ อำเภอห้างฉัตร และอำเภอเมืองปาน มีตำบลจำนวน 100 ตำบล โดยในพื้นที่จังหวัดลำปางที่มีการดำเนินโครงการ U2T ในปี 2564 มี จำนวน 83 ตำบลใน 12 อำเภอ ยกเว้นอำเภอวังเหนือ โดยมีสถาบันที่ร่วม กับพื้นที่จำนวน 6 สถาบัน ได้แก่มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางรับผิดชอบ ตำบลจำนวน 56 ตำบล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์รับผิดชอบตำบลจำนวน 16 ตำบล มหาวิทยาลัยราชมงคลล้านนารับผิดชอบตำบลจำนวน 5 ตำบล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์รับผิดชอบตำบลจำนวน 4 ตำบล มหาวิทยาลัย เชียงใหม่รับผิดชอบตำบลจำนวน 1 ตำบล และมหาวิทยาลัยราชมงคล กรุงเทพรับผิดชอบตำบลจำนวน 1 ตำบล
รายงานสรุปตัวชี้วัดการ ดำเนินงานระดับตำบลและ ระดับสถานบันอุดมศึกษา ของโครงการฯระดับ จังหวัด
การประเมินศักยภาพตำบลและกิจกรรมที่เกิดขึ้นใน พื้นที่ 83 ตำบล ก่อนประเมิน หลังประเมิน 50 40 30 20 10 0 ตำบลอยู่รอด ตำบลพอเพียง ตำบลยั่งยืน ตำบลยากลำบาก การพัฒนาสัมมาชีพและการสร้างอาชีพ การยกระดับการท่องเที่ยว Health Care / เทคโนโลยีด้านต่างๆ การเพิ่มรายได้หมุนเวียนให้แก่ชุมชน อื่นๆ 40 30 20 10 0 ตำบลอยู่รอด ตำบลพอเพียง ตำบลยั่งยืน ตำบลยากลำบาก การพัฒนาสัมมาชีพและสร้างอาชีพใหม่จำนวน 249 กิจกรรม การสร้างและพัฒนา Creative Economyจำนวน 197 กิจกรรม การนำองค์ความรู้ไปช่วยบริการชุมชนจำนวน 146 กิจกรรม การส่งเสริมด้านสิ่งแวดล้อม/Circular Economyจำนวน 141 กิจกรรม และอื่นๆ จำนวน 4 กิจกรรม
การจ้างงานในพื้นที่ นักศึกษา บัณฑิต บัณฑิต 27.8% 44.4% 664 คน ประชาชน นักศึกษา 27.8% 415 คน 100 % ประชาชน 415 คน 75 % 50 % 25 % 0% Digital Literacy English Literacy Financial Literacy Social Literacy 79.77% 81.17% 95.91% 86.44%
ตลาด โรงเรียน กำหนดให้มีทาง เข้า-ออก ที่ชัดเจน และมีการคัดกรอง ผู้ใช้บริการต้องสวมหน้ ากากอนามัย ตลอดเวลา และเว้นระยะห่าง 1 เมตร
ที่พักอาศัย ศาสนสถาน
ผลการศึกษาผลกระทบ เชิงเศรษฐกิจและสังคม รายจังหวัดของโครงการ U2T ด้วยเครื่องมือ SROI
การประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม (Social Return On Investment)
KEY STRATEGIC FOCUS จังหวัดลำปาง
รายงานผลการวิเคราะห์ข้อมูล THAILAND COMMUNITY BIG DATA
เรื่องเล่าความสำเร็จ SUCCESS STORY ของจังหวัดลำปาง
ข้อเสนอจังหวัดจากการวิเคราะห์ GAP ANALYSIS
Search
Read the Text Version
- 1 - 40
Pages: