Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 20200531000001

20200531000001

Published by วิษณุ สร้อยเพชร, 2021-11-03 05:11:16

Description: 20200531000001

Search

Read the Text Version

ศกึ ษาการปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถาน ในการปองกันการแพรระบาดของโ ูค ืมอ รคโควิด 19

คมู ือการปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศึกษา ในการปองกันการแพรระบาดของโรคโควดิ 19 พมิ พค รง้ั ท่ี 1 พฤษภาคม 2563 จำนวน 2,500 เลม ผูจ ดั พมิ พและเรยี บเรียง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ทป่ี รึกษา นายแพทยสุขุม กาญจนพมิ าย ปลดั กระทรวงสาธารณสุข แพทยห ญงิ พรรณพมิ ล วิปลุ ากร อธิบดีกรมอนามยั บรรณาธิการ นายแพทยส ราวุฒิ บญุ สุข รองอธบิ ดกี รมอนามัย ภาคีเครอื ขายความรว มมือ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธกิ าร ราชวทิ ยาลยั กุมารแพทยแ หง ประเทศไทย องคก ารอนามยั โลกประจำประเทศไทย (WHO Thailand) องคก ารทนุ เพอ่ื เด็กแหง สหประชาชาตปิ ระจำประเทศไทย (UNICEF) สำนกั งานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) กองทนุ เพือ่ ความเสมอภาคทางการศกึ ษา (กสศ.) พิมพท่ี บริษทั คิว แอดเวอรไ ทซ่งิ จำกัด เลขท่ี 83 ซอยงามวงศวาน 2 แยก 5 ตำบลบางเขน อำเภอเมืองนนทบรุ ี จงั หวัดนนทบุรี 11000 โทร. 02 965 9797 แฟกซ. 02 965 9279 www.q-ads.com / Facebook : Q-Advertising / Line : @qadvertising คูมอื การปฏบิ ัติสำหรับสถานศกึ ษาในการปองกันการแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19

สารจากผูบ รหิ าร สถานศึกษาเปนสถาบันทางสังคมพื้นฐาน เปนจุดเริ่มตนของการปลูกฝงความรู ทัศนคติ และ พฤตกิ รรมในทกุ ดา น มหี นา ทพ่ี ฒั นาเดก็ วยั เรยี นใหเ ตบิ โต เปนผูใหญที่มีศักยภาพ สามารถดำรงชีวิตในสังคมได อยา งมคี ณุ ภาพ เนอ่ื งจากสถานศกึ ษาเปน ศนู ยร วมของเดก็ ในชมุ ชนทม่ี าจากครอบครวั ทต่ี า งกนั จงึ เปน ปจ จยั สำคญั ทีก่ อ ใหเกดิ ปญหาโรคตา ง ๆ เมอื่ นกั เรียนคนใดคนหน่งึ เจ็บปวยดวยโรคติดตอ และมาเขาเรียนในสถานศึกษา จงึ มโี อกาสทจ่ี ะแพรก ระจายเชอ้ื โรคไปสนู กั เรยี นคนอน่ื ๆ ได จากการเลน การใกลชิด และทำกิจกรรมรวมกัน สถานศกึ ษาจงึ เปน สถานทส่ี ำคญั มากตอ การสง เสรมิ สขุ ภาพ และปองกันโรคหรืออาจเปรียบไดวา “สถานศึกษา” นายแพทยสขุ มุ กาญจนพมิ าย นับเปน “Shelter” สำหรับนักเรียน ที่ตองคำนึง และ ปลัดกระทรวงสาธารณสขุ ใหค วามสำคญั กบั เรอ่ื งดังกลา วเปน อันดบั แรก ๆ ภายใตสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 ซึ่งขณะนี้ ยังไมมีวัคซีนปองกันโรคและไมมียารักษาโรคโดยตรง จำเปนอยางยิ่งที่สถานศึกษาตองเตรียมความพรอม รับมือกับสถานการณการแพรระบาดของโรคดังกลาว ที่จะสงผลกระทบอยางมากตอระบบการจัดการเรียน การสอนและสุขภาพของนักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษา สิ่งสำคัญที่สุดในชวงระยะเวลาตอจากนี้ไป ทั้งผูบริหาร ครู นักเรียน ผูปกครอง และบุคลากรของสถานศึกษา ตองปรับตัวกับการใชชีวิตวิถีใหม “New Normal” เนน การปฏบิ ตั ภิ ายใตม าตรการการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 อยา งเครง ครดั เพอ่ื ใหส ถานศกึ ษาเปน สถานทท่ี ป่ี ลอดภยั จากโรคโควดิ 19 สง ผลใหน กั เรยี นสามารถเรยี นรไู ดอ ยา งเตม็ ศกั ยภาพ และปลอดภัยจากโรค กระทรวงสาธารณสขุ และผเู ชย่ี วชาญจากทกุ ภาคสว นทเ่ี กย่ี วขอ ง ขอเปน กาํ ลงั ใจใหก บั สถานศกึ ษาทกุ แหง ทเ่ี ปน กาํ ลงั สาํ คญั ในการรว มแรงรว มใจกนั อยา งเขม แขง็ เพอ่ื รบั มอื กบั สถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคดงั กลา ว ซึ่งจะสงผลใหนักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษาไดรับการดูแลอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อเปนทรัพยากร ที่มคี ณุ ภาพของประเทศชาตติ อไปในอนาคต ก คมู อื การปฏบิ ตั ิสำหรบั สถานศึกษาในการปองกันการแพรระบาดของโรคโควดิ 19

สารจากผบู ริหาร “การเรยี นรนู ำการศึกษา โรงเรียนอาจหยดุ ได แตก ารเรยี นรูหยุดไมได” ดว ยสถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (COVID-19) มีการระบาดในวงกวางอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะอยางยิ่งแนวโนมที่จะเกิดการแพรระบาดในสถานศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร มคี วามตระหนกั ถงึ สถานการณด งั กลา ว และคำนงึ ถงึ ความปลอดภัยและสุขภาพของนักเรียน นักศึกษา ครูผูสอน และ บุคลากรทางการศึกษา โดยตระหนักอยูเสมอ ไมวาสถานการณแวดลอม จะเลวรายและรุนแรงแคไหน การเรียนรูที่เขาถึงและมีคุณภาพสำหรับ เด็กไทยทุกคนเปนเปาหมายสูงสุด ตามแนวคิด “การเรียนรูนำการศึกษา นายประเสรฐิ บญุ เรอื ง โรงเรียนอาจหยดุ ได แตการเรียนรหู ยดุ ไมได” ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ทง้ั นเ้ี พอ่ื ใหก ารจดั การเรยี นการสอนสามารถเกดิ ขน้ึ ไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ เทา ทส่ี ภาพแวดลอ มจะอำนวย กระทรวงศึกษาธิการ ไดวางแนวทางการจัดการเรียนการสอนภายใตสถานการณวิกฤตของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 หรอื โรคโควดิ 19 (COVID-19) บนพน้ื ฐาน 6 ขอ ดงั นี้ 1. จัดการเรียนการสอน โดยคำนึงถึงความปลอดภัยสูงสุดของทุกคนที่เกี่ยวของ “การเปดเทอม” หมายถึง การเรยี นท่ีโรงเรียนหรือการเรียนท่ีบาน ท้งั นีก้ ารตดั สินใจจะขน้ึ อยกู ับผลการประเมินสถานการณอยางใกลช ิด 2. อำนวยการใหนักเรียนทกุ คน สามารถเขา ถงึ การเรียนการสอนได แมจะไมส ามารถไปโรงเรียนได 3. ใชสิ่งที่มีอยูแลวใหเกิดประโยชนสูงสุด เชน ชองดิจิทัล TV ทั้งหมด 17 ชอง เพื่อใหนักเรียนทุกระดับชั้น สามารถเรยี นผา น DLTV ได ทง้ั น้ี ไมมกี ารลงทนุ เพ่อื จัดซ้ืออุปกรณใด ๆ เพมิ่ เตมิ โดยไมจ ำเปน 4. ตัดสินใจนโยบายตาง ๆ บนพื้นฐานของการสำรวจความตองการ ทั้งจากนักเรียน ครู และโรงเรียน โดยให การจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพสูงสุดเปนที่ตั้ง และกระทรวงศึกษาธิการจะสนับสนุนเครื่องมือและ อปุ กรณตามความเหมาะสมของแตล ะพน้ื ท่ี สส56..าาคบปรรบผวุรคาับูบัญลมปราเหิกหฏรามิททราินาะกงสกามราศรโดศึกยึกษเษวาลขาาทอทุงก่ชีไททดายเนชยใจหจะะเอไคดื้อำรนตับึงอกถกางึ าภรรดาร“ูแะเลรขอียอยนงาทเงพุกตื่อคอรนเู”นแืล่อขะงอกงแาเลรดะไ็กดทมรำาบั ใกคหขวทึ้นาามนรรไวูคดมรรบทับตั้งผปาลมรกชับรวตะงาวทรยั บาขงเอชเรงิงียเลดนบก็ ตจาามก คำกนาำรเปลย่ี นแปลงนอยที่สดุ เกร่นิ นำกระทมราวรงศูจ กัึ ษโราคธโกิ คาวรดิ ม-1งุ เ9นน การประสานความรว มมอื อยา งบรู ณาการและเขม แขง็ กบั ทกุ ภาคสว นรวมถงึ ภกนากัากขรยศาน้ัใใึกชรตตษกเสอตลาถนรไอากยีกนันคมากวเครปสาาควมนรถดัาณรทามกวนรวรพมัพกิกอมรายฤงอือราตแขณมกิทลอรกโี่เะงทรอกผสคีส่ินดปูงโำขเตคกคปึ้นคอวัญด ดิรนคภใอ-ักนว1างเบก9แคราคลยีเรรูะกนขียชับแับนมุ กลเชคา(ะนรRลบสใeื่อนุครนoกลาแpงาาลครeกะดวnรพแูาใinมลนฒั นgตสน)กรัถาะเาปรหนยีรนนะศักเกึ ทนใษหศกั าเใศกนกึ ิดอษคนาวาโาคดมตยรตคออ ำบไนปรงึ ูดถางึ นคสวุขาภมาปพลแอกดนภักยั เสรงู ียสนดุ ในการปองกนั ควบคมุ การแพรระบาดของโรคโควดิ -19 วิธีกคาูมรือตกราวรจปคฏดั บิ กตั ริสอำงหสรขุ บั ภสาถพานศกึ ษาในการปองกันการแพรร ะบาดของโรคโควิด 19 ข แนวปฎิบตั สิ ำหรับสถานศึกษาระหวางเปด ภาคเรยี น

สารจากผบู รหิ าร แพทยหญงิ พรรณพิมล วปิ ลุ ากร จากสถานการณการแพรระบาดของโรคติด อธิบดกี รมอนามยั เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 หรอื โรคโควดิ 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) ในขณะนี้ ถึงแมใน ประเทศไทย พบวา มีรายงานผูปวยโรคโควิด 19 ที่เปนเด็ก มีอุบัติการณคอนขางต่ำ และมักมีอาการ ไมรุนแรง ซึ่งเกิดจากการติดจากบุคคลในครอบครัว แตถาหากนักเรียนในสถานศึกษามีการติดเชื้อแลว อาจทำใหเ กดิ การแพรร ะบาดไปยงั บคุ คลอน่ื ๆ ไดร วดเรว็ (Super Spread) สง ผลกระทบในสงั คมหรอื ผใู กลช ดิ เชน ครู เพอ่ื น พอ แม ผสู งู อายุ และสมาชกิ ในครอบครวั อน่ื ๆ ตอไปอีกดว ย ตามทก่ี ระทรวงศกึ ษาธกิ ารยดึ หลกั การจดั การเรยี นการสอน “โรงเรยี นหยดุ ได แตก ารเรยี นรหู ยดุ ไมไ ด” ภายใตส ถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ ในฐานะเปน องคก รหลกั ของประเทศในการอภิบาลระบบสงเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดลอมเพื่อใหประชาชนสุขภาพดี มีความหวงใยและเห็นความสำคัญการดูแลดานสุขภาพกับการศึกษา เปนเรื่องที่มีความเชื่อมโยงบูรณาการ ตอ งดำเนนิ การควบคกู นั ในลกั ษณะเกอ้ื กลู ซง่ึ กนั และกนั ของทกุ ฝา ยทเ่ี กย่ี วขอ ง เพอ่ื ผลลพั ธท ม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ ตอนักเรียน “คูมือการปฏิบัติสำหรับสถานศึกษาในการปองกันการแพรระบาดของโรคโควิด 19” ฉบับนี้ ทมี บรรณาธกิ ารและผเู ชย่ี วชาญจากทกุ ภาคสว นทเ่ี กย่ี วขอ งไดร ว มกนั วเิ คราะหส ถานการณ วางแผน รวบรวม ตรวจสอบ กำหนดมาตรการและแนวปฏิบัติในการเตรียมความพรอมกอนเปดภาคเรียนและการรับมือ เพอ่ื ปอ งการแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 ในสถานศกึ ษาทส่ี อดคลอ งกบั บรบิ ท และสามารถนำไปใชเ ปน แนวปฏบิ ตั ิ ไดจริง โดยยึดความปลอดภัยของนักเรียน รวมถึงบุคลากรของสถานศึกษาเปนที่ตั้ง เพื่อใหสถานศึกษา มคี วามพรอมในการจดั การเรยี นการสอนท่มี ีคุณภาพตอไป ค คูม อื การปฏบิ ตั สิ ำหรับสถานศึกษาในการปองกันการแพรร ะบาดของโรคโควิด 19

คำนำ สถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) มกี ารระบาดในวงกวา ง องคก ารอนามยั โลก (WHO) ไดป ระกาศใหโ รคโควดิ 19 เปน ภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสขุ ระหวา งประเทศ (Public Health Emergency of International Concern) โดยแนะนำใหทุกประเทศเรงรัดการเฝาระวังและปองกันความเสี่ยงจากโรคโควิด 19 สำหรับประเทศไทย พบผปู ว ยและผเู สยี ชวี ติ เพม่ิ ขน้ึ อยา งตอ เนอ่ื ง และมโี อกาสขยายวงกวา งขน้ึ เรอ่ื ย ๆ โดยเฉพาะอยา งยง่ิ แนวโนม ทจ่ี ะเกดิ การแพรร ะบาดในสถานศกึ ษา ดงั นน้ั การสรา งความตระหนกั รเู ทา ทนั และเตรยี มความพรอ มในการ รบั มอื กบั การระบาดของโรคอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ จงึ มคี วามจำเปน อยา งยง่ิ เพอ่ื ลดความเสย่ี งและปอ งกนั ไมใ ห สงผลกระทบตอสุขภาพนักเรียน ครู ผูสอน และบุคลากรทางการศึกษา อันเปนทรัพยากรที่สำคัญในการ ขับเคล่ือนและพฒั นาประเทศในอนาคต กระทรวงสาธารณสุขรวมกับกระทรวงศึกษาธิการ ราชวิทยาลัยกุมารแพทยแหงประเทศไทย องคการอนามัยโลกประจำประเทศไทย (WHO Thailand) องคการทุนเพื่อเด็กแหงสหประชาชาติประจำ ประเทศไทย (UNICEF) สำนกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) กองทนุ เพอ่ื ความเสมอภาค ทางการศกึ ษา (กสศ.) และผเู ชย่ี วชาญจากภาคสว นทเ่ี กย่ี วขอ งไดบ รู ณาการและรว มกนั พฒั นา “คมู อื การปฏบิ ตั ิ สำหรบั สถานศกึ ษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19” เพอ่ื เปน แนวทางปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศกึ ษา ในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 อยา งตอ เนอ่ื งโดยเนน ความสอดคลอ งกบั บรบิ ทของสถานศกึ ษา และเออ้ื อำนวยใหเ กดิ การปฏบิ ตั งิ านไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ เพอ่ื ใหน กั เรยี นและบคุ ลากรในสถานศกึ ษาสามารถ ดำรงชีวิตอยูไดอยางปลอดภัย โดยมีสาระสำคัญ ประกอบดวยองคความรูเบื้องตนเกี่ยวกับโรคโควิด 19 แนวปฏิบัติสำหรับบุคลากรในสถานศึกษา ไดแก ผูบริหาร เจาของสถานศึกษา ครู ผูดูแลนักเรียน นักเรียน ผูปกครอง และแมครัว ผูจำหนายอาหาร ผูปฏิบัติงานทำความสะอาด การจัดการดานอนามัยสิ่งแวดลอม บริเวณตาง ๆ ของสถานศึกษา มาตรการปองกันการแพรระบาดของโรคโควิด 19 และสื่อความรอบรูดาน สุขภาพนักเรียน ตลอดจนขั้นตอนการดำเนินงานคัดกรองและสงตอแบบประเมินตนเองสำหรับสถานศึกษา แบบประเมนิ ตนเองสำหรบั นกั เรยี น แบบบนั ทกึ การตรวจคดั กรองสขุ ภาพสำหรบั นกั เรยี น การจดั การเรยี นการสอน ชวงเปดภาคเรียน บทเรยี นแนวปฏิบตั ิชวงเปดเรียนในตา งประเทศรองรบั สถานการณ โรคโควดิ 19 เปนตน คณะผูจัดทำ มุงหวังให “คูมือการปฏิบัติสำหรับสถานศึกษาในการปองกันการแพรระบาด ของโรคโควดิ 19” ฉบบั น้ี เปน “เครอ่ื งมอื ” สำหรบั สถานศกึ ษาและผเู กย่ี วขอ งสามารถนำไปใชต ามบรบิ ทและ สถานการณของแตละสถานศึกษาภายใตความรวมมือจากทุกฝายที่เกี่ยวของ เพื่อปองกันการแพรระบาด ของโรคโควดิ 19 ใหเ กดิ ประโยชนสงู สุดตอ ไป คณะผจู ัดทำ พฤษภาคม 2563 คมู ือการปฏบิ ัติสำหรบั สถานศกึ ษาในการปองกนั การแพรร ะบาดของโรคโควิด 19 ง

สารบญั หนา ก-ค สารผูบ รหิ าร ง คำนำ จ-ช สารบญั 1 เกรนิ่ นำ 1 2-3 มารจู ักโรคโควิด 19 4 - 17 สถานการณโรคโควิด 19 การเตรยี มความพรอ มกอนเปดภาคเรยี น (Reopening) 18 - 22 สารผูบรหิ ารมาตราการการเตรียมความพรอมกอ นเกดิ ภาคเรียน สารบญั (Preparation before reopening) 23 - 41 คำนำ แผนผังกลไกการดำเนนิ งานปองกันแพรร ะบาดของโรคโควิด 19 เกริ่นนำ ในมราะรดูจกับโจรังคหโวคัดวใดิ น-1ส9ถานศกึ ษา บสทถบาานทกบาคุรณลาโ กรครสโคาวธิดาร-1ณ9สุขในการดำเนนิ งานปองกนั แพรระบาด การเตรยี มขคอวงาโมรคพโรคอ วมิดก1อ9นเใปนดสภถานคศเรกึ ยี ษนา(Reopening) ข้ันตอนการคัดกรองและสง ตอ นกั เรียนและบคุ ลากรในสถานศึกษา ในการปองกันควบคุมการแพรระบาดของโรคโควดิ 19 วิธกี ารตรวจคัดกรองสุขภาพ แนวปฎิบัตสิ ำหรบั สถานศกึ ษาระหวา งเปด ภาคเรยี น ผูบ รหิ าร เจา ของสถานศึกษา ครู ผดู แู ลนกั เรยี น นกั เรยี น ผูปกครอง แมค รัว ผจู ำหนายอาหาร ผปู ฏบิ ตั ิงานทำความสะอาด ดานอนามัยสิ่งแวดลอม : หองเรียน หองเรียนรวม หองสมุด หองประชุม หอประชุม โรงยมิ สนามกฬี า สถานทแ่ี ปรงฟน สระวา ยนำ้ สนามเดก็ เลน หอ งสว ม หอ งพกั ครู หอ งพยาบาล โรงอาหาร รถรบั – สง นกั เรยี น หอพกั นกั เรยี น หอ งนอนเดก็ เลก็ การเขา แถวเคารพธงชาติ จ คมู ือการปฏบิ ตั ิสำหรบั สถานศึกษาในการปอ งกนั การแพรระบาดของโรคโควดิ 19

ดา นอนามัยส่งิ แวดลอม หนา : หอ งเรยี น หอ งเรยี นรวม หอ งคอมพวิ เตอร หอ งดนตรี หอ งสมดุ 42 - 43 หอ งประชมุ หอประชมุ โรงยมิ สนามกฬี า สถานทแ่ี ปรงฟน 44 - 55 สระวา ยนำ้ สนามเดก็ เลน หอ งสว ม หอ งพกั ครู หอ งพยาบาล 56 - 69 โกรางรอเาขหาาแรถวรถเคราบั ร–พสสธง นงชากั าเรรตยี ิ นบหญั อพกั นกั เรยี น หอ งนอนเดก็ เลก็ 70 - 71 72 - 113 มาตรการปองกันการแพรระบาดของโรคโควดิ -19 กรณีเกิดการระบาด บทสรปุ แนวปฏิบตั ิสำหรบั สถานศกึ ษาในการปอ งกันการแพรระบาด ของโรคโควิด 19 ประเทศไทย สอื่ รอบรดู า นสุขภาพนักเรียน เอกสารอา งอิง ภาคผนวก แบบประเมินตนเองสำหรับสถานศึกษาในการเตรียมความพรอมกอนเปด ภาคเรยี น เพ่อื เฝาระวังและปองกนั การแพรระบาดของโรคโควิด 19 แบบประเมนิ ตนเองสำหรบั นกั เรยี นในการเตรยี มความพรอ มกอ นเปด ภาคเรยี น เพอื่ เฝาระวงั และปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควิด 19 แบบบนั ทกึ การตรวจคดั กรองสขุ ภาพสำหรบั นกั เรยี น บคุ ลากร หรอื ผมู าตดิ ตอ ในสถานศกึ ษา เพือ่ เฝา ระวงั และปองกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 การจดั การเรียนการสอนชวงเปด ภาคเรยี นของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร รองรบั สถานการณโรคโควดิ 19 แนวปฏบิ ตั ิตามแนวทางองคการอนามยั โลก (WHO)และบทเรยี นแนวปฏิบัติ ชวงเปด เรยี นในตา งประเทศ รองรับสถานการณโ รคโควิด 19 วธิ ปี ฏบิ ตั ิ : วดั ไข สวมหนา กาก ลา งมอื เวน ระยะหา ง ทำความสะอาด ลดแออดั วิธีการทำเจลลางมือ คำสั่งแตงตั้งคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการจัดทำมาตรการในการเตรียม ความพรอมการเปดภาคเรียน (Reopening) และคูมือการปฏิบัติ สำหรับ สถานศกึ ษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 และคณะทำงาน วชิ าการหลกั คูมือการปฏบิ ตั ิสำหรับสถานศึกษาในการปองกนั การแพรร ะบาดของโรคโควิด 19 ช

เกร่ินนำ มารูจ กั โรคโควดิ 19 โรคโควดิ 19 คอื อะไร โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โรคโควิด 19 (Coronavirus Disesse 2019 (COVID-19)) เปนตระกูลของไวรัสที่กอใหอาการปวยตั้งแตโรคไขหวัดธรรมดาไปจนถึง โรคที่มีความรุนแรงมาก เชน โรคระบบทางเดินหายใจตะวันออกกลาง (MERS-CoV) โรคระบบทางเดนิ หายใจเฉยี บพลนั รนุ แรง (SARS-CoV) เปน สายพนั ธใุ หมท ไ่ี มเ คยพบมากอ น ในมนษุ ย กอ ใหเ กดิ อาการปว ยระบบทางเดนิ หายใจในคนและสามารถแพร เชอ้ื จากคนสคู นได โดยเชื้อไวรัสนี้พบการระบาดครั้งแรกในเมืองอูฮั่น มณฑลหูเปย สาธารณรัฐประชาชนจีน ในชวงปลายป 2019 หลังจากนั้นไดมีการระบาดไปทั่วโลก องคการอนามัยโลกจึงตั้งชื่อ การตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนาสายพันธใุ หมน ีว้ า โรคโควิด 19 อาการของผปู วยโรคโควดิ 19 มีอาการอยางไร อาการทว่ั ไป ไดแ ก อาการระบบทางเดนิ หายใจ มไี ข ไอ มนี ำ้ มกู เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ไมไดกลิ่น ไมรูรส ในกรณีที่อาการรุนแรงมาก อาจทำใหเกิดภาวะแทรกซอน เชน ปอดบวม ปอดอักเสบ ไตวาย หรอื อาจเสยี ชีวิต โรคโควิด 19 แพรกระจายเชื้อไดอยางไร โรคชนิดนี้มีความเปนไปไดที่มีสัตวเปนแหลงรังโรค สวนใหญแพรกระจายผาน การสมั ผสั กบั ผตู ดิ เชอ้ื ผา นทางละอองเสมหะจากการไอ นำ้ มกู นำ้ ลาย ปจ จบุ นั ยงั ไมม หี ลกั ฐาน สนบั สนนุ การแพรก ระจายเชอ้ื ผา นทางการพน้ื ผวิ สมั ผสั ทม่ี ไี วรสั แลว มาสมั ผสั ปาก จมกู และ ตา สามารถแพรเชื้อผานทางเชื้อที่ถูกขับถายออกมากับอุจจาระเขาสูอีกคนหนึ่งโดยผาน เขาทางปาก (Feco-oral route) ไดดว ย โรคโควดิ 19 รักษาไดอยา งไร ยังไมมียาสำหรับปองกันหรือรักษาโรคโควิด 19 ผูที่ติดเชื้ออาจตองไดรับ การรกั ษาแบบประคบั ประคองตามอาการ โดยอาการทม่ี แี ตกตา งกนั บางคนรนุ แรงไมม าก ลกั ษณะเหมอื นไขห วดั ทว่ั ไป บางคนรนุ แรงมาก ทำใหเ กดิ ปอดอกั เสบได ตอ งสงั เกตอาการ ใกลชิดรวมกับการรักษาดวยการประคับประคองอาการจนกวาจะพนอาการชวงนั้น และยังไมมยี าตวั ใดท่มี ีหลกั ฐานชัดเจนวา รกั ษาโรคโควดิ 19 ไดโ ดยตรง ใครบา ง ทเ่ี ส่ยี งสูงตอการติดโรคโควิด 19 กลมุ เสย่ี งโดยตรงทอ่ี าจสมั ผสั กบั เชอ้ื ไดแ ก ผทู เ่ี พง่ิ กลบั จากพน้ื ทเ่ี สย่ี ง สมั ผสั ใกลช ดิ ผูปวยสงสัยติดเชื้อ กลุมเสี่ยงที่ตองระวัง หากติดเชื้ออาจมีอาการรุนแรง ไดแก ผูสูงอายุ 70 ปขึ้นไป ผูปวยโรคเรื้อรัง เชน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดหัวใจ ภูมแิ พ เดก็ เล็กอายุตำ่ กวา 5 ป 1 คูม อื การปฏิบตั ิสำหรบั สถานศึกษาในการปองกันการแพรระบาดของโรคโควดิ 19

สถานการณโรคโควิด 19 มีรายงานผูปวยโรคโควิด 19 ในประเทศที่มีการระบาดทั้งประเทศจีน ประเทศในทวีปยุโรป ประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศไทย แสดงใหเห็นวา เด็กติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ไดทุกอายุ แตอุบัติการณ นอยกวาผูใหญมาก เด็กมักมีประวัติสัมผัสใกลชิดกับผูที่ติดเชื้อในครอบครัว เด็กที่ปวยเปนโรคไวรัสโควิด 19 จะมเี ชอ้ื ในระบบทางเดนิ หายใจ บทบาทของเดก็ ในการเปน ผแู พรเ ชอ้ื ยงั ไมช ดั เจน แตก ารทพ่ี บเชอ้ื โคโรนาไวรสั ในทางเดนิ หายใจของผปู ว ยเดก็ และยงั สามารถพบเชอ้ื ในอจุ จาระได ทำใหเ ดก็ มโี อกาสเปน ผแู พรเ ชอ้ื สผู อู น่ื ได แมรายงานสวนใหญเด็กมักเปนผูรับเชื้อไวรัสโควิด 19 จากผูอื่น มีรายงานวาผูปวยโควิด 19 ที่เปนเด็ก มกั มอี าการไมร นุ แรง แตอ าจมอี าการรนุ แรงถงึ แกช วี ติ ในกรณที ม่ี โี รคอน่ื อยกู อ น หรอื เปน ผทู มี ภี มู คิ มุ กนั บกพรอ ง ในระยะหลังมีรายงานผูปวยที่มีอาการคลายโรคคาวาซากิ (Kawasaki Disease) บางรายมีอาการช็อค และเสยี ชวี ติ เกดิ ขน้ึ ในเดก็ ทม่ี สี ขุ ภาพดมี ากอ น เปน กลมุ อาการ Hyperinflammatory syndrome ทเ่ี กย่ี วขอ งกบั การตดิ เชอ้ื โควดิ 19 รายงานจากองั กฤษ สหรฐั อเมรกิ า อติ าลี จะเหน็ ไดว า โรคโควดิ 19 เปน โรคทอ่ี บุ ตั ขิ น้ึ มาใหม ไมเปนที่รูจักมากอน ความรูในดานอาการ อาการแสดง ความรุนแรงของโรค ยังไมเปนที่รูกันยังคงตองศึกษา และมีการเปลี่ยนแปลงขอ มลู ตลอดเวลา COVID-19 and Children Distribution by Age of COVID-19 Cases Distribution by Age of COVID-19 Cases in Pediatric Population 5-69,9y5e7ars 10-1104,3y5e7ars Age Group Number of Percentage of cases cases <56,y3e3a8rs 15-1168,7y1e7ars <5 years Under 5 years 6,336 0.45 5-9 years >_36856,y8e1a4rs 10-14 years 5-9 years 6,957 0.49 15-18 years 194-8474,9y1e5ars 19-44 years 10-14 years 10,357 0.73 45-64 years 455-0644,3y5e2ars >_ 65 years 15-18 years 16,717 1.18 Return to school 1/10 ท่มี า : COVID-19 – safe return to schools. CORONAVIRUS (C0VID-19) UPDATE NO.26. WHO , 15 MAY 2020 คูมอื การปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศกึ ษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 2

สถานศกึ ษาเปน สถานทท่ี ม่ี นี กั เรยี นอยรู วมกนั จำนวนมาก มกั จะมคี วามเสย่ี งสงู หากมรี ะบบการจดั การ ทีไ่ มดี อาจจะมกี ารแพรร ะบาดของเชื้อไวรสั โควดิ 19 ไดใ นกลมุ เด็ก เนื่องจากพบวา การติดเชื้อไวรัสโควิด 19 สว นใหญจ ะไมค อ ยมอี าการหรอื มอี าการแสดงคอ นขา งนอ ย ความรนุ แรงจะนอ ยมาก แตเ ดก็ นกั เรยี นจะเอาเชอ้ื กลับบาน อาจทำใหการแพรระบาดเกิดขึ้นไดรวดเร็ว (Super spread) ไปยังบุคคลในบาน หากมีการระบาด ในกลุมเด็กขึ้น จะมีผลกระทบในสังคมหรือผูใกลชิด เชน ครู พอแม ผูสูงอายุ ที่ติดเชื้อจากเด็ก จากรายงานสถานการณโ รคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 ประเทศไทย พบวา ผปู ว ยยนื ยนั ตดิ เชอ้ื สะสม จำนวน 3,017 ราย เด็ก อายุ 0 - 9 ป เปนผูปวยยืนยันติดเชื้อสะสม จำนวน 60 ราย คิดเปนรอยละ 1.9 เปน เดก็ อายุ 10 - 19 ป เปน ผปู ว ยยนื ยนั ตดิ เชอ้ื สะสม จำนวน 115 ราย คดิ เปน รอ ยละ 3.8 นอ ยกวา กลมุ ผใู หญ (ขอมูล ณ 12 พฤษภาคม 2563) ไมมีรายงานผูปวยเด็กที่เสียชีวิตในประเทศไทย อยางไรก็ตาม หากมี การเปดเรียน มีโอกาสสูงที่จะเกิดการติดเชื้อในกลุมเด็กเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเด็กเปนกลุมที่ตองไดรับการดูแลและ ระมัดระวังในการกระจายเชื้อเปนอยางมาก มาตรการในการเปดเทอม จึงมีความสำคัญมากในการควบคุม การระบาด การวางแผนเปด เทอม จึงตองม่ันใจวา ควบคุมไมใหเ กดิ การระบาดของโรคในเด็กนกั เรยี นได ผปู ว ย COVID-19 สะสม ประเทศไทย ถึงวันท่ี 12 พฤษภาคม 2563 ผูปว ยรายใหมว นั น้ี ผูปวยยนื ยนั สะสม หายปวยแลว เสยี ชีวติ 2 ราย 3,017 ราย 2,798 ราย 56 ราย 0/0State Q / ศูนยกักกนั ราย State Q / ศนู ยก กั กนั 90/65 ราย 2เพิ่มขน้ึ (ราย) 9ร2อย.7ละ4 0เพมิ่ ข้ึน (ราย) 1รอ .ย8ล6ะ (สะสม) (รายใหม) จำนวนผูปว ยยนื ยันจำแนกตามเพศ ชาย 1,638 ชาย กรุงเทพฯ และนนทบุรี ภาคเหนอื ภาคกลาง หญิง 1,379 หญิง 1,703 94 383 0 200 400 600 800 1K 1.2K 1.4K 1.6K 1.8K จำนวนผปู วยยืนยัน (ราย) ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ภาคใต 111 726 จำนวนผูปว ยยนื ยนั จำแนกตามกลุมอายแุ ละเพศ อายนุ อ ยท่ีสุด (เดอื น) อายุเฉล่ีย (ป) อายสุ งู สุด (ป) ชาย หญิง จำนวนผู ปวย ืยนยัน (ป) 800 1 39 97 600 460 350 400 อตั ราสว น หญงิ : ชาย 200 387 225 140 สูงสุดในกลุมอายุ จำนวนผูปวยสงู สดุ ในกลมุ 275 1 : 1.19 อายุ 20-29 ป 0 33 27 55 60 312 337 75 31 28 20-29 ป 148 772 ราย 0 - 9 10 - 19 20 - 29 30 - 39 40 - 49 50 - 59 60 - 69 70+ กลมุ อายุ (ป) แหลงขอมูลและจัดทาํ โดย : กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ ทีม่ า : https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/index.php 3 คูมือการปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศึกษาในการปองกนั การแพรระบาดของโรคโควดิ 19

การเตรียมความพรอมกอนเปดภาคเรียน (Reopening) ทำไมตองเปดเรียน การหยดุ ชะงกั ของการเรยี นการสอน อาจสง ผลกระทบอยา งรนุ แรงตอ ความสามารถในการเรยี นรขู องนกั เรยี น โดยเฉพาะกลุม เดก็ ดอยโอกาสหรือเด็กกลุม เปราะบาง หากหยดุ เรยี นนาน แนวโนม จะกลับคนื สถานศกึ ษาก็ยง่ิ ลดลง เด็กที่มาจากครอบครัวยากจนมีแนวโนมออกจากสถานศึกษาสูงกวาเด็กที่มาจากครอบครัวร่ำรวยเกือบหาเทา การออกจากระบบการศกึ ษาเพม่ิ ความเสย่ี งตอ การตง้ั ครรภใ นวยั รนุ และการแสวงหาประโยชนท างเพศ รวมทง้ั ปญ หา ความรุนแรงและการคุกคามอื่น ๆ นอกจากนี้ การปดสถานศึกษายาวนานมาก ทำใหบริการสุขภาพที่สำคัญตาง ๆ ทใ่ี ชโ รงเรยี นเปน ฐาน ตอ งหยดุ ชะงกั ดว ย เชน การฉดี วคั ซนี การประเมนิ ภาวะโภชนาการ โครงการอาหารกลางวนั และ การชวยเหลือดานสุขภาพจิตและจิตสังคม ทำใหนักเรียนเครียดและวิตกกังวลเนื่องจากขาดการมีปฏิสัมพันธ กับเพื่อนและไมไดทำกิจวัตรประจำวันตามปกติ ผลกระทบเชิงลบเหลานี้จะยิ่งรุนแรงมากขึ้นในกลุมเด็กดอยโอกาส เชน เดก็ พกิ าร เดก็ ในพน้ื ทเ่ี ฉพาะหรอื พน้ื ทห่ี า งไกล เดก็ ทถ่ี กู บงั คบั ใหโ ยกยา ยถน่ิ ฐาน ชนกลมุ นอ ย และเดก็ ในความดแู ล ของสถานสงเคราะหต า ง ๆ ทง้ั น้ี การเปด เรยี นจะตอ งคำนงึ ถงึ ความปลอดภยั และสอดคลอ งกบั มาตรการดา นสาธารณสขุ ในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 พรอ มทง้ั ปฏบิ ตั ติ ามมาตรการทเ่ี หมาะสมทกุ ประการสำหรบั ผบู รหิ าร เจาของสถานศกึ ษา นกั เรียน ครู บุคลากรสถานศึกษา และผูปกครอง ควรเปดเรยี นเมอ่ื ไหร ทไ่ี หน และสถานศึกษาใดบาง การเลือกเวลาที่เหมาะสมทสี่ ดุ ในการเปดภาคเรยี น ควรพจิ ารณาถึงประโยชนส งู สุดของนักเรียนเปน สำคญั รวมทงั้ ขอ ควรพจิ ารณาดา นสาธารณสุขโดยรวม บนพ้ืนฐานของการประเมินคณุ ประโยชนและความเสยี่ งทเ่ี กยี่ วขอ ง ประกอบกบั หลกั ฐานจากภาคสว นตา ง ๆ และบรบิ ทเฉพาะ รวมถงึ ปจ จยั ทส่ี ง ผลตอ การศกึ ษา สาธารณสขุ เศรษฐกจิ และสังคม การวิเคราะหสิ่งเหลานี้จะชวยจัดลำดับความสำคัญของมาตรการลดความเสี่ยงตาง ๆ นอกจากนี้ ควรให ผูมีสวนไดสวนเสียในระดับทองถิ่นมีสวนรวมในการตัดสินใจ เพื่อใหการดำเนินงานสอดคลองกับผลการวิเคราะห บริบทของทองถิ่นอยางแทจริง โดยคำนึงถึงประโยชนของการจัดการเรียนการสอนในหองเรียนเปรียบเทียบกับ การจัดการเรียนการสอนทางไกล และพิจารณาปจจัยเสี่ยงของการเปดสถานศึกษา รวมทั้งหลักฐานซึ่งยังไมไดสรุป แนช ดั เกย่ี วกบั ความสัมพันธร ะหวา งความเส่ยี งของการติดเชื้อกบั การเขา เรยี น ประกอบดว ย การเรียนการสอนในหองเรียนจำเปนเพียงใดตอการบรรลุผลการเรียนรูที่ตองการ (ความรูพื้นฐาน ความรู ทถ่ี า ยทอดได ความรดู จิ ทิ ลั ความรเู ฉพาะสาขาอาชพี ) โดยตระหนกั ถงึ ประเดน็ ตา ง ๆ เชน ความสำคญั ของ การมปี ฏสิ มั พนั ธโ ดยตรงกับครใู นการเรยี นรูผ า นการเลนของเดก็ เล็กและการพฒั นา ทักษะพ้ืนฐาน ความสามารถในการเขาถึงและความพรอมในการเรียนการสอนทางไกลที่มีคุณภาพมีมากนอยเพียงใด (ทั้งในดานผลการเรียนรู และความเหมาะสมกบั กลมุ อายุตา ง ๆ รวมทั้งกลุม เดก็ ดอยโอกาส) รปู แบบการเรยี นการสอนทางไกลในปจ จบุ นั รวมถงึ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นรู และสขุ ภาวะทางอารมณ และ สังคม จะยั่งยืนเพยี งใด หากผดู แู ลเด็กไดรับแรงกดดนั ในครอบครัวและปจจัยเชงิ บรบิ ทอ่ืน ๆ ผดู แู ลเด็กมีเคร่อื งมอื ทจ่ี ำเปนในการปกปองคุมครองเด็กจากการถูกคุกคามและการใชความรุนแรงทางเพศ ในโลกออนไลน เมื่อเดก็ เรียนผานแพลตฟอรม ออนไลนหรือไม คูมือการปฏิบตั ิสำหรับสถานศึกษาในการปองกนั การแพรร ะบาดของโรคโควิด 19 4

จุดเปลี่ยนผานสำคัญบนเสนทางของการศึกษา (ความพรอมในการเขาเรียน การสำเร็จชั้น ประถมศึกษา และเรยี นตอ ระดบั มธั ยมศกึ ษา หรอื การสำเรจ็ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาและเรยี นตอ ระดบั อดุ มศกึ ษา) ไดร บั ผลกระทบ จากการระบาดของโรคอยา งไร และมีมาตรการตอบสนองอยา งไร ครูและบุคลากรสถานศึกษา มีความพรอมและสามารถปรับตัวเขากับวิถีการเรียนรูและการบริหารจัดการ ที่แตกตางออกไปมากนอยเพียงใดและมีความพรอมและสามารถดำเนินมาตรการเพื่อปองกัน และควบคุม การแพรระบาดหรอื ไม การที่นักเรียนไมไดไปเรียนในสถานศึกษา มีความเสี่ยงดานการคุมครองเด็กหรือไม เชน ความเสี่ยง ดานความรนุ แรงในครอบครวั ท่เี พ่มิ ข้นึ หรือการแสวงหาประโยชนท างเพศจากเด็กชายและเดก็ หญงิ การปดสถานศึกษาเปนอุปสรรคตอโครงการชวยเหลือตาง ๆ สถานศึกษามีบริการใหกับนักเรียน หรือไม (เชน กจิ กรรมสงเสริมสขุ ภาพและโภชนาการ) การทน่ี กั เรยี นไมไ ดไ ปเรยี นในสถานศกึ ษาสง ผลกระทบดา นสงั คม เศรษฐกจิ และคณุ ภาพชวี ติ ของ นกั เรยี นอยา งไร สถานศกึ ษามศี กั ยภาพเพยี งใดในการปฏบิ ตั ติ ามมาตรการรกั ษาความปลอดภยั ของสถานศกึ ษา เพอ่ื ลดความเสย่ี ง เชน การเวน ระยะหา งทางสงั คม (จำนวนนกั เรยี นตอ ขนาดของหอ งเรยี น) สง่ิ อำนวยความสะดวกและแนวปฏบิ ตั ิ ดา นน้ำ สขุ าภิบาล และสขุ อนามัย เปนตน สมาชกิ ของสถานศกึ ษามโี อกาสตดิ ตอ สมั ผสั กบั กลมุ ทม่ี คี วามเสย่ี งสงู กวา เชน ผสู งู อายุ และผทู ม่ี โี รคประจำตวั มากนอ ยเพยี งใด และหากมโี อกาสตดิ ตอ สมั ผสั สงู สถานศกึ ษามกี ารดำเนนิ งานอยา งเพยี งพอเพอ่ื ลดโอกาส ดังกลา วลงหรือไม สมาชิกของสถานศกึ ษาเดนิ ทางไป – กลบั อยางไร ปจ จยั เสย่ี งทเ่ี กย่ี วขอ งกบั ชมุ ชนมอี ะไรบา ง โดยพจิ ารณาถงึ ปจ จยั ทางระบาดวทิ ยา ศกั ยภาพดา นสาธารณสขุ และ การดแู ลสขุ ภาพ ความหนาแนน ของประชากร การปฏบิ ตั ติ ามหลกั สขุ อนามยั ทด่ี แี ละการเวน ระยะหา งทางสงั คม การวิเคราะหคุณประโยชนและความเสีย่ งโดยคำนงึ ถงึ บริบทเฉพาะ จะชวยใหส ถานศกึ ษาสามารถ 1) ความเขา ใจเกยี่ วกับการแพรเ ช้ือโรคโควดิ 19 และความรุนแรงของโรคในประชากรวยั เรียน 2) สถานการณและการระบาดของโรคโควิด 19 ในพ้ืนทที่ ส่ี ถานศกึ ษาตง้ั อยู 3) บริบทและความพรอมของสถานศกึ ษาในการปองกันและควบคมุ โรคในสถานศึกษา 4) การประเมินผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับนักเรียน หากสถานศึกษาปด (อาทิ ความเสี่ยงตอการไมกลับ มาเรียนของนักเรียน การเพิ่มขึ้นของความเหลื่อมล้ำในการไดรับการศึกษา การขาดแคลนอาหาร ความรุนแรงในครอบครัวที่เพิ่มสูงขึ้นจากความไมแนนอนทางเศรษฐกิจ) และความจำเปนที่จะตอง เปด สถานศกึ ษา อยา งนอ ยเปนบางสว นใหแ กนักเรียนทีผ่ ูปกครองทำงานในภาคสวนทีม่ ีหนา ทค่ี วบคุม สถานการณโรคหรอื บริการสาธารณะท่จี ำเปนของประเทศ หากเปนไปได ควรมีเวลาอยางนอย 14 วัน (ซึ่งสอดคลองกับระยะฟกตัวของโรคโควิด 19) ระหวางแตละ ระยะ (phase) ของการยกเลกิ ขอ หา มตา ง ๆ เพอ่ื ใหม เี วลาเพยี งพอในการตดิ ตามผลและวางแผนปรบั มาตรการตา ง ๆ ไดอยา งเหมาะสม 5 คูมอื การปฏิบัตสิ ำหรับสถานศกึ ษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19

มาตรการการเตรียมความพรอมกอ นเปด ภาคเรยี น (Preparation before reopening) จากสถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 สง ผลกระทบอยา งมากตอ ทกุ ภาคสว น เมอ่ื สถานการณ เปนไปในทางทดี่ ีข้ึน การเปด สถานศกึ ษาหลังจากปด จากสถานการณ โควดิ 19 มคี วามจำเปนอยา งยง่ิ ในการ เตรียมความพรอมของสถานศึกษา การปฏิบัติตนของนักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษา เพื่อลดโอกาส การตดิ เชอ้ื และปอ งกนั ไมใ หเ กดิ การตดิ เชอ้ื โรคโควดิ 19 ใหเ กดิ ความปลอดภยั แกท กุ คน จงึ ควรมกี ารประเมนิ ความพรอ มการเปด ภาคเรยี นของสถานศกึ ษา ซง่ึ องคก ารเพอ่ื เดก็ แหง สหประชาชาตแิ ละองคก รภาคี ไดเ สนอ กรอบแนวทาง 6 มิติ ไดแก การดำเนินงานเพื่อความปลอดภัย การเรียนรู การครอบคลุมถึงเด็กดอยโอกาส สวัสดิภาพและการคุมครอง นโยบาย และการบริหารการเงิน จึงมีแนวคิดในการสรางความเชื่อมโยงกับ มาตรการปอ งกนั โรคเพอ่ื ปอ งกนั การแพรร ะบาดของโควดิ 19 ของศนู ยบ รหิ ารสถานการณก ารแพรร ะบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด 19) (ศบค.) อันจะเปนการวางแผนที่จะชวยสรางเสริมความเขมแข็ง ดานการคุมครองสุขภาพและความปลอดภัยของนักเรียน โดยมีมาตรการควบคุมหลักในมิติการดำเนินงาน เพอ่ื ความปลอดภยั จากการลดการแพรเ ชอ้ื โรค 6 ขอ ปฏบิ ตั ใิ นสถานศกึ ษา ไดแ ก 1. คดั กรองวดั ไข 2. สวมหนา กาก 3. ลางมือ 4. เวนระยะหาง 5. ทำความสะอาด 6. ลดแออดั 32.0 1. คดั กรองวดั ไข 2. สวมหนากาก 3. ลา งมอื เรียนรเู รอ่ื ง COVID-19 1m. - 2m. 4. เวนระยะหาง 5. ทำความสะอาด 6. ลดแออดั คูมอื การปฏิบัติสำหรับสถานศึกษาในการปอ งกันการแพรร ะบาดของโรคโควิด 19 6

โดยมีรายละเอียดแนวปฏิบัติแตละมาตรการ มาตรการควบคุมหลักในมติอื่น อาทิ การเรียนรู การครอบคลุมถึงเด็กดอยโอกาส สวัสดิภาพและการคุมครอง นโยบาย และการบริหารการเงิน ตลอดจน มาตรการเสริมในแตละมิติ ดังนั้น จึงมีความเชื่อมโยงตามกรอบแนวทาง 6 มิติกับมาตรการการปองกันโรค เพอ่ื ปองกนั การแพรระบาดของโควดิ 19 ในการเตรียมความพรอมกอ นเปดภาคเรียน มีดงั น้ี ความเชอ่ื มโยง 6 มิตกิ ับมาตรการการเตรยี มความพรอ มกอนเปด ภาคเรยี น มติ ิ มาตรการควบคุมหลกั มาตรการเสรมิ 1. ความปลอดภัย 1. มีมาตรการคัดกรองวัดไขและ 1. ทำความสะอาดพื้นที่ที่นักเรียน จากการลดการ อาการเสย่ี ง กอ นเขา สถานศกึ ษา ใชรวมกัน กอนและหลังใชงาน แพรเ ชอื้ โรค พรอ มสงั เกตอาการไข ไอ มนี ำ้ มกู ทุกครั้ง เชน หองคอมพิวเตอร เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหนอ่ื ยหอบ หองดนตรี ลฟิ ต อปุ กรณกฬี า ไมไ ดก ลน่ิ ไมร รู ส สำหรบั นกั เรยี น บุคลากรของ สถานศึกษา และ 2. จัดใหมีพื้นที่ในการเขาแถว ผมู าตดิ ตอ ทกุ คน ทำกิจกรรม หรือเลนกลุมยอย เวนระยะหางระหวางบุคคล 2. ใหน กั เรยี น บคุ ลากร และผเู ขา มา อยา งนอย 1 - 2 เมตร ในสถานศึกษา ทุกคนตองสวม หนา กากผา หรอื หนา กากอนามยั 3. ใหนักเรียนใชของใชสวนตัว ตลอดเวลาเมอ่ื อยใู นสถานศกึ ษา ไมใชสิ่งของรวมกับผูอื่น เชน แกวน้ำ ชอน สอม แปรงสีฟน 3. ใหม จี ดุ บรกิ ารลา งมอื ดว ยสบแู ละนำ้ ยาสีฟน ผาเช็ดหนา หรอื เจลแอลกอฮอลอ ยา งเพยี งพอ ในบรเิ วณตา งๆ เชน ทางเขา อาคาร 4. จัดใหมีหองพยาบาลสำหรับ หองเรียน โรงอาหาร แยกผมู อี าการปว ยระบบทางเดนิ หายใจออกจากผูมีอาการปวย 4. ใหจัดเวนระยะหางระหวาง ระบบอื่น ๆ หรือพิจารณาสงไป บุคคล อยางนอย 1 - 2 เมตร สถานพยาบาล เชน ระหวา งโตะ เรยี น ทนี่ ัง่ เรยี น ทน่ี ง่ั ในโรงอาหาร ทน่ี ง่ั พกั ทางเดนิ จุดรอคอย หองนอนเด็กเล็ก กรณีหองเรียนไมเพียงพอในการ จัดเวนระยะหางระหวางบุคคล ควรจัดใหมีการสลับวันเรียน แตละชั้นเรียน การแบงจํานวน นักเรียน หรือการใชพื้นที่ใชสอย บริเวณสถานศึกษา ตามความ เหมาะสม ทั้งนี้อาจพิจารณวิธี ปฏบิ ตั อิ น่ื ตามบรบิ ทความเหมาะสม โดยยดึ หลัก Social distancing 7 คูมือการปฏิบัติสำหรบั สถานศกึ ษาในการปองกนั การแพรร ะบาดของโรคโควิด 19

มิติ มาตรการควบคมุ หลกั มาตรการเสริม 5. เปดประตู หนาตางให อากาศ 5. จัดใหมีการสื่อสารความรู ถา ยเท ทำความสะอาดหอ งเรยี น การปองกันโรคโควิด 19 แก และบริเวณตาง ๆ โดยเช็ด นกั เรยี น บคุ ลากร เพอ่ื ใหส ามารถ ทำความสะอาดพนื้ ผวิ สมั ผสั ของ ลางมือ สวมและถอดหนากาก โตะ เกาอี้ และวัสดุอุปกรณ อยา งถกู วธิ ี การเกบ็ รกั ษาหนา กาก กอนเขาเรียน พักเที่ยง และ ชวงพักเที่ยงและการทำความ หลังเลิกเรียนทุกวัน รวมถึงจัด สะอาดสถานทแ่ี ละอปุ กรณข องใช ใหมีถังขยะมูลฝอยแบบมีฝาปด ที่ถูกสุขลักษณะ ตลอดจนจัด และรวบรวมขยะ ออกจาก ใหม นี กั เรยี นแกนนำดา นสขุ ภาพ หองเรียนเพื่อนำไปกำจัดทุกวัน นักเรียนที่มีจิตอาสาเปน อาสาสมัครในการชวยดูแล 6. ใหพ จิ ารณาควบคมุ จำนวนนกั เรยี น สขุ ภาพเพอ่ื นนกั เรยี นดว ยกนั หรอื ทม่ี ารว มกจิ กรรม ลดแออดั หรอื ดูแลรุนนอ งดวย ลดเวลาทำกิจกรรมใหสั้นลง เทาที่จำเปน หรือเหลื่อมเวลา 6. กรณี มีรถรับ - สงนักเรียน ทำกจิ กรรม โดยถอื หลกั หลกี เลย่ี ง เนนใหผูโดยสารทุกคน สวม การตดิ ตอ สัมผสั ระหวา งกัน หนา กากผา หรอื หนา กากอนามยั ทำความสะอาดยานพาหนะและ บริเวณจุดสัมผัสรวมกัน เชน ราวจบั เบาะนง่ั ทว่ี างแขน กอ นรบั และหลงั จากสง นกั เรยี นแลว ทกุ ครง้ั ลดการพูดคุยหรือเลนกันบนรถ ตลอดจนการจัดเวนระยะหาง ระหวางทีน่ ัง่ คูมือการปฏบิ ัตสิ ำหรบั สถานศึกษาในการปองกนั การแพรระบาดของโรคโควิด 19 8

มิติ มาตรการควบคุมหลกั มาตรการเสริม 2. การเรียนรู 1. จัดหาสื่อความรูในการปองกัน 1. กรณีเด็กเล็ก ไมแนะนำใหใช ควบคุมโรคโควิด 19 สำหรับ สอ่ื การเรยี นการสอนแบบออนไลน ใชใ นการเรยี นการสอน การเรยี นรู โดยขาดปฏิสัมพันธกับผูสอน นอกหอ งเรยี น หรอื กจิ กรรมพฒั นา ครู ผปู กครอง ผเู รยี น ในรปู แบบของสอ่ื ออนไลน : VTR , Animation , Infographic 2. ไมปลอยใหเด็กและวัยรุนอยูกับ และสอ่ื สง่ิ พมิ พ : โปสเตอร แผน พบั สอื่ ออนไลน (ทีไ่ มใชส ื่อการเรยี น ภาพพลกิ คูม ือ แนวปฏบิ ัติ การสอน) นานเกินไป โดยทั่วไป กำหนดระยะเวลา 2. เตรยี มความพรอ มดา นการเรยี นรู - 1 ชว่ั โมงตอ วนั สำหรบั เดก็ เลก็ / ของเดก็ ตามวยั และสอดคลอ งกบั ประถมศกึ ษา พฒั นาการดา นสงั คม อารมณ และ - 2 ชว่ั โมงตอ วนั สำหรบั เดก็ โต / สติปญญา มธั ยมศึกษา 3. สรา งความเขม แขง็ ของระบบดแู ล 3. สง เสรมิ ใหส ถานศกึ ษาและนกั เรยี น ชว ยเหลอื นกั เรยี น โดยบรู ณาการ ประเมินตนเองในการเตรียม กิจกรรมสงเสริมพัฒนานักเรียน ความพรอมกอนเปดภาคเรียน ดา นทกั ษะชวี ติ และความเขม แขง็ รองรบั สถานการณก ารแพรร ะบาด ทางใจเขา ในการเรยี นการสอนปกติ ของโรคโควิด 19 รวมถึงมี เพื่อชวยใหนักเรียนจัดการ การตรวจคดั กรองสขุ ภาพนกั เรยี น ความเครียดและรับมือกับการ อยางตอ เน่ือง เปล่ียนแปลงไดอ ยางเหมาะสม 4. สนับสนุนใหนักเรียนใชสื่อรอบรู ดานสุขภาพในรูปแบบและผาน ชองทางหลากหลายที่สามารถ เขาถึงได อันจะชวยสงเสริมให เกิดความรอบรูดานสุขภาพ นำไปสกู ารปฏบิ ตั ติ นดา นสขุ ภาพ ที่เหมาะสม สะทอนถึงการมี พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค ลดโรคและปลอดภัย 9 คมู ือการปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศกึ ษาในการปองกนั การแพรระบาดของโรคโควิด 19

มิติ มาตรการควบคมุ หลกั มาตรการเสริม 3. การครอบคลมุ 1. จัดหาวัสดุสิ่งของเครื่องใช 1. ประสานและแสวงหาการ ถงึ เดก็ ดอย และอุปกรณลางมือ เชน สบู สนบั สนนุ วสั ดอุ ปุ กรณก ารปอ งกนั โอกาส เจลแอลกอฮอล หนา กากผา หรอื โรคโควดิ 19 จากหนวยงานของ ก. เด็กพเิ ศษ หนากากอนามัยอยางเพียงพอ จังหวัดและผูเกี่ยวของ เชน ข. เดก็ ในพ้นื ท่ี สำหรับนักเรียนและบุคลากรใน ศบค.จ. ทองถิ่น เอกชน บริษัท เฉพาะหา งไกล สถานศึกษา ควรมีสำรอง หา งรา น ภาคประชาชน เปน ตน มาก โดยเฉพาะเด็กเล็กที่เปอนงาย เพราะถาชื้นแฉะจะไมสามารถ 2. ประสานการดำเนินงานตาม ปองกนั เช้ือได แนวทางพัฒนากิจกรรมผูเรียน ของกระทรวงศึกษาธิการ 2. มีการปรับรูปแบบการเรียน กรณีมีขอจำกัดดานเทคโนโลยี การสอนให สอดคลองกับบริบท ทางการศึกษา การเขา ถงึ การเรยี นรใู นสถานการณ การระบาดของโรคโควิด 19 3. ใชสื่อสรางความเขาใจเรื่อง โรคโควิด 19 และแนวทาง 3. มีมาตรการสงเสริมใหนักเรียน การดูแลตัวเอง โดยคำนึงถึง ไดรับบริการสุขภาพขั้นพื้นฐาน ขอจำกัดทางภาษาและสังคม อยางทั่วถงึ กลุมนักเรียน พิการเรียนรวม เลือกใชสื่อที่เปนรูปภาพ หรือ 4. มีมาตรการการทำความสะอาด เสียงที่เขาใจงายมากกวา และจัดสภาพแวดลอมของที่พัก ใชต วั อกั ษรเพยี งอยางเดียว และเรือนนอนใหถูกสุขลกั ษณะ 5. มีมาตรการการทำความสะอาด และจดั สภาพแวดลอ มใหส อดคลอ ง กับขอบัญญัติการปฏิบัติดาน ศาสนกจิ 6. มีมาตรการดูแลนักเรียนที่มี ความบกพรอง ดานพัฒนาการ การเรียนรู หรือดานพฤติกรรม อารมณ ที่สามารถเรียนรวมกับ เด็กปกติ ไดแกน กั เรียนที่มีภาวะ บกพรอ งทางสตปิ ญ ญา บกพรอ ง ทางการเรียนรู บกพรองดาน พฤติกรรมอารมณ รวมถึงภาวะ สมาธสิ นั้ และเด็กออทสิ ตกิ คมู อื การปฏบิ ตั ิสำหรบั สถานศึกษาในการปองกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 10

มิติ มาตรการควบคุมหลัก มาตรการเสรมิ 4. สวัสดภิ าพ และ 1. จดั เตรยี มแผนรองรบั ดา นการเรยี น 1. สื่อสารทำความเขาใจกับบุคคล การคุม ครอง การสอนสำหรับนักเรียนปวย ทกุ ฝา ย ใหข อ มลู ทใ่ี หค วามเชอ่ื มน่ั กักตัวหรือกรณีปดสถานศึกษา ในมาตรการปอ งกนั และการดแู ล ชว่ั คราว ตามระบบการดูแลชวยเหลือ ในสถานศึกษา โดยเฉพาะ 2. จัดเตรียมแนวปฏิบัติเพ่ือลดการ การระมัดระวัง การสื่อสารและ รังเกียจและการตีตราทางสังคม คำพูดที่มีผลตอทัศนคติ เพื่อลด (Social stigma) การรังเกียจ การตีตราทางสังคม (Social stigma) กรณีที่อาจพบ 3. จัดเตรียมแนวปฏิบัติดาน บคุ ลากร ในสถานศกึ ษา นกั เรยี น การจัดการความเครียดของครู ผูปกครองตดิ โรคโควิด 19 และบคุ ลากร 2. กรณนี กั เรยี นหรอื บคุ ลากรปว ยจรงิ 4. ตรวจสอบประวัติเสี่ยงของ ตองใหหยุดรักษาจนกวาจะหาย บคุ ลากรและนกั เรยี น ตรวจสอบ เปนปกติ โดยนำหลักฐาน เรื่องการกักตัวใหครบ 14 วัน ใบรบั รองแพทยม ายนื ยนั เพอ่ื กลบั กอนมาทำการเรียนการสอน เขาเรียนตามปกติ โดยไมถือวา ตามปกตแิ ละทุกวนั เปด เรยี น ขาดเรียนหรอื ขาดงาน 5. กำหนดแนวทางปฏิบัติตาม 3. กกั ตวั ผใู กลช ดิ กบั ผปู ว ยตามเกณฑ ระเบียบสำหรับบุคลากรและ ควบคมุ โรคและดำเนนิ การชว ยเหลอื นักเรียนที่สงสัยติดเชื้อหรือปวย เชนเดียวกับผูปวย ดวยโรคโควิด 19 โดยไมถือเปน วนั ลาหรือวนั หยดุ เรียน 11 คูมือการปฏบิ ตั ิสำหรับสถานศึกษาในการปองกันการแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19

มิติ มาตรการควบคมุ หลกั มาตรการเสริม 5. นโยบาย 1. สอ่ื สารประชาสมั พนั ธแ กค รแู ละ 1. จดั ระบบใหน กั เรยี นสามารถเขา ถงึ บคุ ลากรในสถานศกึ ษาใหม คี วามรู การศกึ ษาทม่ี คี ณุ ภาพอยา งตอ เนอ่ื ง ความเขาใจเบื้องตน เกี่ยวกับ กรณขี าดเรยี น ลาปว ย ปด สถาน โรคโควิด 19 ทักษะการลางมือ ศึกษา เชน จัดรูปแบบการเรียน การสวมหนา กากผา หรอื หนา กาก ออนไลน ผานสื่ออิเล็กทรอนิกส อนามยั สขุ ลกั ษณะสว นบคุ คลทด่ี ี การติดตอทางโทรศัพท Social รวมทง้ั การทำความสะอาดอยา ง media การติดตามเปนรายวัน ถกู วธิ ี หรือ รายสัปดาห 2. ประชมุ ชแ้ี จงคณะกรรมการสถาน 2. พิจารณาปดสถานศึกษาตาม ศึกษาขั้นพื้นฐานแบบออนไลน สถานการณและความเหมาะสม หรอื กลมุ ยอ ยตามความจำเปน กรณีนักเรียน ครู หรือ บุคลากร ในสถานศกึ ษาอยใู นกลมุ เสย่ี งหรอื 3. มแี ผนงาน โครงการ และกจิ กรรม เปนผูปวยยืนยันติดเชื้อเขามา รองรับนโยบายและแนวทาง ในสถานศกึ ษา ใหป ระสานองคก ร การปองกันโรคโควิด 19 ของ ปกครองสวนทองถิ่น เพื่อทำ สถานศึกษา ความสะอาดอาคารสถานที่ ทั้งภายในภายนอกอาคาร และ 4. แตงตั้งคณะทำงานรับผิดชอบ สิ่งของเครื่องใช รวมทั้งรีบแจง เกย่ี วกบั โรคโควดิ 19 ในสถานศกึ ษา หนวยงานสาธารณสุขในพื้นที่ ประกอบดว ยครูบคุ ลากรสถานศกึ ษา เพ่ือทำการสอบสวนโรค นักเรียน ผูปกครอง เจาหนาที่ สาธารณสุข และผเู กย่ี วของ 3. สื่อสารใหมีความรูเกี่ยวกับ การสังเกต อาการเสี่ยง การมี 5. กำหนดบทบาทหนาที่ โดยมอบ แนวโนม เสี่ยงตอการติดเชื้อ หมายครู ครอู นามยั หรอื บคุ ลากร โควิด 19 ไดงาย ไดแก เด็กที่มี สถานศึกษา ทำหนาที่คัดกรอง อาการสมาธิสั้น (เปนโรคที่มี วัดไขนักเรียน สังเกตสอบถาม อาการแสดงดาน พฤติกรรม : อาการเสี่ยงและประสานงาน ซนเกินไป ใจลอย รอคอยไมได เจาหนาที่สาธารณสุขในพื้นที่ รอคอยไดนอย) ทำใหเด็กกลุมนี้ ใหบ รกิ ารในหอ งพยาบาล รวมทง้ั เสี่ยงตอการ สัมผัสกับบุคคลอื่น การดแู ลทำความสะอาดในบรเิ วณ ลว ง แคะ สมั ผสั ใบหนา จมกู ปาก สถานศกึ ษาและบรเิ วณจุดเสย่ี ง ตัวเอง รวมทั้งหลงลืมการใส หนา กากผา หรอื หนา กากอนามยั คมู ือการปฏิบตั สิ ำหรบั สถานศึกษาในการปองกันการแพรระบาดของโรคโควดิ 19 12

มิติ มาตรการควบคุมหลัก มาตรการเสรมิ 5. นโยบาย (ตอ ) 6. สื่อสารทำความเขาใจผูปกครอง และนกั เรยี น โดยเตรยี มการกอ น เปดภาคเรียนหรือวันแรกของ การเปดเรียนเกี่ยวกับแนวทาง การปองกันโรคโควิด 19 และ มชี องทางการตดิ ตอสอ่ื สาร 7. สถานศกึ ษามกี ารประเมนิ ตนเอง เพื่อเตรียมความพรอมกอนเปด เรียนผานระบบออนไลนของ กระทรวงศึกษาธิการ / Thai STOP COVID กรมอนามยั หรอื ตามแบบประเมินตนเองสำหรับ สถานศกึ ษาในการเตรยี มความพรอ ม กอนเปดภาคเรียนเพื่อเฝาระวัง และปองกันการแพรระบาดของ โรคโควดิ 19 8. มีมาตรการการจัดการดาน ความสะอาด รถ รบั - สง นกั เรยี น และชแ้ี จงผปู ระกอบการ เพอ่ื ปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 โดยถือปฏิบตั อิ ยา งเครง ครัด 9. เสริมสรางวัคซีนชุมชนในสถาน ศกึ ษา โดยมาตรการ “4 สรา ง 2 ใช” - สรางสถานศกึ ษาทรี่ สู ึก... “ปลอดภัย”(safety) - สรา งสถานศกึ ษาท.่ี .... “สงบ” (calm) - สรางสถานศึกษาท่ีมี..... “ความหวงั ” (Hope) 13 คมู อื การปฏิบัติสำหรบั สถานศกึ ษาในการปองกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19

มิติ มาตรการควบคมุ หลัก มาตรการเสริม 5. นโยบาย (ตอ) - สรา งสถานศกึ ษาท.่ี .... 1. ประสานงานและแสวงหาแหลง ทนุ “เขาใจ เหน็ ใจและใหโอกาส” และการสนบั สนนุ จากหนว ยงาน 6. การบรหิ าร (De-stigmatization) องคกรหรือภาคเอกชน เชน การเงิน - ใชศักยภาพสถานศึกษาและ ทองถิ่น บริษัท หางราน NGO ชุมชน (Efficacy) เชน ระบบ เปนตน เพื่อสนับสนุนกิจกรรม ดแู ลชว ยเหลอื นกั เรยี น แบง ปน การปองกันการแพรระบาดของ ทรัพยากรในชุมชน โรคในสถานศึกษา - ใชสายสัมพันธในสถานศึกษา (Connectedness) 2. พจิ ารณาสรรหาบคุ ลากรเพม่ิ เตมิ 10. มีการกำกับ ติดตามใหมีการ ในการดูแลนักเรียนและการ ดำเนินงานตามมาตรการ จดั การสง่ิ แวดลอ มใน สถานศกึ ษา เพอ่ื ปอ งกนั การแพรร ะบาดของ โรคโควดิ 19 อยางเครง ครดั 1. พิจารณาการใชงบประมาณของ สถานศึกษาสำหรับกิจกรรม การปองกันการระบาดของ โรคโควิด 19 ตามความจำเปน และเหมาะสม 2. จัดหาวัสดุอุปกรณปองกัน โรคโควดิ 19 สำหรบั นกั เรยี นและ บุคลากรในสถานศึกษา เชน หนา กากผา หรอื หนา กากอนามยั เจลแอลกอฮอล สบู เปนตน คูมอื การปฏบิ ตั ิสำหรบั สถานศึกษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 14

การเตรียมความพรอมกอนเปดภาคเรียน ( Preparing the reopening of schools) หลังจาก ปด สถานศกึ ษาเนอ่ื งจากสถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 เปน สถานการณไ มป กติ ไมเ คยเกดิ ขน้ึ มากอ น มคี วามไมแ นน อน อาจตอ งปด หรอื เปด ตามสถานการณ สถานศกึ ษาควรมกี ารประเมนิ ความพรอ มของตนเอง เพอ่ื เตรยี มความพรอมกอนเปด เรยี น ผานระบบออนไลนข องกระทรวงศกึ ษาธิการ และ THAI STOP COVID กรมอนามัย มีกลไกการตรวจรับรองการประเมินจากหนวยงานหรือผูเกี่ยวของในพื้นที่ เชน คณะกรรมการ สถานศึกษาหรือหนวยงานสาธารณสุขในระดับพื้นที่ เปนตน แนะนำใหมีการคัดกรองสุขภาพนักเรียนและ บคุ ลากรทเ่ี กย่ี วขอ งกอ นเปด ภาคเรยี น ตามแบบประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา และแบบประเมนิ ตนเองของ นักเรียน (ภาคผนวก) 15 คมู อื การปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศกึ ษาในการปอ งกนั การแพรระบาดของโรคโควดิ 19

แผนผงั กลไกการดำเนนิ งานปองกนั การแพรระบาดของโรคโควิด 19 ระดับจังหวดั ในสถานศึกษา แผนผังกลไกการดำเนินงานปอ งกันการแพรร ะบาดของโรคโควิด 19 ระดับจังหวัด ในสถานศึกษา คณะกรรมการ สำนกั งาน ผูวาราชการจงั หวัด สพป. โรคติดตอจังหวัด สาธารณสขุ จังหวัด สพม. ศกึ ษาธกิ ารจังหวัด โรงพยาบาลศนู ย โรงพยาบาลทว่ั ไป พมจ. อบจ. ทน. / ทม. นายอำเภอ โรงพยาบาลชมุ ชน สำนักงาน คณะกรรมการพัฒนา สาธารณสขุ อำเภอ คุณภาพชวี ิต โรงพยาบาลสง เสรมิ ระดับอำเภอ (พชอ.) สุขภาพตำบล อสม. สถานศึกษา คณะกรรมการ สถานศึกษาข้นั พนื้ ฐาน สายบรหิ ารงาน สายบังคบั บญั ชา พมจ. - สำนักงานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ยจ งั หวดั อบจ. - องคก ารบริหารสวนจงั หวัด สพป.- สํานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาปฐมศกึ ษา สพม. -สาํ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา ทน. - เทศบาลนคร ทม. - เทศบาลเมอื ง อสม. - อาสาสมคั รสาธารณสุขประจำหมบู า น คมู ือการปฏบิ ัติสำหรบั สถานศกึ ษาในการปองกนั การแพรร ะบาดของโรคโควิด 19 16

บทบาทบคุ ลากรสาธารณสขุ ในการดำเนินงานปองกันการแพรร ะบาด ของโรคโควิด 19 ในสถานศกึ ษา สว นกลาง เขต/ศนู ยอ นามยั จังหวดั ระดับพ้ืนท่ี (อำเภอ/ตำบล) ประสานความรว มมอื สนับสนุนวิชาการ / ดำเนนิ งานตาม พรบ. / กำหนดบทบาทหนา ท่ี กำหนดแนวทาง / สื่อสนบั สนุน แนวทาง / มาตรการ ความรับผิดชอบ มาตรการ วางแผน และ จดั ทำแผนปฏบิ ตั กิ าร การประสานงานกับ จดั ทำแนวปฏบิ ตั ิ ประสานงานหนว ยงาน เฝา ระวงั ปองกัน สถานศึกษา ถา ยทอดสกู ารปฏบิ ตั ิ ทีเ่ กย่ี วขอ ง ควบคุมโรค การสนับสนุน สนบั สนนุ วชิ าการ สนับสนุน สงเสริม ประสาน ช้แี จง ดานวิชาการ ความรู องคค วามรู ติดตามประเมินผล หนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ ง คำแนะนำ สนบั สนนุ สอ่ื การเรยี นรู รวบรวมขอมูล การ เพอ่ื เตรยี มความพรอ ม สอ่ื ประชาสมั พนั ธ และ ดา นสขุ ภาพผาน ดำเนินงาน ดำเนินการ การสาธิต Online / ทางไกล สนบั สนนุ ดา นวชิ าการ การสนับสนุน และ กศธ. สอ่ื ประชาสมั พนั ธ จัดเตรยี มอปุ กรณ ตดิ ตามประเมนิ ผล วสั ดอุ ปุ กรณ ดำเนินการคัดกรอง วางระบบการคดั กรอง และสง ตอ และสง ตอ สรปุ ผลการดำเนนิ งาน ติดตามประเมนิ ผล 17 คูม ือการปฏบิ ตั ิสำหรบั สถานศึกษาในการปองกันการแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19

ขัน้ ตอนการดำเนนิ งานคัดกรองและสง ตอนักเรยี นและบคุ ลากรในสถานศกึ ษา ในการปองกนั ควบคุมการแพรร ะบาดของโรคโควิด 19 คัดกรองสุขภาพนกั เรียนและบคุ ลากรในสถานศึกษา กอ นเขาสถานศึกษา - วดั อณุ หภมู ดิ วยเคร่อื งวัดอุณหภมู ทิ างหนาผาก 1. จัดอุปกรณการคัดกรองสขุ ภาพ - ใหน ักเรยี นลา งมือดวยสบแู ละน้ำหรือใชเ จลแอลกอฮอล 2. จดั อปุ กรณก ารลา งมอื - ตรวจการใสห นากากผาหรือหนากากอนามัยทกุ คน 3. แบบบนั ทึกการตรวจคดั กรองสุขภาพ - กรณบี คุ คลภายนอกกรอกขอ มูลประวัติเสยี่ ง (นกั เรียนและบคุ ลากรไดร ับการประเมินความเสี่ยง กอ นเปดภาคเรียนทุกคน) ไมม ไี ข ( <37.5 c ) มีไข ( >_37.5 c ) กลมุ เสี่ยง หรือไมมอี าการทางเดินหายใจ หรอื มอี าการทางเดนิ หายใจ ติดสัญลกั ษณ - แยกนกั เรยี นไวท ห่ี อ งจดั เตรียมไว มีประวตั ิเสย่ี งสงู มีประวัตเิ ส่ียงตำ่ - เขา เรยี นตามปกติ - บนั ทกึ รายชื่อและอาการปว ย - แยกนกั เรยี นไวท ี่หองจดั เตรยี มไว - แยกนักเรียนไวท ี่หอ งจดั เตรียมไว - ปฏิบัติตามมาตรการการปอ งกนั - ประเมนิ ความเสี่ยง - บนั ทึกรายช่ือและอาการปวย - บันทึกรายชอื่ และอาการปวย - แจงผปู กครอง - แจงผปู กครองมารบั พาไปพบแพทย - แจง ผูป กครองมารับพาไปพบแพทย - แจงเจา หนา ทส่ี าธารณสขุ - แจง เจาหนาทีส่ าธารณสขุ พบประวตั เิ สย่ี ง ประเมินสถานการณก ารสอบสวนโรค ประเมินสถานการณก ารสอบสวนโรค ไมม ปี ระวตั ิเส่ียง เกบ็ ตวั อยา ง - ใหพ านักเรียนไปพบแพทย - กักตัวอยูบา น - ใหห ยุดพกั จนกวาจะหายเปน ปกติ - ตดิ ตามอาการใหค รบ 14 วนั ผรู ับผดิ ชอบตดิ ตามอาการนักเรียน และรายงานผลใหผ บู รหิ ารสถานศกึ ษา ผเู ก่ียวของ คมู อื การปฏบิ ตั ิสำหรบั สถานศกึ ษาในการปอ งกันการแพรร ะบาดของโรคโควิด 19 18

วิธีการตรวจคัดกรองสขุ ภาพ การตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องตนชวงสถานการณโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา ที่สำคัญ ไดแก การตรวจวัดอุณหภูมิรางกายหรือวัดไข การซักประวัติการสัมผัสในพื้นที่เสี่ยง การสังเกตอาการเสี่ยงตอ การตดิ เช้ือ โดยมีวิธีปฏบิ ัติที่สำคญั พอสงั เขป ดังนี้ วิธีการตรวจวัดอณุ หภมู ริ างกายหรือวัดไข มารจู กั เคร่อื งวัดอณุ หภมู ริ างกาย คนทว่ั ไปจะมอี ณุ หภมู ริ า งกายอยรู ะหวา ง 36.5 - 37.4 องศาเซลเซยี ส สำหรบั ผทู เ่ี รม่ิ มไี ขห รอื สงสยั วา ตดิ เชอื้ จะมอี ณุ หภูมทิ ม่ี ากกวา 37.5 องศาเซลเซียส เครอ่ื งวดั อุณหภมู ริ า งกาย มี 4 แบบ ไดแ ก 1) เครอ่ื งวดั อณุ หภมู แิ บบแทง แกว นยิ มใชว ดั อณุ หภมู ทิ างปากหรอื ทางรกั แรใ นผใู หญห รอื เดก็ โต แตไ มเ หมาะ สำหรับใชใ นเดก็ เล็ก ขอดี : อา นคาอณุ หภูมิมคี วามนา เชือ่ ถอื และมคี วามถกู ตอง ขอ เสีย : ใชเ วลาในการวัดนาน ไมเหมาะสมในการคดั กรองผปู วยจำนวนมาก 2) เครอ่ื งวดั อณุ หภมู ิแบบดจิ ิตอล หนาจอแสดงผลเปน แบบตวั เลข ทำใหงา ยตอ การอานคา เคร่อื งมือชนดิ น้ี นิยมใชในการวัดอุณหภูมิทางปากหรือทางรักแรในผูใหญหรือเด็กโต รวมถึงใชในการวัดอุณหภูมิทางทวาร ของเด็กเลก็ ดวย ขอ ดี : อา นคาอณุ หภมู มิ ีความนา เชอ่ื ถือและมคี วามถกู ตอ ง ขอเสยี : ใชเ วลาในการวดั นอ ยกวาแบบแทงแกว แตย งั ไมเหมาะในการใชในการคัดกรองคนจำนวนมาก 3) เครือ่ งวดั อณุ หภูมใิ นชองหู ใชวดั อณุ หภูมิความรอ นที่แพรอ อกมาของรา งกายโดยไมส มั ผสั กบั อวยั วะทวี่ ัด มีหนาจอแสดงผลเปนแบบตัวเลขทำใหงายตอการอานคา บริเวณปลายมีเซ็นเซอรวัดรังสีอินฟราเรดที่ รางกายแพรอ อกมา โดยเครือ่ งมือไดอ อกแบบใหว ัดทีบ่ รเิ วณเยอ่ื แกวหู ขอดี : อานคา อุณหภมู ไิ ดร วดเร็วเหมาะสมกบั การคัดกรองคนจำนวนมาก ขอ ควรระวงั : การปนเปอ นและติดเชอื้ จากทางหูกรณไี มเปล่ยี นปลอกหมุ 4) เคร่อื งวดั อณุ หภมู ทิ างหนา ผาก เปน เครื่องท่พี ฒั นามาเพือ่ ลดโอกาส ในการตดิ เชอื้ ของเครื่องวัดอุณหภมู ิในชองหู แตย งั คงวัดอณุ หภูมิ ไดอยางรวดเร็ว เพื่อใชในการคัดกรองผูปวยจำนวนมาก มีหนาจอแสดงผลเปน แบบตัวเลข บริเวณปลายมีเซน็ เซอรวัด รังสีอินฟราเรดที่ผิวหนัง โดยเครื่องมือไดออกแบบใหวัดที่ บริเวณหนาผาก ขอ ดี : อานคาอณุ หภมู ไิ ดรวดเรว็ เหมาะสมกบั การคดั กรอง คนจำนวนมาก 19 คูม ือการปฏิบัติสำหรับสถานศกึ ษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19

วธิ ีการวดั อุณหภมู ทิ างหนาผาก 1. ตั้งคา การใชง านเปนแบบวัดอุณหภูมริ า งกาย (Body Temperature) เคร่อื งวดั อุณหภมู ิทางหนา ผาก มี 2 แบบ คอื - แบบวดั อณุ หภมู พิ น้ื ผวิ (Surface Temperature) ใชว ดั อณุ หภมู วิ ตั ถทุ ว่ั ไป เชน ขวดนม อาหาร - แบบวดั อณุ หภมู ริ า งกาย (Body Temperature) ใชว ดั อณุ หภมู ผิ วิ หนงั จะแสดงคา เปน อณุ หภมู ริ า งกาย 2. วดั อณุ หภมู ิ โดยชเ้ี ครอ่ื งวดั อณุ หภมู ไิ ปทบ่ี รเิ วณหนา ผาก ระยะหา งประมาณ 3 เซนตเิ มตร ทง้ั น้ี ขน้ึ อยกู บั ผลติ ภณั ฑต ามคาแนะนาทก่ี าหนด แลว กดปมุ บนั ทกึ ผลการวดั ขณะทาการวดั ไมค วรสา ยมอื ไปมาบน ผิวหนังบรเิ วณทีท่ าการวัด และไมค วรมีวตั ถุอืน่ บัง เชน เสน ผม หมวก หนา กาก เหงอ่ื เปนตน การอานคาผลการอานคาผลการวัด เมื่อมีสัญญาณเสียงหรือสัญลักษณ แสดงวา ทาการวัดเสร็จ หากอานคาผลไมชัดเจน สามารถวัดซาได คาผลการวัดไมเทากัน ใหใชคาผลมากที่สุด โดยทั่วไปอุณหภูมิ รางกายปกติอยูในชวงระหวาง 36.1-37.2 องศาเซนเซียส หากตรวจวัดอุณหภูมิรางกาย ตั้งแต 37.5 องศา เซลเซยี ส ขึน้ ไป ถือวา มไี ข ตอ งไดร บั การตรวจวนิ จิ ฉยั ตอ ไป ขอควรระวัง ศึกษาคมู ือการใชงานเครอ่ื งวัดอุณหภูมกิ อนการใชงาน เครื่องวดั อุณหภูมผิ ิวหนังควรอยใู นสภาวะแวดลอมของพน้ื ท่ีทำการวดั ไมนอยกวา 30 นาที เพอ่ื ใหอุณหภูมิ ของเครื่องวดั เทา กบั อุณหภูมแิ วดลอม ไมควรสัมผัสหรือหายใจบนเลนสของหัววัด หากมีสิ่งสกปรกบนเลนสใหใชผานุมแหง หรือ สำลีพันกานไม ทำความสะอาด ไมค วรเชด็ ดว ยกระดาษทชิ ชู ผูรับการตรวจวัดวัดควรอยูในบริเวณจุดตรวจวัดอยางนอย 5 นาที กอนการวัด ไมควรออกกำลังกายหรือ อาบนำ้ กอ นถกู วดั อณุ หภมู เิ ปน เวลาอยา งนอ ย 30 นาที การถอื เครอ่ื งวดั อณุ หภมู หิ นา ผากเปน เวลานานมผี ล ใหอณุ หภูมิภายในของเครือ่ งวดั สูงขึน้ และจะสง ผลการวัดอณุ หภมู ิรางกายผดิ พลาด อุณหภูมิรางกายขึ้นอยูกับการเผาผลาญพลังงานของแตละคน เสื้อผาที่สวมใสขณะทำการวัดอุณหภูมิ แวดลอม กจิ กรรมที่ทำ ผทู ม่ี ปี ระวตั ไิ ขห รอื วดั อณุ หภมู กิ ายได ตง้ั แต 37.5 องศาเซลเซยี ส ขน้ึ ไป รว มกบั อาการทางเดนิ หายใจ อยางใดอยางหนง่ึ (มีนำ้ มูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนอ่ื ยหอบ ไมไดกลน่ิ ไมรรู ส) และมปี ระวัตสิ มั ผัสใกลชดิ กับผูปวยยืนยัน ในชวง 14 วันกอนมีอาการ ถือวา เปนผูสัมผัสความเสี่ยง (กลุมเสี่ยง) ตองรีบแจงเจาหนาที่ สาธารณสุขดำเนนิ การตอไป คมู ือการปฏิบัตสิ ำหรับสถานศกึ ษาในการปองกันการแพรระบาดของโรคโควิด 19 20

ขน้ั ตอนการซักประวัตแิ ละสังเกตอาการเส่ยี ง โดยสอบถามเกย่ี วกบั ประวตั กิ ารสมั ผสั ในพน้ื ทเ่ี สย่ี ง พน้ื ทท่ี ม่ี ผี ปู ว ยตดิ เชอ้ื หรอื พน้ื ทท่ี ม่ี คี นจำนวนมาก และ สงั เกตอาการเสย่ี งตอ การตดิ เชอ้ื หรอื อาการทางเดนิ หายใจ เชน ไอ มนี ำ้ มกู เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหนอ่ื ยหอบ ไมไ ดกลิ่น ไมรูรส เปน ตน โดยมีวิธปี ฏบิ ตั ิ ดังนี้ 1) จดั ตง้ั จดุ คดั กรองบรเิ วณทางเขา ของสถานศกึ ษา พจิ ารณากำหนดจดุ คดั กรองตามความเหมาะสมกบั จำนวน นักเรยี น โดยยดึ หลกั Social distancing 2) วัดอณุ หภมู ิตามคำแนะนำของเคร่อื งวดั อุณหภมู ติ ามผลิตภัณฑน ัน้ พรอมอานคา ผลทไ่ี ด (มากกวา 37.5 องศาเซลเซียล ถือวา มไี ข) 3) ใหผ ูรบั การตรวจคดั กรองลา งมอื ดว ยสบแู ละน้ำ หรอื ใชเจลแอลกอฮอลทำความสะอาดมอื 4) ตรวจสอบการสวมหนา กาก (Check mask) ของบคุ คลทุกคนทเ่ี ขามาในสถานศกึ ษา 5) สอบถามและซักประวัติการเคยไปสัมผัสในพื้นที่เสี่ยง พื้นที่ที่มีผูปวยติดเชื้อ หรือพื้นที่ที่มีคนจำนวนมาก และสังเกตอาการเสี่ยงตอการติดเชื้อหรืออาการทางเดินหายใจ เชน ไอ มีน้ำมูก เจ็บ คอ หายใจลำบาก เหนอ่ื ยหอบ ไมไดกลิ่น ไมรรู ส เปนตน รวมถงึ บันทกึ ผลลงในแบบบันทึกการตรวจคดั กรองสุขภาพสำหรบั นักเรียน บคุ ลากร หรอื ผมู าติดตอในสถานศกึ ษา (ภาคผนวก) กรณี วดั อณุ หภมู ิรา งกายได ไมเกิน 37.5 องศาเซลเซียส และไมมีอาการทางเดินหายใจ (ไอ มีนำ้ มูก เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหนอ่ื ยหอบ ไมไ ดก ลน่ิ ไมร รู ส) ไมม ปี ระวตั สิ มั ผสั ใกลช ดิ กบั ผปู ว ยยนื ยนั ในชว ง 14 วนั กอนมีอาการ ถือวา ผานการคัดกรอง จะติดสัญลักษณหรือสติ๊กเกอร ใหเขาเรียนหรือปฏิบัติงานไดตามปกติ กรณี วัดอณุ หภมู ิรา งกาย ต้ังแต 37.5 องศาเซลเซียส ขน้ึ ไป หรือ มไี ข รว มกบั อาการทางเดนิ หายใจ อยางใดอยา งหนึง่ (ไอ มีน้ำมกู เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหน่อื ยหอบ ไมไ ดกลิ่น ไมรูรส) ใหป ฏิบัติ ดงั นี้ แยกนักเรยี นไปไวท่หี อ งแยกซ่งึ จดั เตรียมไว บันทกึ รายชอ่ื และอาการปว ย ประเมินความเสี่ยง แจงผปู กครอง หากไมมีประวัติเสี่ยง ใหพานักเรียนไปพบแพทย และใหหยุดพักจนกวาจะหายเปนปกติ 21 คูม ือการปฏิบัติสำหรับสถานศึกษาในการปอ งกันการแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19

หากตรวจพบวา มีประวัติเสี่ยง และ/หรือมีประวัติสัมผัสใกลชิดกับผูปวยยืนยันหรือสงสัย มีประวัติ เดนิ ทางไปในพน้ื ทเ่ี สย่ี งหรอื พน้ื ทเ่ี กดิ โรค ไปในพน้ื ทท่ี ม่ี คี นแออดั จำนวนมาก ในชว ง 14 วนั กอ นมอี าการ ถอื วา เปน ผสู มั ผสั ทม่ี คี วามเสย่ี ง (กลมุ เสย่ี ง) โดยจำแนกเปน กลมุ เสย่ี งมปี ระวตั เิ สย่ี งสงู และกลมุ เสย่ี งมปี ระวตั เิ สย่ี งตำ่ ใหปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี กลมุ เส่ียงมีประวัตเิ ส่ียงสงู แยกนกั เรียนไปไวท ่ีหอ งแยกซ่ึงจดั เตรยี มไว บันทกึ รายช่อื และอาการปว ย แจงผปู กครอง ใหมารบั นักเรยี น แลว พาไปพบแพทย แจงเจา หนา ท่ีสาธารณสขุ ประเมินสถานการณก ารสอบสวนโรค ทำความสะอาดจดุ เสยี่ งและบรเิ วณโดยรอบ เกบ็ ตัวอยา ง กักตวั อยบู าน ตดิ ตามอาการใหค รบ 14 วัน ครูรวบรวมขอมูลและรายงานผลใหผ บู รหิ ารสถานศกึ ษา ผูเก่ยี วของ กลมุ เสี่ยงมีประวัติเส่ียงต่ำ แยกนักเรยี นไปไวที่หองแยกซง่ึ จัดเตรยี มไว บนั ทกึ รายชื่อและอาการปวย แจง ผูป กครอง ใหม ารับนกั เรยี น แลวพาไปพบแพทย แจงองคกรปกครองสวนทองถิน่ แจง ทอ งถิน่ ทำความสะอาด จุดเส่ยี ง และบรเิ วณโดยรอบ ตดิ ตามอาการใหครบ 14 วนั ครรู วบรวมขอ มูลและรายงานผลใหผ ูบรหิ ารสถานศกึ ษา ผูเกีย่ วขอ ง คูม อื การปฏิบตั ิสำหรบั สถานศึกษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควิด 19 22

แนวปฎบิ ตั สิ ำหรับสถานศกึ ษาระหวางเปด ภาคเรียน ผทู ม่ี ปี ระวตั ไิ ขห รอื วดั อณุ หภมู กิ ายได ตง้ั แต 37.5 องศาเซลเซยี ส ขน้ึ ไป รว มกบั อาการทางเดนิ หายใจ อยา งใดอยา งหน่งึ (มีนำ้ มูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนอื่ ยหอบ ไมไดก ล่ิน ไมร ูรส) และมปี ระวตั สิ ัมผัสใกลช ดิ กับผูปวยยืนยัน ในชวง 14 วันกอนมีอาการ ถือวา เปนผูสัมผัสความเสี่ยง (กลุมเสี่ยง) ตองรีบแจงเจาหนาที่ สาธารณสขุ ดำเนนิ การตอ ไป หลักปฏบิ ัตใิ นการปอ งกันการแพรระบาดของโรคโควดิ 19 ในสถานศึกษา 1) คัดกรอง (Screening) : ผทู ่ีเขา มาในสถานศกึ ษาทกุ คน ตองไดร บั การคดั กรองวัดอุณหภมู ิรางกาย 2) สวมหนา กาก (Mask) : ทุกคนตองสวมหนา กากผา หรือหนา กากอนามยั ตลอดเวลาท่อี ยใู นสถานศึกษา 3) ลางมือ : ลา งมอื บอ ย ๆ ดว ยสบแู ละนำ้ นานอยา งนอ ย 20 วนิ าที หรอื ใชเ จลแอลกอฮอล (Hand Washing) หลกี เลย่ี งการสมั ผสั บรเิ วณจดุ เสย่ี ง เชน ราวบนั ได ลกู บดิ ประตู เปน ตน รวมทง้ั ไมใชมอื สมั ผัส ใบหนา ตา ปาก จมกู โดยไมจ ำเปน 4) เวนระยะหา ง : เวน ระยะหา งระหวา งบคุ คล อยา งนอ ย 1 - 2 เมตร รวมถงึ การจดั เวน ระยะหา ง (Social Distancing) ของสถานท่ี 5) ทำความสะอาด : เปด ประตู หนา ตา ง ใหอ ากาศถา ยเท ทำความสะอาดหอ งเรยี น และบรเิ วณตา ง ๆ (Cleaning) โดยเชด็ ทำความสะอาดพน้ื ผวิ สมั ผสั ของโตะ เกา อ้ี และวสั ดอุ ปุ กรณ กอ นเขา เรยี น ชว งพกั เทย่ี ง และหลงั เลกิ เรยี นทกุ วนั รวมถงึ จดั ใหม ถี งั ขยะมลู ฝอยแบบมฝี าปด และรวบรวมขยะออกจากหองเรยี น เพอื่ นำไปกำจดั ทกุ วัน 6) ลดแออัด (Reducing) : ลดระยะเวลาการทำกิจกรรมใหสั้นลงเทาที่จำเปนหรือเหลื่อมเวลาทำกิจกรรม และหลีกเล่ยี งการทำกจิ กรรมรวมตวั กนั เปน กลุมลดแออดั 23 คมู ือการปฏิบัตสิ ำหรับสถานศึกษาในการปอ งกันการแพรร ะบาดของโรคโควิด 19

เพอ่ื ใหแ นวปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศกึ ษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 เกดิ ประโยชนแ ละ มผี ลกระทบในทางทด่ี ตี อ บคุ ลากรทเ่ี กย่ี วขอ ง ไดแ ก ผบู รหิ าร เจา ของสถานศกึ ษา ครู ผดู แู ลนกั เรยี น ผปู กครอง นักเรยี น และแมครวั ผจู ำหนายอาหาร ผปู ฏบิ ัตงิ านทำความสะอาด ดังน้ัน จงึ กำหนดใหม ีแนวปฏบิ ตั ิสำหรบั บุคลากรของสถานศกึ ษาสำหรบั ใชเ ปน แนวทางการปฏบิ ตั ติ นอยางเครงครดั มดี งั นี้ แนวปฎบิ ตั ิสำหรับผบู ริหาร เจา ของสถานศกึ ษา 1. ประกาศนโยบายและแนวปฏิบัติการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 ในสถานศึกษา 2. จัดตั้งคณะทำงานดำเนินการควบคุมดูแลและปองกันการแพรระบาดของโรคโควิด 19 ประกอบดวย ครู นกั เรียน ผูปกครอง เจา หนา ทสี่ าธารณสุข ทองถนิ่ ชุมชน และผเู กย่ี วขอ ง พรอ มบทบาทหนา ท่ี 3. ทบทวน ปรับปรุง ซอมปฏิบัติตามแผนฉุกเฉินของสถานศึกษาในภาวะที่มีการระบาดของโรคติดเชื้อ (Emergency operation for infectious disease outbreaks) 4. สอ่ื สารประชาสมั พนั ธก ารปอ งกนั โรคโควดิ 19 เกย่ี วกบั นโยบาย มาตรการ แนวปฏบิ ตั ิ และการจดั การเรยี น การสอนใหแกครู นักเรียน ผูปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษา ผานชองทางสื่อที่เหมาะสม และ ติดตามขอ มูลขา วสารทเี่ ก่ยี วขอ งกับโรคโควดิ 19 จากแหลงขอมลู ทีเ่ ช่ือถอื ได 5. สอ่ื สารทำความเขา ใจเพอ่ื ลดการรงั เกยี จและลดการตตี ราทางสงั คม (Social stigma) กรณอี าจพบบคุ ลากร ในสถานศึกษา นักเรียน หรือผูปกครองตดิ เชือ้ โรคโควดิ 19 6. มีมาตรการคัดกรองสุขภาพทุกคน บริเวณจุดแรกเขาไปในสถานศึกษา (Point of entry) ใหแก นักเรียน ครู บคุ ลากร และผมู าตดิ ตอ และจดั ใหม พี น้ื ทแ่ี ยกโรค อปุ กรณป อ งกนั เชน หนา กากผา หรอื หนา กากอนามยั เจลแอลกอฮอล อยา งเพยี งพอ รวมถงึ เพม่ิ ชอ งทางการสอ่ื สารระหวา งครู นกั เรยี น ผปู กครอง และเจา หนา ท่ี สาธารณสขุ ในกรณีท่พี บนักเรียนกลุมเสี่ยงหรือสงสัย 7. ควรพิจารณาการจัดใหนักเรียนสามารถเขาถึงการเรียนการสอนที่มีคุณภาพเหมาะสมตามบริบท ไดอยางตอเนื่อง ตรวจสอบติดตาม กรณีนักเรียนขาดเรียน ลาปวย การปดสถานศึกษา การจัดให มกี ารเรยี นทางไกล สอ่ื ออนไลน การตดิ ตอ ทางโทรศพั ท Social media โดยตดิ ตามเปน รายวนั หรอื สปั ดาห 8. กรณีพบนักเรียน ครู บุคลากร หรือผูปกครองอยูในกลุมเสี่ยงหรือผูปวยยืนยันเขามาในสถานศึกษา ใหร บี แจง เจา หนา ทส่ี าธารณสขุ ในพน้ื ท่ี เพอ่ื ดำเนนิ การสอบสวนโรคและพจิ ารณาปด สถานศกึ ษา ตามแนวทาง ของกระทรวงสาธารณสุข 9. มมี าตรการใหน กั เรยี นไดร บั อาหารกลางวนั และอาหารเสรมิ นมตามสทิ ธทิ ค่ี วรไดร บั กรณพี บอยใู นกลมุ เสย่ี ง หรอื กักตวั 10. ควบคมุ กำกบั ตดิ ตาม และตรวจสอบการดำเนนิ งานตามมาตรการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 ในสถานศกึ ษาอยา งเครง ครัดและตอเน่ือง คมู อื การปฏิบัตสิ ำหรบั สถานศกึ ษาในการปองกันการแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 24

แนวปฏบิ ัติสำหรับครู ผูด แู ลนกั เรียน 1. ติดตามขอมูลขาวสารสถานการณการแพรระบาดของโรค พื้นที่เสี่ยง คำแนะนำการปองกันตนเอง และลดความเสยี่ งจากการแพรก ระจายของเชอ้ื โรคโควิด 19 จากแหลง ขอมูลท่ีเชือ่ ถือได 2. สังเกตอาการปวยของตนเอง หากมีอาการไข ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ไมไดกลิ่น ไมรูรส ใหหยุดปฏิบัติงาน และรีบไปพบแพทยทันที กรณีมีคนในครอบครัวปวยดวยโรคโควิด 19 หรือ กลับจากพื้นที่เสี่ยงและอยูในชวงกักตัว ใหปฏิบัติตามคำแนะนำของเจาหนาที่สาธารณสุขอยางเครงครัด 3. แจงผูปกครองและนักเรียน ใหนำของใชสวนตัวและอุปกรณปองกันมาใชเปนของตนเอง พรอมใช เชน ชอน สอม แกวนำ้ แปรงสฟี น ยาสีฟน ผา เช็ดหนา หนา กากผาหรือหนากากอนามยั เปน ตน 4. สอ่ื สารความรคู ำแนะนำหรอื จดั หาสอ่ื ประชาสมั พนั ธใ นการปอ งกนั และลดความเสย่ี งจากการแพรก ระจาย โรคโควิด 19 ใหแกนักเรียน เชน สอนวิธีการลางมือที่ถูกตอง การสวมหนากากผาหรือหนากากอนามัย คำแนะนำการปฏบิ ตั ติ วั การเวน ระยะหา งทางสงั คม การทำความสะอาด หลกี เลย่ี งการทำกจิ กรรมรว มกนั จำนวนมากเพ่อื ลดความแออัด 5. ทำความสะอาดสอ่ื การเรยี นการสอนหรอื อปุ กรณข องใชรวมทเ่ี ปนจดุ สมั ผสั เสย่ี ง ทกุ ครั้งหลงั ใชงาน 6. ควบคมุ ดแู ลการจดั ทน่ี ง่ั ในหอ งเรยี น ระหวา งโตะ เรยี น ทน่ี ง่ั ในโรงอาหาร การจดั เวน ระยะหา ง ระหวา งบคุ คล อยางนอย 1 - 2 เมตร หรือเหลื่อมเวลาพักกินอาหารกลางวัน และกำกับใหนักเรียน สวมหนากากผาหรือ หนา กากอนามัยตลอดเวลา และลา งมอื บอย ๆ 7. ตรวจสอบ กำกับ ติดตามการมาเรียนของนักเรียนขาดเรียน ถูกกักตัว หรืออยูในกลุมเสี่ยงตอการติดโรค โควดิ 19 และรายงานตอผบู รหิ าร 8. ทำการตรวจคดั กรองสขุ ภาพทกุ คนทเ่ี ขา มาในสถานศกึ ษาในตอนเชา ทง้ั นกั เรยี น ครู บคุ ลากร และผมู าตดิ ตอ โดยใชเครื่องวัดอุณหภูมิรางกาย พรอมสังเกตอาการและสอบถามอาการของ ระบบทางเดินหายใจ เชน ไข ไอ มนี ำ้ มกู เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหนอ่ื ยหอบ ไมไ ดก ลน่ิ ไมร รู ส โดยตดิ สญั ลกั ษณ สตก๊ิ เกอรห รอื ตราปม แสดงใหเ ห็นชดั เจนวา ผา นการคดั กรองแลว กรณีพบนักเรียนหรือผูมีอาการมีไข อุณหภูมิรางกายตั้งแต 37.5 องศาเซลเซียสขึ้นไป รวมกับ อาการระบบทางเดินหายใจอยางใดอยางหนึ่ง จัดใหอยูในพื้นที่แยกสวน ใหรีบแจงผูปกครองมารับและ พาไปพบแพทย ใหหยุดพักที่บานจนกวาจะหายเปนปกติ พรอมแจงเจาหนาที่สาธารณสุขเพื่อประเมิน สถานการณและดำเนินการสอบสวนโรค และแจงผูบริหารเพื่อพิจารณาการปดสถานศึกษาตามมาตรการ แนวทางของกระทรวงสาธารณสุข บนั ทกึ ผลการคัดกรองและสง ตอ ประวตั กิ ารปว ย ตามแบบบนั ทึกการตรวจสขุ ภาพ จัดอุปกรณการลางมือ พรอมใชงานอยางเพียงพอ เชน เจลแอลกอฮอลวางไวบริเวณทางเขา สบูล า งมอื บรเิ วณอางลา งมอื 25 คมู ือการปฏิบตั สิ ำหรับสถานศึกษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19

9. กรณคี รสู งั เกตพบนกั เรยี นทม่ี ปี ญ หาพฤตกิ รรม เชน เดก็ สมาธสิ น้ั เดก็ ทม่ี คี วามวติ กกงั วลสงู อาจมพี ฤตกิ รรม ดดู นว้ิ หรอื กดั เลบ็ ครสู ามารถตดิ ตามอาการและนำเขา ขอ มลู ทส่ี งั เกตพบในฐานขอ มลู ดา นพฤตกิ รรมอารมณ สงั คมของนกั เรยี น (หรอื ฐานขอ มลู HERO) เพอ่ื ใหเ กดิ การดแู ลชว ยเหลอื รว มกบั ผเู ชย่ี วชาญดา นสขุ ภาพจติ ตอ ไป 10. วิธีการปรับพฤติกรรมสำหรับนักเรียนที่ไมรวมมือปฏิบัติตามมาตรการที่ครูกำหนด ดวยการแกปญหา การเรียนรูใหมใหถูกตอง นั่นคือ “สรางพฤติกรรมที่พึงประสงค” หรือ “ลดพฤติกรรมที่ไมพึงประสงค” 11. ครูสื่อสารความรูเกี่ยวกับความเครียด วาเปนปฏิกิริยาปกติที่เกิดขึ้นไดในภาวะวิกฤติที่มีการแพรระบาด ของโรคโควิด 19 และนำกระบวนการการจัดการความเครียด การฝกสติใหกลมกลืนและเหมาะสมกับ นกั เรยี นแตล ะวยั รว มกบั การฝก ทกั ษะชวี ติ ทเ่ี สรมิ สรา งความเขม แขง็ ทางใจ (Resilience) ใหก บั นกั เรยี น ไดแก ทักษะชวี ติ ดา นอารมณ สังคม และความคดิ เปน ตน 12. ครูสังเกตอารมณความเครียดของตัวทานเอง เนื่องจากภาระหนาที่การดูแลนักเรียนจำนวนมาก และ กำกับใหปฏิบัติตามมาตรการปองกันการติดโรคโควิด 19 เปนบทบาทสำคัญ อาจจะสรางความเครียด วิตกกังวล ทั้งจากการเฝาระวังนักเรียน และการปองกันตัวทานเองจากการสัมผัสกับเชื้อโรค ดังนั้น เมื่อครมู คี วามเครียด จากสาเหตตุ าง ๆ มขี อ เสนอแนะ ดงั นี้ 1) ความสบั สนมาตรการของสถานศึกษาท่ีไมกระจา งชดั เจน แนะนำใหสอบทานกบั ผูบริหาร หรอื เพ่ือน รวมงาน เพือ่ ใหเขา ใจบทบาทหนาทีแ่ ละขอ ปฏิบัติทต่ี รงกนั 2) ความวิตกกังวล กลัวการติดเชื้อในสถานศึกษา พูดคุยสื่อสารถึงความไมสบายใจ รองขอสิ่งจำเปน สำหรับการเรียนการสอนที่เพียงพอตอการปองกันการติดโรคโควิด 19 เชน สถานที่สื่อการสอน กระบวนการเรียนรู การสงงานหรือตรวจการบาน เปนตน หากทานเปนกลุมเสี่ยง มีโรคประจำตัว สามารถเขา สูแนวทางดแู ลบุคลากรของสถานศกึ ษา 3) จดั ใหม กี ารจดั การความเครยี ด การฝก สติ เปน กจิ วตั รกอ นเรม่ิ การเรยี นการสอนเพอ่ื ลดความวติ กกงั วล ตอ สถานการณท่ตี งึ เครยี ดนี้ คูมอื การปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศึกษาในการปอ งกันการแพรระบาดของโรคโควิด 19 26

แนวปฏิบัตสิ ำหรับนักเรียน 27 คูมือการปฏิบตั ิสำหรบั สถานศกึ ษาในการปองกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19

คมู อื การปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศกึ ษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 28

แนวปฏิบตั สิ ำหรับผูป กครอง แนวปฏิบัติสาํ หรับแมครวั ผจู ําหนา ยอาหาร และผปู ฏบิ ัติงานทาํ ความสะอาด 29 คมู อื การปฏิบัตสิ ำหรบั สถานศึกษาในการปอ งกันการแพรร ะบาดของโรคโควิด 19

คมู อื การปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศกึ ษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 30

31 คมู อื การปฏิบัตสิ ำหรับสถานศกึ ษาในการปองกนั การแพรระบาดของโรคโควดิ 19

คมู อื การปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศกึ ษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 32

แนวปฏบิ ัติดานอนามยั สิง่ แวดลอ ม สถานศกึ ษาเปน สถานทท่ี ม่ี คี นอยรู วมกนั จานวนมาก ทง้ั นกั เรยี น ครู ผปู กครอง บคุ ลากร ผมู าตดิ ตอ และผปู ระกอบการ รา นคา กรณที น่ี กั เรยี นตอ งทากจิ กรรมรว มกบั เพอ่ื น ทาใหม โี อกาสใกลช ดิ กนั มาก ทาใหเ กดิ ความเสย่ี งตอ การแพรก ระจายของ เชือ้ โรคไดงา ย จึงควรมีแนวปฏิบัติการจดั อาคารสถานท่ี ดังน้ี 1. หอ งเรียน หองเรียนรวม เชน หอ งคอมพวิ เตอร หองดนตรี 1) จดั โตะ เกา อ้ี หรอื ทน่ี ง่ั ใหม กี ารเวน ระยะหา งระหวา งบคุ คล อยา งนอ ย 1 - 2 เมตร ควรคาํ นงึ ถงึ สภาพบรบิ ทและ ขนาดพื้นที่ และจัดทําสัญลักษณแสดงจุดตําแหนงชัดเจน กรณีหองเรียนไมเพียงพอในการจัด เวนระยะหางระหวางบุคคล ควรจดั ใหม กี ารสลบั วนั เรยี นแตล ะชน้ั เรยี น การแบง จาํ นวนนกั เรยี น หรอื การใช พน้ื ทใ่ี ชส อยบรเิ วณสถานศกึ ษา ตามความเหมาะสม ทงั้ นีอ้ าจพจิ ารณาวธิ ปี ฏบิ ัติอ่ืนตามบรบิ ทความเหมาะสม โดยยึดหลกั Social distancing 2) จดั ใหม กี ารเหลอ่ื มเวลาเรยี น การเรยี นกลมุ ยอ ย หรอื วธิ ปี ฏบิ ตั ทิ เ่ี หมาะสมตามบรบิ ทสถานการณ และเนน ใหน กั เรยี น สวมหนากากผา หรือหนา กากอนามัยขณะเรยี นตลอดเวลา 3) จัดใหมีการระบายอากาศที่ดี ใหอากาศถายเท เชน เปดประตู หนาตาง หลีกเลี่ยงการใช เครื่องปรับอากาศ หากจาํ เปน ตอ งใชเ ครอ่ื งปรบั อากาศ กาํ หนดเวลาเปด – ปด เครอ่ื งปรบั อากาศ เปด ประต หนา ตา ง ระบายอากาศ ทกุ 1 ชว่ั โมง และทาํ ความสะอาดอยา งสมํา เสมอ 4) จัดใหม เี จลแอลกอฮอลใชท ําความสะอาดมอื สาํ หรับนักเรียนและครู ใชป ระจาํ ทกุ หองเรยี นอยางเพียงพอ 5) ใหมีการทําความสะอาดโตะ เกาอี้ อุปกรณ และจุดสัมผัสเสี่ยง เชน ลูกบิดประตู เครื่องเลนของใชรวมทุกวัน อยา งนอ ยวนั ละ 2 ครง้ั เชา กอ นเรยี นและพกั เทย่ี ง หรอื กรณมี กี ารยา ยหอ งเรยี น ตอ งทาํ ความสะอาดโตะ เกา อ้ี กอ นและหลงั ใชง านทกุ ครัง้ 2. หอ งสมุด 1) จัดโตะ เกาอี้ หรือที่นั่ง ใหมีการเวนระยะหางระหวางบุคคล อยางนอย 1 - 2 เมตร และจัดทําสัญลักษณ แสดงจดุ ตําแหนงชัดเจน 2) จัดใหมีการระบายอากาศที่ดี ใหอากาศถายเท เชน เปดประตู หนาตาง หากจําเปนตองใช เครื่องปรับอากาศ กาํ หนดเวลาเปด - ปด เครอ่ื งปรบั อากาศ เปด ประตู หนา ตา ง ระบายอากาศ ทกุ 1 ชว่ั โมง และทาํ ความสะอาดอยา งสมำ่ เสมอ 3) จดั ใหม เี จลแอลกอฮอลใ ชท าํ ความสะอาดมอื สาํ หรบั ครู บรรณารกั ษ นกั เรยี น และผใู ชบ รกิ าร บรเิ วณทางเขา ดา นหนา และภายในหอ งสมดุ อยา งเพียงพอ 4) ใหม กี ารทาํ ความสะอาดโตะ เกา อ้ี อปุ กรณ และจดุ สมั ผสั เสย่ี ง เชน ลกู บดิ ประตู ชน้ั วางหนงั สอื ทกุ วนั ๆ ละ 2 ครง้ั (เชากอนใหบริการ พักเที่ยง) 5) การจาํ กดั จาํ นวนคนจาํ กดั เวลาในการเขา ใชบ รกิ ารหอ งสมดุ และใหน กั เรยี นและผใู ชบ รกิ ารทกุ คน สวมหนา กากผา หรือหนา กากอนามยั ขณะใชบริการหอ งสมดุ ตลอดเวลา 33 คูมอื การปฏบิ ัตสิ ำหรับสถานศึกษาในการปอ งกันการแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19

3. หอ งประชุม หอประชมุ 1) จดั ใหม กี ารคดั กรองตรวจวดั อณุ หภมู ริ า งกายกอ นเขา หอ งประชมุ หอประชมุ หากพบผมู อี าการไข ไอ มนี ำ้ เจบ็ คอ หายใจลาํ บาก เหน่ือยหอบ ไมไดก ลิ่น ไมร ูรส แจง งดรว มประชุมและแนะนําใหไปพบแพทยทันที 2) จดั โตะ เกา อ้ี หรอื ทน่ี ง่ั ใหม กี ารเวน ระยะหา งระหวา งบคุ คล 1 - 2 เมตร และจดั ทาํ สญั ลกั ษณแ สดง จดุ ตาํ แหนง ชดั เจน 3) ผูเขา ประชมุ ทกุ คนสวมหนา กากผา หรือหนา กากอนามยั ขณะประชุมตลอดเวลา 4) จัดใหมีเจลแอลกอฮอลใชทําความสะอาดมือสําหรับผูเขาประชุม บริเวณทางเขาภายในอาคาร หอประชุม บรเิ วณทางเขาดา นหนาและดา นในของหอ งประชมุ อยางเพยี งพอและทั่วถึง 5) งดหรอื หลกี เล่ียงการใหบริการอาหารและเคร่ืองดม่ื ภายในหองประชุม 6) ใหม กี ารทาํ ความสะอาดโตะ เกา อ้ี อปุ กรณ และจดุ สมั ผสั เสย่ี งรว ม เชน ลกู บดิ ประตู รโี มท อปุ กรณส อ่ื กอ นและ หลังใชห องประชมุ ทุกครงั้ 7) จัดใหมีการระบายอากาศที่ดี ใหอากาศถายเท เชน เปดประตู หนาตาง กอนและหลังใชหองประชุม ทุกครั้ง หากจาํ เปน ตอ งใชเ ครอ่ื งปรบั อากาศ กาํ หนดเวลาเปด - ปด เครอ่ื งปรบั อากาศ เปด ประตู หนา ตา ง ระบายอากาศ ทกุ 1 ชว่ั โมง และทาํ ความสะอาดอยา งสมาํ เสมอ 4. โรงยมิ สนามกีฬา 1) จดั พน้ื ทท่ี าํ กจิ กรรมและเลน กฬี า ลดความแออดั อาจจดั ใหเ ลน กฬี าเปน รอบ หรอื ใหม กี ารเวน ระยะหา งระหวา งบคุ คล อยา งนอ ย 1 - 2 เมตร 2) จดั ใหม เี จลแอลกอฮอลใ ชท าํ ความสะอาดมอื สาํ หรบั นกั กฬี าและผมู าใชบ รกิ าร บรเิ วณทางเขา และ บรเิ วณดา นใน อาคารอยา งเพยี งพอและท่ัวถึง 3) ทําความสะอาดอุปกรณและเคร่อื งเลนแตล ะชนดิ กอนหรือหลังเลน ทกุ วนั อยางนอยวันละ 1 คร้งั 4) จัดใหม ีการระบายอากาศ ใหอ ากาศถายเท เชน เปด ประตู หนา ตา ง เปดพดั ลม 5) จาํ กดั จาํ นวนคนจาํ นวนเวลาในการเลน กฬี าหรอื กจิ กรรมภายในอาคารโรงยมิ หรอื สนามกีฬา 6) หลกี เลย่ี งการจดั กจิ กรรมหรอื เลน กฬี าประเภทแขง ขนั เปน ทมี หรอื มกี ารปะทะกนั อยา งรนุ แรง เชน วอลเลยบ อล ฟุตบอล ฟตุ ซอล บาสเกตบอล เปนตน 5. สถานท่แี ปรงฟน สถานศกึ ษาสง เสรมิ ใหม กี จิ กรรมแปรงฟน หลงั อาหารกลางวนั อยา งถกู ตอ งเหมาะสมตามสถานการณ แลบรบิ ทพน้ื ท่ี หลกี เลี่ยงการรวมกลมุ ควรจดั เวน ระยะหางระหวา งบคุ คลในการแปรงฟน และใหมอี ุปกรณการ แปรงฟนสวนบคุ คล ดังนี้ 5.1 การจัดเตรยี มวัสดุอุปกรณก ารแปรงฟน แปรงสีฟน 1) นกั เรียนทกุ คนมีแปรงสฟี นเปนของตนเอง หามใชแปรงสฟี น และยาสีฟน รวมกนั 2) ทําสัญลักษณหรือเขียนชื่อบนแปรงสีฟนของแตละคน เพื่อใหรูวาเปนแปรงสีฟนของใครปองกันการ หยิบของผูอ ืน่ ไปใช 3) ควรเปลย่ี นแปรงสฟี น ใหนักเรยี น ทกุ 3 เดือน เม่ือแปรงสีฟน เสือ่ มคณุ ภาพ โดยสังเกต ดังน้ี - บริเวณหัวแปรงสีฟนมคี ราบสกปรกติดคาง ลา งไดย าก - ขนแปรงสีฟนบานแสดงวาขนแปรงเสื่อมคุณภาพใชแปรงฟนไดไมสะอาดและอาจกระแทกเหงือก ใหเปนแผลได ยาสฟี น ใหน กั เรยี นทกุ คนมยี าสฟี น เปน ของตนเอง และเลอื กใชย าสฟี น ผสมฟลอู อไรดซ ง่ึ มี ปรมิ าณฟลอู อไรด 1,000-1,500 ppm. (มลิ ลกิ รมั /ลติ ร) เพื่อปอู งกันฟน ผุ แกว นำ้ จดั ใหนกั เรยี นทุกคนมแี กวนาํ สวนตวั เปนของตนเอง จาํ นวน 2 ใบ ผาเชด็ หนาสวนตัว สาํ หรบั ใชเชด็ ทําความสะอาดบริเวณใบหนา ควรซักและเปลย่ี นใหมท กุ วัน คูมอื การปฏบิ ตั สิ ำหรับสถานศึกษาในการปองกันการแพรระบาดของโรคโควิด 19 34

5.2 การเกบ็ อุปกรณแ ปรงสีฟน 1) เก็บแปรงสฟี น ในบรเิ วณทม่ี อี ากาศถายเทไดส ะดวก ไมอบั ชืน้ และปลอดจากแมลง 2) จดั ทาํ ทเ่ี กบ็ แปรงสฟี น แกว นาํ โดยเกบ็ ของนกั เรยี นแตล ะคนแยกจากกนั ไมป ะปนกนั เวน ทใ่ี หม รี ะยะหา งเพยี งพอ ทจ่ี ะไมใ หแ ปรงสฟี น สมั ผสั กนั เพอ่ื ปอู งกนั การแพรร ะบาดของโรค โควดิ 19 และควรวางหวั ของแปรงสฟี น ตง้ั ขน้ึ เพอ่ื ปอ งกนั ไมใ หนาํ ที่คา งตามดามแปรงสฟี น หยดลงใสหวั แปรงสฟี น 5.3 การจัดกจิ กรรมแปรงฟนหลังอาหารกลางวัน ครปู ระจาํ ชน้ั ดแู ลและจดั ใหม กี จิ กรรมการแปรงฟน ในหอ งเรยี น ใหน กั เรยี นทกุ คนแปรงฟน หลงั อาหารกลางวนั ทกุ วนั อยางสมาํ เสมอ โดยหลกี เล่ยี งการรวมกลมุ และเวนระยะหางในการแปรงฟน โดย 1) ใหนักเรียนแปรงฟนในหองเรียน โดยนั่งที่โตะเรียน เพื่อปูองกันการแพรกระจาย ของน้ำลายละอองน้ำ หรือ เช้อื โรคสูผูอื่น กรณีหองเรยี นแออัด ใหเ หลือ่ มเวลาในการแปรงฟน 2) กอ นการแปรงฟน ทกุ ครง้ั ใหล า งมอื ดว ยสบแู ละนาํ เสมอ เปน เวลาอยา งนอ ย 20 วนิ าที หรอื เจลแอลกอฮอลท ม่ี ี ความเขมขน 70-74 % หลกี เลยี่ งการรวมกลุม และเวนระยะหา งระหวาง บุคคล อยา งนอ ย 1 - 2 เมตร 3) ครูประจาํ ชั้นเทนําใหน กั เรยี นใสแ กว นําใบที่ 1 ประมาณ 1/3 แกว (ประมาณ 15 ml.) 4) นักเรยี นนั่งที่โตะเรยี น แปรงฟนดว ยยาสฟี นผสมฟลอู อไรดค รอบคลุมทุกซีท่ กุ ดา น นานอยา งนอ ย 2 นาที เม่ือแปรงฟนเสรจ็ แลว ใหบ วนยาสฟี น และนาํ สะอาดลงในแกวนํา ใบที่ 2 เชด็ ปากใหเ รียบรอย 5) นกั เรียนทกุ คนนํานาํ ทีใ่ ชแลว จากแกว ใบที่ 2 เทรวมใสภาชนะที่เตรยี มไว และใหครูประจาํ ชน้ั นาํ ไปเททงิ้ ในที่ระบายน้ำของสถานศกึ ษา หา มเทลงพื้นดิน 6) นกั เรียนนําแปรงสีฟนและแกว นาํ ไปลางทาํ ความสะอาด และนํากลับมาเก็บใหเ รยี บรอย หลกี เล่ียงการรวมกลุม และเวนระยะหา งระหวางบคุ คล อยา งนอย 1-2 เมตร 7) มกี ารตรวจความสะอาดฟน หลงั การแปรงฟน ดว ยตนเองทกุ วนั โดยอาจมกี ระจกของตวั เอง ในการตรวจดคู วามสะอาด เสริมดว ยกิจกรรมการยอ มสีฟนอยางนอ ยภาคเรียนละ 2 ครง้ั 6. สระวานำ้ หลกี เลย่ี งหรอื งดการจดั การเรยี นการสอนในสระวา ยนำ้ กรณรี ฐั บาลมกี ารผอ นปรนมาตรการควบคมุ โรค ใหส ามารถ ใชสระวายน้ำได ควรปฏิบัติ ดงั น้ี 1) ใหม กี ารคดั กรองเบอ้ื งตน หรอื เฝาู ระวงั มใิ หผ มู อี าการเจบ็ ปวุ ย เชน ไข ไอ มนี าํ มกู เจบ็ คอ หายใจลาํ บาก เหนอ่ื ยหอบ ไมไดก ล่ิน ไมร รู ส กอนลงสระวายนำ้ ทกุ คร้งั เพ่ือปอู งกนั การแพรเ ช้อื โรค 2) กาํ กบั ดแู ลและปฏบิ ตั ติ ามคาํ แนะนาํ ของระบบฆา เชอ้ื อยา งเครง ครดั เพอ่ื ใหร ะบบมี ประสทิ ธภิ าพในการฆา เชอ้ื ตลอดเวลา การใหบ รกิ าร (คลอรนี อิสระคงเหลือ (Free Residual Chlorine) ใน ระดับ 1 - 3 สว น ในลานสวน (ppm)) 3) ตรวจสอบคณุ ภาพนำ้ ในสระทุกวัน และดแู ลความสะอาดของสระน้ำไมใ หมขี ยะมลู ฝอย 4) กําหนดมาตรการกอนลงสระวายน้ำ เชน นักเรียนตองชําระรางกายกอนลงสระ ตองสวมหนากากผาหรือ หนา กากอนามยั กอ นลงและขน้ึ จากสระวา ยนาํ สวมแวน ตา - หมวกวา ยนาํ ระหวา งการวา ยนำ้ หา มบว นนาํ ลาย หา มปส สาวะ หามสั่งนํามูกลงในน้ำ หามพูดคุยกับเพื่อน ผูสอนวายนํา (โคัช) หรือผูดูแลสระน้ำ ตองสวมหนากากผา หรือหนากากอนามัย ตลอดเวลาทีอ่ ยูบริเวณสระวายนน้ำ 5) ทาํ ความสะอาดอปุ กรณท ใ่ี ชใ นการสอน แบง รอบการสอน จาํ กดั จาํ นวนคน และใหม กี ารเวน ระยะหา งระหวา งบคุ คล อยา งนอ ย 1 - 2 เมตร 6) ควรเตรียมอปุ กรณข องใชส วนตัวสาํ หรบั การวายนาํ เชน แวน ตา - หมวกวา ยนำ้ ชุดวา ยน้ำ ผา เช็ดตวั เปนตน 35 คูมือการปฏิบัติสำหรบั สถานศึกษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควิด 19

7. สนามเด็กเลน 1) ใหมีการทําความสะอาดเครื่องเลนและอุปกรณการเลนทุกวัน อยางนอยวันละ 2 ครั้ง ทําความสะอาดดวย น้ำยาทาํ ความสะอาดตามคาํ แนะนาํ ของผลติ ภณั ฑ 2) จัดเครื่องเลน อุปกรณการเลน และนักเรียน ใหมีการเวนระยะหางระหวางบุคคล อยางนอย 1 - 2 เมตร และ กํากับดแู ลใหเด็กสวมหนา กากผาหรือหนากากอนามัยตลอดเวลาการเลน 3) จาํ กดั จาํ นวนคนจาํ กดั เวลาการเลน ในสนามเดก็ เลน โดยอยใู นความควบคมุ ดแู ลของครใู นชว งเวลา พกั เทย่ี งและ หลังเลิกเรียน 4) ใหล า งมือดวยสบูและนํา หรอื เจลแอลกอฮอลใชท ําความสะอาดมือกอ นและหลังการเลนทกุ ครั้ง 8. หอ งสว ม 1) จดั เตรยี มอปุ กรณท า ความสะอาดอยา งเพยี งพอ ไดแ ก นำ้ ยาทา ความสะอาดหรอื นา ยาฟอกขาว อปุ กรณก ารตวง ถงุ ขยะ ถงั นา ไมถ พู น้ื คบี ดา มยาวสา หรบั เกบ็ ขยะ ผา เชด็ ทา ความสะอาด และอปุ กรณป อ งกนั อนั ตรายสว นบคุ คลทเ่ี หมาะสมกบั การปฏบิ ัตงิ าน เชน ถุงมือ หนา กากผา เสอ้ื ผาทีจ่ ะนา มาเปลี่ยนหลังทา ความสะอาด 2) การทาความสะอาดหองนา หองสวม อยางนอยวันละ 2 ครั้ง ดวยนายาทาความสะอาดทั่วไป พื้นหองสวม ใหฆ า เชอ้ื โดยใชผ ลติ ภณั ฑฆ า เชอ้ื ทม่ี สี ว นผสมของโซเดยี มไฮโปคลอไรท (รจู กั กนั ในชอ่ื “นำ้ ยาฟอกขาว”) โดยนา มาผสมกบั นำ้ เพื่อใหไดความเขมขน 0.1% หรือ 1000 สวนในลานสวน หรือผลิตภัณฑฆาเชื้อที่มีสวนผสมของไฮโดรเจนเปอรออกไซด โดยน้ำมาผสมกับนา เพื่อใหไดความเขมขน 0.5% หรือ 5000 สวน ในลานสวน ราดนายาฆาเชื้อ ทิ้งไวอยางนอย 10 นาที เนนเช็ดบริเวณที่รองนั่งโถสวม ฝาปดโถสวม ที่กดชักโครก สายชาระ ราวจับ ลูกบิดหรือกลอนประตู ที่แขวนกระดาษชาระ อางลางมือ ขันน้ำ กอกน้ำ ที่วางสบู ผนัง ซอกประตู ดวยผาชุบน้ำยาฟอกขาว หรือใชแอลกอฮอล 70% หรือ ไฮโดรเจนเปอรออกไซด 0.5% 3) หลงั ทา ความสะอาด ควรซักผา เช็ดทา ความสะอาดและไมถ ูพื้น ดวยนา ผสมผงซักฟอกหรือนา ยาฆา เชื้อ แลวซักดวยนา สะอาดอีกครง้ั และนา ไปผ่งึ แดดใหแหง 9. หอ งพักครู 1) จดั โตะ เกา อ้ี หรอื ทน่ี ง่ั ใหม กี ารเวน ระยะหา งระหวา งบคุ คล อยา งนอ ย 1 - 2 เมตร ควรคาํ นงึ ถงึ สภาพบรบิ ทและ ขนาดพื้นที่ อาจพิจารณาใชฉากกั้นบนโตะเรียน และจัดทําสัญลักษณแสดงจุดตําแหนงชัดเจน โดยถือปฏิบัติตามหลัก Social distancing อยางเครง ครดั 2) ใหค รูสวมหนา กากผาหรือหนา กากอนามยั ตลอดเวลาท่ีอยูในสถานศกึ ษา 3) จัดใหมีการระบายอากาศที่ดี ใหอากาศถายเท เชน เปดประตู หนาตาง หลีกเลี่ยงการใชเครื่องปรับอากาศ หากจาํ เปน ตอ งใชเ ครอ่ื งปรบั อากาศ กาํ หนดเวลาเปด – ปด เครอ่ื งปรบั อากาศ เปด ประตู หนา ตา ง ระบายอากาศ ทกุ 1 ชว่ั โมง และทําความสะอาดอยา งสมําเสมอ 4) ใหม กี ารทาํ ความสะอาดโตะ เกา อ้ี อปุ กรณ และจดุ สมั ผสั เสย่ี ง เชน ลกู บดิ ประตู อปุ กรณ คอมพวิ เตอร โทรศพั ท เปน ตน เปนประจําทุกวนั อยางนอยวันละ 2 ครงั้ 5) จัดเตรียมเจลแอลกอฮอลใชทําความสะอาดมือสําหรับครูและผูมาติดตอ บริเวณทางเขาดานหนาประตู และ ภายในหองอยา งเพียงพอและทั่วถึง คูมอื การปฏิบัติสำหรับสถานศึกษาในการปอ งกนั การแพรระบาดของโรคโควิด 19 36

10. หองพยาบาล 1) จัดหาครหู รอื เจา หนา ท่ี เพื่อดแู ลนักเรยี น ในกรณีทม่ี นี ักเรยี นปวุ ยมานอนพกั รอผูปกครองมารบั 2) จัดใหมีพื้นที่หรือหองแยกอยางชัดเจน ระหวางนักเรียนปุวยจากอาการไขหวัดกับนักเรียนปวยจากสาเหตุอื่น ๆ เพ่ือปูองกนั การแพรก ระจายเชือ้ โรค 3) ทาํ ความสะอาดเตียงและอปุ กรณของใชท กุ วนั 4) จดั เตรยี มเจลแอลกอฮอลใ ชท าํ ความสะอาดมอื บรเิ วณทางเขา หนา ประตแู ละภายในหอ งพยาบาลอยา งเพยี งพอ 11. โรงอาหาร การจดั บรกิ ารภายในโรงอาหาร การนง่ั กนิ อาหารรว มกนั ของผใู ชบ รกิ าร รวมถงึ อาหาร ภาชนะ อปุ กรณ ตกู ดนำ้ ดม่ื ระบบกรองนำ้ และผสู มั ผสั อาหาร อาจเปน แหลง แพรก ระจายเชอ้ื โรค จงึ ควรมกี ารดแู ล เพอ่ื ลดและปอู งกนั การแพรก ระจายเชอ้ื โรค ดังนี้ 1) หนวยงานท่จี ดั บรกิ ารโรงอาหาร กําหนดมาตรการการปฏิบัติใหสถานทีส่ ะอาด ถูกสขุ ลักษณะ ดงั น้ี (1) จดั ใหม อี า งลา งมอื พรอ มสบู สาํ หรบั ใหบ รกิ ารแกผ เู ขา มาใชบ รกิ ารโรงอาหาร บรเิ วณกอ นทางเขา โรงอาหาร (2) ทกุ คนทจ่ี ะเขามาในโรงอาหาร ตองสวมหนากากผา หรอื หนากากอนามัย (3) จัดใหมีการเวนระยะหางระหวางบุคคล อยางนอย 1 - 2 เมตร ในพื้นที่ตาง ๆ เชน ที่นั่งกินอาหาร จุดรบั อาหาร จุดซื้ออาหาร จดุ รอกดน้ำดื่ม จดุ ปฏบิ ตั งิ านรว มกนั ของผสู ัมผสั อาหาร (4) จดั เหลอื่ มชว งเวลาซื้อและกินอาหาร เพือ่ ลดความแออัดพืน้ ทีภ่ ายในโรงอาหาร (5) ทําความสะอาดสถานที่ปรุง ประกอบอาหาร พื้นที่ตั้งตูกดน้ำดื่ม และพื้นที่บริเวณที่นั่งกินอาหาร ใหส ะอาด ดว ยนาํ ยาทาํ ความสะอาดหรอื ผงซกั ฟอก และจดั ใหม กี ารฆา เชอ้ื ดว ยโซเดยี มไฮโปคลอไรท (น้ำยาฟอกขาว) ที่มีความเขมขน 1,000 สวนในลานสวน (ใชโซเดียมไฮโปคลอไรท 6% อัตราสวน 1 ชอนโตะตอนํา 1 ลติ ร) (6) ทําความสะอาดโตะและที่นั่งใหสะอาด สําหรับนั่งกินอาหาร ดวยน้ำยาทําความ สะอาดหรือจัดให มกี ารฆา เชอ้ื ดว ยแอลกอฮอล 70% โดยหยดแอลกอฮอลล งบนผา สะอาดพอหมาด ๆ เชด็ ไปในทศิ ทาง เดียวกัน หลังจากผูใชบริการทกุ ครั้ง (7) ทําความสะอาดภาชนะ อุปกรณ และเครื่องใชใหสะอาด ดวยน้ำยาลางจาน และใหมี การฆาเชื้อ ดวยการแชในน้ำรอน 80 องศาเซลเซียส เปนเวลา 30 วินาที หรือแชดวยโซเดียมไฮโปคลอไรท (น้ำยาฟอกขาว) ที่มีความเขมขน 100 สวนในลานสวน (ใชโซเดียมไฮโปคลอไรท 6% อัตราสวน ครง่ึ ชอ นชาตอ นำ้ 1 ลติ ร) 1 นาที แลว ลา งนำ้ ใหส ะอาด และอบหรอื ผง่ึ ใหแ หง กอ นนาํ ไปใชใ สอ าหาร (8) ทําความสะอาดตูกดนําดื่ม ภายในตูถังนําเย็น อยางนอยเดือนละ 1 ครั้ง และเช็ด ภายนอกตูและ กอ กนำ้ ดม่ื ใหส ะอาดทกุ วนั และฆา เชอ้ื ดว ยการแชโ ซเดยี มไฮโปคลอไรท (นาํ ยาฟอกขาว) ทม่ี คี วามเขม ขน 100 สวนในลานสวน เปนเวลา 30 นาที ทุกครั้งกอนบรรจุน้ำใหม ในกรณีที่มีเครื่องกรองน้ำ ควรทาํ ความสะอาดดว ยการลา งยอ น (Backwash) ทกุ สปั ดาห และเปลย่ี นไสก รองตามระยะเวลากาํ หนด ของผลิตภัณฑ และตรวจเช็คความชาํ รุดเสียหายของระบบไฟฟาู ทีใ่ ช สายดนิ ตรวจเช็คไฟฟาู ร่ัว ตามจุดตาง ๆ โดยเฉพาะบริเวณกอกนําทถ่ี ือเปน จุดเสี่ยง เพื่อปอู งกันไฟฟูาดูดขณะใชง าน 37 คมู อื การปฏิบัตสิ ำหรบั สถานศกึ ษาในการปองกนั การแพรร ะบาดของโรคโควิด 19

(9) จัดบริการอาหาร เนนปูองกันการปนเปอนของเชื้อโรค เชน อาหารปรุงสําเร็จสุกใหมทุกครั้ง หลีกเลี่ยงการจําหนายอาหารเสี่ยง เชน อาหารประเภทกะทิ หรืออาหารปรุงขามวัน การปกปด อาหารปรุงสําเร็จ การใชภาชนะที่เหมาะสมกับประเภทอาหาร และจัดใหมีภาชนะอุปกรณสําหรับ การกินอาหารอยางเพยี งพอเปน รายบคุ คล เชน จาน ถาดหลุม ชอน สอ ม แกว น้ำ เปน ตน (10) ประชาสมั พนั ธใ หค วามรภู ายในโรงอาหาร เชน การสวมหนา กากทถ่ี กู วธิ ี ขน้ั ตอนการลา งมอื ทถ่ี กู ตอ ง การเวน ระยะหางระหวา งบคุ คล การเลอื กอาหารปรุงสุกใหมสะอาด เปน ตน (11) กรณีมีการใชบริการรานอาหารจากภายนอก จัดสงอาหารใหกับสถานศึกษา ควรให ครูหรือ ผรู บั ผดิ ชอบ ตรวจประเมนิ ระบบสขุ าภบิ าลอาหารของรา นอาหาร โดยกาํ หนดขอ ตกลงการจดั สง อาหาร ปรุงสุกพรอมกิน ภายใน 2 ชั่วโมง หลังปรุงเสร็จ และมีการปกปดอาหาร เพื่อปูองกันการปนเปอน สงิ่ สกปรกลง ในอาหาร (12) พจิ ารณาทางเลอื กใหผ ปู กครองสามารถเตรยี มอาหารกลางวนั (Lunch box) ใหน กั เรยี นมารบั ประทานเอง เพอื่ ปอู งกนั เชอื้ และลดการแพรก ระจายเช้อื 2) ผูสัมผัสอาหาร ตองดูแลสุขลักษณะสวนบุคคล มีการปูองกันตนเองและปูองกันการแพรกระจาย เชื้อโรค ดังนี้ (1) หากมอี าการปวุ ย ไข ไอ มนี าํ มกู เจบ็ คอ หายใจลาํ บาก เหนอ่ื ยหอบ ไมไ ดก ลน่ิ ไมร รู ส ใหห ยดุ ปฏบิ ตั งิ าน และแนะนาํ ใหไ ปพบแพทยท ันที (2) ดแู ลสขุ ลกั ษณะสว นบคุ คล มกี ารปอ งกนั ตนเอง แตง กายใหส ะอาด สวมใสผ า กนั เปอ นและอปุ กรณป อ งกนั การปนเปอ นสูอาหาร ในขณะปฏิบัติงาน (3) รกั ษาความสะอาดของมอื ดว ยการลา งมอื บอ ย ๆ ดว ยสบแู ละนำ้ กอ นปฏบิ ตั งิ าน และขณะเตรยี มอาหาร ประกอบอาหาร และจาํ หนา ยอาหาร รวมถงึ หลงั จากการจบั เหรยี ญหรอื ธนบตั ร หรอื สมั ผสั สง่ิ สกปรก อาจใชเจลแอลกอฮอลทําความสะอาดมือรวมดวย หลีกเลี่ยงการใชมือสัมผัสใบหนา ตา ปาก จมูก โดยไมจ าํ เปน (4) สวมใสห นา กากผาหรอื หนา กากอนามยั ตลอดเวลาขณะปฏบิ ตั งิ าน (5) มพี ฤตกิ รรมขณะปฏบิ ตั งิ านปอู งกนั การปนเปอ นของเชอ้ื โรค เชน ใชอ ปุ กรณใ นการปรงุ ประกอบอาหาร เชน เขยี ง มดี การหยบิ จับอาหาร แยกระหวางอาหารสกุ อาหารประเภทเนือ้ สัตวส ด ผัก และ ผลไม และไมเ ตรยี ม ปรุง ประกอบอาหารบนพ้นื โดยตรง (6) จัดเมนูอาหารที่จําหนาย โดยเนนอาหารปรุงสุกดวยความรอน โดยเฉพาะเนื้อสัตว ปรุงใหสุกดวย ความรอ นไมน อ ยกวา 70 องศาเซลเซยี ส หลกี เลย่ี งการจาํ หนา ยอาหารบดู เสยี งา ย เชน อาหารประเภทกะทิ และอาหารที่ไมผา นความรอ น เชน ซูชิ เปนตน (7) อาหารปรงุ สาํ เรจ็ จดั เกบ็ ในภาชนะสะอาด มกี ารปกปด อาหารจดั เกบ็ สงู จากพน้ื ไมน อ ยกวา 60 เซนตเิ มตร กรณีอาหารปรุงสาํ เรจ็ รอการจําหนาย ใหนํามาอุน ทกุ 2 ช่ัวโมง (8) การใชภ าชนะบรรจอุ าหารแบบใชค รง้ั เดยี วทง้ิ ตอ งสะอาดมคี ณุ ภาพเหมาะสมกบั การบรรจอุ าหารปรงุ สาํ เรจ็ และไมควรใชโ ฟมบรรจอุ าหาร (9) ระหวางการปฏิบตั งิ าน ใหม ีการเวน ระยะหา งระหวา งบคุ คล อยา งนอ ย 1 - 2 เมตร (10) ควรพจิ ารณาใหมรี ะบบชาํ ระเงินออนไลนส าํ หรับผบู ริโภค คมู อื การปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศกึ ษาในการปองกันการแพรระบาดของโรคโควิด 19 38

3) ผทู เี่ ขา มาใชบ ริการโรงอาหาร ตองดําเนนิ การปูองกันตนเอง และปูองกันการแพรก ระจายเช้อื โรค ดงั นี้ (1) ลา งมอื บอ ย ๆ ดว ยสบแู ละนนำ้ หรอื ใชเ จลแอลกอฮอลท าํ ความสะอาดมอื ทกุ ครง้ั กอ นเขา ไปในโรงอาหาร กอนกินอาหารภายหลังซื้ออาหารหลังจากจับเหรียญหรือธนบัตรหลังจากสัมผัสสิ่งสกปรกหรือ หลังออกจากหองสว ม (2) ทุกคนตองสวมหนากากผาหรือหนากากอนามัยตลอดเวลาที่อยูในโรงอาหารหรือเขาไปในสถานที่ จาํ หนา ยอาหาร (3) เลอื กซอ้ื อาหารปรงุ สาํ เรจ็ สกุ ใหม หลกี เลย่ี งการกนิ อาหารประเภทเนอ้ื สตั ว เครอ่ื งในสตั วท ป่ี รงุ ไมส กุ และตรวจสอบคุณภาพของอาหารทันที เชน สภาพอาหาร กลิ่น ความสะอาดและความเหมาะสม ของภาชนะบรรจุ มีการปกปด อาหารมิดชดิ ไมเ ลอะเทอะ ไมฉีกขาด เปน ตน (4) ใหมีการเวนระยะหางระหวางบุคคล อยางนอย 1 - 2 เมตร ในการซื้ออาหาร ขณะรออาหาร น่ังกินอาหาร ขณะรอกดนำ้ ดื่ม (5) พจิ ารณาเลอื กใชร ะบบการชาํ ระเงินแบบออนไลน 12. รถรบั - สงนักเรียน 1) ทาํ ความสะอาดรถรบั นกั เรยี นและบรเิ วณจดุ สมั ผสั เสย่ี ง เชน ราวจบั ทเ่ี ปด ประตู เบาะนง่ั ทว่ี างแขน ดว ยนำ้ ผสม ผงซักฟอก หรือน้ำยาทําความสะอาดที่มีสวนผสมของโซเดียมไฮโปคลอไรท (น้ำยาฟอกผา ขาว) และปฏิบัติตามคําแนะนํา บนฉลากผลติ ภัณฑ (เชน ผสมโซเดยี มไฮโปคลอไรท ความเขมขน 6% ปริมาณ 20 มลิ ลลิ ติ ร ตอ นำ้ 1 ลติ ร) 2) นกั เรยี นทใ่ี ชบ รกิ ารรถรบั นกั เรยี น ตอ งสวมหนา กากผา หรอื หนา กากอนามยั ตลอดเวลาทอ่ี ยบู นรถ ลดการพดู คยุ กนั เลนหยอกลอกนั รวมถงึ กาํ หนดจุดรบั - สง นักเรียนสาํ หรับผปู กครอง 3) การจัดทนี่ ่ังบนรถรับนักเรียน ควรจดั ใหม ีการเวนระยะหางระหวา งบคุ คล อยางนอ ย 1 - 2 เมตร ทัง้ น้ีควรคํานึง ถงึ ขนาดพน้ื ทข่ี องรถ จาํ นวนทน่ี ง่ั พจิ ารณาตามบรบิ ทคณุ ลกั ษณะของรถและความเหมาะสม จดั ทาํ สญั ลกั ษณแ สดงจดุ ตาํ แหนง ชดั เจน โดยยดึ หลกั Social distancing อยางเครงครดั 4) กอ นและหลงั ใหบ รกิ ารรบั นกั เรยี นแตล ะรอบ ควรเปด หนา ตา ง ประตู ระบายอากาศ ใหอ ากาศ ถา ยเทไดส ะดวก 5) จัดใหมีเจลแอลกอฮอลสาํ หรบั ใชทาํ ความสะอาดมอื บอย ๆ บนรถรบั นักเรยี น 13. หอพักนกั เรยี น 1) มีการตรวจคัดกรองวัดอุณหภูมิรางกายของนักเรียนทุกคนกอนเขาหอพัก และสังเกตอาการเสี่ยง หากพบ ผมู อี าการเสี่ยงตอ งรบี แจงครหู รอื ผูดแู ลหอพัก และแจง ประสานเจา หนาท่สี าธารณสขุ ดำเนนิ การตอ ไป 2) จัดใหมีที่ลางมือพรอมสบูและน้ำ หรือเจลแอลกอฮอลสาหรับทำความสะอาดมือไวบริการในบริเวณตาง ๆ อยา งเพยี งพอ เชน บรเิ วณทางเขา ออกอาคาร หนา ลฟิ ท หองน่ังเลน สวนกลาง เปนตน 3) ใหมีการทำความสะอาดในพื้นที่ตางๆ โดยเนนจุดที่มีผูสัมผัสรวมกันเปนประจา อยางนอยวันละ 2 ครั้ง และ อาจเพิ่มความถี่มากขึ้น หากมีผูใชงานจำนวนมาก ดวยน้ำยาทำความสะอาดและอาจฆาเชื้อดวยแอลกอฮอล 70% หรือ โซเดียมไฮโปคลอไรท (น้ำยาฟอกขาว) 0.1% ในพน้ื ที่ ดงั น้ี - บรเิ วณพน้ื ทส่ี ว นกลาง พน้ื ผวิ สมั ผสั อปุ กรณ เครอ่ื งใช เชน เคาวนเ ตอร ราวบนั ได ทจ่ี บั ประตู ปมุ กดลฟิ ท จุดประชาสัมพันธ โตะ ที่นั่ง สิ่งอำนวยความสะดวกตางๆ เชน เครื่องซักผาหยอดเหรียญ ตูน้ำดื่มหยอดเหรียญ ตูจำหนา ยสินคาอตั โนมัติ ตเู คร่อื งดื่มหยอดเหรยี ญ โดยเนนจุดท่มี ีผสู ัมผัสรว ม เชน ปมุ กดรายการ ฝาชองรบั สนิ คา 39 คมู อื การปฏิบัติสำหรับสถานศึกษาในการปอ งกันการแพรร ะบาดของโรคโควิด 19

- หอ งสว มสว นกลาง เนน บรเิ วณจดุ เสย่ี ง ไดแ ก กลอนหรอื ลกู บดิ ประตู กอ กนำ้ อา งลา งมอื ทร่ี องนง่ั โถสว ม ทกี่ ดโถสว มหรอื โถปส สาวะ สายฉดี นำ้ ชำระ และพืน้ หองสว ม 4) ควรกำหนดมาตรการเวน ระยะหา งระหวา งบคุ คล อยา งนอ ย 1 2 เมตร และลดความแออดั ในบรเิ วณพน้ื ทต่ี า ง ๆ เชน การจดั ระยะหา งของเตยี งนอน ชน้ั วางของใชส ว นตวั จำกดั จำนวนคนในการใชล ฟิ ท จดั ทำสญั ลกั ษณแ สดงจดุ ตาแหนง ชดั เจน ทม่ี กี ารรอ เปน ตน 5) จดั ใหม กี ารระบายอากาศทเ่ี หมาะสม ใหอ ากาศถา ยเท เชน เปด ประตู หนา ตา ง หลกี เลย่ี งการใชเ ครอ่ื งปรบั อากาศ หากจำเปน ตอ งใชเ ครอ่ื งปรบั อากาศ ควรตรวจสอบประสทิ ธภิ าพของเครอ่ื งปรบั อากาศใหอ ยใู นสภาพดี กำหนดเวลาเปด -ปด เคร่ืองปรับอากาศ และเปดประตู หนาตา งระบายอากาศ และตอ งทาความสะอาดอยางสมำ่ เสมอ 6) กำหนดแนวทางปฏบิ ัตสิ ำหรับผพู กั ในหอพัก เชน - ใหผ ทู พ่ี กั ในหอพกั ประเมนิ ตนเองกอ น หากพบวา มไี ข ไอ จาม มนี ำ้ มกู หรอื เหนอ่ื ยหอบ หรอื มอี ณุ หภมู ริ า งกาย เทา กบั หรอื มากกวา 37.5 องศาเซลเซยี ส ขน้ึ ไป หรอื มอี าการระบบทางเดนิ หายใจ ใหร ายงานหวั หนา เพอ่ื เขา สรู ะบบ การดแู ลของโรงพยาบาลตอ ไป - มกี ารดแู ลตนเอง โดยการสวมหนา กากผา หรอื หนา กากอนามยั เวน ระยะหา งระหวา งบคุ คล 1 - 2 เมตร หลีกเลี่ยงการพูดคุยในระยะใกลชิด และไมใชสิ่งของเครื่องใชสวนตัวรวมกับผูอื่น (เชน ผาเช็ดตัว ชอน จาน ชาม แกวน้ำ เปนตน) ลางมือดวยสบูและนำ้ สะอาด หรือดวยเจลแอลกอฮอลอยางสม่ำเสมอ (เชน ทุกครั้งกอนและ หลังรับประทานอาหาร หลังการทำความสะอาดหองพัก หลังการใชสวม เปนตน) หลีกเลี่ยงการสัมผัสใบหนา ตา ปาก จมกู โดยไมจ ำเปน ดแู ลสุขภาพใหแขง็ แรง และดแู ลรักษาสขุ อนามยั สว นบคุ คล - ดแู ลภายในหอ งพกั ใหส ะอาด และทำความสะอาดบรเิ วณทต่ี อ งสมั ผสั บอ ย เชน ลกู บดิ หรอื กลอนประตู โตะ เกาอี้ ควรเปดประตู หนาตางหองพัก เปนประจำทุกวัน เพื่อระบายอากาศ หากมีการใชเครื่องปรับอากาศ ใหมีการทำความสะอาดอยางสมาเสมอ รวมทั้ง คัดแยกขยะ รวบรวมใสถุงขยะ มัดปากถุงใหแนน และนำไปทิ้ง ตามเง่อื นไขทห่ี อพกั กาหนด กอนนำไปกำจดั อยางถกู ตอ ง 7) ภาชนะบรรจนุ ำ้ ดม่ื เชน ถงั นำ้ เหยอื กนำ้ คลู เลอร ตอ งสะอาด มฝี าปด ควรมที างเทรนิ หรอื กอ กนำ้ ไมค วรใชก าร จว งตกั โดยตรง และตอ งลางทำความสะอาดดวยนำ้ ยาลา งภาชนะ ภายในและภายนอกทุกวัน 8) มมี าตรการกำกบั ดแู ลพนกั งานอน่ื ทเ่ี กย่ี วขอ ง เชน แมบ า น พนกั งานทำความสะอาด โดยหากพบวา มไี ข ไอ มนี ำ้ มกู เจ็บคอ เหนื่อยหอบ ใหหยุดงานและแนะนำใหพบแพทย ใหสวมหนากากผาหรือหนากากอนามัยตลอดเวลาที่อยูในอาคาร ลา งมอื ดว ยสบูและนำ้ หรอื เจลแอลกอฮอลบอย ๆ และตองเวน ระยะหางระหวา งบคุ คลอยา งนอ ย 1 - 2 เมตร หากรบั ผดิ ชอบ ดานการทำความสะอาด ใหสวมถุงมือ ผากันเปอน รองเทาพื้นยางหุมแขง ใชที่คีบดามยาวเก็บขยะใสถุงมัดปากถุงใหมิดชิด นำไปรวบรวมไวที่พักขยะ เมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน ใหลางมือใหสะอาด เมื่อปฏิบัติงานเสร็จในแตละวัน หากเปนไปได ควรอาบนำ้ และเปล่ยี นเสือ้ ผา ทันที 9) หากมีบริการอื่นๆ ภายในหอพัก เชน รานอาหาร รานเครื่องดื่ม สถานที่รับประทานอาหาร รานเสริมสวย หรือ และกจิ การอื่นๆ ใหปฏิบตั ิตามแนวทางปฏบิ ัตใิ นดานนน้ั ๆ 10) มีการสื่อสารประชาสัมพันธขาวสารความรูโรคโควิด 19 เกี่ยวกับอาการของโรค คำแนะนำการปฏิบัติตน เพื่อลดการเสยี่ งตอ โรค เชน เสยี งตามสาย ติดปายประชาสมั พันธตามจดุ ตา ง ๆ ไลนกลมุ หอพกั 11) กำกบั ดแู ลตรวจสอบการปฏิบัตติ นใหเปนสุขนิสัยกิจวตั ร โดยจดั ใหมีจิตอาสาควบคุมดแู ลทุกวนั คมู ือการปฏบิ ตั สิ ำหรับสถานศกึ ษาในการปองกันการแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 40

12) หากพบผูปวยยืนยันหรือมีขอมูลบงชี้วา หอพักอาจเปนจุดแพรเชื้อได ใหผูรับผิดชอบรวมมือกับเจาพนักงาน ควบคุมโรคติดตอ ในการดาเนินการตางๆ เชน การสอบสวนโรค การทาความสะอาดพ้ืนท่ีตา ง ๆ เปนตน 13) มาตรการอื่นๆ นอกจากนี้ ใหเปนไปตามระเบียบของหอพักและใหมีลักษณะเพื่อปองกันการแพรเชื้อและ สามารถติดตามสอบสวนโรคได เชน กิจกรรมการรวมตัวสังสรรค การกาหนดใหบุคคลภายนอกเขาพัก หรือผูมาติดตออื่น ๆ มีการลงทะเบยี น เพือ่ การติดตาม ตรวจสอบกรณีพบผปู วยท่ีเก่ยี วขอ งกบั หอพัก 14. หองนอนเดก็ เลก็ 1) ทาํ ความสะอาดเครอ่ื งนอน เปลย่ี นผา ปทู น่ี อน ปลอกหมอน และผา กนั เปอ นทกุ วนั รวมถงึ ทาํ ความสะอาดอปุ กรณ ของใชข องเลน ตเู กบ็ ของสวนบุคคล และจดุ สัมผสั เสีย่ งรว ม เปนประจําทกุ วนั 2) จดั ใหม พี น้ื ทส่ี าํ หรบั การเรยี นรขู องเดก็ รายบคุ คล เชน เรยี นบนเสอ่ื ใชส ญั ลกั ษณแ ทนขอบเขต รวมถงึ การจดั ทน่ี อน สาํ หรบั เด็ก ตอ งเวนระยะหางระหวางบุคคล อยา งนอย 1 - 2 เมตร 3) มแี ละใชข องใชส ว นตวั เนน ไมใชของใชร ว มกนั เชน ผา กันเปอ น ผาเชด็ หนา ผา เช็ดตัว แกว นำ้ 4) จดั ใหม เี จลแอลกอฮอลใ ชท าํ ความสะอาดมอื สาํ หรบั ครแู ละนกั เรยี น บรเิ วณทางเขา และภายในหอ งอยา งเพยี งพอ 5) มีการระบายอากาศที่ดี อากาศถายเทสะดวก เชน เปดประตู หนาตาง หลีกเลี่ยงการใช เครื่องปรับอากาศ หากจาํ เปน ตอ งใชเ ครอ่ื งปรบั อากาศ กาํ หนดเวลาเปด –ปด เครอ่ื งปรบั อากาศ และเปด ประตู หนา ตา งระบายอากาศ ทกุ 1 ชว่ั โมง และตองทําความสะอาดอยา งสม่ำเสมอ 6) จดั อุปกรณการสง เสรมิ พฒั นาการเดก็ อยา งเพียงพอ คนละ 1 ชุด 7) อัตราสวนของครูหรอื ผดู แู ลเดก็ หรือพเ่ี ลย้ี งตอเด็กเล็ก 1 : 5-8 ในการดแู ลเด็กตลอดท้งั วัน 15. การเขา แถวเคารพธงชาติ 1) การจัดพื้นที่เขาแถว ใหมีการเวนระยะหางระหวางบุคคล อยางนอย 1 - 2 เมตร กรณีมีพื้นที่จํากัดไมเพียงพอ อาจพจิ ารณาสลบั ชน้ั เรยี นมาเขา แถวบรเิ วณหนา เสาธง หรอื จดั ใหม กี ารเขา แถวบรเิ วณทม่ี พี น้ื ท่ี กวา งขวาง เชน หนา หอ งเรยี น ลานอเนกประสงค ลานสนามกฬี า โรงยิม หอประชมุ เปนตน 2) ครูและนกั เรียนทกุ คนตอ งสวมหนากากผาหรือหนา กากอนามยั ตลอดเวลาการเขา แถวเคารพธงชาติ 3) ลดระยะเวลาการจดั กจิ กรรมหนา เสาธง กรณมี กี ารสอ่ื สารประชาสมั พนั ธค วรใชช อ งทางอน่ื ๆ เชน เสยี งตามสาย ผา นออนไลน Line Facebook E-mail แจง ในหองเรียน เปนตน 4) ทาํ ความสะอาดอปุ กรณข องใชห รอื จดุ สมั ผสั เสย่ี ง ภายหลงั การใชง านทกุ ครง้ั เชน เชอื กทเ่ี สาธง ไมโครโฟน เปน ตน 41 คูมือการปฏบิ ตั ิสำหรับสถานศกึ ษาในการปอ งกนั การแพรระบาดของโรคโควดิ 19

 คมู อื การปฏบิ ตั ิสำหรบั สถานศกึ ษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 42


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook