Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 07Lesson7(2-2017)_report sample

07Lesson7(2-2017)_report sample

Published by rachaneekmp, 2017-12-16 04:41:45

Description: 07Lesson7(2-2017)_report sample

Search

Read the Text Version

1.5 นิ้ว บทที่ 1 ตวั อกั ษร 18 ตวั หนา ความรู้ทวั่ ไปเกยี่ วกบั สงครามยุทธหตั ถี ขนาดตวั อกั ษรของเน้ือเรื่องคือ 16 สงครามยทุ ธหตั ถี เป็นการรบที่มีเกียรติของกษตั ริย์ เเละสงครามยุทธหตั ถีคร้ังย่งิ ใหญ่ที่ถูก1.5 นิ้ว จารึกไวใ้ นประวตั ิศาสตร์ไทยเเละพม่า เกิดข้ึนในปี พุทธศกั ราช 2135 เป็ นการทาสงครามยุทธหตั ถี 1 นิ้วระหวา่ งสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชกบั มหาอุปราชมงั กะยอชวา ทุกๆ สงครามยอ่ มมีสาเหตุการเกิดเเละจบลงโดยมีผเู้ เพเ้ เละผชู้ นะ สงครามยทุ ธหตั ถีในคร้ังน้ีก็เช่นกนัความหมายของยุทธหตั ถี ยทุ ธหตั ถี หมายถึง การต่อสู้ดว้ ยอาวุธบนหลงั ชา้ ง เป็ นการรบอยา่ งกษตั ริยใ์ นสมยั โบราณ(ราชบณั ฑิตยสถาน, 2546, หนา้ 911) แต่ในสมยั โบราณถือวา่ ยุทธหตั ถี หรือ การชนชา้ งเป็ นยอดยทุ ธวธิ ีของนกั รบ เพราะเป็นการต่อสู้อยา่ งตวั ตอ่ ตวั แพช้ นะกนั ดว้ ยความคล่องแคล่วกบั การชานาญใน การขบั ข่ีชา้ งชน โดยไม่ตอ้ งอาศยั ร้ีพลหรือกลอุบายแตอ่ ยา่ งใด เพราะโดยปกติในการทาสงครามโอกาสที่จอมทพั ท้งั สองฝ่ ายจะเขา้ ใกลช้ ิดจนถึงชนชา้ งกนั มีนอ้ ยมาก ดงั น้นั กษตั ริยพ์ ระองคใ์ ดกระทายุทธหัตถีชนะ ก็จะไดร้ ับการยกย่องวา่ มีพระเกียรติยศสูงสุด และแมแ้ ต่ผแู้ พก้ ็ไดร้ ับการยกยอ่ งสรรเสริญว่าเป็ นนกั รบแท้ (สมชาย พุ่มสอาด, สมพงษ์ เกรียงไกรเพชร และกมล วชิ ิตสรศาสตร์,2527)วนั ยุทธหตั ถีรงค์ ประพนั ธ์พงศ์ (2559) ไดก้ ล่าวถึงความหมายของวนั ยทุ ธหตั ถี ไวว้ า่ วนั ยุทธหตั ถี หรือท่ีเรียกวา่ “วนั สมเด็จพระนเรศวรมหาราช” หมายถึง วนั ที่ระลึกท่ีสมเด็จ พระนเรศวรมหาราช ทรงกระทายุทธหตั ถีมีชยั ชนะต่อสมเด็จพระมหาอุปราชาของพม่า ชยั ชนะ แห่งสงครามยุทธหตั ถีเป็ นวีรกรรมย่ิงใหญ่ของกษตั ราธิราช และย่อมไดร้ ับการกล่าวขวญั สดุดีไปทว่ั เมื่อวนั จนั ทร์ เดือน 2 แรม 2 ค่า จุลศกั ราช 954 ซ่ึงตรงกบัวนั ท่ี 18 มกราคม พุทธศกั ราช 2135 คณะ รัฐมนตรีจึงไดม้ ีมติเมื่อวนั ที่ 29 พฤศจิกายน /ขนาดตวั อกั ษรของเชิงอรรถคือ 14 1 นิ้ว

2 พุทธศกั ราช 2548 กาหนดใหว้ นั ที่ 18 มกราคม ของทุก ปี เป็ น \"วนั ยทุ ธหตั ถี\" และถือวนั น้ี เป็นวนั รัฐพิธีโดยใหม้ ีการวางพานพมุ่ สกั การะแต่ไมถ่ ือเป็นวนั หยดุ ราชการ (หนา้ 192)สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเป็ นพระมหากษัตริย์ทท่ี รงเชี่ยวชาญการรบ สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเป็นพระมหากษตั ริยท์ ี่ทรงเช่ียวชาญการรบยิง่ ทรงฉลาดในการวางแผนยุทธวธิ ี และ อุบายกระบวนศึกท่ีไม่เหมือนผใู้ ด ดงั ท่ี ภาสกร วงศต์ าวนั (2558) ไดก้ ล่าวไว้ว่า “สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเป็ นพระมหากษตั ริยท์ ี่ทรงเชี่ยวชาญการรบย่ิงทรงฉลาดในการวางแผนยทุ ธวธิ ี และ อุบายกระบวนศึกที่ไม่เหมือนผใู้ ดในสมยั เดียวกนั ทรงเป็ นผรู้ ิเริ่มการรบแบบกองโจรคือใชค้ นนอ้ ย แต่สามารถต่อสู้กบั คนจานวนมากได”้ (หนา้ 67) สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงมีความสามารถในการใช้อาวุธที่ทาการรบแทบทุกชนิดอยา่ งเช่ียวชาญ ดงั ที่ สม สุจีรา (2558) ไดก้ ล่าวไวว้ า่ สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชทรงมีความสามารถในการใชอ้ าวธุ ที่ทาการรบแทบทุก ชนิดอยา่ งเช่ียวชาญ ไม่วา่ จะเป็ นปื น ดาบ ทวน หรือ งา้ ว ในพงศาวดารพม่ากล่าวไวโ้ ดย สรุปวา่ วนั หน่ึงพระเจา้ หงสาวดีนนั ทบุเรง ทรงตดั พอ้ วา่ ไม่มีใคร ท่ีจะอาสามาสู้รบ กบั กรุง ศรีอยธุ ยาเลย ท้งั ๆที่พระนเรศวรมีร้ีพลแค่หยิบมือเดียว พระยาลอขุนนาง คนหน่ึง จึงทูลวา่ กรุงศรีอยธุ ยาน้นั สาคญั ท่ีพระนเรศวรองคเ์ ดียว เพราะกาลงั หนุ่ม รบพุ่งเขม้ แข็งท้งั บงั คบั บญั ชาผคู้ นก็สิทธิขาดร้ีพลท้งั นายไพร่กลวั พระนเรศวรย่ิงกวา่ กลวั ความตาย เจา้ ให้รบพุ่ง อยา่ ง ไรก็ไม่คิดแก่ชีวิตดว้ ยกนั ท้งั น้นั คนนอ้ ยจึง เหมือนคนมาก ขอ้ ความดงั กล่าวเป็ นการ สะทอ้ นใหเ้ ห็น ถึงพระบารมีของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชไดอ้ ยา่ งชดั เจน (หนา้ 147)เจ้าพระยาปราบหงสาวดี สม สุจิรา (2558) ไดก้ ล่าวถึงเจา้ พระยาปราบหงสาวดี ไวว้ า่ ในสมยั กรุงศรีอยุธยามีชา้ งท่ีสาคญั คือ เจา้ พระยาปราบหงสาวดี ซ่ึงเดิมช่ือ พลาย ภูเขาทองเป็ นชา้ งคู่พระบารมีในสมเด็จพระนเรศวรมหาราช นอกจากน้ี ชา้ งของพระองค์ เป็นชา้ งชนะงา คือ ชา้ งมี งาท่ีไดร้ ับการฝึ กใหร้ ู้จกั การต่อสู้มาแลว้ หรือเคยผา่ นสงครามชน ชา้ งชนะชา้ งตวั อ่ืนมาแลว้ ซ่ึงเป็ นช้างท่ีกาลงั ตกมนั หลงั จากข้ึนระวางแลว้ ไดบ้ รรดาศกั ด์ิ/

3 เป็นเจา้ พระยาไชยานุภาพ ต่อมาไดร้ ับพระราชทานนามวา่ เจา้ พระยาปราบหงสาวดี ในคร้ัง ที่ชนะศึกยทุ ธหตั ถีกบั พระมหาอุปราชวนั ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2135 ณ ตาบลท่าคอย ซ่ึงใน ปัจจุบนั ไดเ้ ปลี่ยนมาเป็ นวนั ท่ี 18 มกราคม ตาบลดอนเจดีย์ อาเภอดอนเจดีย์ จงั หวดั สุพรรณบุรีถูกบนั ทึกไวใ้ นพงศาวดาร เชื่อกนั วา่ เป็นชา้ งท่ีมีความจงรักภกั ดี และมีความกลา้ หาญเสียสละช่วยกอบกชู้ าติ ให้แผน่ ดิน มีลกั ษณะทางคชลกั ษณ์ที่ดี ส่วนหน่ึงไดแ้ ก่ มีหลงั ที่โคง้ ลาด (หนา้ 157) ซ่ึงจากจดหมายเหตุระบุวา่ “เจา้ พระยาปราบหงสาวดีลม้ ลงในปี พ.ศ. 2139 หลงั ศึกยทุ ธหตั ถี4 ปี สมเดจ็ พระนเรศวรโปรดไดม้ ีการสร้างเมรุเผาศพชา้ งหลวงอยา่ งสมเกียรติยศ เจา้ พระยาไชยานุภาพ ถึง 7 วนั 7 คืน” (Cotre, Asiaticas, Teensma and Verberckmoes, 1991, p.102)สมเด็จพระนเรศวรทรงพระสุบนิ เสาวลกั ษณ์ อนนั ตศานต์ (2547) ไดก้ ล่าวถึง การที่สมเด็จพระนเรศวรทรงพระสุบินนิมิตแสดงลางสงั หรณ์ไปในทางท่ีดี ไวว้ า่ เม่ือสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ประทบั อยู่ที่ค่ายหลวง ตาบลมะขามหวาน ก่อน วนั ที่จะเสด็จ ยกกองทพั ไปเมือง สุพรรณบุรีในตอนกลางคืน สมเด็จพระนเรศวรทรงพระ สุบินนิมิตแสดงลางสังหรณ์ไปในทางท่ีดีวา่ พระองคไ์ ดท้ อดเห็น พระเนตรเห็นกระแสน้า ไหลบา่ ท่วมป่ าสูงทางทิศตะวนั ตก พระองคท์ รงลุยกระแสน้าอนั เชี่ยวและกวา้ งใหญ่น้นั มี จระเขใ้ หญ่ตวั หน่ึงทะยานเขา้ โถมปะทะ และจะกดั พระองคจ์ ึงเกิดต่อสู้กนั ข้ึน สมเด็จพระ นเรศวรทรงใชด้ าบตอ่ สู้จระเข้ ทรงต่อสู้จโู่ จมฟาด ฟันแทงจนน้าฟ้ ุงกระจายท้งั คนท้งั จระเข้ และไดต้ ่อสู้กันอย่างเต็มกาลงั เพื่อหวงั จะปลิดชีวิตของอีก ฝ่ ายหน่ึงให้ได้สมเด็จพระ นเรศวรทรงต่อสู้กบั จระเขส้ ามารถใชพ้ ระแสงดาบฆ่าจระเขจ้ นตาย ในทนั ใดน้นั น้าที่ท่วม นองป่ าก็ เหือดแห้งไป พระองค์ทรงดีพระทยั วา่ คงจะกาจดั เส้ียนสงครามไดส้ าเร็จเม่ือ พระองคต์ กพระทยั ตื่นบรรทม สมเดจ็ พระนเรศวรรับสั่งให้โหรทานายพระสุบินนิมิตทนั ที พระโหราธิบดีกราบถวาย พยากรณ์วา่ พระสุบินคร้ังน้ีเกิดข้ึนเพราะเทวดาสังหรณ์ใหท้ ราบ เป็ นนัย น้าซ่ึงไหลทางท่วมป่ าทางทิศตะวนั ตก คือ กองทพั พม่า จระเข้ คือ พระมหาอุป ราชา สงครามคราวน้ีจะเป็ นสงครามใหญ่ขนาดทายุทธหัตถีกนั การที่พระองค์เอาชนะ/

4 จระเขไ้ ดแ้ สดงวา่ ศตั รูของพระองคจ์ ะตอ้ งสิ้นชีวิตลงดว้ ยพระแสงของา้ ว และท่ีพระองค์ ทรงกระแสน้า หมายความวา่ พระองคจ์ ะรุกไล่ บุกฝ่ าไปในหมู่ขา้ ศึก จนขา้ ศึกแตกพ่ายไป และไม่อาจจะตา้ นทานพระบรมเดชานุภาพได้ (หนา้ 55-57)สาเหตุของสงครามยทุ ธหตั ถี สาเหตุของสงครามยุทธหตั ถีในคร้ังน้ี เป็ นผลสืบเน่ืองมาจากสงครามคราวท่ีพระมหาอุปราชายกทพั มาพ่ายแพ้ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ดงั ที่ สมเด็จฯ กรมพระยาดารงราชานุภาพ(2556) ไดก้ ล่าวไวว้ า่ สาเหตุของสงครามยุทธหตั ถีในคร้ังน้ี เป็ นผลสืบเน่ืองมาจากสงครามคราวที่พระ มหาอุปราชายกทพั มาพา่ ยแพ้ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เมื่อปี ขาล พ.ศ. 2133 คร้ังน้นั แม่ ทพั นายกองท้งั หลายถูกพระเจา้ นนั ทบุเรงลงอาญาอยา่ งหนกั แต่พระมหาอุปราชาเพียงถูก ภาคทณั ฑ์ไวเ้ ท่าน้นั คร้ัน เม่ือถึง ปี มะโรง พ.ศ. ๒๑๓๕ พระเจา้ นนั ทบุเรงมีพระราช ประสงคจ์ ะใหพ้ ระมหาอุปราชาแกต้ วั โดย ยกทพั ไปรบกบั พระนเรศวรอีกคร้ังหน่ึง แต่ดว้ ย ความครั่นครามของพระมหาอุปราชาที่มีต่อพระ นเรศวรน้นั จึงหากลา้ ออกรบไม่โดยทูล ตอบวา่ ยงั เคราะห์ร้ายอยู่ ซ่ึงเป็ นเหตุให้พระเจา้ นนั ทบุเรงทรง ขดั เคืองเป็ นอยา่ งยิ่ง (หน้า 102) สงครามยทุ ธหตั ถีเป็ นการสู้รบบนหลงั ชา้ งอย่างกษตั ริยโ์ บราณ สงครามยุทธหัตถี ในปีพ.ศ. 2135 สาเหตุเกิดจากพระเจา้ นนั ทบุเรงใหพ้ ระมหาอุปราชายกทพั มาตีอยุธยา เพ่ือเป็ นการเเกต้ วัอีก คร้ัง เเละผลของสงครามคือชยั ชนะของพระนเรศวร โดยเรียกวนั น้นั วา่ วนั ยทุ ธหตั ถี เเละชา้ งทรงของพระองคไ์ ดร้ ับพระราชทานช่ือวา่ เจา้ พระยาปราบหงสาวดี เเละหลงั จากชยั ชนะในคร้ังน้นั ทาให้พม่าไมก่ ลา้ ยกทพั มารุกรานไทยอีกเป็นเวลาเกือบ 200 ปี

บรรณานุกรมดารงราชานุภาพ, สมเด็จฯ กรมพระยา. (2556). พงศาวดารเร่ืองไทยรบพม่า (พิมพค์ ร้ังที่ 2). กรุงเทพฯ: ไทยควอล้ีบุค๊ ส์.ภาสกร วงศต์ าวนั . (2558). ประวตั ิศาสตร์ไทยจากคนไทยท้ังแผ่นดิน (พมิ พค์ ร้ังท่ี 4). กรุงเทพฯ: ยปิ ซีกรุ๊ป.รงค์ ประพนั ธ์พงศ.์ (2559). 7 ภวู นาถราชภกั ด์ิ. กรุงเทพฯ: พิมพด์ ี.ราชบณั ฑิตยสถาน. (2546). พจนานกุ รมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: ราชบณั ฑิตยสถาน.สม สุจิรา.(2558). เจาะตานานสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช (พิมพค์ ร้ังที่ 19). กรุงเทพฯ: อมรินทร์ ธรรมะ.สมชาย พมุ่ สอาด, สมพงษ์ เกรียงไกรเพชร และกมล วชิ ิตสรศาสตร์. (2557). 400 ปี สมเดจ็ พระ นเรศวร. กรุงเทพฯ: พุทธบูชาการพิมพ.์เสาวลกั ษณ์ อนนั ตศานต.์ (2547). เร่ืองเล่าวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย. กรุงเทพฯ: แมค๊ แวดูเคชน่ั .Cotre, Jde, Asiaticas, A Teensma, B, Verberckmoes, J. (1991). The Memories and Memorials of Jacque de Coutre. Madrid: (n.p.).


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook