37 ตวั แปรอิสระ ตัวแปรตาม (Independent Variables) (Dependent Variables) คณุ ลักษณะอาสาสมัคร บทบาทอาสาสมัคร 1. ความรู้สึกอิสระในการเป็นผู้เลือกงาน 1. บทบาทเป็นความคาดหวังท่ีเกดิ ขน้ึ ของ อาสาสมัครทต่ี นเองสนใจ อาสาสมคั ร มิได้เกย่ี วข้องหรือมุง่ ไปท่ีตัว 2. สานึกร่วมหรือความเป็นเจ้าของร่วมเกิด บุคคล การเสยี สละและผกู พัน 2. บทบาทมคี วามสมั พันธ์กับพฤติกรรมใน 3. การปฏบิ ัติงานที่ไม่ใช่ภาระงานที่ต้องทา การทางานของอาสาสมัครบทบาทใน ตามหน้าที่ องค์การเป็นพฤติกรรมทถ่ี ูกคาดหวงั ให้ ปฏบิ ัตงิ านหน่งึ ๆ 3. อาสาสมัครรู้จกั ตนเองตามบทบาท หนา้ ที่ท่ไี ดร้ บั มอบหมาย 4. พฤติกรรมอาสาสมัครตามสถานการณ์ท่ี กาหนดให้จะตอ้ งมคี วามเหมาะสมกบั การส่งเสริมฐานะของตนเอง Ref. code: 25595805038121LZO
38 บทท่ี 3 ระเบยี บวิธีการศกึ ษา การศึกษาวิจัยเร่ือง คุณลักษณะอาสาสมัครที่มีผลต่อบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุข มี วิธีการศกึ ษา ประกอบด้วย 3.1 วธิ ีการศกึ ษา 3.2 ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง 3.3 ตัวแปรทใ่ี ช้ในการศกึ ษา 3.4 เคร่อื งมอื ท่ใี ชใ้ นการศึกษา 3.5 การพฒั นาแบบสอบถามให้มีประสทิ ธิภาพ 3.6 การเก็บรวบรวมข้อมูล 3.7 การวิเคราะหข์ ้อมูล 3.1 วธิ กี ารศกึ ษา เป็นการศึกษาเชิงสารวจ (Survey Research) โดยวิธีการศึกษาและเก็บข้อมูล ประกอบด้วย 2 ส่วน ดังน้ี 1. การศึกษาภาคทฤษฎี เป็นการรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร (Documentary Research) ซ่ึงแหล่งข้อมูลนั้นประกอบด้วย บทความด้านวิชาการ หนังสือ สารนิพนธ์ และ วิทยานิพนธ์ เว็ปไซด์ รวมถึงงานพิมพต์ า่ ง ๆ ท่เี ก่ียวข้อง 2. การศึกษาภาคสนาม (Field Research) การเก็บขอ้ มูลโดยการใช้แบบสอบถาม โดย ผศู้ ึกษาเปน็ ผู้สร้างข้ึนมาเปน็ เคร่อื งมอื เกบ็ รวบรวมข้อมูลจากอาสาสมัครสาธารณสขุ จงั หวัดนนทบุรี 3.2 ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง 3.2.1 ประชากร ประชากรท่ีใช้ในการศึกษาครั้งน้ี คืออาสาสมัครสาธารณสุขในเขตพ้ืนที่จังหวัด นนทบุรี ที่มีการพัฒนาการทางานอย่างต่อเน่ือง โดยเหตุผลประการสาคัญคือ พ้ืนที่ศึกษาจังหวัด นนทบุรีน้ันมีอาสาสมัครสาธารณสุขใน 2 บริบท คือ ในบริบทของพ้ืนท่ีเมืองและในบริบทของพ้ืนท่ี ชนบท โดยทั้ง 2 ส่วนต่างมีรปู แบบกลไกเดียวในการดาเนินการคือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล Ref. code: 25595805038121LZO
39 ท่ีมีเครือข่ายอาสาสมัครในพื้นที่ในการทาหน้าท่ีขับเคล่ือนการทางานอย่างต่อเนื่องท้ังที่ภายใต้ สถานการณ์ทางสังคมท่ีต่างกันดังกล่าว ด้วยเหตุผลประการดังกล่าว ขอบเขตประชากรในการศึกษา จึงเลือกศึกษาใน 2 พ้ืนที่เพ่ือเป็นตัวแทนอาสาสมัครสาธารณสุขในเขตจังหวัดนนทบุรี ประกอบด้วย พ้ืนท่ีเขตเมืองศึกษาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลไขแสง กาเนิดมี ตาบลบางเขน อาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี มีอาสาสมัคร จานวน 110 คน เขตพื้นที่ชนบท ศึกษาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตาบลวัดยอดพระพิมล ตาบลขุนศรี อาเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี มีอาสาสมัคร จานวน 61 คน (ข้อมูล ณ วนั ท่ี 1 กันยายน 2559) 3.2.2 กลุ่มตวั อย่าง 1. เนอื่ งจากประชากรมีจานวนที่แน่นอน (Finite Population) ดงั นนั้ ผู้ศึกษาจึง เลือกวิธีการกาหนดขนาดของกลุ่มประชากรตัวอย่าง โดยใช้สูตร Yamane (จารณี สุขสม, 2556, น. 42) คานวณขนาดของกล่มุ ตวั อยา่ ง ดังนี้ N= เมื่อ n = ขนาดของกลุ่มตัวอยา่ ง N = ขนาดของประชากรทง้ั หมด e = ความคลาดเคลื่อนของการส่มุ (เทา่ กบั .05) ค่าความเช่ือม่ันในการวิจัยคร้ังน้ีเท่ากับ ร้อยละ 95 และค่าความคลาด เคล่อื นทส่ี ามารถยอมรบั ได้ เทา่ กบั .05 ซ่ึงจากสตู รขา้ งต้น สามารถคานวณหาขนาดตวั อย่าง ได้ดงั นี้ n= ผลจากการคานวณได้ขนาดตวั อย่าง จานวน 120 คน ในการวิจัยคร้ังนี้ ผู้วิจัยใช้กลุ่มตัวอย่าง จานวน 120 คน จากบัญชีรายช่ือ อาสาสมัครสาธารณสุขใน 2 พ้ืนที่ ประกอบด้วย พ้ืนที่เขตเมืองศึกษาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตาบลไขแสง กาเนิดมี ตาบลบางเขน อาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี เขตพื้นท่ีชนบท ศึกษาโรงพยาบาล ส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบลวดั ยอดพระพิมล ตาบลขุนศรี อาเภอไทรนอ้ ย จงั หวัดนนทบรุ ี 2. การสุ่มตัวอย่าง ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย (Simple Random Sampling) (จารณี สุขสม, 2556, น. 43) โดยอาสาสมัครสาธารณสุข 120 คน โดยท่ีแต่ละหน่วยมี โอกาสหรือความน่าจะเป็นท่ีจะถูกเลือกมาเป็นตัวอย่างเท่ากันโดยผู้วิจัยใช้ตารางเลขสุ่ม ก่อนเลือก ตารางเลขสุ่ม ต้องให้เลขที่แก่หน่วยทุกหน่วยในประชากรจากหมายเลข 1 ถึง 120 แล้วเลือกเลขสุ่ม Ref. code: 25595805038121LZO
40 ข้ึนมา ถ้าหมายเลขท่ีได้ตรงกับหน่วยใด หน่วยนั้นก็จะตกเป็นตัวอย่าง ถ้าหมายเลขที่ได้เกินเลขที่ สุดท้ายในประชากรกท็ ้ิงไป เลือกจนครบ 120 คน หน่วยตามตอ้ งการ 3.3 ตวั แปรทใ่ี ชใ้ นศึกษา จากการศึกษาเอกสารและทฤษฎที เี่ ก่ยี วข้องได้กาหนดตัวแปรท่ีใช้ในการศึกษา ดังนี้ 1. ตัวแปรอสิ ระ (Independent Variables) คณุ ลักษณะอาสาสมัคร ประกอบด้วย 1.1 ความร้สู ึกอสิ ระในการเป็นผู้เลือกงานอาสาสมคั รท่ตี นเองสนใจ (Choose) 1.2 สานึกร่วมหรือความเป็นเจ้าของร่วมเกิดการเสียสละและผูกพัน (Sense of Belonging) 1.3 การปฏิบัติงานที่ไม่ใช่ภาระงานท่ีต้องทาตามหน้าที่ (Beyond Basic Obligations) 2. ตัวแปรตาม (Dependent Variables) การปฏบิ ัตงิ านตามบทบาท ประกอบดว้ ย 2.1 บทบาทเป็นความคาดหวังท่ีเกิดขึ้นของอาสาสมัคร มิได้เก่ียวข้องหรือมุ่งไปท่ี ตวั บคุ คล 2.2 บทบาทมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมในการทางานของอาสาสมัครบทบาทใน องคก์ ารเปน็ พฤตกิ รรมทถี่ กู คาดหวงั ใหป้ ฏิบตั งิ านหนึ่ง ๆ 2.3 อาสาสมคั รรจู้ กั ตนเองตามบทบาทหน้าที่ท่ีไดร้ ับมอบหมาย 2.4 พฤติกรรมอาสาสมัครตามสถานการณ์ที่กาหนดให้จะต้องมีความเหมาะสมกับ การส่งเสรมิ ฐานะของตนเอง 3.4 เครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการศกึ ษา เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งน้ีคือ แบบสอบถาม (Questionnaire) เพื่อใช้สอบถาม ความคิดเห็นเกี่ยวกับการวิเคราะห์คุณลักษณะอาสาสมัครมีผลต่อบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุข ผู้วิจยั ได้นาขอ้ สรุปจากการศึกษาทบทวนวรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้องและการสังเคราะห์ทฤษฎี เพื่อพัฒนา เปน็ ตัวแปร และต้ังคาถามในแบบสอบถาม นาไปทดสอบความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างเพื่อวิเคราะห์ คณุ ลักษณะอาสาสมัครต่องานอาสาสมคั รสาธารณสขุ โดยแบบสอบถามแบง่ ออกเป็น 3 ส่วน สว่ นที่ 1 ขอ้ มูลสภาพทว่ั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถามประกอบดว้ ย 1. เพศแบง่ เปน็ เพศชายและเพศหญงิ 2. อายุ เปน็ แบบคาถามปลายเปิด (Open-ended Response Question) Ref. code: 25595805038121LZO
41 3. อาชพี 4. วุฒกิ ารศึกษา 5. ระยะเวลาการเป็นอาสาสมัครสาธารณสขุ ส่วนที่ 2 แบบสอบถามเก่ียวกับคุณลักษณะอาสาสมัครองค์ประกอบด้านคุณลักษณะ อาสาสมัครสาธารณสุขแยกออกเป็น 3 ด้าน ท่ีสะท้อนในแต่ละด้าน โดยใช้แบบสอบถามอาสาสมัคร สาธารณสขุ มรี ายละเอียดดงั นี้ 1. ความรสู้ ึกอสิ ระในการเปน็ ผูเ้ ลือกงานอาสาสมัครทต่ี นเองสนใจ (Choose) 2. สานึกร่วมหรือความเป็นเจ้าของร่วมเกิดการเสียสละและผูกพัน (Sense of Belonging) 3. การปฏิบตั ิงานท่ไี มใ่ ช่ภาระงานทีต่ ้องทาตามหน้าท่ี (Beyond Basic Obligations) สว่ นที่ 3 เป็นแบบสอบถามเกีย่ วกบั บทบาทอาสาสมคั รสาธารณสุข 1. บทบาทเป็นความคาดหวังที่เกิดขึ้นของอาสาสมัคร มิได้เกี่ยวข้องหรือมุ่งไปท่ี ตวั บุคคล 2. บทบาทมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมในการทางานของอาสาสมัครบทบาทใน องคก์ ารเปน็ พฤตกิ รรมท่ีถูกคาดหวังให้ปฏิบัตงิ านหนึง่ ๆ 3. อาสาสมัครรจู้ กั ตนเองตามบทบาทหน้าทที่ ่ไี ดร้ ับมอบหมาย 4. พฤติกรรมอาสาสมัครตามสถานการณ์ท่ีกาหนดให้จะต้องมีความเหมาะสมกับการ ส่งเสรมิ ฐานะของตนเอง มาตรวัดในส่วนท่ี 2 และ 3 แบบสอบถามในการประมาณค่า 5 ระดับของลิเคิร์ท (Likert Five Rating Scale) (Likert, 1961, p. 74) ดังปรากฏในตาราง 3.1 ตารางที่ 3.1 การใหค้ ะแนนแบบลเิ คิร์ท (Likert five Rating scale) ทใ่ี ช้ในแบบสอบถามในสว่ นท่ี 2 และส่วนที่ 3 คะแนนแบบลิเคริ ์ท การใหค้ ะแนนคาถามเชิงบวก การให้คะแนนคาถามเชิงลบ จรงิ ท่สี ุด 51 จรงิ 4 2 ไมแ่ น่ใจ 33 ไม่จรงิ 2 4 ไม่จรงิ ท่ีสุด 15 Ref. code: 25595805038121LZO
42 การพิจารณาระดับคะแนนของคุณลักษณะอาสาสมัครต่องานอาสาสมัครสาธารณสุข แบง่ ออกเปน็ 5 ระดบั (นราเขต ย้ิมสขุ , 2552, น. 32) ดงั นี้ อันตรภาคชั้น = พสิ ยั จานวนชนั้ = คะแนนสูงสุด-คะแนนตา่ สุด จานวนช้ัน = 5-1 5 = 0.8 จากสตู รดงั กลา่ วจากาหนดการแบ่งระดับ โดยพิจารณาจากค่าคะแนนเฉลยี่ ดังนี้ คะแนน 4.21-5.00 หมายถึง มคี ุณลักษณะอาสาสมัครอยู่ในระดบั สูงที่สุด คะแนน 3.41-4.20 หมายถงึ มีคณุ ลกั ษณะอาสาสมัครอยู่ในระดับ สูง คะแนน 2.61-3.40 หมายถึง มคี ณุ ลกั ษณะอาสาสมัครอยู่ในระดับ ปานกลาง คะแนน 1.81-2.60 หมายถงึ มีคณุ ลกั ษณะอาสาสมัครอยู่ในระดับ ต่า คะแนน 1.00-1.80 หมายถึง มคี ณุ ลักษณะอาสาสมัครอยู่ในระดับ ต่าทสี่ ุด 3.5 การพฒั นาแบบสอบถามให้มีประสิทธภิ าพ 1. สร้างแบบสอบถามเกี่ยวกับคุณลักษณะอาสาสมัครท่ีมีผลต่อบทบาทอาสาสมัคร สาธารณสขุ โดยมรี ายละเอียดข้ันตอนในการสรา้ งแบบสอบถามดังน้ี 1.1 ประมวลความรู้ท่ีได้จากการศึกษาหลักการ แนวคิดทฤษฎีท่ีเก่ียวข้องจาก เอกสาร ตารา บทความวิชาการและงานวิจัยที่เก่ียวข้องท้ังในและต่างประเทศ และนามาสรุปเป็น ตวั แปรท่ีศึกษา 1.2 สรา้ งแบบสอบถามโดยนาผลสรุปตัวแปรที่ศึกษามานิยามปฏิบัติการและนามา ตงั้ คาถามของแบบสอบถามการวิเคราะห์คณุ ลักษณะอาสาสมัครตอ่ งานอาสาสมคั รสาธารณสขุ 1.3 นาแบบสอบถามที่สร้างข้ึนเสนออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อตรวจสอบความ เหมาะสมของเนอื้ หา ภาษาที่ใช้ ความครอบคลุม รวมท้ังให้ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติมและดาเนินการแก้ไข ตามคาแนะนาอาจารย์ท่ปี รึกษา 2. จากนั้นนาไปตรวจสอบความเท่ียงตรงโดยนาแบบสอบถามให้ผู้เชี่ยวชาญท้ัง ตรวจสอบความสอดคล้องของข้อคาถามกับวัตถุประสงค์และให้คะแนนโดยให้คะแนน +1 เมื่อแน่ใจ ว่าข้อความน้ีสามารถวัดได้ตามนิยามของแบบสอบถาม ให้คะแนน 0 เม่ือไม่แน่ใจว่าข้อความนี้ Ref. code: 25595805038121LZO
43 สามารถวัดได้ตามนิยามของแบบสอบถาม และให้คะแนน -1 เมื่อแน่ใจว่าข้อความนี้ไม่สามารถวัดได้ ตามนิยามของแบบสอบถาม หลังจากนั้นรวบรวมคะแนนโดยผู้วิจัยคัดเลือกข้อคาถามที่มีค่าดัชนี ความสอดคลอ้ ง (Index of Congruence: IOC) ตง้ั แต่ .60 ถึง 1.00 3. นาแบบสอบถาม (Try out) กับอาสาสมัครสาธารณสุขท่ีมีลักษณะใกล้เคียงกันกับ กลุ่มท่ีจะศึกษา จานวน 30 คน แล้วนาผลท่ีได้ปรับปรุงแบบสอบถาม ด้วยการวิเคราะห์รายข้อย่อย (Item Analysis) โดยวิเคราะห์ข้อคาถามที่ใช้มาตรวัดลิเคิร์ทสเกล (Likert Five Rating Scale) เท่านนั้ จึงเปน็ ข้อคาถามในส่วนที่ 2 และ 3 สาหรบั การวเิ คราะห์ในแต่ละขอ้ น้นั มีข้ันตอนดงั นี้ 3.1 ตรวจคะแนนแต่ละข้อคาถามของแบบสอบถามแต่ละชุด และรวมคะแนน แต่ละขอ้ คาถามของแต่ละคน และนาคะแนนที่ได้มาเรียงลาดบั จากนอ้ ยทีส่ ดุ ไปหามากทส่ี ดุ 3.2 หาดรรชนีการจาแนก (Index of Discrimination) โดยแบ่งกลุ่มทดสอบ ออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มผู้ได้คะแนนสูงสุดและลองลงมา 25% (กลุ่มสูง) และกลุ่มผู้ที่ได้คะแนนต่าสุด และรองลงมา 25% (กล่มุ ตา่ ) 3.3 รวมคะแนนในแต่ละข้อคาถามของกลุ่มสูงและกลุ่มไปหาค่าเฉล่ีย ( X ) และค่าความแปรปรวน S2 ของแบบสอบถามทุกข้อ 3.4 นาค่าเฉลี่ยและความแปรปรวนของทั้งกลุ่มสูงและกลุ่มต่าที่ได้ในแต่ละข้อ มาหาค่าอานาจจาแนกของข้อคาถาม (Discrimination Power) โดยการทดสอบด้วยค่า (t-test) ซึ่ง ข้อคาถามท่ีมคี า่ ตั้งแต่ 1.75 ถอื วา่ มีอานาจจาแนกสูงและอยู่ในเกณฑ์ที่ใช้ได้ (รัตนา ศิริพาณิช, 2533, น. 250-251) ส่วนข้อใดท่ีมีค่าต่ากว่า 1.75 ถือว่า มีอานาจการจาแนกต่า ผู้วิจัยจะตัดข้อคาถามนั้น ทิ้งไป 3.5 นาผลทดสอบกอ่ นใช้จรงิ จากกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขจานวน 30 คน มาหา ค่าความเช่ือม่ัน (Reliability) ด้วยการวัดความคงที่ภายใน (Internal Consistency) และวิธีหา คา่ สมั ประสทิ ธิ์แอลฟา (Coefficient Alpha) จากการทดสอบก่อนใชจ้ ริง 3.6 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ผู้วิจัยแจกแบบสอบถามจานวน 120 ชุด อาสาสมัครสาธารณสุขในเขตพ้ืนท่ีเขตเมือง ศึกษาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลไขแสง กาเนิดมี ตาบลบางเขน อาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี เขตพนื้ ท่ชี นบท ศกึ ษาโรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลวัดยอดพระพิมล ตาบลขุนศรี อาเภอไทรน้อย จงั หวดั นนทบรุ ี โดยอธิบายใหอ้ าสาสมคั รสาธารณสุขเห็นถึงความสาคัญและวัตถุประสงค์ของงานวิจัย และเก็บแบบสอบถามกลบั คืนมา Ref. code: 25595805038121LZO
44 3.7 การวเิ คราะหข์ ้อมลู นาข้อมูลจากแบบสอบถาม มาวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปสาหรับการวิจัยทาง สงั คมศาสตร์ (Statistical Package for Social Sciences: SPSS for Window) 1. วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติเชิงพรรณนา โดยใช้ความถ่ี (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) นาเสนอในสว่ นของขอ้ มูลสว่ นบุคคล 2. วิเคราะห์ค่าเฉล่ีย (Mean) และค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เพอ่ื เสนอขอ้ มลู เกี่ยวกับคุณลักษณะอาสาสมคั รตอ่ บทบาทอาสาสมัครสาธารณสขุ 3. วิเคราะห์ถึงความสัมพันธ์ของตัวแปรสองฝ่ังโดยการวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณ แบบเปน็ ขนั้ ตอน (Stepwise Multiple Regression Analysis) Ref. code: 25595805038121LZO
45 บทที่ 4 ผลการศกึ ษาและการอภิปรายผล ก า ร ศึ ก ษ า คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อ า ส า ส มั ค ร ท่ี ส่ ง ผ ล ต่ อ บ ท บ า ท อ า ส า ส มั ค ร ส า ธ า ร ณ สุ ข ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลกับอาสาสมัครสาธารณสุข ในเขตพ้ืนที่จังหวัดนนทบุรี ที่มี การพัฒนาการทางานอย่างต่อเน่ือง โดยเหตุผลประการสาคัญคือ พื้นที่ศึกษาจังหวัดนนทบุรีนั้นมี อาสาสมคั รสาธารณสุขใน 2 บรบิ ท คือ ในบริบทของพ้ืนท่ีเมืองและในบริบทของพื้นท่ีชนบทพื้นท่ีเขต เมืองศึกษาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลไขแสง กาเนิดมี ตาบลบางเขน อาเภอเมือง จังหวัด นนทบรุ เี ขตพนื้ ที่ชนบท ศึกษาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลวัดยอดพระพิมล ตาบลขุนศรี อาเภอ ไทรน้อย จังหวัดนนทบุรีโดยได้รับแบบสอบถามคืนและทาการตรวจสอบความสมบูรณ์ของ แบบสอบถาม ปรากฏว่ามีแบบสอบถามที่สามารถนามาวิเคราะห์ได้ทั้งสิ้น 120 ชุด คิดเป็นร้อยละ 100 ของแบบสอบถามท้ังหมด และสามารถนาเสนอผลการวิจยั โดยแบ่งออกเป็น 4 สว่ น ดงั น้ี 4.1 ข้อมูลท่ัวไปของอาสาสมัคร คุณลักษณะอาสาสมัครและบทบาทอาสาสมัคร สาธารณสุข 4.2 ผลการวเิ คราะหค์ วามสัมพันธ์ระหว่างคณุ ลกั ษณะของอาสาสมคั รทม่ี ีผลต่อบทบาท อาสาสมัครสาธารณสุข 4.3 การสร้างสมการทานายคุณลักษณะของอาสาสมัครท่ีส่งผลต่อบทบาทอาสาสมัคร สาธารณสุข 4.4 อภปิ รายผลการศึกษา 4.1 ข้อมูลท่ัวไปของอาสาสมคั ร คณุ ลกั ษณะอาสาสมคั รและบทบาทอาสาสมคั รสาธารณสุข กลุ่มตวั อยา่ งอาสาสมัครสาธารณสุขขอบเขตในการศึกษาในบริบทของพื้นที่เมืองและใน บริบทของพื้นท่ีชนบทพื้นที่เขตเมืองศึกษาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลไขแสง กาเนิดมี ตาบล บางเขน อาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรีเขตพ้ืนท่ีชนบทศึกษาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลวัดยอด พระพิมล ตาบลขุนศรี อาเภอไทรน้อย รวมกลุ่มตัวอย่างในการศึกษา จานวน 120 คน สามารถ จาแนกลักษณะส่วนบุคคลตามกลุ่ม เพศ อาชีพ ระดับการศึกษา และประสบการณ์การทางาน อาสาสมคั รสาธารณสุข ดังในตารางท่ี 4.1 Ref. code: 25595805038121LZO
ตารางที่ 4.1 46 ข้อมลู ทัว่ ไปของกลุ่มตวั อยา่ ง จานวน รอ้ ยละ ข้อมลู ท่วั ไปของกลุ่มตัวอยา่ ง 41 34.2 เพศ 79 65.8 ชาย 120 100 หญงิ 31 25.8 รวม 23 19.2 อาชีพ 25 20.8 รบั จ้างทัว่ ไป 41 34.2 ค้าขาย 120 100 รบั ราชการ ไม่ประกอบอาชีพ 34 28.3 19 15.8 รวม 25 20.8 ระดบั การศกึ ษา 28 23.3 ระดบั ประถมศึกษา 14 11.7 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ หรอื เทียบเทา่ /(ปวช.) 120 100 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายหรอื เทียบเทา่ /(ปวส.) ระดับปริญญาตรี 29 24.2 ระดบั ปรญิ ญาโทขน้ึ ไป 28 23.3 34 28.3 รวม 11 9.2 ประสบการณก์ ารทางานอาสาสมคั รสาธารณสขุ 9 7.5 ตา่ กว่า 1 ปี 9 7.5 1-5 ปี 120 100 6-10ปี 11-15 ปี 16-20 ปี 21 ปีขึ้นไป รวม Ref. code: 25595805038121LZO
47 ตารางท่ี 4.1 กลุ่มตัวอย่างอาสาสมัครสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี ในบริบทของพ้ืนท่ี เมืองและในบรบิ ทของพ้ืนทีช่ นบทพ้ืนทเ่ี ขตเมอื งศกึ ษาโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลไขแสง กาเนิด มีตาบลบางเขน อาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรีเขตพ้ืนที่ชนบท พื้นที่ชนบทศึกษาโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตาบลวัดยอดพระพิมล ตาบลขุนศรี อาเภอไทรน้อย จานวน 120 คน พบว่า ส่วนใหญ่เป็น เพศหญิงจานวน 79 คน คิดเป็นร้อยละ 65.8 ท่ีเหลือเป็นเพศชายจานวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 34.2 ด้านอาชีพ พบว่า ไม่ประกอบอาชีพมากท่ีสุดจานวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 34.2 ที่เหลือคือ รับจา้ งทั่วไปจานวน 31 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 25.8 รับราชการจานวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 20.8 และ ค้าขายจานวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 19.2 ส่วนระดับการศึกษาส่วนใหญ่ระดับคือประถมศึกษา จานวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 28.3 รองลงมา ระดับปริญญาตรีจานวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 23.3 ส่วนท่ีเหลือ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าหรือ (ปวส.) จานวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 20.8 ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้นหรือเทียบเท่าหรือ (ปวช.) จานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 15.8 ระดับ ปริญญาโทข้ึนไปจานวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 11.7 ด้านประสบการณ์การทางาน อาสาสมัคร สาธารณสุขส่วนใหญ่ประสบการณ์ทางานอยู่ท่ีระดับ 6-10 ปี จานวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 28.3 รองลงมาต่ากว่า 1 ปี จานวน 29 คน คิดเป็นร้อยละ 24.2 ส่วนที่เหลือ 1-5 ปี จานวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 23.31, 1-15 ปี จานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 9.2 และ 16-20 ปี จานวน 9 คน คิดเป็น ร้อยละ 7.5 21 ปีข้ึนไป จานวน 9 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 7.5 ตารางท่ี 4.2 ข้อมลู สงู สุด ตา่ สุด ค่าเฉล่ียและค่าเบีย่ งเบนมาตรฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม ข้อมูลลักษณะทาง จานวน ค่าสงู สุด คา่ ตา่ สุด X S.D. ประชากรศาสตร์ (คน) 16.204 อายุ 120 87 21 54.03 ตารางที่ 4.2 แสดงข้อมูลสูงสุด ต่าสุด ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของผู้ตอบ แบบสอบถาม พบว่าอายุของอาสาสมัครที่ตอบแบบสอบถามจานวน 120 คน มีอายุสูงสุด 87 ปี อายุ ตา่ สดุ 21 ปี โดยมอี ายุเฉลย่ี ประมาณ 54 ปี Ref. code: 25595805038121LZO
48 ตารางท่ี 4.3 คา่ เฉลย่ี สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน และระดบั คะแนนคณุ ลักษณะอาสาสมคั รของอาสาสมัครสาธารณสขุ คณุ ลกั ษณะอาสาสมัครของอาสาสมัคร X S.D. ระดับคะแนน สาธารณสุข 1. ดา้ นสานกึ ร่วมหรอื ความเป็นเจา้ ของร่วมเกิด 4.31 .43 สงู มาก การเสยี สละและผูกพนั (Sense of Belonging) 2. ดา้ นการปฏบิ ตั ิงานท่ีไมใ่ ช่ภาระงานท่ตี ้องทา 4.19 .49 สูง ตามหน้าท่ี (Beyond Basic Obligations) 3. ดา้ นความรูส้ กึ อิสระในการเป็นผ้เู ลอื กงาน 4.14 .56 สงู อาสาสมัครที่ตนเองสนใจ (Choose) ภาพรวมคณุ ลักษณะอาสาสมัครของอาสาสมัคร 4.22 .46 สงู มาก สาธารณสุข ตารางท่ี 4.3 พบว่า อาสาสมัครมีคุณลักษณะด้านด้านสานึกร่วมหรือความเป็นเจ้าของ ร่วมเกิดการเสียสละและผูกพัน (Sense of Belonging) อยู่ในระดับสูงมากโดยมีค่าเฉล่ีย 4.31 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.43 รองลงมา ด้านการปฏิบัติงานท่ีไม่ใช่ภาระงานที่ต้องทาตามหน้าท่ี (Beyond Basic Obligations) และด้านความรู้สึกอิสระในการเป็นผู้เลือกงานอาสาสมัครที่ตนเอง สนใจ (Choose) อยู่ในระดับสูงโดยมีค่าเฉล่ีย 4.19, 4.14 ตามลาดับและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.49, 0.56 และภาพรวมคุณลักษณะอาสาสมัครของอาสาสมัครสาธารณสุขอยู่ในระดับสูงมากโดยมี ค่าเฉลี่ย 4.22 และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.46 Ref. code: 25595805038121LZO
49 ตารางที่ 4.4 คา่ เฉลย่ี สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับคะแนนของบทบาทของอาสาสมคั รสาธารณสขุ องคป์ ระกอบบทบาทของอาสาสมัคร X S.D. ระดบั คะแนน สาธารณสุข 1. องคป์ ระกอบด้านพฤติกรรมอาสาสมัครตาม 4.41 0.48 สูงมาก สถานการณ์ท่ีกาหนดให้จะต้องมคี วามเหมาะสม กบั การสง่ เสรมิ ฐานะของตนเอง 2. องคป์ ระกอบด้านบทบาทเป็นความคาดหวงั 4.30 0.44 สูงมาก ทเี่ กิดข้ึนของอาสาสมัคร มิไดเ้ กี่ยวข้องหรือม่งุ ไป ท่ีตวั บคุ คล 3. องค์ประกอบดา้ นบทบาทมคี วามสัมพนั ธก์ ับ 4.22 0.51 สูงมาก พฤติกรรมในการทางานของอาสาสมคั รบทบาท ในองค์การเปน็ พฤติกรรมที่ถกู คาดหวงั ให้ ปฏบิ ตั ิงานหนงึ่ ๆ 4. องค์ประกอบด้านอาสาสมัครรจู้ กั ตนเองตาม 4.12 0.54 สงู บทบาทหนา้ ที่ท่ไี ด้รับมอบหมาย ภาพรวมองคป์ ระกอบบทบาทอาสาสมคั ร 4.25 0.43 สูงมาก สาธารณสุข ตารางท่ี 4.4 พบว่า องค์ประกอบด้านด้านพฤติกรรมอาสาสมัครตามสถานการณ์ท่ี กาหนดให้จะต้องมีความเหมาะสมกับการส่งเสริมฐานะของตนเองคะแนนเฉล่ียสูงสุด 4.41 และ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.48 รองลงมาคือ องค์ประกอบด้านบทบาทเป็นความคาดหวังที่เกิดขึ้นของ อาสาสมัคร มไิ ดเ้ กี่ยวข้องหรือมุ่งไปท่ีตัวบุคคลคะแนนเฉลี่ยสูงมาก 4.30 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.44 สว่ นองค์ประกอบดา้ นบทบาทมคี วามสมั พนั ธ์กบั พฤติกรรมในการทางานของอาสาสมัครบทบาท ในองค์การเป็นพฤติกรรมที่ถูกคาดหวังให้ปฏิบัติงานหนึ่ง ๆ และองค์ประกอบด้านอาสาสมัครรู้จัก ตนเองตามบทบาทหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายอยู่ในระดับสูงมากคะแนนเฉล่ีย 4.22, 4.12 และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.51, 0.54 ตามลาดับ สาหรับคะแนนเฉลี่ยภาพรวมองค์ประกอบบทบาท อาสาสมคั รสาธารณสุขโดยรวมมคี ่า 4.25 สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน 0.43 Ref. code: 25595805038121LZO
50 4.2 ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของอาสาสมัครที่มีผลต่อบทบาท อาสาสมัครสาธารณสุข การทดสอบสมมติฐานการวิจัยท่ี 1 คุณลักษณะของอาสาสมัครสาธารณสุขสัมพันธ์กับ บทบาทอาสาสมคั รสาธารณสขุ ตารางท่ี 4.5 ผลการวิเคราะห์คา่ สัมประสิทธิส์ หสมั พันธ์ระหวา่ งคณุ ลกั ษณะของคุณลกั ษณะของอาสาสมัครกับ บทบาทอาสาสมคั รสาธารณสุข คุณลกั ษณะของอาสาสมัคร บทบาทอาสาสมัครสาธารณสุข 1. สานกึ ร่วมหรอื ความเปน็ เจ้าของรว่ มเกดิ การเสยี สละและผูกพนั .853** (Sense of Belonging) 2. ความรสู้ กึ อสิ ระในการเป็นผเู้ ลือกงานอาสาสมัครที่ตนเองสนใจ .837** (Choose) 3. การปฏิบัติงานท่ไี ม่ใช่ภาระงานทีต่ อ้ งทาตามหน้าที่ (Beyond .793** Basic Obligations) คุณลักษณะอาสาสมัครโดยรวม .886** ***p<.001 จากตารางท่ี 4.5 เป็นการวิเคราะห์เพื่อทดสอบค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่าง คุณลักษณะของอาสาสมัครทีม่ ผี ลตอ่ บทบาทอาสาสมคั รสาธารณสขุ สมมติฐานท่ี 1 คุณลักษณะของอาสาสมัครโดยรวมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับบทบาท อาสาสมคั รสาธารณสขุ อย่างมีนัยสาคัญทางสถติ ิที่ระดับ .01 จงึ ยอมรับสมมติฐานโดยมีค่าสัมประสิทธ์ิ สหสัมพนั ธ์เทา่ กบั .886 (r=.006, p<.001) โดยผลการทดสอบสมมตฐิ านยอ่ ยมผี ลดังน้ี สมมติฐานย่อยท่ี 1.1 ความรู้สึกอิสระในการเป็นผู้เลือกงานอาสาสมัครท่ีตนเองสนใจ (Choose) มีความสัมพันธ์ทางบวกกับบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 จึงยอมรับสมมติฐานย่อยที่ 1.1 ท่ีว่าคุณลักษณะของอาสาสมัครในด้านความรู้สึกอิสระใน การเป็นผู้เลือกงานอาสาสมัครที่ตนเองสนใจ (Choose) มีความสัมพันธ์ทางบวกกับบทบาท อาสาสมัครสาธารณสุขโดยมคี ่าสมั ประสทิ ธส์ิ หสัมพันธเ์ ท่ากบั .837 (r=.837, p<.001) Ref. code: 25595805038121LZO
51 สมมติฐานย่อยที่ 1.2 สานึกร่วมหรือความเป็นเจ้าของร่วมเกิดการเสียสละและผูกพัน (Sense of Belonging) มีความสัมพันธ์ทางบวกกับบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 จึงยอมรับสมมติฐานย่อยที่ 1.2 ท่ีว่าคุณลักษณะของอาสาสมัครในสานึกร่วม หรือความเป็นเจ้าของร่วมเกิดการเสียสละและผูกพัน (Sense of Belonging) มีความสัมพันธ์ ทางบวกกับบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขโดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .853 (r=.853, p<.001) สมมติฐานย่อยท่ี 1.3 การปฏิบัติงานที่ไม่ใช่ภาระงานท่ีต้องทาตามหน้าที่ (Beyond Basic Obligations) มีความสัมพันธ์ทางบวกกับบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขอย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติท่ีระดับ .01 จึงยอมรับสมมติฐานย่อยที่ 1.2 ที่ว่าคุณลักษณะของอาสาสมัครในการปฏิบัติงานที่ ไม่ใช่ภาระงานท่ีต้องทาตามหน้าที่ (Beyond Basic Obligations) มีความสัมพันธ์ทางบวกกับ บทบาทอาสาสมัครสาธารณสขุ โดยมีคา่ สัมประสทิ ธ์สิ หสัมพนั ธ์เทา่ กับ .793 (r=.793, p<.001) 4.3 การสรา้ งสมการทานายคุณลักษณะของอาสาสมคั รทีส่ ง่ ผลตอ่ บทบาทอาสาสมคั รสาธารณสุข การทดสอบสมมติฐานการวิจัยที่ 2 คุณลักษณะของอาสาสมัครอย่างน้อย 1 ลักษณะ สามารถทานายบทบาทอาสาสมัครสาธารณสขุ จากผลการทดสอบสมมติฐานการวิจัยที่ 1 ผู้วิจัยได้นาตัวแปรคุณลักษณะของ อาสาสมัคร ประกอบด้วย ความรู้สึกอิสระในการเป็นผู้เลือกงานอาสาสมัครท่ีตนเองสนใจ (Choose) สานึกร่วมหรือความเป็นเจ้าของร่วมเกิดการเสียสละและผูกพัน (Sense of Belonging) และ การปฏิบัติงานที่ไม่ใช่ภาระงานที่ต้องทาตามหน้าที่ (Beyond Basic Obligations) มาวิเคราะห์และ สร้างสมการพยากรณ์บทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขโดยใช้วิธีการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบ ขน้ั ตอน (Stepwise Multiple Regression Analysis) ผลปรากฏดงั นี้ Ref. code: 25595805038121LZO
52 ตารางที่ 4.6 คา่ ความสัมพนั ธ์ของตวั แปรคุณลักษณะของอาสาสมัครในการพยากรณ์บทบาทอาสาสมัครสาธารณสขุ ลาดบั ตวั แปร R R2 Adjusted F Sig F R2 1. สานึกร่วมหรือความเป็น .853 .728 .726 316.383*** .000 เจา้ ของร่วมเกิดการ เสยี สละและผูกพนั (Sense of Belonging) 2. ความรสู้ กึ อิสระในการ .898 .806 .803 243.786*** .000 เปน็ ผเู้ ลือกงาน อาสาสมคั รท่ีตนเองสนใจ (Choose) ***p<.001 จากตารางท่ี 4.6 พบว่า คุณลักษณะของอาสาสมัครท่ีมีประสิทธิภาพในการพยากรณ์ บทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขมี 2 คุณลักษณะ คือ สานึกร่วมหรือความเป็นเจ้าของร่วมเกิดการ เสียสละและผูกพัน (Sense of Belonging) และความรู้สึกอิสระในการเป็นผู้เลือกงานอาสาสมัครที่ ตนเองสนใจ (Choose) โดยตัวแปรสานึกร่วมหรือความเป็นเจ้าของร่วมเกิดการเสียสละและผูกพัน (Sense of Belonging) สามารถพยากรณ์บทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขได้ร้อยละ 72.8 และเม่ือ เพิ่มตวั แปรความรู้สกึ อิสระในการเป็นผเู้ ลอื กงานอาสาสมัครที่ตนเองสนใจ (Choose) จะสามารถเพิ่ม การพยากรณ์ได้ร้อยละ 7.8 ดังน้ัน เม่ือนาสานึกร่วมหรือความเป็นเจ้าของร่วมเกิดการเสียสละและ ผูกพัน (Sense of Belonging) และความรู้สึกอิสระในการเป็นผู้เลือกงานอาสาสมัครที่ตนเองสนใจ (Choose) มาใช้ร่วมกันในการพยากรณ์บทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขจะสามารถร่วมกัน พยากรณ์บทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขได้ร้อยละ 80.6 จึงยอมรับสมมติฐานที่ 2 ที่ว่าคุณลักษณะ ของอาสาสมคั รอยา่ งน้อย 1 ลกั ษณะสามารถทานายบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุข Ref. code: 25595805038121LZO
53 ตารางท่ี 4.7 รูปแบบสมการพยากรณ์บทบาทอาสาสมัครสาธารณสุข ตวั แปร B SE B Beta t 1. สานกึ ร่วมหรอื ความเปน็ เจ้าของร่วมเกดิ การ .515 .064 .513 8.015*** เสียสละและผูกพัน (Sense of Belonging) 2. ความร้สู ึกอิสระในการเปน็ ผเู้ ลือกงาน .343 .050 .440 6.873*** อาสาสมคั รท่ีตนเองสนใจ (Choose) (คา่ คงท)่ี .613 .177 3.465** ***p<.001 ,**p <.01 จากตารางที่ 4.7 สามารถสร้างสมการพยากรณบ์ ทบาทอาสาสมัครสาธารณสขุ ไดด้ ังนี้ บทบาทของบทบาทอาสาสมคั รสาธารณสขุ = .613 + .515 (สานึกร่วมหรือความเป็นเจ้าของร่วมเกิดการเสียสละและผูกพัน (Sense of Belonging) + .343 (ความรู้สกึ อิสระในการเปน็ ผูเ้ ลือกงานอาสาสมคั รทต่ี นเองสนใจ (Choose) จากสมการพบว่า ถ้าอาสาสมัครคนหนึ่งได้คะแนนจากแบบสอบถามสานึกร่วมหรือ ความเป็นเจ้าของร่วมเกิดการเสียสละและผูกพัน (Sense of Belonging) = 4.00 คะแนน และได้ คะแนนจากแบบสอบถามความรู้สึกอิสระในการเป็นผู้เลือกงานอาสาสมัครที่ตนเองสนใจ (Choose) = 3.00 คะแนน เราสามารถทานายคะแนนบทบาทของอาสาสมัครได้ โดยแทนค่าคะแนนสานึกร่วม หรือความเป็นเจ้าของร่วมเกิดการเสียสละและผูกพัน และคะแนนความรู้สึกอิสระในการเป็นผู้เลือก งานอาสาสมัครท่ีตนเองสนใจ (Choose) ลงในสมการพยากรณไ์ ดด้ ังนี้ บทบาทอาสาสมคั รสาธารณสขุ = .613 + .515 (4.00) + .343 (3.00) = .613 + 2.06 + 1.029 = 3.702 ดังน้ัน ผู้ที่มีคะแนนสานึกร่วมหรือความเป็นเจ้าของร่วมเกิดการเสียสละและผูกพัน (Sense of Belonging) เท่ากับ 4.00 คะแนน และคะแนนความรู้สึกอิสระในการเป็นผู้เลือกงาน อาสาสมัครที่ตนเองสนใจ (Choose) เท่ากับ 3.00 คะแนน สามารถทานายคะแนนบทบาท อาสาสมัครสาธารณสขุ ไดเ้ ทา่ กับ 3.702 คะแนน Ref. code: 25595805038121LZO
54 4.4 อภิปรายผลการศกึ ษา การศึกษาคุณลักษณะอาสาสมัครที่ส่งผลต่อบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขในเขตพ้ืนท่ี จังหวัดนนทบรุ ีจากผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู สรุปผลการวจิ ัยสามารถอภปิ รายผลการวิจัยได้ดังนี้ 4.4.1 การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของอาสาสมัครกับบทบาท อาสาสมัครสาธารณสุข คุณลักษณะของอาสาสมัครในด้านความรู้สึกอิสระในการเป็นผู้เลือกงาน อาสาสมัครท่ีตนเองสนใจ (Choose) (r=.837, p<.001) มีความสัมพันธ์ทางบวกกับบทบาท อาสาสมัครสาธารณสุขอยู่ในระดับสูง ท้ังนี้อาจเน่ืองมาจากคุณลักษณะการเลือก (Choose) อันเป็น การเน้นที่เจตจานงท่ีอิสระท่ีจะกระทาหรือไม่กระทาในสิ่งใดๆเป็นการเลือกกระทาส่ิงต่าง ๆ ที่เห็นว่า เป็นสิ่งที่ควรกระทา และเป็นความรับผิดชอบต่อสังคมโดยไม่หวังผลตอบแทนเป็นเงินทอง และ การกระทานี้ไม่ใช่ภาระงานท่ีต้องทาตามหน้าที่โดยสอดคล้องแนวคิด ศุภรัตย์ รัตนมุขย์ (2551, น. 10) ความเป็นอิสระในการเลือกยังส่งผลต่ออาสาสมัครในความพึงพอใจในการได้เลือกบทบาท การปฏิบัติงานของตนเอง เน่ืองจากอาสาสมัครเป็นผู้ท่ีสมัครใจทางานให้ส่วนรวมหรือสังคม โดย ไม่หวังผลตอบแทนท่ีเป็นวัสดุหรือเงิน ซ่ึงการปฏิบัติงานของอาสาสมัครนั้นยังสามารถช่วยเหลือ ส่งเสริม แก้ไขปัญหา และพัฒนาสังคม พร้อมทั้งอาสาสมัครยังทาเพ่ือสังคมสิ่งเหล่านี้แสดงถึงความ เป็นผู้นาที่เกิดขึ้น โดย “การมองถึงประโยชน์สาธารณะ” และการเห็นแก่ประโยชน์ส่วนร่วม อาสาสมัครจงึ พฒั นาไปสคู่ วามเป็นอาสาสมัครเฉพาะด้านต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนในสังคมไทย “บนฐานที่เชื่อ ว่าสังคมแหง่ การให้” ดังนน้ั บทบาทอาสาสมัครแม้ไม่ได้รับผลตอบแทนที่เป็นตัวเงิน แต่ในรูปแบบการ เป็นแบบอย่างของสังคมพร้อมท้ังการนาของสังคมล้วนเป็นส่ิงท่ีจาเป็น จึงเช่ือมโยงมาสู่การวิเคราะห์ คณุ ลกั ษณะและองคป์ ระกอบของอาสาสมคั รได้เบอ้ื งตน้ แรงผลกั ดนั ท่ีกอ่ ใหเ้ กิดจิตวิญญาณอาสาสมัคร (Spirit of Voluntarism) สอดคล้องกับซามูเอล (Samuel, 1999, อ้างถึงใน ศุภรัตย์ รัตนมุขย์, 2551, น. 15) หลักคิดประการสาคัญของผู้อุทิศตนเป็นอาสาสมัคร แรงผลักดันของอาสาสมัครที่มี จิตใจเป็นอุทิศตนโดยเป็นผู้เลือกในการตัดสินใจและแสดงบทบาทของตนเองได้ ดังน้ัน แล้วเม่ือ เปรียบเทียบกับผลการศึกษา ซูซาน (Susan & Katarines, 2003) จึงสอดคล้องกับผลการศึกษาที่ว่า การเลือกกระทาสิ่งต่าง ๆ ท่ีเห็นว่าเป็นส่ิงที่ควรกระทา และเป็นความรับผิดชอบต่อสังคมโดยไม่หวัง ผลตอบแทนเป็นเงินทอง และการกระทานี้ไม่ใช่ภาระงานท่ีต้องทาตามหน้าท่ี เป็นคุณลักษณะหน่ึง ของอาสาสมคั รทีส่ ง่ ผลตอ่ บทบาทอาสาสมคั รทตี่ อ้ งดาเนนิ การอยา่ งย่งิ คุณลักษณะสานึกร่วมหรือความเป็นเจ้าของร่วมเกิดการเสียสละและผูกพัน (Sense of Belonging) (r=.853, p<.001) มคี วามสัมพันธท์ างบวกกบั บทบาทอาสาสมคั รสาธารณสุข Ref. code: 25595805038121LZO
55 อยใู่ นระดบั สงู มาก ทั้งน้อี าจเนอ่ื งมาจาก ความต้องการต่างก็มีความสาคัญต่อมนุษย์ และมนุษย์ทุกคน ย่อมแสวงหาการตอบสนองความต้องการของตนสูงขึ้นไปตามลาดับ สอดคล้องกับแนวคิด นพมาศ อุ้งพระ (ธีรเวคิน) (2551, น. 13-15) ความสัมพันธ์ที่เกิดข้ึนกับอาสาสมัครจะพบได้ว่าอาสาสมัคร ส่วนใหญ่ทเ่ี ขา้ มารว่ มนั้น คอื การรสู้ กึ ในการเป็นเจ้าของร่วม ท้ังในการร่วมคิดการร่วมในการวางแผน การทางานหรือการออกแบบกิจกรรมของอาสาสมัคร ความรู้สึกอยากมีส่วนร่วมหรือ Engagement ของอาสาสมัคร เป็นปัจจัยส่งเสริมอาสาสมัครทาให้เกิดความรู้สึกว่าได้เติมเต็มในด้านของ Self-Esteem หรอื Sense of Belonging ผา่ นปัจจัยสาคัญประกอบด้วยการสร้าง Shared Values หรือค่านิยมร่วม ท่ีชัดเจนและทาได้จริงของอาสาสมัคร ซึ่งจะช่วยให้เกิด Sense of Belonging หาก ค่านิยมดังกล่าวถูกนาไปใช้จริงโดยไม่ต้องบังคับการสร้างจะเกิด Self-Esteem ของอาสาสมัครโดย จะต้องเช่ือมโยงส่ิงที่อาสาสมัครให้คาม่ันสัญญาเอาไว้ให้ได้ หรืออีกนัยหน่ึงก็คือการเติมเต็ม และ การหาความหมายในการทางานท่ีมีคุณค่าให้กับอาสาสมัคร เพราะมนุษย์ที่พัฒนาแล้วทุกคนย่อมมี ความต้องการท่ีจะเป็นส่วนหนึ่งของบางส่ิงที่ย่ิงใหญ่ท่ีเขาทาไม่ได้ด้วยตัวเอง เม่ือใดที่อาสาสมัครเกิด ความรู้สึกว่าเขาเป็นส่วนหน่ึงของอะไรบางส่ิงที่ยิ่งใหญ่ เขาเหล่านั้นจะทางานแบบเทใจให้ไม่มีส้ินสุด ซ่งึ สอดคล้องกบั ผลการศึกษา พรรณี ชูทัยเจนจติ (2538, น. 23-25) คุณลักษณะการปฏิบัติงานที่ไม่ใช่ภาระงานท่ีต้องทาตามหน้าที่ (Beyond Basic Obligations) (r=.793, p<.001) มีความสัมพันธ์ทางบวกกับบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขอยู่ใน ระดับสูง อาจเน่ืองมากจาก ส่ิงท่ีทานั้นอยู่นอกเหนือความจาเป็น หรือสิ่งท่ีถูกคาดหวังว่าจะต้องทา ตามภาระหน้าที่ เช่น งานตามหน้าท่ีประจาท่ีได้รับค่าจ้าง การดูแลครอบครัวตนเอง ความรับผิดชอบ ในฐานะพลเมือง ประกอบกับฯลฯ สอดคล้องกับวิธีคิด จารุพงศ์ พลเดช (2551, น. 13-15) ท่ีพบ ผลการศึกษาพบว่าการเป็นอาสาสมัครน้ัน ต้อง “พอใจ” พอใจในงานท่ีทาด้วยความเต็มใจและตั้งใจ ผลงานท่ีออกมานั้นก็เป็นความพอใจของคนทางานท่ีทาให้คนอ่ืนเขาเข้าใจ ทาให้เขามีความสุข ความสาเร็จ ความสมหวงั เกิดความพอใจในการทางานอย่างมีความสุขและการเป็นอาสาสมัครนั้นต้อง “ดีใจ” ดใี จท่ีได้ทางานทตี่ นนน้ั มคี วามเตม็ ใจ ต้ังใจและพอใจ ที่ได้ทางาน เม่ือทางานแล้วก็เกิดความดี ใจจากผลงานท่ไี ด้ทาไวใ้ ห้ปรากฏแก่สาธารณชนเปน็ ท่ีประจกั ษ์ตามความต้องการของตนขณะเดียวกัน อาสาสมัครยังทาเพื่อสังคมสิ่งเหล่าน้ีแสดงถึงความเป็นผู้นาที่เกิดขึ้น โดย “การมองถึงประโยชน์ สาธารณะ” และการเห็นแก่ประโยชน์ส่วนร่วม ดังแนวคิด ไพศาล วิสาโล (2550, น. 42) โดยหลัก แก่นธรรมของศาสนาแล้วมีความเหมือนกันในเรื่องความเช่ือเร่ืองของ “กรรม” ว่า บุคคลใดทาไม่ดี หรือทาบาปไว้ในชาติปางก่อนย่อมต้องได้รับผลกรรมในชาติน้ี และหากต้องการได้รับกรรมดี ท่ีเป็น ค ว า ม สุ ข ส บ า ย ต่ อ ไ ป ใ น ภ า ย ห น้ า ท้ั ง ช า ติ น้ี แ ล ะ ช า ติ ห น้ า ก็ ค ว ร ที่ จ ะ ต้ อ ง ป ร ะ ก อ บ แ ต่ ก ร ร ม ดี การปฏิบัติงานที่ไม่ใช่หน้าท่ี จึงเปรียบเสมือนความรักท่ีย่ิงใหญ่ที่พร้อมมอบให้บรรดาสรรพชีวิต และ ความสุขท่ีเกิดจากการให้และลงมีทาเพ่ือผู้อื่นโดยไม่หวังส่ิงตอบแทน จึงเป็นปัจจัยท่ีเอื้อต่อการเกิด Ref. code: 25595805038121LZO
56 ความรู้สึกเสียสละเอ้ือเฟ้ือต่อผู้อ่ืน (Altruism) และพฤติกรรมเพ่ือสังคม (Prosocial Behavior) อย่างแท้จริงสอดคลอ้ งบรบิ ทอาสาสมคั รในสงั คมไทย สาหรับด้านบทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุข พบว่าองค์ประกอบด้าน พฤติกรรมอาสาสมัครตามสถานการณ์ท่ีกาหนดให้จะต้องมีความเหมาะสมกับการส่งเสริมฐานะของ ตนเองคะแนนเฉลี่ยสูงสุด 4.41 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน .48 รองลงมาคือ องค์ประกอบด้าน บทบาทเป็นความคาดหวงั ที่เกดิ ข้ึนของอาสาสมัคร มิได้เก่ียวข้องหรือมุ่งไปที่ตัวบุคคลคะแนนเฉล่ียสูง มาก 4.30 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.44 ส่วนองค์ประกอบด้านบทบาทมีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมในการทางานของอาสาสมัครบทบาทในองค์การเป็นพฤติกรรมที่ถูกคาดหวังให้ปฏิบัติงาน หน่ึง ๆ และองค์ประกอบด้านอาสาสมัครรู้จักตนเองตามบทบาทหน้าท่ีท่ีได้รับมอบหมายอยู่ใน ระดับสูงมากคะแนนเฉลี่ย 4.22, 4.12 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.51, 0.54 ตามลาดับ สาหรับ คะแนนเฉล่ียภาพรวมองค์ประกอบบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขโดยรวมมีค่า 4.25 ส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐาน 0.43 สอดคล้องกับ นพมาศ อุ้งพระ (ธีรเวคิน) (2551, น. 13-15) ปัจจัยที่กาหนดบทบาท มาจากหลายปัจจัย อาจเน่ืองมากจาก ต้องการทางกายและขั้นสูงสุดการตระหนักในความสามารถที่ แท้จริง ความตอ้ งการลาดบั แรก คอื ความต้องการด้านร่างกาย หลังจากน้ันเกิดแรงจูงใจมากขึ้นทาให้ เกดิ ความตอ้ งการในด้านส่งิ ของ ต้องการมีชีวติ อยู่ในส่ิงแวดล้อมท่ีดีและมีความปลอดภัย ต้องการเป็น เจ้าของ ต้องการได้รับการยกย่อง และในขั้นสุดท้าย คือ ความต้องการตระหนักในความสามารถที่ แทจ้ รงิ ของตนเองและบรรลุถงึ ความตอ้ งการของตนเองอยา่ งแทจ้ รงิ 4.4.2 การวเิ คราะห์สมการถดถอยแบบพหุคูณ ผลการวิเคราะห์ถดถอยแบบพหุคูณ (Stepwise Multiple Regression Analysis)พบตัวแปรพยากรณ์ที่มอี ทิ ธพิ ลในการพยากรณ์บทบาทอาสาสมัครสาธารณสุข ได้แก่ สานึก ร่วมหรือความเป็นเจ้าของร่วมเกิดการเสียสละและผูกพัน (Sense of Belonging) และความรู้สึก อสิ ระในการเปน็ ผู้เลอื กงานอาสาสมคั รทตี่ นเองสนใจ (Choose) คณุ ลักษณะของอาสาสมัครที่มีประสิทธิภาพในการพยากรณ์บทบาทอาสาสมัคร สาธารณสุขมี 2 คุณลักษณะ คือสานึกร่วมหรือความเป็นเจ้าของร่วมเกิดการเสียสละและผูกพัน (Sense of Belonging) และความรู้สึกอิสระในการเป็นผู้เลือกงานอาสาสมัครที่ตนเองสนใจ (Choose) อาจเนื่องมากจาก Self-Esteem หรือ Sense of Belonging อาจเนื่องมากจาก สานึก ร่วมหรือความเป็นเจ้าของร่วมเกิดการเสียสละและผูกพัน (Sense of Belonging) ก่อให้เกิด การทางานที่มีคุณค่าให้กับอาสาสมัคร เมื่อใดท่ีอาสาสมัครเกิดความรู้สึกว่าเขาเป็นส่วนหนึ่งของอะไร บางส่ิงที่ยิ่งใหญ่ เขาเหล่านั้นจะทางานแบบเทใจให้ไม่มีสิ้นสุดและเป็นแรงสนับสนุนบทบาทของ อาสาสมัครให้สามารถคงอยู่ได้ในสังคม ให้เป็นรูปธรรมแต่ผลตอบแทนอาสาสมัครจะได้รับคือ ความสุขทางจิตใจ และความเคารพของชุมชนการเปน็ แบบอยา่ งซ่ึงเป็นนามธรรม การเป็นอาสาสมัคร Ref. code: 25595805038121LZO
57 ต้องมีความเป็นอิสระพร้อมทั้งภาระหน้าท่ีของอาสาสมัครต้องไม่ มีงานในหน้าที่ท่ีเป็นงานประจา ผทู้ ี่สมคั รใจทางานเพ่อื ประโยชนแ์ ห่งประชาชนและสงั คม ดังนน้ั หากอาสาสมัครสาธารณสขุ มีคณุ ลักษณะสานกึ รว่ มหรือความเป็นเจ้าของ ร่วมเกิดการเสียสละและผูกพัน (Sense of Belonging) และความรู้สึกอิสระในการเป็นผู้เลือกงาน อาสาสมัครที่ตนเองสนใจ (Choose) จะทาให้บทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขเด่นชัดมากขึ้น และ ในทางกลับกันถ้าอาสาสมัครสาธารณสุขมีคุณลักษณะดังกล่าวน้อยลงเท่าไร จะทาให้บทบาท อาสาสมัครสาธารณสุขลดลงด้วย โดยปัจจัยที่ส่งผลต่อบทบาทของอาสาสมัครมากที่สุดคือ คุณลักษณะสานึกร่วมหรือความเป็นเจ้าของร่วมเกิดการเสียสละและผูกพัน (Sense of Belonging) และความรู้สึกอิสระในการเป็นผู้เลอื กงานอาสาสมคั รท่ตี นเองสนใจ (Choose) Ref. code: 25595805038121LZO
58 บทท่ี 5 สรปุ ผลการศกึ ษาและขอ้ เสนอแนะ การศึกษาเร่ือง “คุณลักษณะอาสาสมัครที่ส่งผลต่อบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุข” มี วัตถุประสงคก์ ารศกึ ษาดงั นี้ 1. เพ่ือศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะอาสาสมัครสาธารณสุขกับบทบาท อาสาสมคั รสาธารณสุข 2. เพอื่ ศึกษาคณุ ลักษณะทมี่ มี ีอิทธิพลตอ่ บทบาทอาสาสมคั รสาธารณสขุ กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษาคือ อาสาสมัครสาธารณสุข ในเขตพ้ืนที่จังหวัดนนทบุรี โดยมีการเก็บข้อมูล 2 พ้ืนที่ ท่ีมีอาสาสมัครสาธารณสุขใน 2 บริบท คือ พ้ืนที่เขตเมืองศึกษา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลไขแสง กาเนิดมี ตาบลบางเขน อาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ดูแล ประชากรในพื้นที่ จานวน 21,852 คน มีอาสาสมัครสาธารณสุข จานวน 110 คน เขตพ้ืนที่ชนบท ศกึ ษาโรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบลวดั ยอดพระพิมล ตาบลขุนศรี อาเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี ดูแลประชากรในพื้นท่ี จานวน 10,228 คน มีอาสาสมัครสาธารณสุข จานวน 61 คน ใช้การสุ่ม ประชากรแบบง่าย ได้ขนาดประชากรกลุ่มตัวอย่างจริง 120 คน โดยแบบสอบถามเป็นเครื่องมือใน การวิจัยการวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา โดยใช้ความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉล่ีย (Mean) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และวิเคราะห์สมการ ถดถอยพหุคูณแบบเปน็ ข้นั ตอน (Stepwise Multiple Regression Analysis) เคร่ืองมอื ทใ่ี ชใ้ นการวิจยั เปน็ แบบสอบถามซง่ึ แบง่ ออกเปน็ 4 สว่ น ดังนี้ ส่วนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลสว่ นบุคคลของอาสาสมัครสาธารณสุข ประกอบด้วย เพศ อายุ อาชพี การศกึ ษา และประสบการณ์ทางานอาสาสมัคร ส่วนท่ี 2 แบบสอบถามคณุ ลกั ษณะอาสาสมคั รทส่ี ง่ ผลต่อบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุข โดยผู้วิจัยได้พัฒนาแบบสอบถามโดยจากการศึกษาทบทวนวรรณกรรมและออกแบบสอบถามซ่ึง ประกอบด้วย คุณลักษณะอาสาสมัคร 3 ด้าน คุณลักษณะความรู้สึกอิสระในการเป็นผู้เลือกงาน อาสาสมัครที่ตนเองสนใจ (Choose) คณุ ลกั ษณะสานึกร่วมหรือความเป็นเจ้าของร่วมเกิดการเสียสละ และผูกพัน (Sense of Belonging) และคุณลักษณะการปฏิบัติงานท่ีไม่ใช่ภาระงานที่ต้องทาตาม หน้าท่ี (Beyond Basic Obligations) และในส่วนบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุข จึงออกแบบ บทบาทอาสาสมัครเพ่ือทาเป็นแบบสอบถามจานวน 4 ด้าน บทบาทเป็นความคาดหวังท่ีเกิดข้ึนของ อาสาสมคั ร มิได้เกี่ยวข้องหรือมุ่งไปท่ีตัวบุคคลบทบาทมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมในการทางานของ อาสาสมัครบทบาทในองค์การเป็นพฤติกรรมที่ถูกคาดหวังให้ปฏิบัติงานหน่ึง ๆ บทบาทอาสาสมัคร Ref. code: 25595805038121LZO
59 รู้จักตนเองตามบทบาทหน้าที่ท่ีได้รับมอบหมาย และบทบาทพฤติกรรมอาสาสมัครตามสถานการณ์ที่ กาหนดให้จะต้องมีความเหมาะสมกับการส่งเสริมฐานะของตนเอง โดยแบบสอบถามมีทั้งส้ิน 38 ข้อ ทั้งนเี้ มือ่ ผ่านการสังเคราะห์เนื้อหาโดยผูเ้ ชย่ี วชาญ 3 ท่านในการพจิ ารณาความเที่ยงตรงเนื้อหาและมา วิเคราะห์ค่า IOC จึงพบว่า มีข้อคาถาม 2 ข้อ ที่ถูกตัดออกเนื่องด้วยมีระดับคะแนนต่าว่า .05 ดังนั้น แลว้ แบบสอบถามท้ังหมดจงึ เหลือจานวน 36 ขอ้ ผู้วิจัยนาข้อมูลท่ีได้มาประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างด้วย การหาค่าความถี่ และร้อยละ วิเคราะห์คุณลักษณะของอาสาสมัครสมัครสาธารณสุขและบทบาท อาสาสมคั รสาธารณสุข ดว้ ยการหาค่าเฉลีย่ และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมติฐานหาความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะอาสาสมัครทั้ง 3 ด้านกับ บทบาทอาสาสมัครสาธารณสุข ค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์เพียร์สัน และการสร้างสมการทานาย คุณลักษณะอาสาสมัครท่ีสง่ ผลต่อบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขท้ัง 4 ด้าน ด้วยการวิเคราะห์ถดถอย พหคุ ูณแบบข้ันตอน (Stepwise Multiple Regression Analysis) 5.1 สรุปผลการศึกษา 5.1.1 ข้อมูลทวั่ ไปเกี่ยวกบั ผู้ตอบแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างอาสาสมัครสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี ในบริบทของพื้นที่เมืองและ ในบรบิ ทของพนื้ ที่ชนบท พนื้ ทีเ่ ขตเมืองศกึ ษาโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลไขแสง กาเนิดมี ตาบล บางเขน อาเภอเมอื ง จงั หวดั นนทบุรี เขตพื้นท่ีชนบท ศึกษาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลวัดยอด พระพิมล ตาบลขุนศรี อาเภอไทรน้อย จานวน 120 คน พบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงจานวน 79 คน คิดเป็นร้อยละ 65.8 ท่ีเหลือเป็นเพศชาย จานวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 34.2 อายุของ อาสาสมัครทตี่ อบแบบสอบถาม จานวน 120 คน มีอายุสูงสุด 87 ปี อายุต่าสุด 21 ปี โดยมีอายุเฉลี่ย ประมาณ 54 ปี อาชีพพบว่า ไม่ประกอบอาชีพมากท่ีสุด จานวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 34.2 ท่ีเหลือ คือ รับจ้างทว่ั ไป จานวน 31 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 25.8 รับราชการ จานวน 25 คน คดิ เป็นร้อยละ 20.8 และค้าขายจานวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 19.2 ส่วนระดับการศึกษาส่วนใหญ่ระดับคือประถมศึกษา จานวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 28.3 รองลงมา ระดับปริญญาตรีจานวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 23.3 ส่วนท่ีเหลือ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าหรือ (ปวส.) จานวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 20.8 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้นหรือเทียบเท่าหรือ (ปวช.) จานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 15.8 ระดับ ปริญญาโทข้ึนไปจานวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 11.7 ประสบการณ์การทางาน อาสาสมัคร สาธารณสุข ส่วนใหญ่ประสบการณ์ทางานอยู่ท่ีระดับ 6-10 ปี จานวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 28.3 รองลงมาต่ากว่า 1 ปี จานวน 29 คน คิดเป็นร้อยละ 24.2 ส่วนที่เหลือ 1-5 ปี จานวน 28 คน Ref. code: 25595805038121LZO
60 คิดเป็นร้อยละ 23.3 11-15 ปี จานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 9.2 และอายุ 16-20 ปี จานวน 9 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 7.5 และ 21 ปขี ้ึนไปจานวน 9 คน คดิ เป็นร้อยละ 7.5 5.1.2 คุณลกั ษณะอาสาสมัครของอาสาสมัครสาธารณสุข ผลการศึกษาพบว่า อาสาสมัครมีคุณลักษณะด้านสานึกร่วมหรือความเป็น เจ้าของรว่ มเกดิ การเสยี สละและผกู พัน (Sense of Belonging) อยใู่ นระดบั สูงมากโดยมีค่าเฉล่ีย 4.31 รองลงมาด้านการปฏบิ ตั ิงานทีไ่ ม่ใช่ภาระงานที่ต้องทาตามหน้าที่ (Beyond Basic Obligations) และ ด้านความรู้สึกอิสระในการเป็นผู้เลือกงานอาสาสมัครท่ีตนเองสนใจ (Choose) อยู่ในระดับสูงโดยมี ค่าเฉลยี่ 4.19, 4.14 ตามลาดับและภาพรวมคุณลักษณะอาสาสมัครของอาสาสมัครสาธารณสุขอยู่ใน ระดบั สูงมากโดยมคี ่าเฉล่ีย 4.22 5.1.3 บทบาทอาสาสมคั รของอาสาสมัครสาธารณสขุ จากผลการศึกษาองค์ประกอบด้านพฤติกรรมอาสาสมัครตามสถานการณ์ท่ี กาหนดให้จะต้องมีความเหมาะสมกับการส่งเสริมฐานะของตนเอง คะแนนเฉลี่ยสูงสุด 4.41 ส่วน องค์ประกอบด้านบทบาทเป็นความคาดหวังท่ีเกิดข้ึนของอาสาสมัคร มิได้เกี่ยวข้องหรือมุ่งไปท่ี ตัวบุคคล องค์ประกอบด้านบทบาทมคี วามสัมพันธก์ บั พฤติกรรมในการทางานของอาสาสมัครบทบาท ในองค์การเป็นพฤติกรรมที่ถูกคาดหวังให้ปฏิบัติงานหน่ึง ๆ อยู่ในระดับสูงมากคะแนนเฉลี่ย 4.30, 4.22 สาหรบั คะแนนเฉล่ียภาพรวมองค์ประกอบบทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขโดยรวมมีคา่ 4.25 5.1.4 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของอาสาสมัคร กับบทบาท อาสาสมคั รสาธารณสขุ และสร้างสมการทานาย ผลการศึกษาพบว่า คุณลักษณะของอาสาสมัครโดยรวมมีความสัมพันธ์ทางบวก กบั บทบาทอาสาสมัครสาธารณสุข Ref. code: 25595805038121LZO
61 ตารางที่ 5.1 ผลการทดสอบสมมติฐาน ผลการทดสอบสมมุตฐิ าน สมมตุ ฐิ านการวจิ ยั .837 (r=.837, p<.001) .853(r=.853, p<.001) สมมุติฐานท่ี 1 คณุ ลักษณะของอาสาสมัครสาธารณสุขสัมพนั ธ์กับ บทบาทอาสาสมคั รสาธารณสุข .793 (r=.793, p<.001) สมมุติฐานยอ่ ยท่ี 1.1 คณุ ลกั ษณะความรูส้ กึ อสิ ระในการเป็นผู้ เลือกงานอาสาสมัครท่ีตนเองสนใจ (Choose) มีความสัมพันธ์ .793 (r=.793, p<.001) ทางบวกกบั บทบาทอาสาสมัครสาธารณสขุ สมมุตฐิ านยอ่ ยที่ 1.2 คณุ ลักษณะสานึกร่วมหรือความเป็นเจา้ ของ ร่วมเกิดการเสยี สละและผูกพัน (Sense of Belonging) มคี วามสมั พันธ์ทางบวกกบั บทบาทอาสาสมัครสาธารณสุข สมมุติฐานที่ยอ่ ย 1.2 คณุ ลกั ษณะการปฏบิ ัติงานท่ไี ม่ใช่ภาระงาน ทตี่ ้องทาตามหน้าที่ (Beyond Basic Obligations) มีความสมั พนั ธ์ทางบวกกบั บทบาทอาสาสมัครสาธารณสุข คุณลักษณะความรู้สึกอิสระในการเป็นผู้เลือกงานอาสาสมัครที่ตนเองสนใจ (Choose) มีความสัมพันธ์ทางบวกกับบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุข จึงยอมรับสมมติฐานย่อยที่ว่า คุณลักษณะของอาสาสมัครในด้านความรู้สึกอิสระในการเป็นผู้เลือกงานอาสาสมัครที่ตนเองสนใจ (Choose) มีความสัมพันธ์ทางบวกกับบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขโดยมีค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ เทา่ กับ .837 (r=.837, p<.001) คุณลักษณะสานึกร่วมหรือความเป็นเจ้าของร่วมเกิดการเสียสละและผูกพัน (Sense of Belonging) มีความสัมพันธ์ทางบวกกับบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขจึงยอมรับ สมมติฐานย่อย ที่ว่าคุณลักษณะของอาสาสมัครในสานึกร่วมหรือความเป็นเจ้าของร่วมเกิดการ เสียสละและผูกพัน (Sense of Belonging) มีความสัมพันธ์ทางบวกกับบทบาทอาสาสมัคร สาธารณสุขโดยมีคา่ สัมประสิทธ์สิ หสมั พนั ธเ์ ทา่ กบั .853 (r=.853, p<.001) คุณลักษณะการปฏิบัติงานท่ีไม่ใช่ภาระงานท่ีต้องทาตามหน้าที่ (Beyond Basic Obligations) มีความสัมพันธ์ทางบวกกับบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุข จึงยอมรับสมมติฐานย่อย ทวี่ ่าคณุ ลักษณะของอาสาสมคั รในการปฏบิ ตั ิงานที่ไม่ใช่ภาระงานทต่ี ้องทาตามหน้าที่ (Beyond Basic Ref. code: 25595805038121LZO
62 Obligations) มีความสัมพันธ์ทางบวกกับบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขโดยมีค่าสัมประสิทธิ์ สหสมั พนั ธเ์ ทา่ กบั .793 (r=.793, p<.001) ดงั น้นั จากผลการศึกษาจึงยอมรับ สมมุติฐานท่ีต้งั ไว้ คุณลักษณะของอาสาสมัคร สาธารณสขุ สมั พนั ธ์กบั บทบาทอาสาสมคั รสาธารณสุขหากอาสาสมัครสาธารณสุข มีคุณลักษณะสานึก ร่วมหรือความเป็นเจ้าของร่วมเกิดการเสียสละและผูกพัน (Sense of Belonging) และความรู้สึก อิสระในการเป็นผู้เลือกงานอาสาสมัครที่ตนเองสนใจ (Choose) จะทาให้บทบาทอาสาสมัคร สาธารณสขุ เด่นชัดมากขน้ึ และในทางกลับกันถ้าอาสาสมัครสาธารณสุขมีคุณลักษณะดังกล่าวน้อยลง เท่าไร จะทาใหบ้ ทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขลดลงด้วย โดยปัจจัยที่ส่งผลต่อบทบาทของอาสาสมัคร มากท่ีสุดคือ คุณลักษณะสานึกร่วมหรือความเป็นเจ้าของร่วมเกิดการเสียสละและผูกพัน (Sense of Belonging) และความร้สู กึ อสิ ระในการเป็นผเู้ ลือกงานอาสาสมัครทีต่ นเองสนใจ (Choose) ดังสมการ ทานายผู้ที่มีคะแนนสานึกร่วมหรือความเป็นเจ้าของร่วมเกิดการเสียสละและผูกพัน (Sense of Belonging) เท่ากับ 4.00 คะแนน และคะแนนความรู้สึกอิสระในการเป็นผู้เลือกงานอาสาสมัครท่ี ตนเองสนใจ (Choose) เท่ากับ 3.00 คะแนน สามารถทานายคะแนนบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุข ได้เท่ากับ 3.702 คะแนน 5.2 ขอ้ เสนอแนะ จากผลการศึกษาเร่ือง “คุณลักษณะอาสาสมัครท่ีส่งผลต่อบทบาทอาสาสมัคร สาธารณสุข” ทาให้ทราบถึงคุณลักษณะของอาสาสมัคร และคุณลักษณะใดมีอิทธิพลต่ออาสาสมัคร สาธารณสุข อันนามาสู่การกาหนดแนวทางเชิงนโยบายและการสนับสนุน ผู้ศึกษาจึงมีข้อเสนอแนะ สาหรบั การพัฒนาคุณลกั ษณะอาสาสมัครสาธารณสขุ ทีส่ ัมพันธ์กับบทบาทในจังหวดั นนทบรุ ี ดังนี้ 1. การพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุข ผ่านคุณลักษณะสานึกร่วมหรือความเป็นเจ้าของ ร่วมเกิดการเสียสละและผูกพัน (Sense of Belonging) จะเป็นการก่อให้เกิดรูปแบบความผูกพันต่อ ชุมชน (Community Engagement) จะสร้างให้เกิดความเข้มแข็งแกช่ ุมชน Ref. code: 25595805038121LZO
63 ภาพที่ 5.1 การพัฒนากระบวนการความผกู พนั ของชมุ ชนผา่ นกระบวนการอาสาสมัครเกดิ ชมุ ชน เขม้ แข็ง จากผลการศึกษาเป็นคุณลักษณะการสร้างให้สานึกร่วมหรือความเป็นเจ้าของร่วม เกิดการเสียสละและผูกพัน (Sense of Belonging) อาสาสมัครท่ีส่งต่อบทบาทอาสาสมัคร สาธารณสุขมากถึงร้อยละ72.8 ดังน้ัน ก่อให้เกิดการทางานที่มีคุณค่าพร้อมทั้งการสร้างความผูกพัน กับชุมชนโดยกระบวนการอาสาสมัครสาธารณสุขจึงเป็นกระบวนการสาคัญ ผ่านกระบวนการมี ส่วนร่วม การส่ือสาร การร่วมดาเนินงาน ดังเช่นอาสาสมัครสาธารณสุขเมื่อย่ิงเปิดโอกาสจะย่ิงทาให้ ผู้ทาหน้าท่ีเกิดความผูกพัน และเมื่อเกิดความผูกพันจะเกิดความรักและความศรัทธาต่อหน้าที่ท่ีได้ ปฏิบัติทาและก่อให้เกิดความผูกพันต่อผลคือ “ระบบสุขภาพชุมชน” ที่เกิดร่วมมือในการสร้าง ทั้งน้ี เกิดการบูรณาการไปสู่การทางานชุมชนต่างๆ จะเกิดรูปแบบสาคัญคือ “ความผูกพันของชุมชน” สามารถสรปุ รปู แบบความผูกพนั ของอาสาสมคั รสาธารณสุขใน 3 ระบบได้คอื 1.1 ความผูกพันของอาสาสมัครสาธารณสุข นามาสู่ความรู้สึกเป็นเจ้าของ ทาให้ เกิดการเปล่ียนแปลงท่ีย่ังยืน เข้าใจว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใดและด้วยเหตุผลใด มี การเช่อื มรอ้ ยประสบการณด์ ี ๆ กบั ผู้คน สามารถสร้างแรงบนั ดาลใจให้กับผคู้ น ทาให้ผู้คนออกมานอก เขตความปลอดภัยของตนเอง สามารถนาให้กา้ วขา้ มขอ้ จากัดตา่ ง ๆ 1.2 ความผูกพันของผู้ป่วยและครอบครัวในชุมชน จะนามาสู่การร่วมกาหนด เป้าหมาย การให้ข้อมูล สานึกรับผิดชอบ การลงมือปฏิบัติ การดูแลตนเอง ความไวต่อสิ่งที่เกิดขึ้น Ref. code: 25595805038121LZO
64 ตลอดจนเจตคติท่ีดีต่อทีมงานผู้ให้บริการและอาสาสมัครสาธารณสุข ซึ่งท้ังหมดนี้จะนามาสู่คุณภาพ ชวี ติ คนในชุมชนผา่ นกระบวนการสง่ เสรมิ และปอ้ งกันโรค 1.3 ความผูกพันของเครือข่ายบริการ หน่วยงานในพ้ืนที่ ตลอดจนองค์กรปกครอง สว่ นทอ้ งถน่ิ จะกอ่ ใหเ้ กิดความร่วมมอื ในการกา้ วข้ามข้อจากัดของระบบ สูร่ ะบบการดูแลที่ไร้รอยต่อที่ จาเป็นต่อความต้องการบริการสุขภาพที่นับวันจะซับซ้อนยิ่งขึ้น โดยกลไกอาสาสมัครสาธารณสุขที่ ทางานกบั ชุมชนจะเปน็ ตวั จักรเชอื่ มรอ้ ยสาคญั 2. การร่วมออกแบบระบบของอาสาสมัครสาธารณสุขเป็นกระบวนการนามาสู่ความ ผกู พนั ภาพที่ 5.2 กระบวนการออกแบบระบบสาธารณสุขชมุ ชนโดยอาสาสมคั ร การสร้างอาสาสมัครในเขตพื้นท่ีจังหวัดนนทบุรี กระบวนสาคัญที่ควรนามาร่วมใน การออกแบบคอื การสร้างการมีสว่ นร่วม การเปดิ โอกาสให้ประชาชนและผู้ท่ีเก่ียวข้องเข้ามาร่วม โดย ผ่านขั้นตอนต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องการให้ข้อมูลข่าวสาร ถือเป็นการมีส่วนร่วมของประชาชนและ อาสาสมัครในพ้ืนที่ในระดับที่ไม่มากนัก แต่เป็นระดับท่ีสาคัญที่สุด เพราะเป็นข้ันต้นของการท่ีเปิด โอกาสให้ประชาชนเข้าสู่กระบวนการมีส่วนร่วมในเรื่องต่าง ๆ การร่วมรับฟังความคิดเห็น เป็น กระบวนการทีเ่ ปิดใหอ้ าสาสมคั รสาธารณสขุ มสี ว่ นร่วมในการใหข้ ้อมูลขอ้ เทจ็ จริงและความคิดเห็นเพื่อ ประกอบการตดั สนิ ใจของหน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้อง การเชือ่ มโยงทกุ สว่ นเปน็ การเปิดโอกาสให้ประชาชนมี สว่ นรว่ มในการปฏิบัติงาน หรือร่วมเสนอแนะทางที่นาไปสู่การตัดสินใจ เพ่ือสร้างความมั่นใจว่าข้อมูล ความคิดเห็นและความต้องการจะถูกนาไปพิจารณาเป็นทางเลือกในการบริหารงาน ต่อมา ความร่วมมือ เป็นการให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีส่วนร่วม โดยเป็นหุ้นส่วนกับภาครัฐในทุกข้ันตอน ของการตัดสินใจ และมีการดาเนินกิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเน่ือง ข้ันตอนสุดท้ายการเสริมอานาจแก่ อาสาสมัครสาธารณสขุ เป็นขน้ั ท่ีใหบ้ ทบาทอาสาสมคั รสาธารณสุขในระดับสูงท่ีสุด โดยเป็นผู้ตัดสินใจ Ref. code: 25595805038121LZO
65 เช่น การออกแบบแผนการพัฒนาระบบสุขภาพตาบลผ่านกองทุนการส่งเสริมป้องกันโรคระดับตาบล เป็นต้น การมีส่วนร่วมทั้งหมดจะเป็นการสร้างสานึกความเป็นเจ้าของเพ่ือพัฒนาชุมชนสู่สุขภาวะ สงั คมและประชาชน 3. ใช้กระบวนการจัดการความรู้ เป็นเครื่องมือขยายผลในการพัฒนาคนและสร้าง ระบบองคค์ วามรู้เพอื่ การพฒั นาระบบ ความรอู้ าสาสมคั ร วธิ กี ารถ่ายทอดความรู้ 1. องคป์ ระกอบด้านรา่ งกาย กลไกชมุ ชน 1. การพูดคุย สนทนาระหวา่ ง และจิตใจตามความเชื่อขอ สมาชิกในครอบครวั และคน ของชมุ ชน อสม. ผูร้ ผู้ ้มู ี ชุมชน 2. การเปน็ ผ้นู าผูด้ ูแลอภิบาล ผู้นาชุมชน ประสบการณ์ 2. การปรกึ ษาหารือกับผูร้ ู้ ผมู้ ี ชมุ ชน ผา่ นการเขา้ ใจโรคและ ประสบการณ์ ผ่านประสบการณ์ 3. การสนทนา บอกเลา่ 3. ระบบความสมั พนั ธแ์ ละ ระหว่างร่วมกจิ กรรมในชุนชน การเปน็ นกั จดั การสขุ ภาพ ในงานประเพณที อ้ งถ่ิน และ ชุมชน กจิ กรรมการรณรงคด์ า้ นสขุ ภาพ 4. แนวทางวิธีการดแู ลสขุ ภาพ ในชมุ ชน ขั้นฐาน การดูแลสุขภาพ 4. หาผูท้ ีเ่ ปน็ แบบอย่างบอกเล่า ตนเองและคนในครอบครัว เรือ่ งราวในการทางาน อาสาสมัครของตนเอง ภาพท่ี 5.3 การจดั การความร้อู าสาสมัครสาธารณสขุ เพ่ือพัฒนาชมุ ชน การถอดบทเรยี นอาสาสมัครทป่ี ระสบความสาเร็จสูงในพ้ืนท่ีเพื่อแบ่งปันให้เครือข่าย อาสาสมัครสาธารณสุข เพราะทุกคนย่อมมีความต้องการท่ีจะเป็นส่วนหนึ่งของบางส่ิงที่ย่ิงใหญ่ที่เขา ทาไม่ได้ด้วยตัวเอง เมื่อใดที่อาสาสมัครเกิดความรู้สึกว่าเขาเป็นส่วนหนึ่งของอะไรบางสิ่งที่ยิ่งใหญ่ อาสาสมัครสาธารณสุขจะทางานแบบเทใจให้ไม่มีส้ินสุดและเป็นแรงสนับสนุนบทบาทของอาสาสมัคร ใหส้ ามารถคงอยู่ได้ในสังคม ขณะเดียวกันพัฒนาระบบการยกย่องส่งเสริมอาสาสมัครต้นแบบในพื้นท่ี พัฒนากิจกรรมอาสาสมัครเขา้ มารว่ มอย่างแทจ้ ริงผา่ นกระบวนการพฒั นาศักยภาพอาสาสมัคร จึงเป็น กระบวนการสาคัญผ่านวิธีการกระบวนการค้นหาและใช้ความรู้ กระบวนการ กระบวนการสร้าง ความร้แู ละกระบวนการแลกเปลีย่ นความรู้ ควรหาแนวทาง พัฒนาโดยกาหนดนโยบายจัดทาหลักสูตร อบรมสมั มนาเพ่อื พฒั นาศักยภาพอาสาสมคั รสาธารณสขุ ส่งเสริมใหม้ กี ารจัดกระบวนการ แลกเปล่ียน Ref. code: 25595805038121LZO
66 ความรู้เพ่ือให้เกิดการพัฒนาเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ส่งผลให้เกิดความรู้ใหม่ ๆ และนาความรู้ไปใช้ ให้เกดิ ประโยชนใ์ นการดแู ลสขุ ภาพประชาชน 4. คุณลักษณะสานกึ ร่วมหรอื ความเป็นเจ้าของร่วมเกิดการเสียสละและผูกพัน (Sense of Belonging) และความรู้สึกอิสระในการเป็นผู้เลือกงานอาสาสมัครท่ีตนเองสนใจ (Choose) จะทา ให้บทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขเด่นชัดมากขึ้น และในทางกลับกันถ้าอาสาสมัครสาธารณสุขมี คุณลักษณะดังกล่าวน้อยลงเท่าไร จะทาให้บทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขลดลงด้วย โดยปัจจัยที่ส่ง ผลต่อบทบาทของอาสาสมัครมากที่สุดคือ คุณลักษณะสานึกร่วมหรือความเป็นเจ้าของร่วมเกิด การเสียสละและผกู พนั (Sense of Belonging) และความรสู้ กึ อิสระในการเป็นผู้เลือกงานอาสาสมัคร ท่ีตนเองสนใจ (Choose) จากปัจจัยดังกล่าวสามารถนามากาหนดเป็นแผนกิจกรรมและยุทธศาสตร์ การทางานอาสาสมัครสาธารณสุขเชิงพ้ืนท่ีได้ หรือเป็นแนวทางในการรับรู้บทบาทอาสาสมัครในการ เขา้ ร่วมการทางานในพืน้ ที่ 5.3 ข้อเสนอแนะสาหรบั การวิจยั ครง้ั ต่อไป 1. การวิจัยคร้ังน้ีเป็นการวิจัยเชิงปริมาณโดยการใช้แบบสอบถาม ทาให้ผลการวิจัย ไม่เที่ยงตรงมากนักเน่ืองจากการประเมินคุณลักษณะอาสาสมัครเพียงคนเดียว ดังน้ันหากงานวิจัยใน คร้ังต่อไปควรเป็นการวิจัยผสานวิธี มีการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ประกอบด้วยจะทาให้ผลการวิจัยมีความเท่ียงตรงมากขึ้น และสะท้อนบทบาทอาสาสมัครในภาพรวม ได้ 2. การพยากรณ์บทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขโดยตัวแรกคุณลักษณะ 2 ตัวแปร เป็น การศึกษาในเบ้ืองต้นเท่านั้น ในอนาคตควรศึกษาเพ่ิมเติมถึงคุณลักษณะอาสาสมัครในรูปแบบต่าง ๆ ทสี่ ง่ ผลตอ่ บทบาทอาสาสมคั รสาธารณสุข 3. ในการวิจัยครั้งน้ี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาไม่ได้รวมเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข หรือ กลไกสาธารณสุขในระดับพื้นที่เข้าไปด้วย หากมีการศึกษาอาสาสมัครสาธารณสุขในกลุ่มอ่ืน หรือใน กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขควรเพ่ิมกลุ่ม เจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข หรือ กลไกสาธารณสุขในระดับพื้นท่ี เพ่ือผลการศึกษาสามารถสะท้อนมุมมองได้ทุกมิติท้ังในมุมมองผู้ปฏิบัติและในมุมของของผู้กาหนด นโยบายและออกแบบแผนการดาเนินงาน Ref. code: 25595805038121LZO
67 รายการอ้างอิง หนังสอื กองสนบั สนุนสุขภาพภาคประชาชน. (2559). คูม่ ือ อสม.นกั จัดการสขุ ภาพชมุ ชน (พมิ พ์ครงั้ ที่ 3). กรุงเทพฯ: หมอชาวบ้าน. โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2549). ศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสขุ ในสถานการณ์การเปล่ียนแปลง: การสงั เคราะห์ความรูส้ ยู่ ุทธศาสตร์การพฒั นา. กรุงเทพฯ: กระทรวงสาธารณสขุ , สานกั วจิ ยั สงั คมและสุขภาพ. นพมาศ องุ้ พระ (ธรี เวคิน). (2551). ทฤษฎบี คุ ลกิ ภาพและการปรับตัว (พิมพค์ รัง้ ที่ 4). กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์. นพมาศ อุ้งพระ (ธรี เวคิน). (2539). การเสยี สละและพฤติกรรมเพ่ือสังคมในจิตวทิ ยาสังคมกบั ชีวติ . กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์. พรรณี ชูทัยเจนจติ . (2538). จิตวิทยาการเรยี นการสอน (พิมพ์ครัง้ ท่ี 4). กรงุ เทพฯ: คอมแพคทป์ รน้ิ . รัตนา ศริ ิพาณชิ . (2533). หลกั การสร้างแบบสอบถามวัดทางจติ วทิ ยาและทางการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ: เจริฐวิทย์การพมิ พ์. ศรีเรอื น แก้วกงั วาล. (2548). ทฤษฎจี ติ วทิ ยาบุคลิกภาพ (พิมพค์ ร้งั ท่ี 12). กรงุ เทพฯ: หมอชาวบ้าน. ศรีเรือน แก้วกังวาล. (2558). จติ วิทยาบุคลิกภาพรว่ มสมยั และจติ บา่ บดั (พิมพ์ครง้ั ท่ี 1). กรุงเทพฯ: หมอชาวบ้าน. ศุภรตั ย์ รตั นมขุ ย์. (2551). ระบบการบริหารจัดการงานอาสาสมคั ร ศกึ ษากรณี มูลนธิ พิ ทุ ธฉ้ือจ้ี ไต้หวัน. กรุงเทพฯ: เชน ปริน้ ติง้ . สมพร เทพสิทธา. (2541). อุดมการณ์และบทบาทอาสาสมัคร แนวคิด และทิศทางการพัฒนางาน อาสาสมคั รในไทย. กรงุ เทพฯ: สภาสงั คมสงเคราะห์แหง่ ประเทศไทยในพระบรมราชินูปถัมภ์. สุนิตย์ เชรษฐา. (2548). การศกึ ษาและประยกุ ต์บทเรียนงานอาสาสมัครจากต่างประเทศเพื่อ การพัฒนาระบบอาสาสมัครในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: ไทยรูรลั เนต็ TRN, ภายใตม้ ลู นธิ ิ บูรณะชนบทแห่งประเทศไทยในพระบรมราชปู ถัมภ์. สพุ านี สฤษฎ์วาณชิ . (2552). พฤติกรรมองค์การสมยั ใหม่: แนวคดิ ทฤษฎี (พมิ พค์ ร้ังที่ 2). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์. สุรสั วดี หนุ่ พยนต์, และ ภูมิธรรม เวชยชยั . (2527). ปัญหาการด่าเนนิ งานของหนว่ ยงานอาสาสมคั รใน ประเทศไทย. กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์, สานักบัณฑติ อาสาสมคั ร. Ref. code: 25595805038121LZO
68 บทความวารสาร ปิยากร หวงั มหาพร. (2556). พฒั นาการเชิงนโยบายอาสาสมคั รไทย: จากความมั่นคงสูก่ ารพัฒนา สงั คม. วารสารวชิ าการมหาวิยาลัยศรีปทุม. 43(5), 16-17. ไพศาล วิสาโล. (2550). ศาสตรแ์ ละศลิ ปแ์ ห่งการจดั การความดี: ศกึ ษากรณีมลู นธิ ฉิ ือจ้ี. วารสารศูนย์คณุ ธรรม. 3(2), 10-42. วิทยานิพนธ์ จารณี สุขสม. (2556). ปัจจัยที่มผี ลต่อการตดั สินใจเลอื กศึกษาวิชาชพี สอ่ื สารมวลชนใน สถาบนั อดุ มศกึ ษาของรัฐเขตกรุงเทพมหานครและปรมิ ณฑล. (วทิ ยานิพนธ์ปริญญามหาบณั ฑิต), มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์, คณะวารสารศาสตร์ และสื่อสารมวลชน, สาขาสอ่ื สารมวลชน. ทศั พร ชูศักด์ิ. (2554). รปู แบบความสมั พันธเ์ ชงิ สาเหตุของปัจจัยทมี่ อี ิทธพิ ลตอ่ การปฏิบัตงิ านตาม บทบาทหนา้ ที่ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจา่ หมู่บา้ น (อสม.) พ้นื ท่ีสาธารณสขุ เขต 18. (วิทยานพิ นธ์ดษุ ฎีบณั ฑติ ). มหาวิทยาลัยคริสเตียน, บณั ฑติ วิทยาลยั , หลกั สตู รปรัชญาดุษฎบี ณั ฑติ สาขาวิชาการจัดการ. นภัสวรรณ ตู้ปัญญากนก. (2550). บุคลิกภาพแบบ MBTI เชาวน์อารมณ์ ท่ีมีต่อคุณภาพชีวิตในการ ทา่ งานของพนักงานตอ้ นรับภาคพ้นื ดนิ : กรณีศกึ ษาสายการบินต้นทนุ ต่าสายการบินหน่ึง. (วิทยานิพนธ์ปรญิ ญามหาบัณฑติ ). มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์, คณะศลิ ปศาสตร์, สาขาจิตวทิ ยาอุตสาหกรรมและองค์การ. พศิ าล โพธิ์ทองแสงอรณุ . (2555). การวิเคราะห์ปจั จัยที่มีอิทธพิ ลตอ่ ความรับผิดชอบต่อสังคมของ ผูบ้ รหิ ารกบั ผปู้ ฏบิ ตั งิ านภายในกลุม่ โรงงานอตุ สาหกรรมน่้าตาล. (วิทยานิพนธ์ดษุ ฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนือ, คณะศิลปศาสตรป์ ระยุกต์, สาขาวิชาการพฒั นาธุรกิจอตุ สาหกรรมและทรพั ยากรมนุษย์ ภาควิชาสงั คมศาสตร์, สุพฒั นา บญุ แกว้ . (2556). ปัจจัยทางจิตสังคมท่ีเกีย่ วข้องกับพฤติกรรมอาสาสมคั รของอาสายวุ กาชาด ในเขตกรุงเทพมหานคร. (ปริญญานพิ นธ์มหาบัณฑติ ). มหาวทิ ยาลยั ศรีนคริทรวโิ รฒ, สถาบนั วจิ ยั พฤติกรรมศาสตร์, วิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ , สาขาวชิ าการวิจยั พฤติกรรมศาสตร์ประยกุ ต์. Ref. code: 25595805038121LZO
69 สุภาวดี นพรุจจนิ ดา. (2553). องคป์ ระกอบภาวะผู้น่าของผู้บริหารวทิ ยาลยั พยาบาลสังกัดกระทรวง สาธารณสุข. (วทิ ยานพิ นธ์ดุษฎีบณั ฑิต). มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร, คณะศึกษาศาสตร์, ภาควชิ าบริหารการศกึ ษา, หลกั สตู รปรชั ญาปริญญาดษุ ฎบี ัณฑิต. อัญพร พูลทรพั ย์. (2546). บุคลิกภาพห้าองคป์ ระกอบ (the big five) กับพฤติกรรมการเปน็ สมาชกิ ที่ ดีขององคก์ าร: กรณีศึกษากองรายได้ การประปานครหลวง. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบณั ฑติ ). มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาจติ วิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ. เอกสารอื่น ๆ นราเขต ย้มิ สุข. (2552). ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งคณุ ลกั ษณะของผปู้ ระกอบการกับความส่าเรจ็ ของ ผ้ปู ระกอบการธรุ กิจขนาดยอ่ ม: กรณศี ึกษาธุรกิจไม้ดอกไม้ประดบั ในอ่าเภอองครักษ์ จงั หวดั นครนายก. (สารนพิ นธป์ รญิ ญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์ สาขาจิตวทิ ยาอตุ สาหกรรมและองค์การ. ศศิพฒั น์ ยอดเพชร. (2534). รายงานการวิจยั เร่อื งอาสาสมัครกบั การปฏิบัติงานสงั คมสงเคราะห์. มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์, คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์. ศูนยค์ ุณธรรม (องค์การมหาชน). (2550). รายงานผลการสา่ รวจ เรอ่ื งสถานภาพคุณธรรมของ ประชาชนในสังคมไทย. ส่อื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ย์. (2544). ปฎญิ ญาอาสาสมัครไทย. สบื ค้นจาก https://www.m-society.go.th/article_attach/861/1490.doc จารพุ งศ์ พลเดช. (2551). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. สบื คน้ จาก www.lopburi.go.th/governor/ book_january_51/human.doc. Books Feist, J. & Feist, Gregory J. (2006). Theories of Personality (6th edition). New York: McGrawhill. Ref. code: 25595805038121LZO
70 Hjelle, L.A. & Zieger, D.J. (1992). Personality Theories: Basic Assumption, Research, and Application (3rdedition). New York: McGrawhill. Likert, Rensis & Bowers, David, G. (1961). Organizational theory and human resource accounting. New York: American Psychological Association. Maslow, A. H. (1954). Motivation and Personality. New York: Harper and Row. UNV. (2004). Guidance Note on Volunteer Infrastructure. New York : McGrawhill. Electronic Media Charities Aid Foundation. (2015). CAF WORLD GIVING INDEX 2015. Retrieved from https://www.cafonline.org/about-us/publications/2015-publications/world- giving-index-2015 Hamilton, Matthew & Hussain, Afshan. (1995). cAmericaus TeenageVolunteers: Civic Participation Begins Early in Life. Retrieved from http://www.independentsector.org/programs/research/teenvolun1.pdf Oliner, Samuel. (1999). Extraordinary Acts of Ordinary People: Faces of Heroism and Altruismein. Retrieved from http://www.altruisticlove.org/docs/s_oliner.html. Penny, Edgell, Becker, & Dhingra, Pawan, H. (2001). Religious Involvement and Volunteering:Implications for Civil Societye. Retrieved from http://www.findarticles.com/p/articles, Pennington, G. (2003). Guidelines for Promoting and Facilitating Change. Retrieved from http://www.itsn.ac.uk/genericcentre/index.asp?id=19045 Susan J. Ellis & Katarines H. Noyes. (2003, August 26). Volunt/ar/eer/ism: What's the Difference?. Retrieved from http://www.energizeinc.com/art/1vol.html Ref. code: 25595805038121LZO
70 ภาคผนวก Ref. code: 25595805038121LZO
71 ภาคผนวก ก แสดงอัตราส่วนการวัดคา่ ถูกต้องตามเนอ้ื หา เรอื่ งคณุ ลกั ษณะอาสาสมคั รที่สง่ ผลตอ่ บทบาทอาสาสมคั รสาธารณสุข 1. คุณลักษณะอาสาสมัคร หมายถึง ลักษณะประกอบด้วย 3 ด้าน ประกอบด้วย 1) ความรู้สึกอิสระในการเป็นผู้เลือกงานอาสาสมัครที่ตนเองสนใจ (Choose) 2) การปฏิบัติงานที่ ไมใ่ ชภ่ าระงานทตี่ อ้ งทาตามหนา้ ท่ี (Beyond Basic Obligations) 3) สานกึ ความเป็นเจ้าของ (Sense of Belonging) โดยทัง้ หมดส่งผลตอ่ การปฏิบตั งิ านตามบทบาทอาสาสมัคร (Volunteer Role) 2. บทบาทอาสาสมัคร หมายถึง การปฏิบัติงานท่ีทุ่มเทพร้อมจะสละเวลาแรงกายและ สติปัญญา เพื่อสาธารณประโยชน์ไม่นิ่งดูดายเมื่อพบเห็นปัญหาหรือความทุกข์ยากที่เกิดข้ึนกับผู้คน โดยเป็นไปตามบทบาทสถานะของอาสาสมัครที่สังคมได้มุ่งหวังไว้ ซ่ึงโครงสร้างของบทบาท ประกอบด้วย ลักษณะท่ีเฉพาะของแตล่ ะบุคคล การแสดงพฤตกิ รรมและการเป็นอาสาสมัคร ส่วนที่ 1 คุณลักษณะอาสาสมัครโดยแบบสอบถามจะประกอบด้วยองค์ประกอบท่ี สาคัญ 3 องคป์ ระกอบคือ องคป์ ระกอบและคาถาม สอด ไมส่ อด ไม่แน่ใจ ค่า IOC คลอ้ ง คลอ้ ง (1) ความรู้สกึ อิสระในการเป็นผเู้ ลอื กงาน อาสาสมัครทตี่ นเองสนใจ (Choose) หมายถงึ การท่ีอาสาสมัครสามารถตดั สินใจเลอื ก การทางานไดด้ ้วยตนเอง มโี อกาสในการประสาน การทางาน และแลกเปล่ยี นกับผูเ้ กยี่ วขอ้ ง 1. ท่านสามารถเลอื กเวลาการทางานของตนเอง 3 1 ไดอ้ ย่างอิสระ 2. ทา่ นมโี อกาสใช้ความคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์ 3 1 ส่งิ ใหม่ ๆ ในการปฏิบตั ิงานอาสาสมคั ร 3. ทา่ นสามารถเลือกวิธีท่ีตนเองคดิ วา่ ดีที่สุดท่จี ะ 3 1 ทางานใหส้ าเรจ็ 4. ทา่ นมีโอกาสประสานงานกับสว่ นราชการหรอื 3 1 องค์กรตา่ ง ๆ Ref. code: 25595805038121LZO
72 องคป์ ระกอบและคาถาม สอด ไมส่ อด ไม่แนใ่ จ คา่ IOC คล้อง คล้อง 5. ทา่ นมีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและให้ 3 1 ขอ้ เสนอแนะกบั เพ่ือนอาสาสมคั รสาธารณสุข ด้วยกนั 6. ทา่ นมโี อกาสแลกเปลี่ยนความคดิ เห็นและให้ 3 1 ข้อเสนอแนะกับผนู้ าชมุ ชน 7. ท่านมโี อกาสแลกเปลี่ยนความคดิ เห็นและให้ 3 1 ขอ้ เสนอแนะกับเจ้าหนา้ ท่ีสาธารณสขุ (2) การปฏบิ ตั ิงานท่ีไมใ่ ชภ่ าระงานท่ีตอ้ งทา ตามหน้าที่ (Beyond Basic Obligations) หมายถึง การที่อาสาสมคั ร เสียสละ เต็มใจ ตัง้ ใจ และเห็นอกเหน็ ใจในการทางานอาสาสมคั รถึงแม้ จะมภี าระงานอ่ืน ๆ 1. ท่านเสียสละกาลังกาย กาลงั ความคิดและ 3 1 ประโยชน์ของตนเพ่ือสว่ นรวม 2. ทา่ นมีความเต็มใจทีจ่ ะทางานอาสาสมัครใน 3 1 หนา้ ท่ีไดร้ บั แม้ท่านมภี าระครอบครวั ทีต่ ้อง รบั ผิดชอบ 3. ทา่ นมคี วามตง้ั ใจในการทาหนา้ ทอี่ าสาสมัคร 3 1 ถงึ แม้ไมใ่ ช่ภาระงานหลกั ของตน 4. ท่านมคี วามเห็นอกเหน็ ใจและใสใ่ จให้ความ 3 1 ชว่ ยเหลือผู้อนื่ 5. ท่านเป็นคนมนี ้าใจ ให้ความรว่ มมือในการ 3 1 ปฏบิ ัติงาน 6. ทา่ นมีความเอื้อเฟ้ือเผื่อแผ่ เตม็ ใจทางานเพื่อ 3 1 บุคคลอ่ืนโดยท่ัวไป 7. ทา่ นจะไม่ลาออกจากการเป็นอาสาสมัคร 3 1 สาธารณสขุ แม้จะไม่มีคา่ ตอบแทนหรอื สวสั ดกิ าร ใด ๆ Ref. code: 25595805038121LZO
73 องค์ประกอบและคาถาม สอด ไม่สอด ไม่แน่ใจ คา่ IOC คล้อง คล้อง (3) สานึกความเป็นเจ้าของ (Sense of belonging) หมายถึง ความรสู้ ึกวา่ ตนเองเป็น สว่ นร่วมของการทางานใหช้ มุ ชน สังคมของ ตนเอง รวมทง้ั ความรูส้ กึ ภาคภมู ใิ จที่ได้ทาเพื่อ สว่ นรว่ ม 1. ท่านรสู้ ึกวา่ ทา่ นเป็นทรี่ ักของคนในชุมชน 3 1 2. ท่านรู้สกึ ว่าทา่ นเปน็ สว่ นหน่งึ ของหมู่บา้ นหรือ 3 1 ชุมชนท่ีอาศยั อยู่ 3. เม่อื คนในชมุ ชนมีปัญหามักจะขอความคิดเหน็ 3 1 หรอื คาปรกึ ษาจากทา่ น 4. ทา่ นร้สู ึกภูมิใจทีต่ นเองได้ทาประโยชนใ์ ห้กบั 3 1 สังคม 5. ทา่ นมคี วามภาคภูมิใจทไ่ี ด้ทางานอาสาสมัคร 3 1 เพือ่ ชมุ ชนของตนเอง ส่วนท่ี 2 บทบาทอาสาสมคั รโดยแบบสอบถามจะประกอบด้วยองค์ประกอบที่สาคัญ 4 องค์ประกอบคือ องคป์ ระกอบและคาถาม สอด ไม่สอด ไมแ่ นใ่ จ คา่ IOC คลอ้ ง คล้อง (1) บทบาทเปน็ ความคาดหวังทีเ่ กดิ ข้นึ ของ อาสาสมคั ร มไิ ดเ้ กย่ี วข้องหรือมุ่งไปที่ตัวบุคคล 3 1 หมายถึง เป้าหมายการทางานเพอื่ ให้เกดิ ผลดกี ับ ภาพรวมของชมุ ชนมากกว่าตอบสนองคนใด คนหนง่ึ 1. อาสาสมัครสาธารณสุขเป็นผ้สู นับสนุน การดาเนนิ งานด้านสุขภาพของชุมชนให้สาเรจ็ ตามเปา้ หมาย Ref. code: 25595805038121LZO
องคป์ ระกอบและคาถาม สอด 74 คลอ้ ง ไม่สอด ไม่แน่ใจ คา่ IOC 2. อาสาสมคั รสาธารณสขุ มีความเช่ือมน่ั ว่า คล้อง เป้าหมายการปฏบิ ัติงานเปน็ ส่ิงทเ่ี ป็นไปไดท้ จี่ ะทา 3 ใหเ้ กดิ ความสาเรจ็ ต่อชมุ ชน 3 1 3. อาสาสมคั รสาธารณสุขพยายามใช้ 3 1 ความสามารถและความทมุ่ เทสูงสุดในการ 3 1 ปฏิบัติงานเพื่อให้เกิดผลดีกบั ชมุ ชน 1 4. อาสาสมัครสาธารณสขุ เหน็ดเหนื่อยในการ 2 ปฏบิ ตั งิ านเพ่ือเป้าหมายในการพัฒนางานด้าน 3 1 .67 สาธารณสขุ ให้เจริญก้าวหนา้ 3 1 5. อาสาสมัครสาธารณสุขมีความต้งั ใจอยา่ งมาก 3 1 ที่จะใช้ความรู้ความสามารถอย่างเต็มท่ีเพือ่ ให้ 1 เกิดผลดตี อ่ ชุมชน (2) บทบาทมคี วามสัมพันธก์ ับพฤติกรรมในการ ทางานของอาสาสมัครบทบาทในองคก์ ารเป็น พฤตกิ รรมทถี่ ูกคาดหวังให้ปฏิบัติงานหน่งึ ๆ หมายถงึ บทบาทที่ไดร้ บั ความไวว้ างใจจากชมุ ชน ท่พี ิจารณาได้จาก การมีส่วนร่วมในกิจกรรม การ พบปะพดู คยุ ทกั ทาย ปรึกษาหารอื ในการทางาน กับชมุ ชนอย่างเปน็ กันเอง 1. ทา่ นใหค้ วามไวว้ างใจต่อคนในชมุ ชนด้วย ความจรงิ ใจ 2. ท่านไดร้ ับการชักชวนจากคนในชุมชนเข้าร่วม กจิ กรรมต่าง ๆ เสมอ 3. ท่านมกั ได้รับการทักทายจากคนในชุมชนและ ไตถ่ ามความทุกขส์ ุขของกันและกัน 4. ทา่ นและคนในชุมชนพดู จาปรึกษาหารืออยา่ ง เป็นกนั เอง Ref. code: 25595805038121LZO
องค์ประกอบและคาถาม สอด 75 คล้อง ไมส่ อด ไมแ่ นใ่ จ ค่า IOC 5. ทา่ นมคี วามสนิทสนมและเปน็ กันเองกบั ทุกคน คล้อง ในชุมชน 3 (3) อาสาสมคั รรจู้ ักตนเองตามบทบาทหนา้ ท่ที ี่ 1 ไดร้ บั มอบหมาย หมายถงึ บทบาทในการติดตาม 2 ขอ้ มลู ขา่ วสาร เข้ารว่ มประชุม มสี ่วนร่วมในการ 2 1 .67 เรยี นรู้และปฏบิ ัติหนา้ ทก่ี ารทางาน 3 1 .67 1. ทา่ นได้รับทราบขอ้ มลู ขา่ วสาร เรอ่ื ง การ 3 ประชมุ การอบรมและการเขา้ รว่ มกิจกรรมตา่ ง ๆ 1 ได้อย่างรวดเร็วและทนั เหตุการณ์ 2 1 2. ท่านมโี อกาสได้เข้าร่วมประชมุ หรอื อบรม สัมมนาวิชาการจากหนว่ ยงานอืน่ ๆ โดย 1 .67 การสนบั สนนุ จากเจา้ หน้าทีส่ าธารณสุข 3. เจ้าหน้าทส่ี าธารณสุขใหท้ ่านมโี อกาสไดเ้ รยี นรู้ งานหรอื ปฏบิ ัติงานท่ีมีความซับซอ้ นและทา้ ทาย ความสามารถ 4. ท่านมีส่วนร่วมในการกาหนดความต้องการ วสั ดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการปฏิบตั ิงาน (4) พฤติกรรมอาสาสมัครตามสถานการณท์ ี่ กาหนดให้จะตอ้ งมีความเหมาะสมกับการ สง่ เสริมฐานะของตนเอง หมายถึง อาสาสมัครได้ ใชค้ วามรใู้ นการปฏิบตั ิงานอย่างเตม็ ที่โดยการ การทางานเพ่ือส่วนรวม การใหค้ าอธิบายแก่ ชุมชนสงั คม และอาสาสมคั รมคี วามพอใจใน บทบาทตนเองทั้งในเรือ่ งความสัมพนั ธร์ ะหว่างคน ในชมุ ชนและในการท่ตี นเองมีบทบาทสาคัญใน ชุมชน 1. ทา่ นได้ใช้ความรู้ความสามารถในการ ปฏิบัตงิ านอยา่ งเต็มท่ี Ref. code: 25595805038121LZO
องค์ประกอบและคาถาม 76 2. ทา่ นทม่ี ีโอกาสไดใ้ ห้คาแนะนาหรอื อธิบาย สอด ไมส่ อด ไมแ่ นใ่ จ คา่ IOC วธิ ีการทางานแกเ่ พื่อนร่วมงาน คลอ้ ง คลอ้ ง 3. ทา่ นพอใจในความสัมพันธ์และมิตรภาพของ เพอื่ นรว่ มงานท่ีเปน็ อาสาสมัครสาธารณสุข 1 2 0.33* ด้วยกัน 4. ทา่ นได้ทางานเพ่ือ ประโยชนส์ ว่ นรวมและ 21 0.33* สงั คม 5. ทา่ นพอใจในการเปน็ สมาชกิ ทีส่ าคัญคนหน่ึง 2 1 .67 ของชุมชน 2 1 .67 จากตารางที่แสดงค่าอัตราส่วนความตรงตามเนื้อหาข้างต้นน้ัน ระบุว่า ในจานวน ผปู้ ระเมนิ 3 ท่านซ่งึ ผูว้ ิจัยใชป้ ระเมินครั้งน้ี ต้องมีอัตราความถูกต้องตามเนื้อหาอย่างน้อย 0.49 ผู้วิจัย จงึ ตัดข้อคาถามทม่ี ีคา่ IOC น้อยกว่า 0.49 ท้ิงไป Ref. code: 25595805038121LZO
77 ภาคผนวก ข แสดงค่าอานาจจาแนก (Discriminant Power) ตามรายขอ้ ยอ่ ยของแบบสอบถาม สว่ นที่ 2 คณุ ลกั ษณะอาสาสมคั รของอาสาสมคั รสาธารณสุข ลาดบั รายการข้อความ X S2 ค่า ขอ้ XH XL SH2 SL2 อานาจ 4.86 3.57 0.378 0.535 จาแนก t 1 ท่านสามารถเลือกเวลาการทางานของ 4.86 3.43 0.378 0.535 5.196* ตนเองไดอ้ ยา่ งอิสระ 4.71 2.86 0.488 0.690 5.774* 4.57 3.43 0.787 0.787 5.814* 2 ทา่ นมโี อกาสใชค้ วามคดิ ริเริ่มสรา้ งสรรค์สิ่ง 4.86 3.57 0.378 0.535 2.717* ใหม่ ๆ ในการปฏิบตั งิ านอาสาสมัคร 5.196* 4.86 3.14 0.378 0.378 3 ท่านสามารถเลือกวธิ ที ่ตี นเองคดิ ว่าดที ส่ี ุดที่ 4.86 2.86 0.378 0.900 8.485* จะทางานให้สาเรจ็ 4.57 4.00 0.535 0.000 5.422* 4.86 4.00 0.378 0.000 2.828* 4 ทา่ นมีโอกาสประสานงานกบั สว่ นราชการ 6.000* หรือองค์กรตา่ ง ๆ 5 ท่านมีโอกาสแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ และ ใหข้ อ้ เสนอแนะกบั เพ่ือนอาสาสมัคร สาธารณสุขดว้ ยกนั 6 ทา่ นมโี อกาสแลกเปลีย่ นความคิดเห็นและ ใหข้ ้อเสนอแนะกับผู้นาชมุ ชน 7 ทา่ นมโี อกาสแลกเปลีย่ นความคดิ เหน็ และ ให้ขอ้ เสนอแนะกับเจ้าหน้าท่สี าธารณสุข 8 ทา่ นเสียสละกาลังกาย กาลงั ความคิดและ ประโยชนข์ องตนเพ่ือสว่ นรวม 9 ท่านมีความเตม็ ใจที่จะทางานอาสาสมคั รใน หนา้ ท่ีได้รับ แม้ทา่ นมีภาระครอบครวั ท่ีต้อง รบั ผดิ ชอบ Ref. code: 25595805038121LZO
78 ลาดับ รายการข้อความ X S2 คา่ ขอ้ XH XL SH2 SL2 อานาจ จาแนก t 10 ทา่ นมีความตั้งใจในการทาหน้าที่ 4.86 3.71 0.378 0.756 3.578* อาสาสมคั รถงึ แม้ไม่ใชภ่ าระงานหลัก ของตน 4.86 3.43 0.378 0.787 4.330* 4.86 3.71 0.378 0.756 3.578* 11 ทา่ นมีความเห็นอกเห็นใจและใสใ่ จให้ 5.00 3.00 0.000 0.816 6.481* ความชว่ ยเหลือผอู้ น่ื 5.00 3.71 0.000 0.488 6.971* 12 ทา่ นเปน็ คนมีน้าใจ ให้ความร่วมมือใน 4.71 3.00 0.488 0.000 9.295* การปฏิบัติงาน 4.86 3.43 0.378 0.535 5.774* 13 ท่านมีความเอื้อเฟ้ือเผ่อื แผ่ เตม็ ใจทางาน 5.00 3.14 0.000 0.690 7.120* เพือ่ บุคคลอนื่ โดยทว่ั ไป 4.71 3.71 0.756 0.756 2.475* 14 ท่านจะไม่ลาออกจากการเปน็ อาสาสมคั ร สาธารณสุขแม้จะไม่มีค่าตอบแทนหรอื 5.00 3.86 0.000 0.378 8.000* สวสั ดิการใด ๆ 15 ทา่ นรสู้ ึกวา่ ทา่ นเป็นทีร่ ักของคนในชุมชน 16 ทา่ นรู้สกึ วา่ ทา่ นเป็นสว่ นหนงึ่ ของหมู่บา้ น หรือชมุ ชนที่อาศยั อยู่ 17 เมื่อคนในชุมชนมปี ญั หามักจะขอความ คดิ เหน็ หรอื คาปรกึ ษาจากท่าน 18 ทา่ นรสู้ กึ ภมู ใิ จทีต่ นเองได้ทาประโยชน์ ให้กบั สังคม 19 ทา่ นมคี วามภาคภมู ิใจท่ีได้ทางาน อาสาสมคั รเพ่ือชุมชนของตนเอง Ref. code: 25595805038121LZO
79 ส่วนที่ 3 บทบาทของอาสาสมัครสาธารณสขุ ลาดบั รายการข้อความ X S2 ค่า ข้อ XH XL SH2 SL2 อานาจ 4.75 3.14 .463 1.069 จาแนก t 1 อาสาสมัครสาธารณสขุ เปน็ ผ้สู นบั สนุน 3.687* การดาเนนิ งานด้านสุขภาพของชมุ ชนให้ 4.88 3.71 .354 .488 สาเร็จตามเปา้ หมาย 5.328* 4.75 3.71 .463 .756 2 อาสาสมัครสาธารณสขุ มีความเช่ือมั่นวา่ 3.250* เปา้ หมายการปฏบิ ัติงานเปน็ ส่ิงทีเ่ ป็นไปไดท้ ี่ 4.75 3.43 .463 .976 จะทาให้เกดิ ความสาเร็จต่อชุมชน 3.275* 4.38 3.14 .744 1.069 3 อาสาสมคั รสาธารณสุขพยายามใช้ 2.556* ความสามารถและความทมุ่ เทสงู สดุ ใน 4.88 3.29 .354 .756 การปฏบิ ตั ิงานเพ่ือให้เกดิ ผลดีกบั ชุมชน 4.63 3.71 .518 .488 5.096* 4.63 3.57 .518 .535 3.491* 4 อาสาสมัครสาธารณสุขเหน็ดเหนื่อยใน 4.63 3.29 .518 .488 3.874* การปฏบิ ัตงิ านเพ่ือเปา้ หมายในการพฒั นา 4.88 3.29 .354 .488 5.133* งานด้านสาธารณสุขให้เจริญก้าวหนา้ 7.295* 5 อาสาสมัครสาธารณสขุ มีความตง้ั ใจอย่าง มากทีจ่ ะใช้ความรู้ความสามารถอย่างเต็มที่ เพื่อใหเ้ กิดผลดีต่อชมุ ชน 6 ทา่ นใหค้ วามไว้วางใจต่อคนในชมุ ชนดว้ ย ความจรงิ ใจ 7 ท่านได้รับการชกั ชวนจากคนในชมุ ชนเข้า รว่ มกจิ กรรมต่าง ๆ เสมอ 8 ทา่ นมักไดร้ บั การทักทายจากคนในชมุ ชน และไต่ถามความทุกขส์ ขุ ของกันและกนั 9 ทา่ นและคนในชมุ ชนพูดจาปรึกษาหารือ อย่างเป็นกนั เอง 10 ท่านมคี วามสนิทสนมและเปน็ กันเองกับ ทุกคนในชมุ ชน Ref. code: 25595805038121LZO
80 ลาดบั รายการข้อความ X S2 ค่า ข้อ XH XL SH2 SL2 อานาจ 4.73 3.19 .344 .244 จาแนก t 11 ทา่ นได้รบั ทราบข้อมลู ขา่ วสาร เรอ่ื ง การ 9.839* ประชมุ การอบรมและการเข้ารว่ มกจิ กรรม 4.88 3.57 .354 .535 ตา่ ง ๆ ได้อย่างรวดเรว็ และทันเหตุการณ์ 5.487* 4.88 3.29 .354 .756 12 ทา่ นมโี อกาสได้เข้าร่วมประชุมหรอื อบรม 5.096* สมั มนาวิชาการจากหน่วยงานอืน่ ๆ โดย 4.75 3.00 .707 .816 การสนับสนุนจากเจ้าหนา้ ทีส่ าธารณสุข 4.63 3.71 .518 .756 4.452* 4.88 3.57 .354 .787 2.755* 13 เจ้าหนา้ ท่สี าธารณสุขใหท้ ่านมโี อกาสได้ 4.75 3.86 .463 .378 4.041* เรียนร้งู านหรอื ปฏิบัติงานที่มีความซับซ้อน 4.051* และท้าทายความสามารถ 14 ทา่ นมีสว่ นรว่ มในการกาหนดความตอ้ งการ วัสดอุ ปุ กรณท์ ่ีใชใ้ นการปฏบิ ตั ิงาน 15 ท่านพอใจที่ไดใ้ ชค้ วามรู้ความสามารถใน การปฏบิ ัติงานอย่างเตม็ ที่ 16 ทา่ นพอใจที่ได้ทางานเพ่ือประโยชนส์ ว่ นรวม และสังคม 17 ท่านพอใจในการเปน็ สมาชกิ ท่ีสาคัญคนหนึง่ ของชุมชน Ref. code: 25595805038121LZO
81 ภาคผนวก ค แสดงคา่ ความเชื่อม่นั ของแบบสอบถาม จากการหาค่าความเช่ือม่ัน (Reliability) ด้วยการวัดความคงท่ีภายใน(Internal Consistency) และด้วยวิธี หาค่าสัมประสิทธ์ิแอลฟา (Coefficient Alpha) พบว่า แบบสอบถามมี ความเชื่อม่นั ดงั น้ี ตัวแปร ค่าความเชอื่ มน่ั จานวนข้อถาม .947 19 1. คณุ ลักษณะอาสาสมคั รของอาสาสมัครสาธารณสุข .890 7 1.1 ความรสู้ กึ อิสระในการเป็นผูเ้ ลอื กงานอาสาสมัครที่ ตนเองสนใจ .826 7 1.2 การปฎบิ ตั ิงานที่ไมใ่ ชภ่ าระงานทตี่ ้องทาตามหน้าที่ .812 5 1.3 สานึกความเปน็ เจ้าของ .942 17 2. บทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุข .819 5 2.1 บทบาทเปน็ ความคาดหวังท่เี กิดข้ึนของอาสาสมัคร มิได้ เกย่ี วขอ้ งหรือมงุ่ ไปท่ีตวั บุคคล .816 5 2.2 บทบาทมีความสมั พันธก์ ับพฤติกรรมในการทางานของ อาสาสมคั รบทบาทในองค์การเป็นพฤติกรรมที่ถูกคาดหวัง .839 4 ให้ปฏบิ ตั ิงานหนึง่ ๆ 2.3 อาสาสมคั รรจู้ ักตนเองตามบทบาทหนา้ ทท่ี ่ีได้รบั .930 3 มอบหมาย 2.4 พฤติกรรมอาสาสมัครตามสถานการณ์ท่ีกาหนดให้ จะตอ้ งมคี วามเหมาะสมกับการสง่ เสริมฐานะของตนเอง Ref. code: 25595805038121LZO
82 ภาคผนวก ง แบบสอบถามการวจิ ัย เรือ่ ง คณุ ลักษณะอาสาสมัครท่มี ผี ลตอ่ บทบาทอาสาสมัครสาธารณสขุ คาชแ้ี จง แบ บ ส อ บ ถ า ม ก า รวิ จั ย ฉ บั บ น้ี เ ป็ น ส่ ว น ห น่ึ ง ข อ ง ก า ร ท าส า ร นิ พ น ธ์ เ รื่ อ ง คุณลักษณะอาสาสมัครท่ีมีผลต่อบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุข หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชานโยบายสังคม) ภาควิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ คาตอบทุกคาตอบ/ข้อมูลทุกข้อมูลในแบบสอบถามฉบับนี้ผู้ทาวิจัยจะเก็บรักษาเป็น ความลบั ขอความกรณุ าตอบแบบสอบถามทุกข้อ แบบสอบถามชดุ นแี้ บง่ ออกเป็น 3 สว่ น ดงั นี้ สว่ นที่ 1 ข้อมลู สว่ นบคุ คลของอาสาสมคั รสาธารณสขุ สว่ นท่ี 2 คุณลกั ษณะอาสาสมคั รของอาสาสมัครสาธารณสขุ 2.1 ความรสู้ ึกอิสระในการเปน็ ผเู้ ลือกงานอาสาสมคั รทีต่ นเองสนใจ 2.2 การปฏิบัติงานทไ่ี ม่ใช่ภาระงานทีต่ ้องทาตามหน้าท่ี 2.3 สานึกความเป็นเจา้ ของ ส่วนที่ 3 บทบาทของอาสาสมคั รสาธารณสขุ 3.1 บทบาทเป็นความคาดหวังที่เกิดข้ึนของอาสาสมัคร มิได้เกี่ยวข้อง หรือมงุ่ ไปท่ีตัวบคุ คล 3.2 บทบาทมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมในการทางานของอาสาสมัคร บทบาทในองคก์ ารเป็นพฤตกิ รรมท่ีถูกคาดหวงั ใหป้ ฏบิ ัติงานหน่ึง ๆ 3.3 อาสาสมัครร้จู ักตนเองตามบทบาทหน้าท่ที ีไ่ ดร้ บั มอบหมาย 3.4 พฤติกรรมอาสาสมัครตามสถานการณ์ที่กาหนดให้จะต้องมี ความเหมาะสมกับการส่งเสริมฐานะของตนเอง (หมายถึง การปฏิบัติงานท่ี เหมาะสมสมตามบทบาท หน้าที่อาสาสมัคร) (นายชาญณรงค์ วงคว์ ชิ ัย) นกั ศึกษาระดบั ปริญญาโท สาขาวชิ านโยบายสงั คม คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ Ref. code: 25595805038121LZO
83 ส่วนที่ 1 ข้อมลู สว่ นบคุ คลของอาสาสมัครสาธารณสขุ ประกอบดว้ ย คาช้ีแจง: กรุณาใสเ่ ครื่องหมาย ในชอ่ ง ใหต้ รงกับความเปน็ จริงของทา่ น 1. เพศ หญงิ ชาย 2. อายุ……………………………..ปี 3. อาชีพของอาสาสมคั รสาธารณสุข คา้ ขาย รับจ้างทั่วไป ไมป่ ระกอบอาชพี รบั ราชการ 4. ระดับการศกึ ษา ระดบั ประถมศกึ ษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ หรอื เทยี บเทา่ /(ปวช.) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายหรือเทยี บเท่า/(ปวส.) ระดบั ปริญญาตรี ระดับปริญญาโทขึ้นไป 5. ประสบการณ์การทางานอาสาสมคั รสาธารณสุข 11-15 ปี ต่ากว่า 1 ปี 16-20 ปี 1-5 ปี 21 ปีขนึ้ ไป 6-10 ปี Ref. code: 25595805038121LZO
84 สว่ นที่ 2 คณุ ลักษณะอาสาสมคั รของอาสาสมัครสาธารณสุข คาชี้แจง: โปรดทาเครื่องหมาย ลงในช่องตามระดับความคิดเห็นให้ตรงกับความเป็นจริง เกี่ยวกับ คณุ ลักษณะอาสาสมคั รของอาสาสมคั รสาธารณสุข คุณลักษณะอาสาสมัครของอาสาสมคั ร ระดับความคิดเห็น สาธารณสุข เหน็ เหน็ ไม่ ไมเ่ หน็ ไม่เห็น ดว้ ย ด้วย ดว้ ย แน่ใจ ดว้ ย อยา่ ง ยิง่ อย่าง ยิง่ 1. ความรู้สกึ อสิ ระในการเป็นผู้เลอื กงานอาสาสมคั รทต่ี นเองสนใจ 1. ทา่ นสามารถเลอื กเวลาการทางานของตนเอง ไดอ้ ยา่ งอสิ ระ 2. ท่านมโี อกาสใช้ความคดิ รเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์ส่งิ ใหม่ ๆ ในการปฏบิ ตั ิงานอาสาสมัคร 3. ท่านสามารถเลอื กวิธีที่ตนเองคดิ ว่าดีท่ีสุดทจี่ ะ ทางานใหส้ าเรจ็ 4. ท่านมโี อกาสประสานงานกับส่วนราชการหรอื องค์กรตา่ ง ๆ 5. ทา่ นมีโอกาสแลกเปลย่ี นความคิดเห็นและให้ ขอ้ เสนอแนะกบั เพือ่ นอาสาสมัครสาธารณสขุ ดว้ ยกนั 6. ท่านมีโอกาสแลกเปล่ยี นความคิดเหน็ และให้ ขอ้ เสนอแนะกบั ผู้นาชุมชน 7. ทา่ นมโี อกาสแลกเปลยี่ นความคดิ เห็นและให้ ข้อเสนอแนะกบั เจ้าหนา้ ท่สี าธารณสุข Ref. code: 25595805038121LZO
85 คณุ ลกั ษณะอาสาสมัครของอาสาสมัคร ระดับความคดิ เห็น เห็น ไม่ ไม่เหน็ สาธารณสขุ เห็น ด้วย แน่ใจ ด้วย ไม่เห็น ดว้ ย ด้วย อยา่ ง ยง่ิ อยา่ ง ย่งิ 2. การปฏิบัติงานทไี่ ม่ใชภ่ าระงานทต่ี อ้ งทาตามหนา้ ที่ 1. ท่านเสียสละกาลังกาย กาลังความคิดและ ประโยชนข์ องตนเพอื่ ส่วนรวม 2. ท่านมีความเต็มใจที่จะทางานอาสาสมัครใน หน้าท่ีได้รับ แม้ท่านมีภาระครอบครัวท่ีต้อง รบั ผดิ ชอบ 3. ท่านมีความต้ังใจในการทาหน้าที่อาสาสมัคร ถึงแม้ไม่ใชภ่ าระงานหลกั ของตน 4. ท่านมีความเห็นอกเห็นใจและใส่ใจให้ความ ช่วยเหลือผ้อู น่ื 5. ท่านเป็นคนมีน้าใจ ให้ความร่วมมือในการ ปฏิบตั งิ าน 6. ท่านมีความเอ้ือเฟื้อเผ่ือแผ่ เต็มใจทางานเพ่ือ บคุ คลอน่ื โดยทว่ั ไป 7. ท่านจะไม่ลาออกจากการเป็นอาสาสมัคร สาธารณสุขแม้จะไม่มีค่าตอบแทนหรือสวัสดิการ ใด ๆ 3. สานึกความเป็นเจ้าของ 1. ท่านรูส้ กึ วา่ ท่านเปน็ ทร่ี ักของคนในชุมชน 2. ท่านรู้สึกว่าท่านเป็นส่วนหนึ่งของหมู่บ้านหรือ ชุมชนท่อี าศยั อยู่ 3. เม่ือคนในชุมชนมีปัญหามักจะขอความคิดเห็น หรือคาปรึกษาจากท่าน 4. ท่านรู้สึกภูมิใจท่ีตนเองได้ทาประโยชน์ให้กับ สงั คม 5. ทา่ นมีความภาคภูมิใจท่ีได้ทางานอาสาสมัคร เพือ่ ชุมชนของตนเอง Ref. code: 25595805038121LZO
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111