Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

fon

Published by namfon24, 2018-06-27 03:33:48

Description: fon

Search

Read the Text Version

ประวตั ิ วดั ปงสนุก ตง้ั อยู่ ณ หมบู่ า้ นปงสนุก ตาบลเวยี งเหนือ อาเภอเมอื ง จงั หวดั ลาปาง เป็นวดัสาคญั คกู่ บั จงั หวดั ลาปาง สนั นิษฐานวา่ สร้างข้ึนในสมยั ทีเ่ จา้ อนนั ตยส ราชบตุ รของพระนางจามเทวแี หง่หริภุญไชย (ลาพนู ) เสดจ็ มาสรา้ งเขลางคน์ คร (ลาปาง) เมอื่ พ.ศ. ๑๒๒๓ ซ่งึ ยงั ตอ้ งอาศยั หลกั ฐานทางโบราณคดเี พอื่ ยืนยนั ตามความเช่อื อยา่ งไรกต็ ามวดั ปงสนุกถือเป็นวดั ศนู ย์กลางเมอื งเขลางค์ยุคที่ ๒ ในสมยั ลา้ นนา หลกั ฐานที่เกา่ แกท่ สี่ ุดทก่ี ลา่ วถงึ วดั ปงสนุก ยอ้ นไปถึงปี พ.ศ. ๑๙๒๙ ในขณะน้นั ใชช้ ่ือวา่ “วดั เชยี งภมู ”ิ เป็นสถานท่ีท่หี มน่ื โลกนคร ผรู้ ักษาเมอื งเขลางค์ใชต้ ง้ั รับทพั อยุธยาท่ียกข้ึนมาตลี า้ นนา ตอ่ มาอีก ๔๐๐ ปีวดั แหง่ น้ีไดเ้ ปล่ียนชือ่ เป็น “วดั ปงสนุก” โดยมกี ารแบง่ เป็นดา้ นเหนือและดา้ นใต้ ดงั หลกั ฐานจากคมั ภรี ์ใบลานของวดั ภมู นิ ทร์ จงั หวดั นา่ น กลา่ วถงึ การฉลอง “วดั ปงสนุกใต”้ ในปี พ.ศ. ๒๓๕๒ และในปีพ.ศ. ๒๔๐๒ จากบนั ทกึ ของครูบาอาโนชยั ธรรมจินดามนุ ีอดตี พระราชาคณะหัวเมอื งไดก้ ลา่ วถึงการบรู ณะภูเขาจาลอง วดั ปงสนุกเหนือ หลงั จากน้นั อี ๒๗ ปี คือปี พ.ศ. ๒๔๒๙ ไดม้ กี ารบรู ณปฏสิ งั ขรณ์วดั ปงสนุกคร้ังใหญ่ โดยทาการซอ่ มพระเจดีย์ สรา้ งฉัตร กอ่ ซมุ้ ประตโู ขง วหิ ารหลงัมยี อดหรือวหิ ารพระเจา้ พนั องคแ์ ละจดั ฉลอง โดยนิมนต์พระสงฆม์ ารบั ไทยทานกวา่ ๓๐๐ รูป จากหลกั ฐานท่พี บไดก้ ลา่ วถงึ ชื่อเดมิ ของวดั ปงสนุกถงึ ๔ ช่ือในเวลาทีแ่ ตกตา่ งกนั ไดแ้ ก ่ วดั ศรีจอมไคล, วดั เชียงภมู ,ิ วดั ดอนแกว้ , วดั พะยาว (พะเยา) สาหรับชื่อปงสนุกเป็นชือ่ ลา่ สุดที่พบหลกั ฐานอยา่ งน้อยตง้ั แต่ พ.ศ. ๒๓๕๒ เมอื เกอื บ ๒๐๐ ปีที่ผา่ นมาชือ่ วดั พะยาว (พะเยา) และวดั ปงสนุกเป็นช่ือที่เกยี่ วขอ้ งกบั ประวตั ศิ าสตร์การอพยพผคู้ นในเหตกุ ารณช์ ว่ งปี พ.ศ. ๒๓๔๖ ทพี่ ญากาวลิ ะไดย้ กทพั เขา้โจมตเี มอื งเชยี งแสน ซ่งึ เป็นทต่ี ง้ั มน่ั ของพมา่ และไดก้ วาดตอ้ นชาวเชียงแสน ซ่งึ มชี าวบา้ นปงสนุกลงมาตง้ั ถนิ่ ฐานใหมท่ เี่ มอื งลาปาง รวมไปถึงมกี ารอพยพคนเมอื งพะยาว (พะเยา) หนีศกึ พมา่ ลงมายงั เมอื งลาปางชาวปงสนุกเชียงแสนและชาวพะเยาไดต้ ง้ั บา้ นเรือนอยรู่ ิมฝั่งแมน่ ้าวงั แถบบริเวณวดั เชียงภูมิ โดยนาช่ือหมบู่ า้ นเดมิ มาเรียกขานชมุ ชนแหง่ ใหม ่ ตอ่ มาราว พ.ศ. ๒๓๘๖ เจา้ หลวมหาวงศ์ไดไ้ ปฟื้นฟูเมอื งพะเยาข้นึ ใหม ่ ครูบาอินทจกั รพระอุปัชฌายข์ องครูบาอาโนชยั ธรรมจนิ ดามนุ ีไดช้ าวพะยาว (พะเยา)อพยบกลบั คนื สูบ่ า้ นเกดิ คงเหลือเพียงพวกที่ไมย่ อมกลบั และมารวมอยกู่ บั ชาวบา้ นปงสนุก ชือ่ วดั และช่อื หมบู่ า้ นจึงเหลอื เพียงช่ือปงสนุกตราบเทา่ ทุกวนั น้ี ผอู้ วโุ สในชมุ ชนเลา่ วา่ วดั ปงสนุกตง้ั อยตู่ ิดกาแพงเมอื งเขลางคด์ า้ นในเป็นแนวคนั ดินและมคี ูลอ้ มรอบอกี ช้นั คเู มอื งดา้ นหลงั วดั มคี วามลกึ มากและเตม็ ไปดว้ ยกอบวั และนอกจากน้ียงั มธี รรมเนียมในการขดุ ดินไปถมทีว่ ดั บนท่ตี ้งั ของวหิ ารพระเจา้ พนั องค์ ดว้ ยเช่อื วา่ หากไมข่ ดุ ดนิ ไปให้วดั บนน้าจะทว่ มบา้ น ซ่งึ ตรงกบั การขดุ คน้ ทางโบราณคดีบนมอ่ นดอยในเดอื นพฤษภาคมปี ๒๕๕๑ ทพ่ี บช้นั ของทรายท่ีนามาจากแมน่ ้า ถมอยภู่ ายใตพ้ ้ืนซีเมนตบ์ นลานพระธาตลุ กึ ลงไปในราว ๓๐ เซนติเมตร แตเ่มอื่ ขดุ ลกึลงไปกวา่ น้นั กลบั พบวา่ เป็นช้นั ของอิฐทเี่ รียงสลบั กนั ลงไปกวา่ ๗ เมตร ซ่งึ เป็นการเปิดเผยเทคนิคการสรา้ งมอ่ นดอยดว้ ยอฐิ ของวฒั นธรรมลา้ นนาเป็นแหง่ แรกของประเทศ ทด่ี า้ นหนา้ ของวดั มบี งึ น้าขนาดใหญอ่ ยไู่ มไ่ กลจากแมน่ ้าวงั มากนกั และเป็นที่ต้งั ของคมุ้ เจา้ ราชวงศ์ และเจา้ แมส่ ุข ณ ลาปาง ใน

ปัจจบุ นั ทด่ี า้ นหน้าวดั ปงสนุกใตม้ สี ่ิงสาคญั คอื ตน้ ฉาฉาขนาดใหญท่ ีม่ อี ายเุ กอื บ ๑๕๐ ปี ซ่งึ เรื่องเลา่ วา่ครูบาธรรมชยั ไดธ้ ุดงคไ์ ปปักกลดใต้ตน้ ฉาฉาท่เี ชยี งตุงในปี พ.ศ. ๒๔๑๑ และไดเ้ กบ็ ฝักมาเพาะเป็นตน้แลว้ ปลูกไวข้ า้ งหนองน้าใหญห่ น้าวดั แมว้ า่ ปัจจบุ นั สระน้าดงั กลา่ วไดถ้ กู ถมไปจนหมดสิ้นเหลอื เพยี งตน้ ฉาฉาท่เี ตบิ โตให้รม่ เงาแกช่ าวบา้ นมาเป็นเวลานาน ความรุง่ เรืองของวดั ปงสนุกยงั ปรากฏอยใู่ นงานศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมตา่ ง ๆ ทอ่ี ยภู่ ายใต้วดั เป็นจานวนมาก อาทิเชน่ เจดีย์ วหิ ารพระนอน และ “วหิ ารพระเจา้ พนั องค์” วหิ ารโถงทรงจตั ุรมขุ ที่มอี ายกุ วา่ ๑๒๐ ปี ซ่งึ มรี ูปแบบงดงาม และเป็นแมแ่ บบใหอ้ าคารหลงั อื่นในประเทศไทยเชน่ หอคาไรแ่ มฟ่ ้าหลวง จงั หวดั เชียงราย ปัจจุบนั วดั ปงสนุกยงั เป็นแหลง่ รวมศิลปวตั ถุอนี านัปการท้งั พระพทุ ธรูปไม้ ซ่งึ พบภายในห้องใตห้ ลงั คาของวหิ ารพระเจา้ พนั องค,์ ภาพพระบฎเขยี นเรื่องพระเวสสันดรบนผา้ และกระดาษสา ทมี่ อี ายไุ มต่ า่ กวา่ ๑๒๐ ปี, หีบธรรมโบราณ และธงชา้ งเผือกขนาดใหญใ่ นสมยั รัชกาลท่ี ๖ ซ่งึ ไดจ้ ดั แสดงงานทพ่ี พิ ิธภณั ฑ์หีบธรรมรตั นานุรกั ษอ์ นุสรณ์ และพพิ ิธภณั ฑห์ ีบธรรมของวดั ปงสนุก (ดา้ นเหนือ)

โครงการอนุรกั ษ์มรดกทางศลิ ปกรรม สถาปัตยกรรมวิหารพระเจ้าพนั องค์เนื่องดว้ ยวหิ ารพระเจา้ พนั องคไ์ ดถ้ กู สรา้ งมาเป็นเวลากวา่ ๑๒๐ ปี จงึ เกดิ การชารุดตามกาลเวลาทางวดั ปงสนุกจึงไดจ้ ดั ทา “โครงการอนุรกั ษ์มรดกทางศิลปกรรม สถาปัตยกรรมวหิ ารพระเจา้ พนั องค์”ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. ๒๕๔๔ ซ่งึ ไดร้ ับการอนุเคราะห์การทางานจากหลายฝ่าย ท้งั นกั วชิ าการ นกั เรียนนกั ศกึ ษา หนว่ ยงานราชการและองค์กรตา่ ง ๆ คณะสงฆ์ ชา่ งภาพ และผมู้ จี ติ ศรทั ธาจานวนมากท้งั น้ีการบูรณะวหิ ารพระเจา้ พนั องคม์ วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ การรักษาแบบแผน เทคนิควธิ ี และวสั ดุฝีมอื ชา่ งตามแบบโบราณ การทางานกวา่ ๔ ปี เป็นการทางานประสานรว่ มมอื ระหวา่ งชมุ ชนปงสนุกและคณะทางานอนุรกั ษ์มรดกทางศิลปวฒั นธรรม ทง้ั ในสว่ นท่เี ป็นนามธรรมและรูปธรรมจนกอ่ ให้เกดิ กจิ กรรมตา่ ง ๆ ท่เี กย่ี วขอ้ ง เชน่- ศึกษาขอ้ มลู ดา้ นประวตั ิศาสตร์ สถาปัตยกรรม ศลิ ปกรรมและสิ่งแวดลอ้ ม คติความเชื่อ สภาพความเสียหาย วสั ดุ และแนวทางการบรู ณะ- ถา่ ยภาพ ทาความสะอาด บนั ทกึ รายละเอียด จดั ทาทะเบยี นโบราณวตั ถตุ า่ ง ๆ ท่พี บ ไดแ้ ก ่ พระพทุ ธรูปไม้ หีบธรรม มณฑปปราสาท ภาพพระบฎ (ภาพเขียนบนผา้ และกระดาษสา)- ปรบั ปรุงอาคาร จดั เป็นพิพิธภณั ฑ์หีบธรรมวดั ปงสนุก (ดา้ นเหนือ) และพิพธิ ภณั ฑ์หีบธรรม รัตนานุรักษอ์ นุสรณ์วดั ปงสนุก (ดา้ นใต)้- อบรมเชงิ ปฏิบตั ิการการอนุรักษ์วหิ ารพระเจา้ พนั องค์ โดยความรว่ มมอื ของภาควชิ าศิลปะไทย คณะวจิ ิตรศลิ ป์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม,่ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และมณั ฑนศลิ ป์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปกร, โปรแกรมวชิ าสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั เชียงราย โครงการจดั ต้งั สถาบนั ศิลปะวฒั นธรรมลา้ นนา (ไต) มหาวทิ ยาลยั นเรศวร พะเยา- จดั นิทรรศการภาพถา่ ยและเผยแพรผ่ ลงานการอนุรักษว์ หิ ารพระเจา้ พันองค์ สัญจรไปยงั จงั หวดั ตา่ ง ๆ ภายใตช้ อ่ื โครงการ “ คนตวั เล็กกบั การอนุรักษ์”- การขดุ สารวจทางโบราณคดี เป็นตน้ ขณะเดียวกนั ยงั ไดร้ ้ือฟ้ืนการจดั ประเพณีและพิธีกรรมที่ทางวดั เคยปฏิบตั มิ า ซ่งึ ไดร้ บั ความสนใจท้งั ภาครฐั และภาคเอกชน ท้งั ภายในจงั หวดั และตา่ งจงั หวดั เป็นอยา่ งมาก ปัจจุบนั ชมุ ชนบา้ นปงสนุกได้รว่ มงานเครือขา่ ยกบั ศนู ยโ์ บราณคดภี าคเหนือ คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม ่ ทาการอนุรกั ษ์ศิลปกรรมของอาเภอแมท่ ะ จงั หวดั ลาปาง กอ่ ให้เกดิ กระแสการตืน่ ตวั ในการอนุรักษแ์ กค่ ณะสงฆ์และชมุ ชนในจงั หวดั ลาปางอยา่ งมาก ในปี ๒๕๕๑ “โครงการอนุรกั ษ์มรดกทางศิลปกรรม สถาปัตยกรรมวหิ ารพระเจา้ พนั องค์”ไดร้ บั คดั เลอื กจาก ๔๕ โครงการ ใน ๑๓ ประเทศ ใหไ้ ดร้ ับรางวลั Award of Merit จากโครงการ2008 Asiq-Pacific Heritage Awards for Cultural Heritage Conservation จากองคก์ ร UNESCOนบั เป็นความภมู ใิ จให้ไมเ่พียงแตช่ มุ ชนปงสนุกเทา่ น้นั หากแตเ่ป็นความภาคภูมใิ จใหแ้ กค่ นไทยทง้ั ประเทศในความพยายามรกั ษามรดกสถาปัตยกรรมของชาติ รวมถงึ มรดกทางวฒั นธรรมทน่ี ับวนั จะมแี ตเ่ส่ือมสูญให้ไวแ้ กอ่ นุชนรุน่ หลงั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook