Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Compliance Manual v1

Compliance Manual v1

Published by Kunlasatri Meecap, 2022-04-04 09:03:05

Description: Compliance Manual v1

Search

Read the Text Version

คมู อื การปฏิบตั งิ าน ฝายกํากบั ดูแลกฎหมาย Compliance Manual บริษัท มี แคปปต อล จํากัด

การควบคมุ เอกสาร (Document Control) เร่ือง คมู ือการปฏิบตั ิงาน ฝายกาํ กับดูแลกฎหมาย (Compliance Manual) การอนมุ ตั ิเอกสาร (Document Approvals) เอกสารฉบับนี้ไดรับการทบทวนและอนุมตั โิ ดย จัดเตรียมเอกสารโดย พิจารณากล่นั กรองโดย อนุมัตโิ ดย (Prepared by) (Reviewed by) (Approved by) นางสาววิริยามน ล่ิมสงวน สํานกั กฎหมาย ลงนาม......................................... เจา หนา ทก่ี ํากบั ดแู ลกฎหมาย (นายณัฐพล ขจรวุฒิเดช) ประธานเจา หนา ท่ีบรหิ าร ฝา ยกํากบั ดูแลกฎหมาย วันท.ี่ .............................................. ประวตั กิ ารนําเสนอ/ทบทวนเพ่อื อนุมัติ อนุมตั ิโดย หมายเหตุ ครั้งท่ี วนั เดือน ป (Approved by)

สารบญั สวนที่ 1 บทนาํ คาํ นยิ าม และการนําไปใช หนา 1.1 บทนํา 1.2 คาํ นยิ าม 3 1.3 การนําไปใช 4 5 สวนที่ 2 นโยบายและแนวทางปฏิบตั ิ 2.1 กฎหมาย ขอบงั คบั นโยบายทเ่ี ก่ียวของกับบริษทั 6 2.2 วัตถปุ ระสงค หนา ท่ี และความรบั ผิดชอบของเจา หนาทก่ี าํ กับดแู ลกฎหมาย 12 2.3 หลักการและจรรยาบรรณทพี่ ึงปฏิบตั ิ 15 2.4 กฎบัตร (Compliance Charter) 18 2.5 ขอพงึ ปฏบิ ตั ขิ องพนกั งานทเี่ กยี่ วของกับนโยบาย กฎ ระเบยี บ ของหนว ยงานกาํ กับ 23 2.6 นโยบายและระเบียบวธิ ีการดานการปองกนั และปราบปรามการฟอกเงินและการปองกนั 25 และปราบปรามการสนบั สนุนทางการเงินแกการกอการรายและการแพรข ยายอาวธุ ทมี่ ี 27 อานุภาพทาํ ลายลางสงู ของบริษัท มี แคปปต อล จํากดั 2.7 นโยบายและระเบียบวิธีการสําหรบั การประเมิน บรหิ าร และบรรเทาความเสีย่ งดานการ 30 ฟอกเงนิ หรอื การสนบั สนุนทางการเงนิ แกการกอการรา ย หรอื การแพรข ยายอาวุธทมี่ ี 31 อานภุ าพทาํ ลายลา งสงู ภายในองคกรของบริษทั มี แคปปตอล จาํ กดั 2.8 การกาํ หนดระเบยี บ และวิธีปฏิบัติในการทาํ ธุรกรรมกับลูกคา 2.9 แผนการสอบทานการปฏิบัตงิ าน 3

สว นท่ี 1 บทนาํ คาํ นิยาม และการนําไปใช บทนาํ คูมือการปฏิบัติงาน เจาหนาท่ีกํากับดูแลกฎหมาย (Compliance) ฉบับนี้จัดทําข้ึนเพื่อมีจุดมุงหมาย ใหพนักงานและผูบริหารของบริษัท มี แคปปตอล จํากัด (บริษัท) ไดทราบถึงแนวปฏิบัติดานธุรกิจและแนวพึง ปฏิบัติที่ดีที่เกี่ยวของกับการดําเนินธุรกิจของบริษัท รวมถึงแนวทางในการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีกํากับดูแล กฎหมาย เนื่องจากบริษัท เปนบริษัทจํากัด และไดรับอนุญาตใหประกอบธุรกิจสินเชื่อสวนบุคคลภายใต การกํากับและใหเชาซื้อในประเทศไทยรวมถึงการประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ ซ่ึงบริษัท มีหนาท่ีตองปฏิบัติ ใหถ กู ตองเปน ไปตามประกาศกระทรวงการคลัง เร่อื ง กจิ การที่ตองขออนุญาตตามขอ 5 แหง ประกาศของคณะ ปฏิวัติ ฉบับท่ี 58 และอยูภายใตการกํากับดูแลของธนาคารแหงประเทศไทย รวมถึงพระราชบัญญัติปองกัน และปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงิน แกการกอการรายและการแพรขยายอาวุธที่มีอนุภาพทําลายลางสูง พ.ศ. 2559 พระราชบัญญัติการทวงถาม หนี้ พ.ศ. 2558 พระราชบัญญัติหามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา พ.ศ. 2560 พระราชบัญญัติคุมครองขอมูล สวนบุคคล พ.ศ. 2562 ตลอดจนระเบยี บ ประกาศ คําสง่ั ทเ่ี กย่ี วขอ งของหนว ยงานภาครัฐท่ีทําหนาท่ีกํากับดูแล อน่ึง คูมือปฏิบัติงานฉบับนี้ไมใชขอสรุปของกฎหมาย หรือกฎระเบียบท่ีเกี่ยวของทั้งหมด และไมได กําหนดขั้นตอนหรือวิธีปฏิบัติงานดานใดดานหน่ึงโดยเฉพาะ ผูที่เก่ียวของในการปฏิบัติงานเทานั้นท่ีจะมีความ เชี่ยวชาญและทราบรายละเอียดไดอยางดี คูมือฉบับนี้เปนเพียงแนวปฏิบัติในการทําความเขาใจเบื้องตน เกี่ยวกับนโยบายหรือกฎเกณฑที่บริษัทยึดถือปฏิบัติโดยท่ัวไปสําหรับพนักงานทุกคนใน บริษัท นอกจากน้ี พนกั งานในสายวิชาชีพของบริษทั เชน เจาหนา ที่ฝา ยบรหิ ารหนสี้ นิ เจา หนา ทฝี่ า ยกฎหมายและสนิ เชอื่ จะตอ ง มีความคุนเคยไมเพียงแตกับวิธีปฏิบัติงานและนโยบายที่กําหนดในคูมือฉบับนี้เทานั้น แตยังตองศึกษา ถงึ กฎหมายกฎระเบียบท่เี กีย่ วของและขอ ปฏบิ ตั ิที่เฉพาะเจาะจงกบั สายวชิ าชพี ของตนเองดวย ใครบา งที่ตอ งปฏิบตั ติ ามคูมือฉบับน้ี พนักงานทุกคนของบริษัท มี แคปปตอล จํากัด จะตองปฏิบัติตามนโยบายท่ีเก่ียวของกับการดําเนิน ธุรกิจของบริษัท และตองหลีกเลี่ยงการเขาไปมีสวนรวมหรือเก่ียวของกับกิจกรรม หรือการดําเนินการที่เปน การฝาฝนไมป ฏบิ ตั ิตามนโยบายที่กาํ หนด 4

คาํ นิยาม “บริษทั ” หมายถงึ สํานักงานใหญแ ละสาขาของบริษทั มี แคปปตอล จาํ กดั “กรรมการ” หมายถึง กรรมการของบรษิ ัท มี แคปปต อล จาํ กัด “พนกั งาน” หมายถึง ผูปฏิบัติงานทุกระดับต้ังแตพนักงานระดับบริหาร ระดับบังคับ บัญชา ระดับปฏิบัติการ รวมถึงพนักงานที่อยูระหวางการทดลองงาน พนักงานตามสัญญาจางที่มีกําหนดระยะเวลา พนักงานชั่วคราว และ พนกั งานจดั จาง (Outsource) ซงึ่ มฐี านะเปนลกู จาง “ผมู สี ว นไดเ สีย” หมายถึง บุคคล หรือนิติบุคคล ที่ไดรับผลกระทบโดยไดรับประโยชนหรือ เสียประโยชนจากการดําเนินธุรกิจของบริษัท เชน หนวยงานท่ีทําหนาที่ กาํ กบั ดูแล Supplier/outsource และพนักงาน เปนตน “หนว ยงานที่ทาํ หนาทก่ี ํากบั หมายถึง หนวยงานของรัฐ อันไดแก ธนาคารแหงประเทศไทย สํานักงาน ดแู ล” ปอ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ เปน ตน “การตรวจสอบภายใน” กิจกรรมการใหหลักประกันอยางเที่ยงธรรมและการใหคําปรึกษาอยาง เปนอิสระ ซ่ึงจัดใหมีขึ้นเพื่อเพ่ิมคุณคาและปรับปรุงการปฏิบัติงานของ องคก รใหด ีขนึ้ การตรวจสอบภายในชว ยใหองคกรบรรลุถึงเปาหมายที่วาง ไว ดวยการประเมินและปรับปรุงประสิทธิภาพของกระบวนการบริหาร ความเส่ียง การควบคมุ และการกํากับดูแลอยา งเปน ระบบและเปนระเบียบ (ทีม่ า : The Institute of Internal Auditors : IIA) “การตรวจสอบการปฏบิ ตั ติ าม เปนการตรวจสอบการปฏิบตั ิงานตาง ๆ ขององคกรวาเปนไปตามนโยบาย ขอ กําหนด” (Compliance กฎหมายระเบียบ ขอบังคับ คําสั่ง มติคณะรัฐมนตรีท่ีเก่ียวของท่ีกําหนด Auditing) ทั้งจากภายนอกและภายในองคกร การตรวจสอบประเภทน้ี อาจจะทํา การตรวจสอบโดยเฉพาะหรือถือเปนสวนหน่ึงของการตรวจสอบทาง การเงนิ หรอื การตรวจสอบการดาํ เนนิ งานกไ็ ด “การตรวจสอบพเิ ศษ” การตรวจสอบในกรณีที่ไดรับมอบหมายจากฝายบริหาร หรือกรณีที่มีการ (Special Auditing) ทุจริตหรือการกระทําท่ีสอไปในทางทุจริต ผิดกฎหมาย หรือกรณีที่มีเหตุ อันควรสงสัยวา จะมีการกระทําสอไปในทางทุจริตหรือประพฤติมิชอบ เกิดขึ้น ซ่ึงผูตรวจสอบภายในจะดําเนินการตรวจสอบเพื่อคนหาสาเหตุ ขอเท็จจริง ผลเสียหายหรือผูรับผิดชอบ พรอมท้ังเสนอแนะมาตรการ ปองกนั 5

การนําไปใช ขอแนะนําเก่ยี วกับการใชคมู ือฉบับน้ี  ทาํ ความเขาใจเก่ียวกบั เนื้อหาสาระของคูมอื ฉบับนี้  พจิ ารณาเนือ้ หาทปี่ รากฏวา เก่ียวของกบั การปฏบิ ัตหิ นาทีข่ องตนในเรอ่ื งใดบา ง  ทําความเขาใจกฎหมาย กฎระเบียบท้ังภายในและภายนอกองคกรท่ีเกี่ยวของกับการปฏิบัติงาน ตามนโยบายทีบ่ รษิ ทั กําหนด  กรณีท่ีมีกฎหมายท่ีเก่ียวของกับการปฏิบัติงาน ซ่ึงกําหนดข้ันตอนและระยะเวลาไว ควรจัดทํา Check List ในการปฏิบตั ิงานเสมอ เพ่อื ใหท ํางานไดอยา งถูกตอง ครบถว น การตรวจสอบตนเอง (Self-assessment) พนักงานทุกคน ควรตั้งคําถามตรวจสอบตนเอง เพื่อใหปฏิบัติงานไดถูกตองและหลีกเล่ียงความ เสียหายท่ีอาจจะเกิดขน้ึ ไดแก 1. การกระทาํ น้ันถกู ตองตามกฎหมาย กฎระเบียบ หรือศลี ธรรมอนั ดีหรอื ไม 2. การกระทํานั้นสอดคลองกับนโยบาย หรือหลักการและจรรยาบรรณที่พึงปฏิบัติของบริษัท หรอื ไม 3. การกระทํานัน้ ถูกตองตามสัญญาหรือขอตกลง หรอื มาตรฐานรับรองที่ไดท ําไวกบั องคกรอ่ืน หรือไม 4. การกระทําน้ันกอใหเกิดผลเสียหายตอภาพลักษณองคืกร หรือสงผลกระทบตอผูมีสวนได เสีย หรอื ไม 6

สว นท่ี 2 นโยบายและแนวทางปฏิบัติ 2.1 กฎหมาย ขอบังคบั นโยบายทีเ่ กยี่ วขอ งกับบริษัท 1. กรมพฒั นาธุรกิจการคา 1.1 ระเบียบสํานักงานทะเบียนหุนสวนบริษัทกลางวาดวยการจดทะเบียนหางหุนสวนและบริษัท พ.ศ. 2561 2. สํานกั งานปอ งกันและปราบปรามการฟอกเงิน 2.1 พระราชบญั ญัติปอ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ พ.ศ. 2542 2.2 พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงินแกการกอการรายและการแพร ขยายอาวุธท่ีมีอานุภาพทําลายลางสูง พ.ศ. 2559 กฎกระทรวงและประกาศที่เกี่ยวของ กับกฎหมายวา ดว ยการปอ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ  นโยบายและระเบียบวธิ ีการดานการปองกันและปราบปรามการฟอกเงินและการปองกันและ ปราบปรามการสนับสนุนทางการเงินแกการกอการรายและการแพรขยายอาวุธที่มีอานุภาพ ทาํ ลายลา งสูงของบรษิ ทั มี แคปปตอล จํากัด  นโยบายและระเบียบวิธีการสําหรับการประเมิน บรหิ าร และบรรเทาความเส่ยี งดานการฟอก เงิน หรือการสนับสนุนทางการเงินแกการกอการราย หรือการแพรขยายอาวุธท่ีมีอานุภาพ ทาํ ลายลางสูงภายในองคก รของบริษัท มี แคปปต อล จาํ กัด  นโยบายและระเบียบวธิ กี ารในการรับลกู คา  นโยบายและระเบียบวิธกี ารในการบริหารและบรรเทาความเส่ยี งสาํ หรับลกู คา  การประเมินความเส่ียงดานการฟอกเงินและการสนับสนุนทางการเงินแกการกอการราย และการแพรขยายอาวุธทีม่ อี านภุ าพทาํ ลายลางสงู สําหรบั ผลิตภัณฑห รอื บรกิ าร  แนวทางปฏิบัตใิ นการรายงานการทําธุรกรรมตอสาํ นักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงนิ  แนวทางปฏิบัติในการเก็บรักษารายละเอียดขอมูลการทําธุรกรรมตามกฎหมายวาดวยการ ปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน  แนวทางปฏิบตั ิในการฝก อบรมพนกั งาน  นโยบายและระเบียบวิธีการเกี่ยวกบั การควบคุมภายใน  นโยบายและแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยการปองกันและ ปราบปรามการสนับสนุนทางการเงินแกการกอการรายและแพรขยายอาวุธที่มีอานุภาพ ทาํ ลายลา งสูง 7

 คมู อื วธิ ีการปฏิบัติงานนโยบายและวธิ ีการปฏิบัติเก่ียวกับการปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน และการตอตานการสนับสนุนทางการเงินแกการกอการรายและการแพรขยายอาวุธที่มี อานุภาพทําลายลางสูง เร่ือง การรูจักลูกคา (Know Your Customer : KYC) และการ ตรวจสอบเพือ่ ทราบขอ เท็จจรงิ เกี่ยวกบั ลูกคา (Customer Due Diligence) : CDD 3. กระทรวงการคลัง 3.1 ประกาศกระทรวงการคลัง เร่ือง กิจการที่ตองขออนุญาตตามขอ 5 แหงประกาศของคณะ ปฏิวตั ิ ฉบับท่ี 58 (เรอ่ื ง สนิ เชื่อสว นบคุ คลภายใตการกํากบั ) 4. ประกาศและหนังสอื เวยี นธนาคารแหง ประเทศไทย 4.1 ประกาศธนาคารแหงประเทศไทย ท่ี สนส. 12/2563 เรื่อง การกําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเง่ือนไขในการประกอบธุรกิจสินเชื่อสวนบุคคลภายใตการกํากับ ลงวันท่ี 31 กรกฎาคม 2563 4.2 หนังสือเวียนธนาคารแหงประเทศไทยที่ ธปท.ฝคง.ว. 229/2562 เรื่อง การรายงานและการ เปด เผยขอ มลู คณุ ภาพการใหบ รกิ าร 4.3 ประกาศธนาคารแหงประเทศไทย ที่ สกส.2 4/2563 เร่ือง การบริหารจัดการดานการ ใหบริการแกล กู คา อยา งเปนธรรม (Market conduct) ลงวันที่ 13 สิงหาคม 2563 4.4 หนังสือเวียนธนาคารแหงประเทศไทย ที่ ธปท.ฝคง.ว. 951/2564 เรื่อง แนวทางการบริหาร จดั การดา นการใหส นิ เชอ่ื อยางเปนธรรม ลงวันท่ี 4 ตลุ าคม 2564 4.5 หนังสือเวียนธนาคารแหงประเทศไทย ท่ี ฝขอ.(ว) 31/2564 เรื่อง การสงรายงานขอมูล สินเชื่อสวนบุคคลภายใตการกํากับและรายงานขอมูลสินเช่ือรายยอยเพ่ือการประกอบอาชีพ ภายใตก ารกาํ กับตอ ธนาคารแหง ประเทศไทย ลงวนั ท่ี 11 มถิ ุนายน 2564 5. พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. 2558 6. พระราชบญั ญตั ิหามเรยี กดอกเบี้ยเกนิ อตั รา พ.ศ. 2560 7. พระราชบญั ญัตคิ ุมครองขอมูลสว นบคุ คล พ.ศ. 2562 8. กฎหมายวาดว ยรถยนต 9. กฎหมายวา ดว ยการขนสง ทางบก 8

10. มาตรา 35 ทวิ แหงพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 ซึ่งแกไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติ คุมครองผูบริโภค ( ฉบับที่2) พ.ศ.2541 ประกอบมาตรา 3 มาตรา 4 มาตรา5 แหงพระราชกฤษฎีกา กาํ หนดหลกั เกณฑแ ละวิธีการในการกําหนดธุรกิจทค่ี วบคุมสัญญาและลักษณะสญั ญา พ.ศ.2522 11. ประกาศคณะกรรมการวาดวยสัญญา เรื่อง ใหธุรกิจใหเชาซื้อรถยนตและรถจักรยานยนตเปนธุรกิจ ที่ควบคมุ สัญญา พ.ศ.2561 ขอท่ี 3 12. ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย 9

Code of Corporate Ethics 1) ความซ่ือสัตยส จุ รติ และความเท่ียงธรรม ชื่อเสียงของบริษัท มี แคปปตอล จํากัด ดานความซื่อสัตยสุจรติ ถือเปนสมบัตอิ ันมีคาสูงสุด และถือเปน หนาที่ของบริษัท และพนักงานทุกคนท่ีจะตองปกปองสมบัติอันมีคาน้ีตลอดไป พนักงานทุกคนจะตองปฏิบัติ หนาท่ีดวยความซื่อสัตยสุจริตยุติธรรม และไมกระทําการใด ๆ ที่เปนการเอ้ือประโยชนเฉพาะกลุม หรือการ กระทาํ ใด ๆ อนั สอไปในทางทุจริต ซ่งึ ทําใหเกิดความเสียหายตอ บรษิ ัท หรอื ลูกคา 2) ความระมัดระวัง บริษัทจะใชความรอบคอบระมัดระวงั ในการดาํ เนินธรุ กิจของบริษัท พนักงานทุกคนจะตองแนใจวา ได ปฏบิ ัติงานเปนไปตามกฎหมาย กฎระเบียบทเ่ี กี่ยวของ รวมถึงนโยบาย ระเบยี บปฏิบัติ ระบบงานและคูมือการ ปฏิบัติงานท่ีบริษัท กําหนด รวมท้ังไมชวยเหลือผูอื่นละเมิดกฎหมาย กฎระเบียบ ขอบังคับ และจรรยาบรรณ การไมรกู ฎดงั กลา วจะไมใชเ ปนขออา งไดห ากมีการละเมดิ เกิดขน้ึ ผูบังคับบัญชาจะตองสอดสองดูแลพนักงานภายใตสายการบังคับบัญชาของตนใหปฏิบัติงานตาม กฎหมาย และกฎระเบียบท่ีเก่ียวของโดยตรงกับธุรกิจที่ตนเองปฏิบัติงานอยูโดยเครงครัด และเม่ือมีขอสงสัย ใด ๆ เกดิ ข้นึ ควรจะสอบถามกับเจา หนา ทีก่ ํากบั ดูแลกฎหมาย (Compliance) โดยตรง กรณีปรากฎวาพนักงานมีพฤติกรรมฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามความขางตน พนักงานจะไดรับการ พจิ ารณาลงโทษตามระเบยี บการพนักงาน และ/หรอื ขอบงั คับเก่ียวกับการทํางาน 3) การปฏบิ ัติตามกฎหมายและกฎระเบยี บตา ง ๆ บริษัทจะปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบที่เก่ียวของกับธุรกิจของบริษัท พนักงานทุกคนจะตอง แนใจวา ไดปฏิบัติงานเปนไปตามกฎหมาย กฎระเบียบท่ีเกี่ยวของ รวมถึงนโยบายระเบียบปฏิบัติ ระบบงาน และคูมือการปฏิบัติงานท่ีบริษัทกําหนด รวมท้ังไมชวยเหลือผูอ่ืนละเมิดกฎหมาย กฎระเบียบ ขอบังคับ และ จรรยาบรรณ การไมร ูกฎดงั กลาวจะไมสามารถใชเปน ขออางไดหากมีการละเมิดเกดิ ขึ้น พนักงานตองศึกษาหาความรู ทําความเขาใจ และปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ ขอบังคับของบริษัทและ กฎหมายที่เก่ียวของกับการปฎิบัติงานอยางสมํ่าเสมอ และหากมีขอสงสัยเก่ียวกับการปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และขอบังคับหรือการตีความกฎหมายและระเบียบขอบังคับที่เกี่ยวของ ใหขอปรึกษาไดที่ผูบังคับบัญชาหรือ ฝา ยกํากบั ดูแลกฎหมาย และ/หรอื ฝา ยกฎหมาย ทั้งนีห้ ากพบวาหรือมีขอสงสัยวาอาจมีการกระทําความผิดกฎ ระเบียบ และขอบังคับภายในบริษัท รวมถึงกฎหมายท่ีเก่ียวของกับการปฎิบัติงาน พนักงานจะตองเปดเผย 10

หลักฐานที่ตนมีตอผูบังคับบัญชาโดยตรง และ/หรือฝายกํากับดูแลกฎหมาย และ/หรือฝายตรวจสอบภายใน โดยไมช ักชา กรณีปรากฏวาพนักงานมีพฤติกรรมฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามความขางตน พนักงานจะไดรับการ พจิ ารณาลงโทษตามระเบยี บการพนกั งาน และ/หรือขอบังคบั เกยี่ วกบั การทาํ งาน 4) การบันทกึ ขอ มูลและการจดั ทาํ รายงาน ความถูกตองในการเก็บบันทึกขอมูลของบริษัท และความนาเช่ือถือของระบบการรายงานเปนสวน หนึ่งของการดําเนินงานดวยความซื่อสัตยสุจริต การบันทึกบัญชีและบันทึกขอมูลอื่น ๆ ของบริษัท จะตองมี ความถูกตองสมบูรณและเหมาะสมกับรายการท่ีเกิดข้ึน รายการสินทรัพย หน้ีสิน รายไดและคาใชจาย ของบริษัททุกรายการ รวมถึงภาระผูกพันทั้งหมด จะตองมีการจัดทําบันทึก และจัดทํารายงานใหถูกตอง สมบูรณ บริษัท จะไมปดบังขอมูลใด ๆ ตอผูสอบบัญชีท่ีไดรับการแตงต้ังหรือหนวยงานกํากับดูแลอ่ืน และจะ เปดเผยขอมูลที่จําเปนในการประเมินความถูกตองของงบการเงินตามท่ีควร และในการประเมินความถูกตอง เหมาะสมของเงื่อนไขทางการเงนิ และการปฏบิ ตั ิการของบริษัท 5) การรกั ษาความลับของลกู คา การรักษาความลับของบริษัท และลูกคาเปนหลักการพื้นฐานในการดําเนินธุรกิจของบริษัท ขอมูลทุก อยางท่ีเกี่ยวของกับรายการบัญชี และกิจกรรมของลูกคาถือวาเปนความลบั และจะไมถูกนําไปเปดเผย ยกเวน ในกรณีท่ีไดรับอนุญาตจากลูกคา หรือกฎหมายกําหนดใหเปดเผยหรือดําเนินธุรกิจอันเปนปกติธุระ โดยความ เห็นชอบของผูมีอํานาจหนาท่ีรับผิดชอบ การรักษาความลับของลูกคาจะข้ึนอยูกับพนักงานผูท่ีสามารถเขาถึง ขอมูลของลูกคาในระหวางการปฏิบัติงานพนักงานเหลานนั้ จะตอ งคํานึงถึงผลประโยชนข องลูกคาเปนประการ สําคัญในทกุ ๆ สถานการณ 6) ความขัดแยงทางผลประโยชน พนักงานของบริษัท จะตองไมใหความสําคัญตอผลประโยชนสวนตัวเหนือความรับผิดชอบที่มีตอ บรษิ ทั พนกั งานจะตองตง้ั เปา หมายการตดั สินใจทางธรุ กจิ บนพ้ืนฐานของประโยชนส ูงสุดของบริษัท และลกู คา โดยปราศจากการคาํ นึงถึงประโยชนส ว นตัว ยง่ิ ไปกวานน้ั พนักงานจะตองไมร ับขอเสนอผลตอบแทนใด ๆ ไมว า จะเปนในรูปแบบของเงิน ของขวัญ หรือไมตรีจิต หรือเก่ียวพันกับสถานการณใด หรือกิจการใด ท่ีจะนําไปสู หรอื อาจนําไปสคู วามขัดแยง ทางผลประโยชนส ว นตวั กบั บรษิ ัท หรอื ลกู คา หรือคคู า ทางธุรกิจ 11

7) การสนับสนนุ ทางการเมอื ง บริษัท มีระเบียบเกี่ยวกับเร่ืองการบริจาคใกแกพรรคการเมือง หรือผูสมัครรับเลือกต้ังทางการเมือง และการจายใหข า ราชการประจํา หรอื ขา ราชการการเมอื ง ดงั ตอไปน้ี ก) หามจา ยเงนิ ของบรษิ ทั หรือใหของขวญั ที่มีคา แกบ คุ คลภายนอก ซึ่งรวมท้ังขา ราชการประจําหรือ ขา ราชการการเมือง หรอื พรรคการเมือง หรือผูส มัครรบั เลอื กต้ัง ท้ังนี้เพอื่ จุดประสงคในการไดมา ซึ่งธุรกจิ ของบริษทั หรอื โนม นา วใหผนู นั้ ตดั สนิ ใจเพ่อื ประโยชนข องบรษิ ทั ข) การใหการรับรองแกขาราชการประจํา คือขาราชการการเมือง ตองไมเปนไปในทางที่กอใหเกิด ความเส่อื มเสยี แกเ กยี รติคุณ และชือ่ เสียง ทั้งของขาราชการ และของบรษิ ัท หรอื แสดงใหป รากฏ เชน วานน้ั การใหการรับรองควรเปน ไปโดยคาดวาจะเปน ทเ่ี ปดเผยแกสาธารณะเทา น้นั 12

2.2 วัตถปุ ระสงค หนาท่ี และความรบั ผดิ ชอบของเจาหนา ท่กี าํ กบั ดูแลกฎหมาย เพื่อใหบริษัท มีระบบการกํากับดูแลการปฏิบัติงานของตนเองเรียกวา SRO (Self-Regulatory Organization) ใหเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ กฎเกณฑ ขอบังคับที่เก่ียวของ และเพ่ือเปนการปองกันไมให เกิดการปฏิบัติที่ไมถ ูกตองตามกฎหมาย กฎ ระเบยี บ ตลอดจนจรรยาบรรณในการประกอบธุรกจิ เพอื่ ใหแนใจ วา การดาํ เนนิ ธุรกจิ ของบริษัท เปนไปตามครรลองแหงขอกาํ หนด และจรรยาบรรณขั้นสูง เจา หนา ท่ีกํากับดูแล กฎหมายมีภาระหนาท่ีในการกํากับดูแลใหการปฏิบัติงานของบริษัท เปนไปในทางท่ีถูกตอง รวมถึงการรักษา ระดับมาตรฐานสงู สุดของความซื่อสัตย สุจรติ และความรบั ผิดชอบตอการใหบริการลกู คา เจา หนาท่กี าํ กับดูแล กฎหมายจะตองทุมเทความรูความสามารถ เพ่ือชวยเหลือและสงเสริมการกํากับดูแลของหัวหนางานและฝาย บริหารใหแนใจวา บริษัท ไดดําเนินการตามขอกําหนดของกฎหมายและกฎระเบียบท่ีเก่ียวของอยางเพียงพอ รวมท้ังตองสรางจิตสํานึกใหกับพนักงานและผูบริหารของบริษัทใหตระหนักถึงความสําคัญของการกํากับดูแล ตนเอง โดยจะตองชวยกันสอดสองดูแลและไมสนับสนุนใหผูอื่นกระทําความผิดขอกําหนดและจรรยาบรรณ และพัฒนาไปสูองคกรท่ีมกี ารควบคมุ ตนเอง (SOR) อยางไรก็ตาม การกํากับดูแลการปฏิบัติงานนี้จะมีประสิทธิภาพเพียงใดขึ้นอยูกับความรวมมือของ พนักงานทุกคน ท่ีจะปฏิบัติหนาที่ความรับผิดชอบใหอยูภายในกรอบของกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับท่ี เกย่ี วขอ งและจรรยาบรรณ หนาทแี่ ละความรับผดิ ชอบของเจา หนา ที่กาํ กับดแู ลกฎหมาย (1) รวบรวมกฎหมาย ประกาศ และคําสั่ง ตาง ๆ ที่ออกโดยหนวยงานภายนอกท่ีกํากับดูแลบริษัท อาทิ กฎหมายวาดวยการฟอกเงิน กฎหมายคุมครองขอมูลสวนบุคคล รวมถึง ประกาศ คําส่ัง หลักเกณฑของธนาคารแหงประเทศไทย ที่กํากับดูแลการใหสินเช่ือและอื่น ๆ สรุปสาระสําคัญ เพอ่ื เผยแพรป ระชาสมั พันธใหผูเกยี่ วของไดรับทราบ (2) กํากับดูแลและตรวจสอบใหมีการปฏิบัติงานตาง ๆ ใหเปนไปตามกฎ ระเบียบ และขอบังคับของ หนว ยงานรฐั ท่ีทําหนาที่กาํ กบั รวมถงึ กฎ ระเบียบและขอ บงั คับของบริษัท ตลอดจนจรรยาบรรณ ในการประกอบวิชาชีพ และรายงานผลการกํากับดูแลการปฏิบัติงานใหฝายบริหารทราบอยาง สมํ่าเสมอตามรอบระยะเวลา และรายงานใหทราบทันที หากเปนประเด็นท่ีมีความสาํ คัญ หรือมี ความรา ยแรง (3) ใหคําปรึกษาและใหคําแนะนํา รวมถึงเปนที่ปรึกษา ในการปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบที่ เกย่ี วของกบั จรรยาบรรณ สนับสนุน และชวยเหลือเกย่ี วกบั การปฏิบัติตามกฎหมาย (4) จัดใหมีการใหความรูแกพนักงาน และผูบริหารในเรื่องกฎระเบียบตามแนวทางปฏิบัติของ หนวยงานรฐั ทท่ี ําหนาท่ีกํากบั ดแู ล (5) จัดใหมีระเบียบขอบังคับและหลักเกณฑ แนวทางการปฏิบัติงาน ใหเปนไปตามกฎระเบียบและ จรรยาบรรณ โดยกาํ หนดไวเ ปน นโยบายหรอื วิธกี ารแตล ะเร่ืองตามทีก่ าํ หนด 13

(6) ประสานงานกับหนวยงานภายนอก หรือ หนวยงานราชการ เพ่ือการควบคุมกํากับดูแลเปนไป ตามความถกู ตองเรียบรอ ย (7) ทบทวนและปรับปรุงคูมือการปฏิบัติงาน เจาหนาท่ีกํากับดูแลกฎหมาย (Compliance) ใหเปน ปจจุบันเสมอ รวมถึงจัดทํา ทบทวน ปรับปรุงแกไขนโยบาย ตลอดจนประสานงานหนวยงาน ภายในท่ีเกี่ยวของใหมีกระบวนการทํางานท่ีสอดคลอง และจัดทําคูมือการปฏิบัติท่ีเหมาะสม ถูกตอ งตามกฎหมาย (8) ประเมินและระบุถึงความเส่ียงที่อาจจะเกิดขึ้นจากการปฏิบัติไมเปนไปตามกฎหมาย หรือ กฎระเบียบท่ีเกี่ยวของสําหรับกิจกรรมทางธุรกิจ การพัฒนาผลิตภัณฑใหม หรือประเภทการ ใหบริการใหม ๆ แกลูกคา รวมถึงการประเมินความเพียงพอและการเสนอการปรับปรุงแกไขใน วิธีการปฏิบัติงานใด ๆ แกหนวยงาน เพื่อการปฏิบัติใหเปนไปตามกฎหมายและกฎระเบียบท่ี เกยี่ วขอ ง (9) จัดทํารายงานสรุปผลการปฏิบัติงานตอคณะกรรมการ รวมถึงฝายบริหารประจําเดือน และราย ไตรมาส และรายป (10) จัดทําและนําสงรายงานตาง ๆ ใหแกหนวยงานภายนอกที่กํากับดูแลบริษัท อาทิ ธนาคารแหง ประเทศไทย สํานักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน สํานักงานคณะกรรมการคุมครอง ขอ มูลสว นบคุ คล และอ่ืน ๆ (11) จัดใหมีการฝกอบรมใหความรูเก่ียวกับกฎหมายใหม ๆ ใหแกพนักงาน รวมถึงกฎหมายที่ เกยี่ วของกบั พนกั งานใหม หนา ท่คี วามรับผดิ ชอบของผบู ังคับบัญชาแตละสายงาน และพนกั งาน ผูบังคับบัญชาแตละสายงาน และพนักงานทุกคน มีหนาท่ีรับผิดชอบในการปฏิบัติใหเปนไปตาม กฎหมาย กฎระเบียบที่เกยี่ วของ และระเบยี บขอบังคับของบรษิ ัท ดงั น้ี 1) ดาํ เนินธุรกิจ และปฏบิ ตั ิงาน โดยใชความรู ความสามารถ เย่ียงผูประกอบวชิ าชีพ 2) ปฏิบตั ติ ามนโยบายการกาํ กับการปฏิบตั ิตามกฎเกณฑ (Compliance) ของบรษิ ัท 3) เม่ือไดรับทราบหรือมีการปฏิบัติไมเปนไปตามกฎหมาย กฎระเบียบที่เกี่ยวของ และระเบียบ ขอ บังคบั ของบริษทั ใหรายงานแกเจาหนาที่กาํ กบั ดูแลกฎหมายทราบทันที 14

ความเปนอสิ ระของเจาหนาทก่ี าํ กับดแู ลกฎหมาย เจาหนาที่กํากับดูแลกฎหมายเปนหนวยงานอิสระแยกจากสายงานทางธุรกิจ และสายงานปฏิบัติการ เนื่องจากเจาหนาที่กํากับดูแลกฎหมายไมมีหนาที่รับผิดชอบในการดําเนินการเก่ียวกับงานทางธุรกิจ หรืองาน ดานปฏิบัติการ เพ่ือใหการปฏิบัติงานเปนไปอยางอิสระท้ังในการปฏิบัติงานและทัศนคติของเจาหนาท่ีกํากับ ดแู ลกฎหมาย ความเปน อิสระมอี งคป ระกอบที่สําคญั 2 สวน ไดแ ก (1) สถานภาพในองคกรของเจาหนาท่ีกํากบั ดูแลกฎหมาย และความสนบั สนนุ ท่เี จาหนาที่กํากับดูแล กฎหมายไดรับจากฝายบริหาร นับวา เปน ปจจยั ท่ีสาํ คัญยิ่งทีส่ งผลกระทบตอระดับคุณภาพ และคณุ คาของ บริการทผ่ี ตู รวจสอบภายในจะใหแกฝ ายบรหิ าร เจาหนาทกี่ าํ กับดูแลกฎหมายควรขน้ึ ตรงตอผูบริหารสูงสุด เพ่ือท่ีจะสามารถปฏิบัติงานไดในขอบเขตที่กวาง โดยใหขอเสนอแนะตาง ๆ จะไดรับการพิจารณาสั่งการให บังเกิดผลไดอยางมีประสิทธิภาพเพียงพอ ตลอดจนการกําหนดสายการบังคับบัญชาใหข ึ้นตรงตอผูบรหิ าร สูงสุด จะทําใหเจาหนาที่กํากับดูแลกฎหมายมีอิสระในการตรวจสอบ และทําใหสามารถเขาถึงเอกสาร หลักฐาน และทรพั ยากรตาง ๆ รวมทงั้ บคุ คลทเี่ กีย่ วของกับการปฏิบัตงิ านทีต่ อ งไดรบั การตรวจสอบ (2) เจาหนา ที่กํากับดแู ลกฎหมายไมควรเขา ไปมสี วนไดเสีย หรอื สว นรวมในการปฏิบัตงิ านขององคกร ในกิจกรรมท่ีเจาหนาที่กํากับดูแลกฎหมายตองตรวจสอบหรือประเมินผล เจาหนาที่กํากับดูแล กฎหมายตองมีความเปนอิสระทั้งในการปฏิบัติงานและการเสนอความเห็นในการตรวจสอบ ดังนั้น จึงมิควรเปนกรรมการในคณะกรรมการ ใด ๆ ขององคกร หรือหนวยงานในสังกัดอันมี ผลกระทบตอ ความเปนอสิ ระในการปฏบิ ตั ิงานและการเสนอความเหน็ สิทธิการเขาถงึ ดานขอมูลและดา นตวั บคุ คล เพื่อใหมีการปฏิบัติหนาท่ีบรรลุวัตถุประสงคของการกํากับดูแลกฎหมาย จึงใหเจาหนาที่กํากับดูแล กฎหมายมสี ทิ ธิ ดงั ตอไปน้ี 1. มีสิทธิในการติดตอสอบถามขอมูลกับพนักงานทุกคน และสามารถเขาถึงขอมูลใด ๆ เพ่ือการ ปฏิบตั ิหนา ท่ใี นการกาํ กบั ดแู ลกฎหมาย 2. สามารถเขาถึงหนวยงาน/ฝายงานตาง ๆ ภายในบริษัท เพื่อการกํากับดูแลและสอบทานการ ปฏิบัติงาน/ฝายงานใหมีการปฏิบัติตามกฎหมายที่กําหนด สิทธิในการสอบทาน พิสูจน หาขอเท็จจริง กรณีพบความเปนไปไดในกรณีที่พบวามีการปฏิบัติไมเปนไปตามนโยบายการ กํากับดูแลกฎหมาย (Compliance Policy) ของบริษัท รวมถึงการขอความชวยเหลือจาก หนว ยงาน/ฝา ยงานอ่ืน ๆ ที่มคี วามเช่ียวชาญเฉพาะ อาทิ ฝา ยกฎหมายและบงั คบั คดี เปนตน 3. มีความอิสระในการรายงานตอ ผูบ ริหารระดบั สงู ใหทราบถึงการตรวจพบการปฏิบัติไมเปนไปตาม กฎหมาย กฎ ระเบียบท่ีเกี่ยวของ และระเบียบขอบังคับของบริษัท และรวมถึงจรรยาบรรณใน การประกอบวชิ าชพี 15

2.3 หลกั การและจรรยาบรรณทพ่ี ึงปฏิบตั ิ พนักงานตองปฏิบัติหนาท่ีดวยความซ่ือสัตย ความเปนกลาง ความรับผิดชอบตอสาธารณะ และตาม แนวปฏิบัติของธุรกิจ โดยมีมาตรฐานการปฏิบัติงาน มีความรูความสามารถทางวิชาชีพ ไมมีความขัดแยงทาง ผลประโยชน โดยมแี นวทางการปฏิบตั งิ าน ดังนี้ 2.3.1 มาตรฐานการปฏิบัติงาน (1) พนักงานของบริษัทตองปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพดวยความซ่ือสัตยสุจริต และปฏิบัติตอ ลูกคาดวยความเสมอภาคและเปนธรรม เพื่อสรางภาพพจนและความมั่นใจแกลูกคาโดยไมเลือก ปฏบิ ตั ิ (2) บริษัทมีนโยบายใหพนักงานของบริษัทปฏิบัติงานดวยความสุจริต และยุติธรรม ยึดมั่นใน ขอกาํ หนด กฎระเบียบ และขอ บงั คบั ตามกฎหมายทเ่ี ก่ียวขอ งทีม่ ีอยใู นปจ จบุ ันและในอนาคต (3) มาตรฐานการปฏิบัติงานท่ีสําคัญอีกประการหนึ่งคือ การเปดเผยขอมูลตอสาธารณชน ซ่ึงตอง กระทําอยางเที่ยงตรงและเชอื่ ถือได การเสนอขอคิดเห็นและขอเสนอแนะตาง ๆ ตองกระทําโดย สุจริตและอยบู นพนื้ ฐานขอเทจ็ จรงิ 2.3.2 แนวทางการปฏิบตั ิงาน (1) มีความซื่อสตั ยและยตุ ธิ รรม พนักงานตองปฏิบัติงานดวยความซ่ือสัตยสุจริต มีความเปนกลาง และมีความรับผิดชอบตอ สาธารณชนโดยยึดหลักความเสมอภาคในการใหบริการ อีกทั้งตองเผยแพรขอมูลท่ีถูกตองเช่ือถือไดอยางเทา เทียมกัน ท้ังน้ีความซื่อสัตยสุจริตในการใหบริการตอลูกคาถือเปนหลักสําคัญท่ีพนักงานจะตองยึดถือปฏิบัติ และเปนแนวทางท่ีจะสรางความเช่ือถือใหกับบริษัทเปนสวนรวม การใหบริการท่ีมีความสะดวก รวดเร็ว จะตองถือปฏิบัติโดยเสมอภาคและเทาเทียมกัน โดยไมคํานึงถึงวาเปนลูกคารายใหญหรือลูกคารายเล็ก เพื่อ บรรลุวัตถุประสงคของงานที่ไดรับมอบหมายภายใตกฎระเบียบและขอบังคับตามกฎหมายที่เกี่ยวของท่ีมีอยู พนักงานตองไมทําใหเกิดความเขาใจผดิ เกยี่ วกับคุณสมบัติทางวิชาชีพที่ตนไมมี และไมป ระพฤติปฏบิ ัติตนที่สอ ไปในทางไมสุจริตหรือใหเกิดความเขาใจผิดโดยการเสนอขอมูลที่ไมถูกตอง ครบถวน หรือละเวนที่จะกลาวถึง ขอมูลที่มีนัยสําคัญตอการใหความเห็น ท้ังนี้การปฏิบัติหนาท่ีดังกลาวจะตองปฏิบัติดวยความรอบคอบ ระมัดระวังเยยี่ งผปู ระกอบวชิ าชีพพงึ กระทํา 16

(2) การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ และขอ บงั คบั พนักงานตองศึกษาหาความรู ทําความเขาใจ และปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ขอบังคับของบริษัทและ กฎหมายที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงานอยางสมํ่าเสมอ และหากมีขอสงสัยเก่ียวกับการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ และขอ บังคับหรือการตีความกฎหมายและระเบียบขอบงั คับทเ่ี กี่ยวขอ ง ใหขอคาํ ปรกึ ษาไดทผ่ี ูบงั คบั บัญชาหรือ เจาหนาที่กํากับดูแลกฎหมาย และ/หรือฝายกฎหมาย ทั้งน้ีหากพบวาหรือมีขอสงสัยวาอาจมีการกระทํา ความผิดกฎ ระเบียบ และขอบังคับภายในบริษัท รวมถึงกฎหมายที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงาน พนักงาน จะตองเปด เผยหลักฐานท่ีตนมีตอ ผูบังคับบญั ชาโดยตรง และ/หรอื เจาหนา ท่ีกาํ กับดแู ลกฎหมาย โดยไมช ักชา (3) การบนั ทกึ ขอมลู และการจัดทาํ รายงาน ความถกู ตองในการเกบ็ บันทึกขอมลู และความนาเช่ือถือของระบบการรายงาน เปนสว นหน่งึ ของการ ปฏบิ ัตหิ นาท่ดี ว ยความซ่ือสตั ย สุจริต ดงั น้นั การบนั ทึกขอมูลทางบัญชีและบันทึกขอมลู อนื่ จะตองมกี ารบันทึก ขอ มลู ดวยความถูกตอง ครบถวน และเหมาะสม กับรายการทเี่ กิดขึ้น อาทิ การบนั ทกึ รายการสนิ ทรัพย หนส้ี นิ รายไดและคาใชจาย รวมถึงรายการภาระผูกพันจะตองมีการจัดทํา บันทึก การอนุมัติและจัดทํารายงาน ดงั กลา วใหถูกตอง ครบถว น และเปน ไปตามหลักการบนั ทึกบัญชีที่รับรองทว่ั ไป เพอ่ื สรา งความมั่นใจใหแกผูใช รายงานทกุ ภาคสวน (4) การรักษาความลบั ของลูกคา การรักษาความลับของลูกคาเปนหลักพื้นฐานของการดําเนินธุรกิจของบริษัท ซ่ึงพนักงานจะตองไม เปดเผยขอมูลท่ีเกี่ยวของกับการทําธุรกรรมของลูกคา โดยปราศจากความยินยอมจากลูกคา เวนแตเปนการ เปดเผยตามท่ีกฎหมายกําหนดหรือเพ่ือการดาํ เนินธุรกิจอันเปน ปกติธุระโดยความเห็นชอบของผมู ีอํานาจ ท้ังนี้ การเขาถึงขอมูลความลับของลูกคาจะข้ึนอยูกับพนักงานที่ไดรับอนุญาตในระหวางการปฏิบัติงาน ซ่ึงพนักงาน จะตองคาํ นงึ ถึงผลประโยชนข องลกู คาเปนอันดับแรกเสมอ (5) ความขดั แยงทางผลประโยชน พนักงานจะตอ งไมใหความสําคัญของผลประโยชนสวนตวั อยูเหนือผลประโยชนข องบริษัท ทงั้ น้ใี นการ ปฏิบัติจะตองปฏิบัติโดยคํานึงถึงผลประโยชนสูงสุดของบริษัทและลูกคาเปนท่ีต้ัง ท้ังน้ีพนักงานจะตองไมรับ ขอเสนอใดเปน การสวนตัวจากลูกคา คูคา ของบริษัทไมว าจะอยูในรูปแบบของตัวเงิน ของขวัญ หรือกิจกรรมใด ๆ ก็ตามทอี่ าจนําพาไปสคู วามขดั แยง ทางผลประโยชนได (6) การรบั ของขวัญ ของกาํ นลั ทรัพยส นิ หรอื ผลประโยชนอื่นใด การรับหรือการใหของขวัญทรัพยสิน หรือผลประโยชนอื่นใดซึ่งมีมูลคานั้น สามารถท่ีจะกระทําได ภายใตวิสัยอันควร เทศกาลหรือประเพณีนิยม ท้ังน้ีตองไมเปนการเรียกรองหรือรับที่มีผลการตัดสินใจ อัน สงผลตอการปฏิบัติงานดวยความลําเอียง ท้ังน้ีทรัพยสินหรือประโยชนอันควรไดตามกฎหมายตองไมใชส่ิงผิด กฎหมายและมีมูลคาไมเกิน 3,000 บาท (สามพันบาทถวน) ซ่ึงหนวยงานท่ีเกี่ยวของตองแจงใหผูที่เกี่ยวของ ทราบดว ย 17

(7) การสนบั สนุนทางการเมือง บริษัทเปนองคกรกลางทางการเมืองอยางเครงครัด และไมมีนโยบายท่ีจะเขาไปมีสวนรวม และไม ฝกใฝพรรคการเมือง กลุมการเมืองและรวมถึงผูมีอํานาจทางการเมืองคนใดคนหนึ่ง หรือขาราชการประจําคน ใดคนหนึง่ และมแี นวปฏบิ ัติทส่ี ําคญั ดงั นี้ (7.1) บริษัทไมมีนโยบายนําเงินทุน หรือทรัพยใด ๆ ของบริษัทไปใชในการสนับสนุนไมวาจะเปน ทางตรงและทางออ มแกพรรคการเมืองใด หรือผูสมัครรับเลอื กตงั้ ใด (7.2) บริษัทไมมีนโยบายเขารวม หรือใหการสนับสนุนพรรคการเมือง หรือผูสมัครการเมืองใด ๆ อาทิ การโฆษณา การขอใชพื้นทภี่ ายในบริษทั เปน ตน (7.3) บริษัทสงเสริม และสนับสนุนใหพนักงานทุกคนเขาใชสิทธิเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญตาม ระบอบประชาธปิ ไตย (7.4) การดาํ เนินการใด ๆ ของพนกั งานทีเ่ กี่ยวกบั การเมืองจะตองเปนการกระทําในนามของบุคคล ที่ถือเปนสิทธิของแตละบุคคลตามรัฐธรรมนูญ โดยพนักงานที่เขารวมกิจกรรมนัน้ ๆ จะตองไมมีการ ใชสญั ลักษณ ตาํ แหนง เอกสารหรอื ส่ิงอื่นใดที่เกยี่ วของ หรอื แสดงวา มีความสมั พันธกับบรษิ ทั (8) การรบั ผดิ ชอบตอชุมชุนและสงั คมโดยรวม บริษัทเปนสวนหนึ่งของสังคม บริษัทจึงมีความรับผิดชอบตอชุมชน และสังคมโดยรวม ดังน้ันเพ่ือให บรษิ ทั มีความเจริญเติบโตอยางยั่งยนื บรษิ ทั ถอื เปนนโยบายและหนาท่ีหลักในการใหความสําคัญกับชุมชนและ สังคม เพ่ือใหเกิดการพัฒนา โดยมีสวนรวมและสรางความสัมพันธอันดีใหเกิดขึ้นแกชุมชน ส่ิงแวดลอม การมี สวนรวมในการทํานุบํารุงศาสนา อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ สนับสนุนการศึกษา เพ่ือใหชุมชนและสังคมมี ความเขม แข็งและพ่งึ พาตนเองได 18

2.4 กฎบตั ร (Compliance Charter) เพื่อใหแนใจวาการดําเนินธุรกิจเปนไปตามครรลองแหงขอกําหนด และจรรยาบรรณ เจาหนาที่กํากับ ดูแลกฎหมาย (Compliance) มีภาระหนา ท่ีกํากบั ดูแลใหการปฏิบัติงานของบริษทั เปน ไปในทางท่ีถูกตองและ ลดโอกาสที่จะมีการปฏิบัติที่ไมเปนไปตามกฎ ระเบียบของหนวยงานกํากับ โดยการใหความชวยเหลือแกฝาย บริหารใหสามารถดําเนินบทบาทท่ีเหมาะสมในการควบคุมการปฏิบัติงาน ใหเปนไปตามกฎหมายและ กฎระเบยี บตา ง ๆ ดว ยความซ่ือสัตย สุจริตและความรบั ผิดชอบตอการใหบริการ เจาหนา ทก่ี ํากบั ดแู ลกฎหมาย จะใหความชวยเหลือและสงเสริมใหมีการกํากับดูแลของหัวหนางานและฝายบริหารใหแนใจวา บริษัทได ดําเนินการตามขอกําหนดของกฎหมาย และกฎระเบียบท่ีเก่ียวของอยางเพียงพอ รวมท้ังการปลูกจิตสํานึก ใหก ับพนกั งานและผูบรหิ ารของบรษิ ัท ใหตระหนักถึงความสําคัญของการกํากบั ดูแลตนเอง โดยจะตอ งชวยกัน สอดสองดูแลและไมสนับสนุนใหผูอ่ืนกระทําผิดขอกําหนดและจรรยาบรรณ และพัฒนาไปสูองคกรที่มีการ ควบคุมตนเอง (SRO) 2.4.1 มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน โดยกลาวถึงประเดน็ ตาง ๆ ดังน้ี 1) การบริหารงานกาํ กบั ดูแลกฎหมาย เจาหนาที่กํากับดูแลกฎหมาย ควรบริหารงานกํากับดูแลกฎ หมายใหเกิดสัมฤทธิ์ผลมี ประสทิ ธภิ าพ เพอื่ ใหงานตรวจสอบสามารถสรา งคณุ คา เพิ่มใหก บั องคกร 2) ลกั ษณะของงานกาํ กับดูแลกฎหมาย กํากับดูแลกฎหมาย คือ การประเมินเพ่ือเพ่ิมคุณคาและปรับปรุงการปฏิบตั ิงานขององคกรใหถึง เปาหมายที่วางไว และปรับปรุงประสิทธิภาพของการบริหารความเส่ียง โดยการควบคุมและการ กํากบั ดูแลกลมุ งานมาตรฐานดานกาํ กบั ดแู ลกฎหมาย 3) การวางแผนการปฏิบตั งิ านสอบทาน เจาหนาที่กํากับดูแลกฎหมาย ควรจัดทําแผนการปฏิบัติงานตามภารกิจท่ีไดรับมอบหมายทั้งใน ดานการใหหลักประกันและการใหค าํ ปรึกษา โดยควรคํานงึ ถงึ - วัตถุประสงคของงานและวิธีการดําเนินงานกํากับดูแลกฎหมาย อันจะทําใหการปฏิบัติงาน บรรลุผล - ความเส่ยี งทสี่ ําคัญ ๆ ท่ีมีผลกระทบตอความสําเร็จและความเส่ียงท่อี ยูในระดบั ที่ยอมรบั ได - ความเพียงพอและความมีประสิทธิภาพของกิจกรรมการบริหารความเสี่ยงและระบบการ ควบคุม เมอ่ื เปรยี บเทียบกับกรอบการปฏิบัตงิ าน กฎ ระเบยี บ ขอบังคบั ทีเ่ ก่ียวของ - โอกาสในการปรับปรงุ กิจกรรมการบรหิ ารความเสีย่ งและระบบการควบคุมใหดีขึ้น 19

4) การปฏิบัติงานสอบทาน เจาหนาท่ีกํากับดูแลกฎหมายควรรวบรวม วิเคราะห ประเมิน และบันทึกขอมูลใหเพียงพอตอ การปฏิบัติงานที่ไดรับมอบหมายใหบรรลุตามวัตถุประสงค และหัวหนาเจาหนาท่ีกํากับดูแล กฎหมายควรควบคุมการปฏิบัติงานท่ีไดมอบหมายอยางใกลชิด เพื่อใหเกิดความมั่นใจวาการ ปฏิบัติงานจะสามารถบรรลุตามวัตถุประสงคท่ีกําหนดไวอยางมีคุณภาพ ซึ่งจะเปนการชวย พัฒนาเจา หนาทก่ี าํ กบั ดแู ลกฎหมายดว ย 5) การรายงานผลการปฏิบัติงาน เจาหนาท่ีกํากับดูแลกฎหมายควรรายงานผลการปฏิบัติงานอยางทันกาล โดยรายงานดังกลาว ประกอบดวย วัตถุประสงคขอบเขต การสรุปผลการตรวจสอบ ความคิดเห็น ขอเสนอแนะ และ แนวทางในการปรับปรุงแกไขท่สี ามารถนําไปปฏิบัติไดดว ยความถูกตอง ครบถวน ชัดเจน เท่ยี งธรรม รัดกุม สรางสรรคและรวดเร็ว รวมท้ังควรเผยแพรผลการปฏิบัติงานใหบุคคลที่เก่ียวของและ เหมาะสมไดร บั ทราบ 6) การตดิ ตามผล เจาหนาที่กํากับดูแลกฎหมายควรกําหนดระบบการติดตามผลวาไดมีการนําขอเสนอแนะใน รายงานผลการปฏิบตั ิงานไปสูการปฏิบตั ิ 7) การยอมรบั สภาพความเสยี่ ง เจาหนา ทีก่ ํากับดแู ลกฎหมายควรนําเรื่องความเสย่ี งที่อาจกอใหเกดิ ความเสียหายแกอ งคกรซึ่งยัง ไมไ ดรับการแกไ ขหารือกบั ผูบรหิ าร 2.4.2 จริยธรรมของเจา หนา ท่กี ํากบั ดแู ลกฎหมาย เพ่ือเปนการยกฐานะและศักด์ิศรีของเจาหนาท่ีกํากับดูแลกฎหมาย ใหไดรับการยกยองและยอมรับ จากบุคคลทั่วไป รวมท้ังใหการปฏิบัติหนาท่ีเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ เจาหนาท่ีกํากับดูแลกฎหมายควร ยดึ ถอื และดํารงไวซ ึ่งหลักปฏบิ ัติ ดงั ตอไปน้ี 1. ความมีจดุ ยนื ท่ีม่ันคง ในเรอ่ื งของความซ่ือสัตย ความขยันหมัน่ เพียรและความรับผดิ ชอบ 2. การรกั ษาความลับ ในเร่อื งของการเคารพตอสทิ ธิแหงขอมูลทไ่ี ดรับทราบ 3. ความเทย่ี งธรรม ในเร่อื งของการไมมีสวนเก่ียวขอ งหรือสรางความสมั พนั ธใด ๆ ในอันทจี่ ะทําใหมี ผลกระทบตอความเทย่ี งธรรมในการปฏบิ ตั ิงาน 4. ความสามารถในหนาท่ี ในเร่ืองของความรู ทักษะและประสบการณในงานท่ีทําปฏิบัติงานตาม มาตรฐานการสอบทานและพฒั นาตนเองอยา งตอเน่ือง 20

2.4.3 หนา ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบของเจาหนา ท่ีกํากบั ดูแลกฎหมาย 1. รวบรวมกฎหมาย ประกาศ และคําสั่ง ตาง ๆ ที่ออกโดยหนวยงานภายนอกที่กํากับดูแลบริษัท อาทิ กฎหมายวาดวยการฟอกเงิน กฎหมายวาดวยคุมครองขอมูลสวนบุคคล รวมถึง ประกาศ คําสั่ง หลักเกณฑของธนาคารแหงประเทศไทย ที่กํากับดูแลการใหสินเช่ือและอ่ืน ๆ สรุป สาระสาํ คญั เพอื่ เผยแพรป ระชาสมั พันธใหผ เู ก่ียวของไดร ับทราบ 2. กํากับดูแลและตรวจสอบใหมีการปฏบิ ัติงานตาง ๆ ใหเปนไปตามกฎ ระเบียบ และขอบังคับของ หนว ยงานรฐั ทท่ี ําหนา ที่กํากบั รวมถงึ กฎ ระเบียบและขอบังคับของบริษัท ตลอดจนจรรยาบรรณ ในการประกอบวิชาชีพ และรายงานผลการกํากับดูแลการปฏิบัติงานใหฝายบริหารทราบอยาง สมํ่าเสมอตามรอบระยะเวลา และรายงานใหทราบทันที หากเปนประเด็นที่มีความสาํ คัญ หรือมี ความรา ยแรง 3. ใหคําปรึกษาและใหคําแนะนํา รวมถึงเปนที่ปรึกษา ในการปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบท่ี เกี่ยวของกับจรรยาบรรณ สนับสนุน และชว ยเหลอื เก่ียวกบั การปฏบิ ตั ิตามกฎหมาย 4. จัดใหมีการใหความรูแกพนักงาน และผูบริหารในเรื่องกฎระเบียบตามแนวทางปฏิบัติของ หนวยงานรัฐท่ีทําหนาที่กาํ กบั ดแู ล 5. จัดใหมีระเบียบขอบังคับและหลักเกณฑ แนวทางการปฏิบัติงาน ใหเปนไปตามกฎระเบียบและ จรรยาบรรณ โดยกําหนดไวเ ปน นโยบายหรือวิธกี ารแตล ะเรือ่ งตามที่กาํ หนด 6. ประสานงานกับหนวยงานภายนอก หรือ หนวยงานราชการ เพ่ือการควบคุมกํากับดูแลเปนไป ตามความถกู ตองเรียบรอย 7. ดําเนินการตรวจสอบทาน จดั ทํารายงานผลการตรวจสอบ และติดตามผลการแกไข 8. ทบทวนและปรบั ปรุงคูม ือการปฏิบัติงาน เจาหนา ทก่ี าํ กบั ดแู ลกฎหมาย (Compliance Manual) ใหเปนปจจุบันเสมอ รวมถึงจัดทํา ทบทวน ปรับปรุงแกไขนโยบาย ตลอดจนประสานงาน หนวยงานภายในที่เก่ียวของใหมีกระบวนการทํางานที่สอดคลอง และจัดทําคูมือการปฏิบัติที่ เหมาะสมถูกตองตามกฎหมาย 9. ประเมินและระบุถึงความเส่ียงท่ีอาจจะเกิดข้ึนจากการปฏิบัติไมเปนไปตามกฎหมาย หรือ กฎระเบียบที่เก่ียวของสําหรับกิจกรรมทางธุรกิจ การพัฒนาผลิตภัณฑใหม หรือประเภทการ ใหบริการใหม ๆ แกลูกคา รวมถึงการประเมินความเพียงพอและการเสนอการปรับปรุงแกไขใน วิธีการปฏิบัติงานใด ๆ แกหนวยงาน เพ่ือการปฏิบัติใหเปนไปตามกฎหมายและกฎระเบียบท่ี เกีย่ วขอ ง 10. จัดทํารายงานสรุปผลการปฏิบัติงานตอคณะกรรมการ รวมถึงฝายบริหารประจําเดือน และราย ไตรมาส และรายป 21

11. จัดทําและนําสงรายงานตาง ๆ ใหแกหนวยงานภายนอกท่ีกํากับดูแลบริษัท อาทิ ธนาคารแหง ประเทศไทย สํานักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน สํานักงานคณะกรรมการคุมครอง ขอมูลสว นบคุ คล และอื่น ๆ 12. จัดใหมีการฝกอบรมใหความรูเกี่ยวกับกฎหมายใหม ๆ ใหแกพนักงาน รวมถึงกฎหมายที่ เกี่ยวขอ งกบั พนกั งานใหม 13. เปนศูนยกลางในการรวบรวม และจัดใหมีกฎหมายกฎระเบียบท่ีเก่ียวของและระเบียบขอบังคับ ของบรษิ ัทสาํ หรบั พนักงานในบริษทั 14. เปนศูนยกลางในการรวบรวมขอมูลตาง ๆ เกี่ยวกับการปฏิบัติไมเปนไปตามกฎหมายกฎระเบยี บ ที่เกีย่ วของและระเบียบขอ บังคับของบรษิ ัท 2.4.4 หนาท่ีความรบั ผิดชอบของผูบังคบั บัญชาและพนกั งาน ผูบังคับบัญชาในทุกระดับและพนักงานทุกคนมีหนาที่รับผิดชอบในการควบคุมและปฏิบัติตาม กฎหมาย กฎระเบียบท่ีเกยี่ วขอ ง และระเบียบขอ บงั คบั ของบริษทั ดงั น้ี 1. ดาํ เนินธรุ กิจและปฏิบตั งิ าน โดยใชความรู ความสามารถ เยีย่ งผูป ระกอบวชิ าชพี 2. ปฏบิ ัติตามนโยบายการกาํ กบั การปฏิบตั งิ าน ตามกฎเกณฑของบริษัท 3. เมื่อไดรับทราบหรือมีการปฏิบัติไมเปนไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบท่ีเกี่ยวของ และระเบียบ ขอ บงั คับของบรษิ ัท ใหร ายงานเจา หนา ท่กี ํากบั ดแู ลกฎหมาย ทราบทันที 2.4.5 ความเปนอสิ ระของเจาหนาทีก่ ํากบั ดูแลกฎหมาย เจาหนาที่กํากับดูแลกฎหมายเปนหนวยงานอิสระแยกจากสายงานธุรกิจ และสายงานปฏิบัติการ พนักงานของเจาหนาที่กํากับดูแลกฎหมายไมมีหนาท่ีรับผิดชอบในการดําเนินการเก่ียวกับงานทางธุรกิจ หรือ งานดา นปฏบิ ตั กิ าร และมหี นาทร่ี ายงานตรงตอ คณะกรรมการบริษทั หรอื คณะกรรมการตรวจสอบ 2.4.6 สทิ ธิการเขา ถงึ ดา นขอมลู และดา นตวั บุคคล เพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงคในการกํากับดุแลการปฏิบัติงานตามหนาท่ีรับผิดชอบของ เจาหนาที่กํากับ ดแู ลกฎหมายไดอ ยา งมปี ระสิทธภิ าพ จึงกําหนดใหมีสิทธิตา ง ๆ ดังตอ ไปนี้ (1) สทิ ธิในการติดตอสอบถามกบั พนักงานทุกคนในบริษทั และการเขา ถึงขอมลู ใด ๆ ท่ีจาํ เปน ไดโ ดย อสิ ระเพื่อการปฏิบตั ิหนาท่ีในการกํากบั ดแู ลการปฏบิ ตั งิ าน (2) เขาถึงหนวยงานตาง ๆ ภายในบริษัท เพื่อการกํากับดูแลและตรวจสอบการปฏิบัติงานของ หนวยงานดังกลาวหากพิจารณาไดวาอาจมีการปฏิบัติไมเปนไปตามกฎหมาย กฎระเบียบท่ี เกย่ี วขอ ง และระเบยี บขอ บังคบั ของบรษิ ัท 22

(3) สิทธิในการตรวจสอบ สืบสวน สอบสวน พิสูจน หาขอเท็จจริง กรณีพบความเปนไปไดในการ ปฏิบัติไมเปนไปตามนโยบายการกํากับการปฏิบัติงานของบริษัท รวมท้ังการขอความชวยเหลือ จากหนวยงานอ่ืนท่ีมีความเชี่ยวชาญเฉพาะดานทั้งภายในบริษัท เชน ฝายกฎหมาย หรือ หนวยงานตรวจสอบภายใน หรอื จากผเู ชี่ยวชาญจากภายนอก (4) มีความอิสระในการรายงานตอผูบริหารระดับสูงใหทราบถึงการตรวจพบการปฏิบัติไมเปนไป ตามกฎหมาย กฎระเบียบท่ีเก่ียวของ และระเบียบขอบังคับของบริษัท รวมถึงจรรยาบรรณใน การประกอบวิชาชีพ 2.5 ขอ พงึ ปฏบิ ตั ิของพนกั งานทเ่ี ก่ียวของกับนโยบาย กฎ ระเบียบ ของหนว ยงานกํากบั 2.5.1 การดาํ รงสถานะและคณุ สมบตั ขิ องพนกั งานใหเปนไปตามหลักเกณฑข องหนว ยงานรัฐท่ีทาํ หนา ท่ีกํากับ พนักงานมีหนาที่จะตองดํารงสถานะและคุณสมบัติ สําหรับการปฏิบัติหนาที่ใด ๆ ซ่ึงตองไดรับความ เห็นชอบหรือใบอนุญาตจากหนวยงานรัฐที่ทําหนาท่ีกํากับไวตลอดจนการปฏิบัติหนาที่และไมยินยอมใหผูอื่น แอบอางช่ือของตนไปใชในการปฏิบัติงาน และเม่ือมีการขาดคุณสมบัติ หรือมีเหตุการณเปลี่ยนแปลงท่ีเปน สาระสําคญั เกีย่ วกบั คุณสมบัติพืน้ ฐานในการดํารงสถานะแลว พนกั งานจะตองแจงผูบงั คบั บัญชาและเจาหนาท่ี กํากับดูแลกฎหมายถึงการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ที่เกิดขึ้น ทั้งน้ีฝายจัดการจะตองจัดใหมีการมอบหมายหนาที่ ดังกลาวใหแกฝายงานที่เกี่ยวของ เพื่อดําเนินการจัดทําทะเบียนและควบคุมกํากับดูแลการข้ึนทะเบียนให ถูกตอ งเปน ไปตามกฎหมายทกี่ าํ หนด 2.5.2 การอบรม การเขารับการทดสอบและการขึ้นทะเบียน ผูบังคับบัญชาตองรับผิดชอบควบคุมและกํากับใหพนักงานมีการอบรม ทบทวนความรูและ/หรือการ เขารับการทดสอบตามหลักสูตรที่หนวยงานของรัฐท่ีทําหนาท่ีกํากับกําหนด ทั้งน้ีฝายงานที่ไดรับมอบหมาย จะตอ งมหี นาทด่ี ําเนินการควบคุมใหม กี ารข้ึนทะเบยี นใหเ ปนไปตามท่ีกฎหมายกาํ หนด ทั้งน้ีพนักงานท่ีมีใบอนุญาตตามท่ีหนวยงานของรัฐกําหนด จะตองขวนขวายหาความรูอยางสมํ่าเสมอ เพื่อที่จะใหบริการหรอื ขอเสนอแนะทด่ี ีและเปน ประโยชนต อ ลูกคา 23

2.5.3 กิจกรรมภายนอกของพนักงานและลกู จา ง 2.5.3.1 กิจกรรมภายนอกบริษัท บริษัทมนี โยบายเกย่ี วกับเร่ืองกจิ กรรมภายนอกบริษัทของพนักงาน ดังตอไปนี้ (1) พนักงานตองอุทิศเวลาการทํางานท้ังหมดอยางเต็มท่ีใหกับบริษัท หามพนักงานผูใดเขารวมใน กิจกรรมภายนอก อันอาจขัดตอผลประโยชนของบริษัท กิจกรรมภายนอกดังกลาว เชน รับการ จางงานภายนอกบริษัท รับเปนกรรมการ โดยจะกระทําไดเมื่อไดรับอนุญาตจากผูบังคับบัญชา และคณะกรรมการบริหารของบริษัทกอน บริษัทสนับสนุนใหพนักงานมีสวนรวมโดยอาสาสมัคร ในกิจกรรมขององคการทางดานชุมชน ทางการกุศล ทางศาสนาและทางการเมืองโดยไมตองขอ อนมุ ตั จิ ากผูบังคับบญั ชา ถาการรวมกิจกรรมน้นั ไมกระทบตอหนาที่การงานประจํา และไมขัดกับ ผลประโยชนร ะหวางบริษัทกบั องคการดงั กลาวขา งตน (2) ไมวากรณีใด ๆ หามพนักงานเขาทําขอตกลงรว มกบั คูแ ขง ขัน หรือผอู ่นื อันมีผลเสยี หายตอ นโยบายดา นราคา หรือดานการตลาดของบริษัท (3) พนักงานไมควรใชกระดาษจดหมายที่มีชื่อบริษัท นามบัตร หรือตราประทับของบริษัท ในการ แสดงตนเพอ่ื กิจกรรมของตนเองภายนอกบริษัท (4) ในการดําเนนิ กจิ กรรมภายนอกพนักงานจะตองแจงแกคูกรณโี ดยแสดงความชดั เจนวาการกระทํา ดงั กลาวไดดําเนนิ การในนามสวนตัว (5) พนักงานไมควรเปนพยานใหการหรือลงลายมือช่ือในเอกสารสนับสนุนความเห็นตามคํารองขอ ของบุคคลภายนอก ตอหนวยงานราชการ ศาลหรือหนวยงานภาครัฐ เวนแตมีบทบัญญัติของ กฎหมายกําหนดไว หรือไดรับอนุมัติเปนการเฉพาะของบริษัท ท้ังนี้เม่ือมีขอสงสัยใด ๆ เกิดข้ึน เกีย่ วกบั ขอ บงั คับขา งตน ควรจะสอบถามผูบ งั คับบญั ชาหรือเจา หนา ทก่ี าํ กบั ดูแลกฎหมายโดยตรง 2.5.3.2 กิจกรรมการพูดและการเขยี น การติดตอสื่อสารกับสาธารณชนจะตองนําเสนอแตสิ่งท่ีเปนความจริง ถูกตอง โปรงใส ท้ังน้ี พนักงาน ไมค วรที่จะตีพิมพบทความในหนังสือพิมพ เผยแพรสงิ่ ตีพิมพ ออกรายการวทิ ยุ หรือโทรทศั น ใหส มั ภาษณทาง หนังสือพิมพ หรืออภิปรายตอสาธารณชนในเรื่องเกี่ยวกับธุรกิจของบริษัท ธุรกิจประกัน อุตสาหกรรมทาง การเงนิ และรวมถงึ รูปแบบทางอิเลก็ ทรอนิกส เปน ตน โดยไมไดรับอนญุ าตจากผมู อี าํ นาจอนุมตั ิกอน 2.5.4 การตดิ ตอกับหนวยงานรัฐทท่ี ําหนา ทีก่ ํากับดูแล 2.5.4.1 พนักงานอาจไดรับการติดตอจากหนว ยงานรัฐท่ีทําหนาที่กํากับดูแล ซ่ึงการติดตอเหลา น้ี อาจจะเปนการติดตอเพื่อเขามาตรวจสอบ หรือพนักงานอาจจะถูกรอ งขอใหตอบคําถาม หรืออธิบายเปนลายลักษณอักษรจากหนวยงานของรัฐดังกลาวกอนการพบปะกับ เจาหนาที่ท่ีตรวจสอบของหนวยงานรัฐฯ หรือการจัดเตรียมเอกสารใด ๆ เพ่ือสงมอบ ใหกับหนวยงานรัฐท่ีทําหนาท่ีกํากับและอ่ืน ๆ พนักงานจะตองแจงใหผูบังคับบัญชาและ เจาหนาที่กํากับดูแลกฎหมายทราบถึงเหตุการณดังกลาวเพ่ือรวมกันจัดเตรียมและ 24

ดําเนนิ การทเี่ หมาะสม 2.5.4.2 พนักงานของบริษัทจะตองระมัดระวังในการกลาวพาดพิง หรือเปดเผยแกบุคคลอ่ืนให ทราบถึงการติดตอกับหนวยงานรัฐท่ีทําหนา ท่ีกํากับดูแล และควรระบุชื่อผูที่จะติดตอใน หนังสือโตตอบที่แจง ไปยังหนว ยงานรัฐที่ทําหนาที่กาํ กบั ดแู ล 2.5.5 การซ้ือขายหลักทรัพยของพนักงาน บริษัทเคารพในสิทธิสวนบุคคลของพนักงาน และประโยชนของการออมเงินระยะยาว ทั้งน้ีการลงทุน ในหลักทรัพยของพนกั งานสามารถดําเนินการไดโดยไมเบียดบังเวลาการทํางานและตองไมใชข อมูลภายในเพอ่ื ประโยชนในการลงทุนท้ังโดยสวนตัวหรือโดยสมาชิกครอบครัวหรือโดยบุคคลที่เก่ียวของของพนักงานหรือ ตัวแทนของพนักงานท้ังนี้ในการซื้อขายหลักทรัพยตองไมมีลักษณะเปนการเอาเปรียบตอลูกคา ซ่ึงพนักงาน จะตองปฏบิ ตั ิตามระเบยี บในการซอื้ ขายหลักทรัพยของพนกั งานตามท่ีบริษัทกําหนดอยางเครง ครดั 2.5.6 การรับขอรอ งเรียนจากลูกคา ช่ือเสียงของบริษัทถือเปนสิ่งสําคัญในการดําเนินธุรกิจ บรรดาขอรองเรียนใด ๆ จากลูกคาเปน ส่ิงจําเปน ทจ่ี ะตองไดร บั การพจิ ารณาดําเนนิ การตามกระบวนการอยา งมปี ระสิทธภิ าพ เพือ่ รกั ษาชื่อเสียงในการ ดําเนินธุรกิจของบริษัท ท้ังนี้หากพนักงานคนใดไดรับการรองเรียนจากลูกคา และ/หรือการแจงเรื่องรองเรียน จากหนวยงานของรัฐที่ทําหนาที่กํากับดูแล ไมวาจะเปนโดยทางวาจาหรือเปนลายลักษณอักษร ใหพนักงาน รายงานตอผูบังคับบญั ชาและหนวยงานรับเร่ืองรองเรยี น โดยพนักงานท่ีเปนผูรบั เรื่องรองเรียนตองไมทําความ ตกลงใด ๆ กับลูกคา ไมวาจะเปนทางวาจาหรือลายลักษณอักษร เวนแตจะไดรับการยินยอมจากผูมีอํานาจ ทงั้ น้ี ใหพ นกั งานปฏิบัติตามระเบียบปฏิบตั ิในการรบั ขอรองเรียนจากลกู คา ตามทีบ่ ริษัทกาํ หนด 2.5.7 กจิ กรรมทหี่ ามพนักงานกระทําเพ่อื ใหส อดคลองกบั หลกั จรรยาบรรณ (1) การถือครองทรัพยสิน เอกสารสําคัญ และการรับจดหมายแทนลูกคา หามพนักงานเปนผูดูแล ผลประโยชนสวนบุคคลใหแกลูกคา เชน เก็บรักษาตัวเงิน ใบหุน เอกสารหลักฐานแสดงสิทธิใน หนวยลงทนุ เงิน หรือทรพั ยส ินอื่น ๆ แทนลูกคา กรมธรรม เอกสารจดหมายจากบรษิ ทั และรวมถึง รับคาํ ส่งั ใด ๆ เพ่อื กระทําธรุ กรรมแทนลูกคา (2) การใหคาํ แนะนาํ ดานกฎหมายหรือภาษี หา มพนกั งานใหคําแนะนาํ ดานกฎหมายหรือภาษีแกลูกคา ซ่ึงอาจทําใหเกิดความรับผิดชอบเนื่องจากคําแนะนําที่ใหน้ัน อยางไรก็ตาม หากลูกคาตองการ คําแนะนาํ ดานกฎหมายหรือภาษี พนักงานควรแนะนาํ ใหลูกคาปรึกษาผูเชี่ยวชาญโดยตรง (3) ความขัดแยงทางผลประโยชน พนักงานผูทําหนาที่ติดตอกับลูกคาจะตองไมชักจูงหรือโนมนาวให ลูกคาเขาทําธุรกรรมในกิจการที่ตนเองหรือครอบครัวมีสวนไดเสียเกี่ยวกับผลประโยชนในกิจการ นั้น ๆ (4) รายช่ือลูกคา แฟมเอกสาร และขอ มลู ตา ง ๆ ทีเ่ ก่ียวกบั ลูกคาเปนขอมลู ทเ่ี ปนความลับ และถือเปน 25

ทรพั ยส ินอยา งหนึง่ ของบริษัท แมวา พนักงานผูทําหนาท่ีติดตอกับลูกคาไดลาออกเพื่อไปทํางานกับ องคกรอ่นื อาจจะชักชวนลูกคาไปดว ยไดก็ตาม แตไ มไ ดห มายความวาจะมีสทิ ธิที่จะนําขอมลู ลบั ซงึ่ ถอื เปน ทรพั ยส ินของบริษัทไปไดดว ยวิธีการคดั ลอก ถา ยโอนขอ มลู หรือเอกสารในลักษณะใดก็ตาม หรือการทาํ ซา้ํ ขอมลู โดยใชเ คร่ืองจักรหรืออุปกรณใด ๆ กต็ าม จะมีความผดิ ในฐานลกั ทรพั ย และ/ หรือกฎหมายวา ดวยการกระทาํ ความผิดทางคอมพวิ เตอร 2.6 นโยบายและระเบยี บวิธกี ารดานการปองกันและปราบปรามการฟอกเงินและการปองกัน และปราบปรามการสนับสนนุ ทางการเงนิ แกการกอ การรา ยและการแพรข ยายอาวธุ ทมี่ ี อานภุ าพทําลายลา งสงู ของบรษิ ทั มี แคปปตอล จาํ กัด โดยบริษัทฯ ถือเปนผูประกอบอาชีพตามมาตรา 16 (3) , 16 (5) และ 16 (6) แหงพระราชบัญญัติ ปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 โดยจะสนับสนุนและพรอมที่จะดําเนินธุรกิจใหเปนไปตาม กฎหมาย ระเบียบ กฎเกณฑตาง ๆ ของสํานักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน (สํานักงาน ปปง.) และ หนวยงานอื่น ๆ ของรัฐ เพื่อปองกันมิใหถูกใชเปนชองทางหรือเปนเครอื่ งมือในการฟอกเงินหรือสนับสนุนทางการเงนิ แกการกอการรา ยและการแพรขยายอาวธุ ทม่ี อี านภุ าพทาํ ลายลา งสงู โดยการปฏิบัติตามกฎหมายฯ และแนวทางปฏบิ ัติ ท่ีสํานักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงินกําหนดข้ึนอยางเครงครัด ในการน้ี จึงไดกําหนดใหมีนโยบายดาน การปองกันและปราบปรามการฟอกเงินและการปองกันและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงินแกการกอ การรายและการแพรขยายอาวุธท่ีมีอานุภาพทําลายลางสูงฉบับน้ีขึ้น ซึ่งผานการเห็นชอบและอนุมัติจากผูบริหารทมี่ ี อํานาจสูง และถือวานโยบายฉบับนี้เปนนโยบายหลักขององคกรและมีความสําคัญเทียบเทากับนโยบายหลักในการ ดาํ เนินธรุ กจิ ดังนัน้ ผบู ริหารและพนกั งานทกุ คนตองปฏิบตั ิตามนโยบายนีอ้ ยา งเครง ครดั บริษัทฯ ใหความสําคัญในการปฏิบัติตามกฎหมายปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน และกฎหมาย วาดวยการปองกันและปรามปรามการการสนับสนุนทางการเงินแกการกอการรายและแพรขยายอาวุธท่ีมีอานุภาพ ทําลายลางสูง เพื่อใหผูบริหารและพนักงานของบริษัทฯ สามารถดําเนินธุรกิจไดอยางถูกตองตามหลักการ แหงพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพ่ิมเติม รวมทั้งอนุบัญญัติ ทเ่ี กยี่ วของ โดยนโยบายฉบับนี้มสี าระสาํ คญั ดังน้ี 1. นโยบายและระเบยี บวิธีการในการรบั ลูกคา บริษัทฯ กําหนดกระบวนการเพื่ออนุมัติการสรางหรือปฏิเสธการสรางความสัมพันธทางธุรกิจ หรือการทําธุรกรรมกับลูกคา โดยปฏิบัติตามหลักเกณฑการจัดใหลูกคาแสดงตน การระบุตัวตนของลูกคา และการพิสูจนท ราบตัวตนของลกู คาตามกฎหมายวา ดวยการปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน และการตรวจสอบ ขอมูลของลูกคาและผูไดรับผลประโยชนที่แทจริงของลูกคากับขอมูลรายชื่อบุคคลท่ีถูกกําหนด ตามกฎหมาย วาดวยการปองกันและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงินแกการกอการรายและการแพรขยายอาวุธ ท่ีมีอานุภาพทําลายลางสูง โดยจัดใหมีแนวทางหรือวิธีการหรือคูมือเพ่ือใหบุคลากรปฏิบัติในการรับลูกคา ซ่ึง เรมิ่ ตงั้ แตข น้ั ตอนการขอหรือแสวงหาขอมูลการแสดงตนของลูกคาและการระบุตัวตนของลูกคา การตรวจสอบ ขอ มูลของลกู คา การพสิ จู นทราบตัวตนของลูกคา การหาผูไดร ับประโยชนท่ีแทจริงของลูกคา การตรวจสอบรายช่ือ 26

บุคคลที่ถูกกําหนด และการอนุมัติหรือปฏิเสธการสรางความสัมพันธทางธุรกิจหรือการทําธุรกรรมนับแตเม่ือไดรับ แจง ความประสงคจากลกู คา 2. นโยบายและระเบียบวธิ ีการในการบรหิ ารและบรรเทาความเสี่ยง ดังนี้ 2.1 นโยบายและระเบยี บวิธกี ารสําหรับการประเมิน บริหาร และบรรเทาความเสี่ยงดา นการฟอกเงิน และการสนบั สนุนทางการเงินแกการกอการรา ยและการแพรขยายอาวธุ ทีม่ ีอานุภาพทําลายลางสูงภายในองคกร โดยกาํ หนดใหมหี ลกั เกณฑแ ละปจจัยความเส่ียงใหสอดคลองกับท่ีกฎหมายกําหนด 2.2 นโยบายและระเบียบวิธีการในการบริหารความเส่ียงของลูกคาทั้งหมด โดยพิจารณาปจจัย ในการกําหนดความเส่ียงไมนอยกวาท่ีกฎหมายกําหนด และจะดําเนินการบริหารและบรรเทาความเส่ียงตลอด ระยะเวลาท่ีดําเนินความสัมพันธทางธุรกิจและเม่ือยุติความสัมพันธทางธุรกิจกับลูกคา ท้ังนี้ จะกําหนดคูมือ ปฏิบตั เิ พ่อื ใหบคุ ลากรบรหิ ารความเส่ียงของลูกคา ในบรกิ ารทกุ ประเภทและทุกชองทางการใหบ ริการ 2.3 นโยบายและระเบยี บวธิ ีการในการประเมนิ ความเสยี่ งสําหรบั ผลิตภณั ฑ บรกิ าร และชอ งทาง การบรกิ ารทั้งหมด โดยกําหนดหลักเกณฑและปจจัยความเสี่ยงในการประเมนิ ฯ ใหส อดคลองกับที่กฎหมายกําหนด และในกรณีที่ออกผลิตภัณฑหรือบริการใหม หรือพัฒนาผลิตภัณฑและวิธีดําเนินธุรกิจใหม หรือมีกลไกใหม ในการใหบริการ หรือมีการใชเทคโนโลยีใหมหรือที่กําลังพัฒนาสําหรับท้ังผลิตภัณฑใหมและที่มีอยูแลว จะดําเนินการกําหนดมาตรการประเมินและบรรเทาความเสี่ยงดานการฟอกเงินและการสนับสนุนทางการเงิน แกการกอการรายและการแพรขยายอาวุธท่ีมีอานุภาพทําลายลางสูงที่อาจเกิดขึ้นจากการพัฒนาผลิตภัณฑ หรือบริการใหมด ังกลา ว กอ นนําเสนอผลติ ภณั ฑใ หม บริการใหม หรือการใชเทคโนโลยใี หม 3. บริษัทฯ จะรายงานธุรกรรมมายังสํานักงานโดยกําหนดประเภทธุรกรรม วิธีการ และข้ันตอน การรายงานธรุ กรรมใหช ัดเจน 4. บริษัทฯ กําหนดใหมีมาตรการควบคุมภายในท่ีเปนอิสระ เหมาะสมกับความเสี่ยงภายในองคกร และขนาดธุรกิจของบริษัทฯ โดยรายละเอียดของนโยบายและระเบียบวิธีการเก่ียวกับการควบคุมภายในใหเปนไป ตามประกาศสํานักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน เรื่อง การกําหนดและดําเนินการตามนโยบาย และระเบียบวิธีการเก่ียวกับการควบคุมภายในของสถาบันการเงินและผูประกอบอาชีพตามมาตรา 16 เพ่ือตรวจสอบระบบการดําเนินงานและการปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน และการสนบั สนุนทางการเงนิ แกการกอการรายและการแพรขยายอาวุธทมี่ ีอานภุ าพทาํ ลายลา งสงู 5. บริษัทฯ กําหนดใหมีมาตรการในการดําเนินงานเกี่ยวกับการรวมใชขอมูลระหวางสถาบันการเงิน และบรษิ ทั ฯ กับสาขาหรือบรษิ ทั ในเครอื ท้งั ในประเทศและตา งประเทศ และอยูใ นกลุมธรุ กิจเดียวกนั 6. บรษิ ัทฯ กาํ หนดใหเก็บรักษารายละเอียดเก่ียวกับการแสดงตน การทาํ ธรุ กรรมและบนั ทกึ ขอเท็จจริง เกี่ยวกบั ธรุ กรรมทีต่ องรายงาน การตรวจสอบเพื่อทราบขอเทจ็ จริงเก่ียวกบั ลูกคา เปนระยะเวลา 10 ป 7. บรษิ ทั ฯ มขี อหามมิใหกรรมการ พนักงาน ลูกจา ง ตัวแทน และสาํ นกั งานผดู าํ เนินการแทน เปดเผย ขอมูล ขอเท็จจริง หรือกระทําดวยประการใด ๆ อันอาจทําใหลูกคาหรือบุคคลภายนอกทราบเก่ียวกับการตรวจสอบ เพ่ือทราบขอเท็จจริงเก่ียวกับลูกคา การรายงานธุรกรรม หรือการสงขอมูลอ่ืนใดไปยังสํานักงานปองกัน 27

และปราบปรามการฟอกเงิน เวนแตเปนการปฏิบัติตามกฎหมายหรือตามคําส่ังศาลหรือเปนการเปดเผยขอมูล ระหวางสํานักงานใหญและสาขา 8. บริษัทฯ กําหนดแผนการพัฒนาและปรับปรุงนโยบายและระเบียบวิธีการตาง ๆ รวมถึงคูมือ แนวปฏิบัติ วิธีปฏิบัติ ใหมีความสอดคลองกับกฎหมายที่บังคับใชอยู โดยจะทบทวนเปนระยะและปรับปรุง ใหทันสมัยอยเู สมออยา งนอยปละ 1 ครง้ั หรอื จะดําเนินการทนั ทเี ม่อื กฎหมายหรอื ระเบยี บฯ มีการเปลย่ี นแปลง 9. บริษัทฯ กําหนดใหพนักงานระดับบริหารทําหนาท่ีในการกํากับดูแลการปฏิบัติตามกฎหมายวาดวย การปองกนั และปราบปรามการฟอกเงินและกฎหมายวา ดวยการสนบั สนนุ ทางการเงนิ แกก ารกอการรา ยและการแพร ขยายอาวุธท่ีมีอานุภาพทําลายลางสูง โดยกําหนดให นางสาวนันทพร ขจรวุฒิเดช ตําแหนง กรรมการผูจัดการ ทําหนาท่ีดังกลาว และใหนางสาววิริยามน ล่ิมสงวน ตําแหนง เจาหนากํากับดูแลกฎหมาย เปนตัวแทน ในการติดตอ ประสานงานกับสํานักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงนิ 10. บรษิ ัทฯ จะไมจดั ตั้งสาขาในพื้นที่หรือประเทศท่ีมีความเสีย่ งสงู ตามท่เี ลขาธิการประกาศกาํ หนด 2.7 นโยบายและระเบียบวิธีการสําหรับการประเมิน บริหาร และบรรเทาความเสี่ยงดานการ ฟอกเงิน หรือการสนับสนุนทางการเงินแกการกอการราย หรือการแพรขยายอาวธุ ท่ีมอี านุภาพ ทาํ ลายลางสงู ภายในองคกรของบริษทั มี แคปปตอล จํากัด บริษัทฯ กําหนดนโยบายและระเบียบวิธีการสําหรับการประเมิน บริหาร และบรรเทาความเสี่ยง ดานการฟอกเงิน หรือการสนับสนุนทางการเงินแกการกอการราย หรือการแพรขยายอาวุธที่มีอานุภาพทําลาย ลางสูงภายในองคกร เพ่ือใหเจาหนาท่ีของบริษัทฯ ปฏิบัติตามอยางเครงครัด และกําหนดแผนในการปรับปรุง นโยบายและระเบียบวิธีการน้ีใหม ีความสอดคลองและเปนปจจบุ นั อยูเสมออยางนอยปละ 1 ครง้ั หรือจะดําเนินการ ทันทีเมอ่ื มีการเปลย่ี นแปลงกฎหมายหรือระเบยี บฯ ทัง้ นี้ บริษัทฯ กาํ หนดใหมีมาตรการที่เก่ียวของกับการปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน การสนับสนุน ทางการเงินแกการกอการราย และการแพรขยายอาวุธที่มีอานุภาพทําลายลางสูงโดยนําปจจัยความเสี่ยง เกีย่ วกบั 1) ลกู คา 2) พน้ื ทีห่ รอื ประเทศ 3) ผลิตภณั ฑห รือบริการ 4) ชองทางการใหบริการ และ 5) ผลการประเมิน และบริหารความเส่ียงตามรายงานการประเมินความเสี่ยงระดับชาติท่ีสํานักงาน ปปง. จัดขึ้น มาประกอบ การพิจารณาประเมินความเสย่ี งภายในองคกร ดงั นี้ 1) ปจจยั ความเส่ยี งเกย่ี วกบั ลูกคา หรอื ผไู ดร บั ผลประโยชนท่ีแทจ ริง หากลูกคารายใดมีลกั ษณะเขาขอ ใดขอ หน่ึงดังตอ ไปนี้ตองกาํ หนดใหเ ปน ลูกคา ทีม่ ีความเส่ียงตอการฟอกเงนิ ในระดับสูง 1.1) บุคคลท่ีมีสถานภาพทางการเมืองในประเทศหรือในองคการระหวางประเทศหรือเปนสมาชิก ในครอบครวั หรอื ผูใกลช ิดของบุคคลดงั กลา ว 1.2) ลูกคาที่มีความเส่ียงสูงตรงกับขอมูลท่ีสํานักงานแจงซึ่งควรไดรับการเฝาระวังอยางใกลชิด โดยสามารถตรวจสอบขอมูลจากคําสั่งยึดหรืออายัดของสํานักงาน ปปง. ไดที่ 1) เว็บไซตของสํานักงาน ปปง. 28

และ 2) ระบบตรวจสอบรายชือ่ บคุ คลที่มีความเส่ียงสูงดานการฟอกเงินและรายชื่อบุคคลท่ีถูกกําหนด (AMLO Person Screening System: APS) 1.3) ลกู คา ประกอบธรุ กิจท่ีมีการรบั เงนิ สดเปน จาํ นวนมาก 1.4) ลูกคาไดมาซึ่งเงินสด หรือประกอบธุรกิจที่มีการซ้ือ ขาย หรือแลกเปลี่ยนสินคาที่มีราคาสูง โดยไมมแี หลง ทม่ี าของเงนิ สดหรือสินคาอยา งชดั เจน 1.5) ลูกคาที่มิไดประกอบธุรกิจแตดําเนินกิจกรรมเปนผลใหไดมาซึ่งเงินสดหรือทรัพยสินโดยไมมี แหลง ทีม่ าอยางชัดเจน 1.6) ลูกคามีถิ่นท่ีอยูไมวาช่ัวคราวหรือถาวร หรือมีแหลงที่มาของรายได หรือทําธุรกรรมในพื้นที่ หรือประเทศที่มีความเสี่ยงสูงตามท่ีไดรับการประเมินหรือกําหนดจากองคการระหวางประเทศ หรือองคกร ระหวางประเทศ เชน คณะทํางานเฉพาะกิจเพ่ือดําเนินมาตรการทางการเงินเกี่ยวกับการฟอกเงิน (Financial Action Task Force: FATF) และตามประกาศสํานกั งาน ปปง. กาํ หนด 1.7) ลูกคา ไมมีถิ่นท่ีอยูในประเทศ 1.8) ลกู คาอาจเกย่ี วของกับการกระทําความผิดมลู ฐาน 1.9) ความสัมพนั ธท างธุรกจิ หรือการทําธุรกรรมเปนคร้ังคราวดําเนินไปอยา งผิดปกติ 1.10) โครงสรางการถือหนุ ของบริษัทมคี วามผิดปกตหิ รือมีความซบั ซอนเกินกวาการดําเนินธรุ กจิ ตามปกติ 1.11) ลกู คา เปนนิติบุคคลประเภทบรษิ ัทจาํ กัดท่ีมกี ารออกใบหุน ชนิดออกใหแกผ ูถือ 1.12) ลูกคา เปนนิติบุคคลท่ีมีตวั แทนอําพรางเปนหุน สวนหรือผูถ ือหนุ (Nominees Shareholders) หลักเกณฑในการพิจารณา 1. หากผลการประเมินความเส่ียงของลูกคาท้ังหมดภายในองคกรมีความเส่ียงตํ่าเกินกวารอยละ 80 ของลูกคา ทงั้ หมด ถอื วาปจ จัยความเสยี่ งเกี่ยวกับลกู คา มคี วามเสีย่ งต่ํา 2. หากผลการประเมินความเสย่ี งของลกู คาทงั้ หมดภายในองคกรมีความเสยี่ งสูงเกนิ กวารอ ยละ 20 ของลกู คา ทงั้ หมด ถอื วาปจ จยั ความเส่ยี งเก่ยี วกับลูกคา มคี วามเสย่ี งสูง 2) ปจจัยความเส่ียงเกี่ยวกับพื้นท่ีหรือประเทศ หากสถานประกอบการมีสถานที่ตั้ง สาขา พื้นที่ใหบริการ หรือแหลงท่ีมาของรายไดขององคกรอยูในพ้ืนท่ีดังตอไปน้ีใหถือวาเปนพ้ืนท่ีหรือประเทศท่ีมีความเส่ียงตอการฟอกเงิน ในระดบั สงู และบรษิ ัทฯ จะดาํ เนินการตรวจสอบเพอ่ื ทราบขอเท็จจริงเก่ยี วกับลูกคา ในระดบั ทเ่ี ขม ขน ทสี่ ุด 2.1) พื้นที่หรือประเทศท่ีไดรับการประเมินหรือกําหนดจากองคการระหวางประเทศ หรือองคกร ระหวางประเทศ เชน คณะทํางานเฉพาะกิจเพื่อดําเนินมาตรการทางการเงินเกี่ยวกับการฟอกเงิน (Financial Action Task Force: FATF) วาเปนพ้ืนท่ีหรือประเทศท่ีไมมีมาตรการหรือไมมีการใชหรือประยุกตใช มาตรฐานสากลดานการปองกันและปราบปรามการฟอกเงินและตอตานการสนบั สนุนทางการเงินแกการกอการราย อยา งเพียงพอ 2.2) พื้นทีท่ สี่ าํ นกั งาน ปปง. พจิ ารณาใหเ ปนพ้นื ท่ที ีม่ ีความเส่ียงสูงดานการฟอกเงินหรือการสนับสนุน ทางการเงินแกก ารกอ การรายตามท่ีสาํ นักงาน ปปง. ประกาศกาํ หนด 29

2.3) พื้นท่ีหรือประเทศท่ีถูกกีดกัน หรือใชมาตรการบังคับ หรือหามคาขายระหวางประเทศ โดยองคการระหวางประเทศ 2.4) พื้นที่หรือประเทศที่ไดรับการประเมินจากองคการระหวางประเทศ หรือองคกรระหวางประเทศ หรือแหลง ขอ มูลที่นา เชอ่ื ถอื วามีอัตราการทจุ ริตคอรร ัปชนั หรือการประกอบอาชญากรรมรายแรงในระดับสูงมาก 2.5) พื้นที่หรือประเทศที่ไดรับการประเมินจากองคการระหวางประเทศ หรือองคกรระหวางประเทศ หรือแหลงขอมูลท่ีนาเช่ือถือวา เปนแหลง สนับสนุนทางการเงินแกการกอการราย แหลงกอ การราย หรอื มีองคกร ผกู อ การรายปฏิบตั ิการอยู 2.6) พ้นื ทที่ ี่อยภู ายใตป ระกาศสถานการณฉกุ เฉินตามกฎหมายวา ดว ยการบริหารราชการในสถานการณ ฉุกเฉิน 2.7) สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลเี หนือ) ซ่งึ บริษัทฯ จะมีมาตรการตอบโตตอ ไป 2.8) สาธารณรัฐอิสลามอหิ รา น ซ่งึ บริษทั ฯ จะมมี าตรการตอบโตตอ ไป 3) ปจจัยความเส่ียงเก่ียวกับผลิตภัณฑหรือบริการ หากเขาขอใดขอหน่ึงดังตอไปนี้ถือวาเปนผลิตภัณฑ หรือบรกิ ารทมี่ ีความเสีย่ งตอ การฟอกเงนิ สูง 3.1) ผลิตภณั ฑหรือบริการทสี่ ามารถให รับ หรอื เปลีย่ นเปนเงินสดไดในมูลคา สงู 3.2) ผลิตภัณฑห รือบริการที่สามารถโอนหรือเปลี่ยนมือใหแกบ คุ คลอืน่ ไดงาย สะดวก รวดเรว็ 3.3) ผลติ ภัณฑหรอื บรกิ ารทส่ี ามารถใชหรือนาํ ไปใชไดในตา งประเทศ 3.4) ผลิตภัณฑหรอื บริการท่ีมีลักษณะเปน การรับโอนมลู คาเงินท่ไี มจําเปน ตองระบุผโู อนหรือผรู ับโอน 3.5) ผลิตภัณฑห รือบรกิ ารทม่ี ีการทาํ ธรุ กรรมแบบไมเปดเผยชื่อ 4) ปจจัยความเสีย่ งเกยี่ วกับชอ งทางการใหบริการ ชองทางการใหบ รกิ าร หมายถงึ วิธีการทบ่ี ริษัทฯ ทาํ การคารถ/เชาซอื้ รถยนตก ับลกู คา 4.1) แบบพบหนา เชน ชองทางการใหบริการผา นพนกั งานของบริษัทฯ ถอื วา มคี วามเส่ยี งตํา่ 4.2) แบบไมพ บหนา เชน ชอ งทางการใหบ รกิ ารผา นสือ่ อเิ ล็กทรอนิกส ถือวามีความเส่ยี งสูง 5) ผลการประเมินและบริหารความเสี่ยงตามรายงานการประเมินความเส่ียงระดับชาติท่ีสํานักงาน ปปง. จัดข้ึน ซึ่งดูไดจาก www.amlo.go.th -> หัวขอ “ความรวมมือระหวางประเทศดาน AML/CFT” -> หัวขอ “การประเมินความเส่ียงดานการฟอกเงิน และการสนับสนนุ การเงินแกการกอการราย” -> หวั ขอ “ผลการประเมิน ความเสย่ี งระดบั ชาติ” ทั้งน้ี ในการประเมินและบริหารความเส่ียงในแตละคร้ังจะใชขอมูลที่เปนปจจุบัน เพ่ือใหผลการประเมิน และบริหารความเสี่ยงมีความถูกตองและครบถวน ซ่ึงหลังจากประเมินความเสี่ยงและบริหารความเสี่ยงแลว จะกําหนดมาตรการและวิธีการในการบรรเทาความเส่ียงดานการฟอกเงินและการสนับสนุนทางการเงิน แกการกอ การรายและการแพรขยายอาวุธท่ีมอี านุภาพทําลายลางสูง และหากสํานกั งาน ปปง. รอ งขอผลการประเมิน และบริหารความเสี่ยงดา นการฟอกเงินและการสนับสนุนทางการเงินแกการกอการรา ยภายในองคกร บริษัทฯ จะดําเนินการจดั สงใหส ํานกั งาน ปปง. ทันที 30

2.8 การกาํ หนดระเบยี บ และวธิ ีปฏบิ ัติในการทําธรุ กรรมกับลกู คา บริษัทมีนโยบายในการดําเนินงาน โดยมุงเนนการใหบริการท่ีดีท่ีสุดแกลูกคา เพื่อใหไดรับความพึง พอใจสูงสุดแกลูกคา ท้ังน้ีบริษัทไดใหความสําคัญกับการกํากับดูแลใหมีการปฏิบัติตามแนวทางของหนวยงาน รัฐที่ทําหนาที่กํากับดูแล อาทิ กฎหมายวาดวยการฟอกเงิน กฎหมายวาดวยคุมครองขอมูลสวนบุคคล รวมถึง ประกาศ คําส่ัง หลักเกณฑของธนาคารแหงประเทศไทย ท่ีกํากับดูแลการใหสินเช่ือและอื่น ๆ เปนตน เพื่อ ปองกันมิใหเกิดความเสียหายท้ังที่อาจเปนทรัพยสิน ช่ือเสียงและความนาเช่ือของบริษัท ตลอดจนลูกคาของ บริษัท จึงไดกําหนดใหพนักงานที่ทําหนาท่ีติดตอ ดูแลหรือรับทําธุรกรรมกับลูกคาไมวาจะเปนชองทางใด ๆ ก็ ตามจะตองมีการปฏิบัติใหถูกตองตามกฎหมาย ประกาศ ระเบียบ และแนวทางของหนวยงานของรัฐที่ทํา หนา ทกี่ ํากับดแู ล สมาคมวชิ าชพี ทเี่ กี่ยวของ และนโยบายจรรยาบรรณและประกาศภายในของบรษิ ทั เปนตน เพ่ือใหพนักงานมีการปฏิบัติไดอยางถูกตองตรงตามวัตถุประสงคท่ีบริษัทกําหนด จึงไดกําหนดแนว ปฏิบัติ ดังน้ี 1. การรับลูกคา การรับลูกคา หรือการสรางความสัมพันธกับลูกคาตองจัดใหมีการแสดงตัวตนทุกคร้ังกอนการทํา ธุรกรรมตามนโยบาย ประกาศ และระเบียบท่ีเกี่ยวของกับการปองกันและปราบปรามการฟอกเงินและการ ตอ ตา นการสนับสนุนทางการเงินแกการกอ การรา ย ตามท่ีบริษัทกําหนด 2. การรูจักลูกคาและการตรวจสอบเพื่อทราบขอเท็จจริงเก่ียวกับลูกคา (Know Your Customer and Customer Due Diligence: KYC/CDD) 2.1 พนักงานที่รับทําธุรกรรมทางการเงินกับลูกคา ตองปฏิบัติตามนโยบาย ประกาศ และระเบียบที่ เกย่ี วขอ งกับการปอ งกันและปราบปรามการฟอกเงินและการตอตา นการสนับสนุนทางการเงินแก การกอการราย ตามที่บริษัทกําหนดอยางเครงครัด เพื่อปองกันมิใหบริษัทถูกใชเปนชองทางใน การกระทําความผิดดานการฟอกเงนิ และการสนบั สนนุ ทางการเงินแกการกอการราย 2.2 จัดกลุมลูกคา และกําหนดระดับความเขมงวดในการดําเนินการรูจักกับลูกคาและการตรวจสอบ เพื่อทราบขอเท็จจริงเกี่ยวกบั ลูกคา (KYC/CDD) ตามระดบั ความเส่ียงดานการฟอกเงนิ ของลูกคา แตละราย 2.3 รวบรวมเอกสารหลักฐานและจัดใหมีขอมูลของลูกคา ในการดําเนินการรูจักกับลูกคาและ ตรวจสอบเพ่ือทราบขอเท็จจริงเก่ียวกับลกู คา ตั้งแตเร่ิมสรางความสัมพันธจนกระท่ังมีการรับทาํ ธุรกรรมกับลูกคารวมถึงการทบทวนและปรับปรุงขอมูลของลูกคาใหเปนปจจุบันอยูเสมอและ เปน ไปตามกฎเกณฑข องหนว ยงานรฐั ที่ทําหนา ทีก่ ํากับดแุ ล 2.4 การพิสูจนและตรวจสอบขอเท็จจริงของลูกคาหรือบุคคลท่ีไดรับประโยชนท่ีแทจริงจากการทํา ธุรกรรม จะตองพยายามดําเนินการอยางดีท่ีสุด (Best effort) และเปนไปตามนโยบายและ ระเบยี บภายในทบ่ี รษิ ทั กาํ หนด รวมถึงกฎเกณฑของหนวยงานรัฐท่ที าํ หนา ท่ีกาํ กับดูแล 31

3. การดาํ เนนิ การกบั ลูกคา 3.1 ติดตาม ตรวจสอบการทําธุรกรรมที่ตอเนื่อง รวมถึงการปรับปรุงขอมูลของลูกคาอยางตอเนื่อง ตามแนวทางท่บี รษิ ัทกําหนด 3.2 ดําเนินการประเมินระดับความเส่ียงดานการฟอกเงิน และทบทวนระดับความเส่ียงดังกลาวของ ลกู คาตามแนวทางท่ีบริษัทกาํ หนด ทงั้ น้ี หากมกี ารเปลี่ยนแปลงระดับความเส่ยี งดานการฟอกเงิน จะตอ งผานการอนุมัติจากผูม อี าํ นาจอนุมัติ 4. การรายงานธุรกรรมที่มเี หตุอันควรสงสยั กรณีท่ีพบวาลูกคาหรือผูทําธุรกรรมมีเจตนาที่จะหลีกเลี่ยงมิใหธุรกรรมท่ีทําตองถูกตรวจสอบ หรือมี การทาํ ธรุ กรรมที่ไมมีความสมเหตสุ มผล หรือธุรกรรมท่ีไดกระทําอาจมีความเก่ียวของอยางใดอยางหนึ่งในทาง อาญาหรือความผิดมูลฐาน หรือธุรกรรมท่ีมีเหตุอันควรสงสัย ใหพนักงานหรือผูบังคับบัญชาปฏิบัติตามแนว ทางการรายงานธรุ กรรมท่ีบริษัทกําหนด 5. การจัดเกบ็ เอกสารหลกั ฐาน ใหจัดเก็บขอมูลหรือเอกสารท่ีเกี่ยวกับการรูจักลูกคาและการตรวจสอบเพื่อทราบขอเท็จจริงเกี่ยวกับ ลูกคา ตลอดจนรายงานธรุ กรรมที่มเี หตอุ นั ควรสงสัยของลูกคา ตามระยะเวลาท่กี ฎหมายกําหนด 2.9 แผนการสอบทานการปฏบิ ตั ิงาน 2.9.1 หลกั การและเหตผุ ล เพ่ือใหการกํากับการปฏิบัติงานเปนไปตามกฎหมายของหนวยงานรัฐที่ทําหนาที่กํากับดูแล อันไดแก สํานักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน เปนตน ในการกําหนดใหจะตองมีการทําแผนการสอบทานการ ปฏิบัติงานประจําป (Compliance Plan) และเปนการตรวจสอบการปฏิบัติงานตาง ๆ ของบริษัทวาเปนไป ตามนโยบาย กฎหมาย ระเบียบขอบังคับ คําส่ัง มติคณะรัฐมนตรีท่ีเกี่ยวของ ตามขอกําหนดท้ังจากภายนอก และภายในองคกร รวมถึงการปฏิบัติตามระเบียบปฏิบัติขององคกรและการปฏิบัติตามสัญญาตาง ๆ ท่ีมีกับ คูสัญญา ทั้งน้ีการปฏิบัติงานโดยอิสระปราศจากการแทรกแซงในการทําหนาที่ตรวจสอบและประเมินผลการ ดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ภายในองคกร ดวยการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการวิเคราะหประเมินใหคําปรึกษา ใหขอมูล และขอเสนอแนะ เพื่อสนับสนุนผูปฏิบัติงานทุกระดับขององคกรสามารถปฏิบัติหนาที่และดําเนินงานเปนไป ตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับที่เกี่ยวของอยางมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน ผลการดําเนินงานตรวจสอบภายในจะ อยูในรูปของรายงานผลท่ีมีประโยชนตอ การตัดสินใจของผูบ ริหาร รวมถึงการสนับสนุนใหม ีการควบคุมภายใน ท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพภายใตคาใชจายที่เหมาะสม โดยมีรายละเอียดเก่ียวกับขอบเขต และระยะเวลาการตรวจสอบ หรือสอบทานหนวยงานของผูประกอบธุรกิจและผานการพิจารณาจากคณะกรรมการ และ/หรือผูบริหาร ระดบั สงู ทไ่ี ดร ับมอบหมายน้ัน 32

2.9.2 วตั ถุประสงคก ารสอบทานและการตรวจสอบ (1) เพื่อใหม่ันใจวาทุกหนวยงานมีระบบการควบคุมภายในท่ีเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎระเบียบท่ี เก่ียวของอยางเหมาะสม เพียงพอ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และอยูในระดับความเส่ียงที่ สามารถยอมรบั ได (2) เพื่อใหม่ันใจวากระบวนการทํางานของบริษัท มีความสอดคลอง เปนปจจุบัน และเปนไปตาม กฎหมาย รวมถงึ กฎระเบยี บขอ บังคับของหนว ยงานรฐั ท่ที ําหนาที่กํากับดูแล (3) ติดตามใหมีการปฏิบัติตามกฎหมายและรายงานผลการปฏิบัติตามกฎหมายตอผูบริหาร และ คณะกรรมการตรวจสอบ หรอื คณะกรรมการบรษิ ทั (4) ชวยวางแผนและกําหนดลําดับวิธีการตรวจสอบ เพ่ือรวบรวมและวิเคราะหหลักฐานใหเพียงพอ ตามวตั ถุประสงคการตรวจสอบภายในระยะเวลาทีก่ ําหนด (5) สามารถใชอ า งอิงในอนาคต 2.9.3 ขอบเขตการสอบทานและตรวจสอบภายใน ขอบเขตการสอบทาน 1 กิจกรรม ฝายงาน/หนว ยงาน ทรัพยากรท่ใี ช การตดิ ตามและกํากบั การปฏิบตั ิตาม ฝา ยบริหาร กํากบั การปฏิบตั ิงานทุกเดือน กฎหมายวา ดว ย เร่อื ง การกาํ หนดหลักเกณฑ ฝายซอมบํารงุ และบริการ โดยประมาณเวลา วิธกี าร และเงอ่ื นไขในการประกอบธรุ กิจ ฝายจดั ซื้อ - จาํ นวน 48 วันทําการ (4 วนั สินเชอ่ื สวนบุคคลภายใตก ารกํากับสาํ หรับผู ฝา ยทะเบียน ทําการตอเดือน) ประกอบธรุ กจิ สินเชอื่ สวนบุคคลภายใตก าร ฝา ยประกันภัย - จํานวน 2 คน กาํ กบั ท่ีมิใชส ถาบันการเงิน เชน ฝา ยสนิ เชื่อ ฝา ยเรง รัด 1. กระบวนการ/ระบบงานอนุมตั สิ ินเช่อื ฝายตดิ ตาม (work flow) ตง้ั แตข้ันตอนการรบั ลูกคา ฝายบริหารหน้ี จนถึงเบกิ จา ย/ปฏิเสธสินเชื่อ ฝายจดั เกบ็ ฝายขายและการตลาด 2. รายละเอยี ดหลักเกณฑของบริษทั ฝายทรัพยากรบุคคล สําหรบั สนิ เช่ือจาํ นาํ ทะเบียนรถ ฝายบัญชีการเงิน ฝายเทคโนโลยสี ารสนเทศ 2.1 การกําหนด LTV ของรถแตล ะ ฝายกฎหมาย ประเภท 2.2 ขอมูลทนี่ ํามาใชประกอบการ พจิ ารณามูลคา รถแตละประเภท 2.3 วิธปี ฏิบัตกิ ารประเมนิ มูลคารถ (work flow) 33

ขอบเขตการสอบทาน 1 กจิ กรรม ฝายงาน/หนวยงาน ทรัพยากรทีใ่ ช 3. นโยบาย 3.1 ประกาศอัตราดอกเบย้ี ฯ และ คาใชจา ยอืน่ ๆ ทุกรายการท่เี รยี กเกบ็ จาก ลกู คา ของสนิ เชือ่ สวนบุคคลภายใตการกํากับ ทุกประเภท 3.2 หลักเกณฑ/กระบวนการ พิจารณาสนิ เชื่อแกล ูกคารายเดมิ ที่ยงั มีภาระ หน้ีคงคา ง ของสินเช่อื แตละประเภท (UL/TL/Digital) /วิธกี ารคาํ นวณดอกเบีย้ ของสัญญาใหม 4. การคาํ นวณดอกเบี้ย ลําดับการตดั ชําระ หน้ี และอัตราดอกเบ้ียผดิ นัด 5. สุม ตรวจทานตัวอยางสําเนาเอกสาร ลูกคา 5.1 สัญญาเงนิ กู 5.2 ตารางแสดงภาระหน้ี 5.3 ใบแจงหนี้ยอ นหลงั 3 เดือน 5.4 ใบเสร็จรบั เงินยอนหลัง 3 เดือน 5.5 รายการแสดงการชําระหน้ี (Loan Statement) 5.6 การคาํ นวณดอกเบี้ย 6. Template ใบแจงหนี้ 7. กระบวนการและวธิ ปี ฏบิ ตั ิในการ ตดิ ตามทวงถามหนี้ ตงั้ แตลูกคา เริ่มคางชําระ งวดแรก จนถึงการแจง ยกเลิกสญั ญาตาม พ.ร.บ. การทวงถามหน้ี พ.ศ. 2558 8. การกําหนดกระบวนการแกไ ขหน้ี หรือ การปรับปรงุ โครงสรา งหน้ี 34

ขอบเขตการสอบทาน 1 กจิ กรรม ฝายงาน/หนว ยงาน ทรัพยากรที่ใช 9. กระบวนการ / ขน้ั ตอน การเก็บรักษา และการคนื เลม ทะเบียนรถท่เี ปน ประกนั 9.1 กระบวนการดูแล 9.2 การกําหนด มาตรฐาน ระยะเวลา (Service Level Agreement : SLA) การคืนเลม ทะเบียนรถ 9.3 กรณีไถถอนตามกาํ หนด : ……………… วัน และกรณีไถถ อน สินเช่อื กอนครบกําหนด 9.4 การเปดเผยมาตรฐานระยะเวลา (SLA) การคืนเลม ทะเบยี นรถ 10. กระบวนการหรอื ข้นั ตอน การยึด / การจาํ หนาย /รับโอน รถ หรือดาํ เนนิ การอื่น เพอื่ ชําระหน้ี 10.1 การแจง เตอื นกอ นยดึ รถ โทรศพั ท / จดหมาย / SMS / e-mail / Line อ่ืน ๆ 10.2 ระยะเวลายดึ รถไวกอน จําหนา ย/รับโอน เพอ่ื ใหลกู คามี ระยะเวลาเพยี งพอทีจ่ ะตรวจสอบ และโตแยง 10.3 ชองทางการจาํ หนาย โดยเฉพาะกรณีขายทอดตลาด (รายชอ่ื บรษิ ทั ประมลู ภายนอก) 10.4 การดาํ เนินการหลงั จากขาย ทอดตลาด (การคืนเงินกรณรี าคา ขายทอดตลาดสงู กวายอดหน้ีคงคา ง, การเรียกเงนิ กรณีราคาขาย ทอดตลาดตํ่ากวา ยอดหนค้ี งคาง) 35

ขอบเขตการสอบทาน 1 กจิ กรรม ฝา ยงาน/หนว ยงาน ทรัพยากรทใี่ ช 2. การตดิ ตามและกํากบั การปฏิบัตติ าม ฝา ยจัดซ้อื กํากบั การปฏบิ ตั ทิ ุกเดอื น กฎหมายวา ดวยการปอ งกนั และ ฝา ยประกันภยั โดยประมาณเวลา ปราบปรามการฟอกเงนิ ฝายสนิ เชื่อ - จาํ นวน 60 วนั ทาํ การ (5 วนั 1.1 การจดั ใหลูกคาแสดงตนกอนการทํา ฝายเรงรัด ทําการตอเดือน) ธรุ กรรม ฝา ยตดิ ตาม - จํานวน 2 คน 1.2 การตรวจสอบเพ่ือทราบขอเทจ็ จริง ฝา ยขายและการตลาด เก่ียวกับลกู คา ฝา ยเทคโนโลยีสารสนเทศ 1.3 การตรวจสอบเพ่ือทราบขอเทจ็ จรงิ เกยี่ วกบั ลูกคาทเี่ ปนผรู ับประโยชนจาก กรมธรรมป ระกนั ภัย 1.4 การจดั ระดบั ความเสย่ี งของลูกคา การติดตามและทบทวนความเส่ียงของ ลูกคาดา นการฟอกเงิน 1.5 การตรวจสอบ และติดตามขอ มูลของ บคุ คลทีก่ ําหนด 1.6 การรายงานธรุ กรรม 1.7 การจดั ระดบั ความเส่ียงของ ผลติ ภัณฑ การทาํ ธุรกรรมตามกฎหมายปอ งกันและ ปราบปรามการฟอกเงิน 2.2.1 การทําความรจู กั ตัวตนลูกคา (KYC) 2.2.2 การพิสจู นทราบขอเทจ็ จริง เก่ียวกับลกู คา (CDD) 2.2.3 การจัดระดบั ความเส่ียงในการ ฟอกเงิน (AML Risk Level) 2.2.4 อํานาจในการอนุมัติ ความสมั พันธ/ปฏิเสธ ความสัมพนั ธ 36

ขอบเขตการสอบทาน 1 กจิ กรรม ฝายงาน/หนวยงาน ทรพั ยากรท่ีใช 3. การตดิ ตามและกํากับการปฏิบัติ ฝา ยบรหิ าร กาํ กับการปฏบิ ัตงิ านทุกเดือน ตามพ.ร.บ.คุม ครองขอมูลสวนบุคคล ฝา ยซอ มบาํ รุงและบริการ โดยประมาณเวลา พ.ศ.2562 ฝา ยจดั ซื้อ ฝา ยทะเบียน - จาํ นวน 48 วนั ทําการ (5 วัน 3.1 การขอความยินยอมทําโดยชดั แจง ฝา ยประกันภัย ทําการตอเดือน) ของเจา ของขอมลู สวนบุคคล ฝา ยสินเชอ่ื ฝา ยเรงรดั - จํานวน 2 คน 3.2 การเกบ็ รวบรวมขอมูลสว นบุคคล ฝา ยตดิ ตาม 3.3 การใชหรือเปดเผยขอมูลสวนบคุ คล ฝา ยขายและการตลาด 3.4 การบริหารสทิ ธขิ องเขา ของขอมลู ฝายทรัพยากรบุคคล ฝายบัญชีการเงนิ สวนบคุ คล ฝายเทคโนโลยีสารสนเทศ 3.5 การบริหารขอมลู สวนบคุ คลรั่วไหล ฝายกฎหมาย 3.6 การจัดการเร่ืองรองเรียน (ทกุ ฝา ย) 4. การติดตามและกํากบั การปฏิบตั ิตาม ฝา ยเรงรดั กํากบั การปฏิบัตงิ านทุกเดือน กฎหมาย พ.ร.บ. ทวงถามหนี้ ฝายติดตาม โดยประมาณเวลา 4.1 การทวงหน้ี 4.1.1 ขอมลู การติดตอ: โดยบคุ คล - จํานวน 48 วันทาํ การ (5 วัน หรือไปรษณยี  ทาํ การตอเดือน) 4.1.2 สถานที่ติดตอ: สถานท่ีท่ีระบไุ ว เพ่ือการทวงหน้ี หากลูกหน้ี - จาํ นวน 2 คน ไมไดแจงใหต ิดตอตามภมู ลิ าํ เนา ถนิ่ ที่อยู หรือสถานท่ีทาํ งานของ บคุ คลดงั กลา ว หรือตามที่ คณะกรรมการทวงถามหนี้ ประกาศกาํ หนด 37

ขอบเขตการสอบทาน 1 กจิ กรรม ฝายงาน/หนวยงาน ทรัพยากรท่ีใช 4.1.3 เวลาทีต่ ิดตอ: สามารถทวงหน้ี -สอบทานการปฏบิ ัติต้ังแตต น จนจบกระบวนการ 60 วันทาํ โดยบคุ คล โทรศัพท สื่อ จํานวน 2 คน อเิ ล็กทรอนิกส หรือส่ือ เทคโนโลยสี ารสนเทศ ระหวา ง วันจนั ทร-ศุกร ระหวาง 8.00 น.- 20.00 น. วนั หยุดราชการ 08.00 น.-18.00 น. 4.1.4 ความถ่:ี สามารถทวงได ไมเกิน 1 ครง้ั /วนั 4.1.5 แจงชอื่ -สกลุ ผูไดรบั มอบ อํานาจจากบริษัท กรณที วงถาม หน้ีตอหนา ใหแสดงหลักฐาน การมอบอํานาจใหท วงถามหนี้ ดว ย 4.1.6 ขออนุญาตบนั ทึกเสยี ง 4.1.7 แจง ชื่อบรษิ ัทและฝายหรือ หนว ยงานของผทู วงถามหนี้ 4.1.8 การปฏิบตั ิตามกฎหมายของ หนวยงานรัฐที่เกยี่ วของอืน่ ๆ 5. การสอบทานธรุ กรรมการปฏิบตั ติ าม กฎเกณฑก ารปฏิบตั ิงานจริงที่เกีย่ วของ กบั ขอ 5.1 การทาํ ธรุ กรรมตาม 5.1 การทําธรุ กรรมตามกฎหมายปองกัน กฎหมายปอ งกนั และ และปราบปรามการฟอกเงิน ปราบปรามการฟอกเงิน 5.1.1 การทําความรูจักตัวตนลูกคา ฝายประกันภัย (KYC) ฝายสนิ เชื่อ 5.1.2 การพสิ ูจนทราบขอเท็จจรงิ ฝายเรง รดั ฝา ยติดตาม เกี่ยวกับลกู คา (CDD) ฝา ยขายและการตลาด 5.1.3 การจดั ระดับความเส่ยี งในการ ฝายเทคโนโลยสี ารสนเทศ ฟอกเงิน (AML Risk Level) 38

ขอบเขตการสอบทาน 1 กิจกรรม ฝา ยงาน/หนวยงาน ทรพั ยากรท่ใี ช 5.1.4 อํานาจในการอนุมัติ ความสมั พนั ธ/ ปฏเิ สธ ขอ 5.2 การทวงถามหน้ี ฝายเรง รดั ความสมั พนั ธ ฝายติดตาม 5.2 การทวงถามหนี้ 5.2.1 ขอ มลู การติดตอ: โดยบุคคล หรอื ไปรษณยี  5.2.2 สถานทต่ี ดิ ตอ: สถานท่ที ร่ี ะบไุ ว เพ่ือการทวงหนี้ หากลูกหน้ี ไมไ ดแ จง ใหต ิดตอ ตามภูมิลาํ เนา ถน่ิ ทีอ่ ยู หรือสถานท่ีทํางานของ บคุ คลดังกลา ว หรอื ตามท่ี คณะกรรมการทวงถามหน้ี ประกาศกําหนด 5.2.3 เวลาที่ตดิ ตอ: สามารถทวงหนี้ โดยบคุ คล โทรศพั ท ส่ือ อิเล็กทรอนกิ ส หรอื สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ ระหวาง วนั จนั ทร-ศกุ ร ระหวาง 8.00 น.- 20.00 น. วนั หยุดราชการ 08.00 น.-18.00 น. 5.2.4 ความถ:ี่ สามารถทวงได ไมเ กิน 1 คร้ัง/วนั 5.2.5 แจง ช่ือ-สกุล ผไู ดรบั มอบอํานาจ จากบริษทั กรณที วงถามหนีต้ อ หนา ใหแ สดงหลกั ฐานการมอบ อํานาจใหท วงถามหนด้ี วย 5.2.6 ขออนญุ าตบันทกึ เสียง 5.2.7 แจงชอ่ื บริษทั และฝายหรือ หนวยงานของผูทวงถามหน้ี 39

ขอบเขตการสอบทาน 1 กิจกรรม ฝายงาน/หนวยงาน ทรพั ยากรทใี่ ช 5.2.8 การปฏบิ ตั ิตามกฎหมายของ หนว ยงานรฐั ทเี่ กี่ยวของอนื่ ๆ ขอ 5.3 การคุมครองขอ มลู 5.3 การคุมครองขอมลู สว นบคุ คล สว นบคุ คล 5.3.1 การขอความยินยอมทําโดยชดั ฝา ยบรหิ าร แจง ของเจา ของขอมูลสว น ฝายซอมบํารงุ และบริการ บคุ คล ฝา ยจัดซื้อ 5.3.2 การเกบ็ รวบรวมขอมูลสว น ฝา ยทะเบยี น บคุ คล ฝา ยประกนั ภัย 5.3.3 การใชห รอื เปด เผยขอ มลู สว น ฝายสนิ เชอื่ บุคคล ฝายเรง รัด 5.3.4 การบรหิ ารสิทธิของเขา ของ ฝายติดตาม ขอ มูลสว นบคุ คล ฝา ยขายและการตลาด 5.3.5 การบรหิ ารขอมูลสวนบุคคล ฝา ยทรพั ยากรบุคคล รว่ั ไหล ฝายบญั ชีการเงิน 5.3.6 การจดั การเร่ืองรองเรยี น ฝายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฝายกฎหมาย 6. ประเมนิ ความเสี่ยงการปฏิบตั ิตาม ฝายบรหิ าร ดําเนินการและรวบรวมผลการ กฎหมาย ธปท. และ ปปง. และ พ.ร.บ. ฝา ยซอมบาํ รงุ และบริการ ประเมิน เพ่ือประกอบการ คมุ ครองขอมลู สวนบุคคล พ.ศ.2562 ฝา ยจัดซือ้ รายงานการปฏบิ ัติงาน 15 วัน และ พ.ร.บ. ทวงถามหน้ี ฝา ยทะเบยี น ทาํ การ 6.1 ใหหัวหนาฝายตา ง ๆ ตอบ ฝา ยประกันภยั จาํ นวน 1 คน แบบสอบถามการปฏิบัติงาน หรือ ฝา ยสนิ เชอ่ื ทาํ แบบทดสอบความรูกฎหมายท่ี ฝายเรง รัด เกย่ี วขอ งกับหนว ยงานกํากับ ฝายติดตาม 6.2 สุมพนกั งานฝา ยตา งๆ ตอบ ฝา ยขายและการตลาด แบบสอบถามการปฏบิ ัตงิ าน หรือ ฝา ยทรพั ยากรบุคคล ทําแบบทดสอบความรูกฎหมายท่ี ฝายบญั ชกี ารเงนิ เกีย่ วขอ งกบั หนว ยงานกํากบั ฝา ยเทคโนโลยสี ารสนเทศ ฝา ยกฎหมาย หมายเหตุ การสุมกาํ กบั หากพบเหตกุ ารณหรือการกระทาํ ที่ไมเปนไปตามกฎระเบยี บอาจเพ่ิมความถ่ี ของการสมุ กาํ กบั เพิ่มข้ึน 40

หนว ยงานเปา หมาย ฝายกํากับดูแลกฎหมาย/ตรวจสอบภายใน จะดําเนินการสอบทานตามขอบเขตการสอบทาน โดยมรี ายช่อื ของฝายงาน/หนว ยงานทรี่ ับการสอบทาน ตอ ไปน้ี 1. ฝา ยบรหิ าร 2. ฝา ยซอ มบาํ รงุ และบริการ 3. ฝายจดั ซ้ือ 4. ฝา ยทะเบยี น 5. ฝา ยประกนั ภัย 6. ฝา ยสนิ เชื่อ 7. ฝา ยเรงรัด 8. ฝา ยติดตาม 9. ฝายขายและการตลาด 10. ฝา ยทรพั ยากรบุคคล 11. ฝา ยบญั ชกี ารเงิน 12. ฝายเทคโนโลยสี ารสนเทศ 13. ฝา ยกฎหมาย 14. ฝา ยจัดเกบ็ 15. ฝา ยบรหิ ารหนี้ 2.9.4 ผลท่ีคาดวาจะไดร ับหลงั จากการสอบทาน (1) เพื่อใหม่ันใจวาทุกหนวยงานมีระบบการควบคุมภายในที่เก่ียวกับการใหบริการที่มีการควบคุม ภายใน ท่ีเหมาะสม เพียงพอ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และอยูในระดับความเส่ียงที่ สามารถยอมรับได (2) เพ่ือใหม่ันใจวากระบวนการทํางานของบริษัท มีความสอดคลอง เปนปจจุบัน และเปนไปตาม กฎหมาย รวมถงึ กฎระเบียบขอบงั คับของหนวยงานรัฐที่ทาํ หนา ที่กํากับดูแล (3) เพ่อื พัฒนาระบบบริหารความเสยี่ งดา นการปฏบิ ัติตามกฎหมาย ในอันจะชว ยตั้งแตก ารระบุความ เสี่ยง บริหารจัดการความเสี่ยง การติดตาม การรายงานการเปล่ียนแปลงความเสี่ยง และรวมถึง การติดตามใหม ีการแกไข ปญหาทีเ่ กิดข้ึนภายหลงั การแกไขเสนอตอผูบ ริหาร และคณะกรรมการ ตรวจสอบ หรือคณะกรรมการบริษัท (4) ติดตามใหมีการปฏิบัติตามกฎหมายและรายงานผลการปฏิบัติตามกฎหมายตอผูบริหาร และ คณะกรรมการตรวจสอบ หรอื คณะกรรมการบริษัท (5) เพือ่ ใหม นั่ ใจวา มกี ารจัดทาํ รายงานท่เี กี่ยวของถกู ตอง ครบถวน ทนั เวลา 41

2.9.5 แผนการสอบทาน และตรวจสอบ หัวขอ ป 25XX ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค 1.นําเสนอแผนการ สอบทานการ ปฏบิ ตั งิ าน 2.ตดิ ตามและกาํ กบั การปฏิบตั งิ านตาม กฎหมาย ธปท., ปปง. และ พ.ร.บ. ทวงถาม หนี้ และ พ.ร.บ. คมุ ครองขอมลู สวน บุคคล 4

ป 25XX หมายเหตุ ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. 42

หัวขอ ป 25XX ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค 3.สอบทานการทํา ธุรกรรมรายเดือนตาม หลักเกณฑทีก่ ําหนดซึ่ง สอดคลองกับกฎหมาย ธปท., ปปง. และ พ.ร.บ. ทวงถามหนี้ และ พ.ร.บ.คุมครอง ขอมูลสว นบคุ คล 4.สอบทานการ ปฏบิ ัตงิ านบนหนา งาน ตามหลักเกณฑที่ กําหนดซงึ่ สอดคลอง กบั กฎหมาย ธปท., ปปง. และ พ.ร.บ. ทวง ถามหน้ี และ พ.ร.บ. คมุ ครองขอมูลสวน บคุ คล 4

ป 25XX หมายเหตุ ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. 43

หัวขอ ป 25XX ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค 5.ประเมินความเสยี่ ง การปฏบิ ัตติ าม กฎหมายหนวยงาน กาํ กบั ของรัฐ 6.ทาํ รายงานผลการ สอบทานและรายงาน ตอ คณะกรรมการ ตรวจสอบและสง รายงานไปยงั หนว ยงานกํากบั หมายเหตุ แผนการสอบทานนส้ี ามารถเปลย่ี นแปลงไดเ มื่อไดร ับการอนุมัตจิ ากคณะกร 4

ป 25XX หมายเหตุ ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. รรมการตรวจสอบ (Audit Committee) ลงชอื่ ....................................................ผูเ ขยี น นางสาววิริยามน ลม่ิ สงวน (เจา หนาทก่ี ํากับดแู ลกฎหมาย) 44


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook