Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore cloud_analysis

cloud_analysis

Published by 952ed00001, 2020-06-04 06:47:33

Description: cloud_analysis

Search

Read the Text Version

การวิเคราะห์เมฆ บทที่ 1 บทนา 1.1 ความหมายของเมฆ เมฆ หมายถึง กลุ่มละอองน้าขนาดเลก็ ท่เี กิดจากการควบแนน่ ของกลุม่ อากาศท่ีถกู ยกตัวข้นึ ผ่านความ สูงเหนือระดับควบแน่นและมีอุณหภูมิลดต่ากว่าจุดน้าค้าง โดยปกติน้าบริสุทธิ์และไอน้าจะโปร่งแสงจนไม่ สามารถมองเหน็ ได้ แต่หยดนา้ และผลกึ น้าแข็งมีพน้ื ผวิ ซึ่งสะทอ้ นแสงทาใหส้ ามารถมองเห็นเป็นก้อนสขี าว และ ในบางคร้ังมุมตกกระทบของแสงและเงาจากเมฆช้ันบนหรือเมฆท่ีอยู่ข้างเคียง รวมถึงความหนาแน่นของหยด น้าในก้อนเมฆก็อาจทาให้มองเหน็ เมฆเป็นสเี ทา เพราะมคี วามหนาแนน่ มากจนแสงผา่ นไมไ่ ด้ 1.2 กระบวนการเกดิ เมฆ การที่โลกได้รับความร้อนจากรังสีของดวงอาทิตย์ทาให้ผิวโลกมีอุณหภูมิสูงข้ึน1 ส่งผลให้กลุ่มอากาศ ลอยตัวสูงข้ึนและมีปริมาตรเพ่ิมขึ้นเน่ืองจากมีความกดอากาศลดลง จากนั้นเม่ือกลุ่มอากาศลอยตัวสูงข้ึน เร่ือยๆ อุณหภูมิของอากาศก็จะลดลงเรื่อยๆ2 ด้วยอตั รา 10 องศาเซลเซียสต่อความสูง 1,000 เมตรจนกระท่ัง ถึงความสงู ระดับหน่ึงอณุ หภูมขิ องกลมุ่ อากาศลดลงเท่ากบั อุณหภูมิของสิ่งแวดล้อม กลุม่ อากาศจึงหยุดลอยตัว3 ณ จุดๆ น้ีอากาศจะมีสภาพอิ่มตัวด้วยไอน้าเนื่องจากมีอุณหภูมิต่ากว่าจุดน้าค้าง4 เรียกระดับความสูงนี้ว่า “ระดับการควบแน่น”5 หากกลุ่มอากาศมีการลอยตัวสูงข้ึนต่อไปอีกจะลอยขึ้นโดยมีอัตราการลดลงของ อุณหภูมเิ ปน็ 5 องศาเซลเซียสตอ่ ความสงู 1,000 เมตร 1กระบวนการทีอ่ ากาศมกี ารลอยตัวนเ้ี รียกว่าการยกตวั ของกลุ่มอากาศ (Air parcel) 2ในชน้ั บรรยากาศโทรโพสเฟียร์อณุ หภูมจิ ะลดลงตามความสูงท่เี พ่ิมขึ้น 3เมอ่ื อากาศที่รอ้ นเกดิ การลอยตัวจะมกี ารคายความร้อนออกไปดว้ ยสง่ ผลใหอ้ ณุ หภูมิของอากาศลดลง เมือ่ อุณหภมู ิของอากาศลดลงเทา่ กับอณุ หภูมิ ของสิง่ แวดลอ้ มอากาศจะหยดุ ลอยตวั แต่ถ้าหากอณุ หภูมิของอากาศลดลงจนนอ้ ยกว่าอณุ หภมู ิของสง่ิ แวดล้อม อากาศจะจมตัวลง 4จดุ นา้ ค้าง (Dew point) คอื อณุ หภูมิท่ไี อน้าในอากาศเกดิ การอมิ่ ตวั และเริม่ ควบแน่นเป็นหยดนา้ 5ทรี่ ะดบั การควบแน่นไอนา้ จะควบแนน่ บนอนภุ าคของละอองลอยตวั ข้ึนและกลายเป็นหยดนา้ ขนาดเลก็

รูปที่ 1 กระบวนการเกดิ เมฆ เมื่อกลุ่มอากาศยกตัว ปริมาตรจะเพิ่มข้ึนและมีอุณหภูมิลดต่าลง ถ้ากลุ่มอากาศมีอุณหภูมิต่ากว่า สภาวะแวดล้อม กลุ่มเมฆดงั กล่าวจะจมตัวกลบั สทู่ ่ีเดิม เนื่องจากมีความหนาแนน่ มากกว่าอากาศโดยรอบ และ จะยกตัวสูงขึ้นจนเหนือกว่าระดับควบแน่น ก่อให้เกิดเมฆในแนวราบและไม่สามารถยกตัวต่อไปได้อีก เรียก สภาวะเช่นน้ีว่า “อากาศมีเสถียรภาพ” (Stable air) ซ่ึงมักเกิดขึ้นในช่วงเวลาท่ีมีอณุ หภูมิต่าหรือช่วงเวลาเช้า แต่ในวันที่มีอากาศร้อน กลุ่มอากาศจะยกตัวขนึ้ อยา่ งรวดเรว็ แม้จะมีความสูงเหนือระดับควบแน่นขนึ้ ไปแล้วก็ ตาม กลุ่มอากาศก็ยังมีอุณหภูมิสูงกว่าอากาศโดยรอบ จึงลอยตัวสูงข้ึนไปอีก ทาให้เกิดเมฆก่อตัวใน แนวต้งั เช่น เมฆควิ มูลัสและเมฆคิวมูโลนมิ บัส เรียกสภาวะเช่นน้ีว่า “อากาศไม่มีเสถียรภาพ” (Unstable air) อากาศไม่มเี สถยี รภาพมกั เกดิ ขึ้นในชว่ งเวลาท่ีมอี ณุ หภูมสิ ูง หรอื ชว่ งเวลาบ่ายของฤดูร้อน รปู ท่ี 2 (จากซา้ ยไปขวา) อากาศมเี สถยี รภาพ (stable air) และอากาศไมม่ เี สถยี รภาพ (Unstable air)

การที่ฐานของเมฆแบนเรียบเป็นระดับเดียวกัน เป็นเพราะว่าเมื่อกลุ่มอากาศ (ก้อนเมฆ) จมตัวลงต่า กว่าระดบั ควบแน่น อากาศด้านล่างมีอุณหภูมสิ ูงกว่าจดุ น้าค้างและยังไม่อ่ิมตัว ละอองน้าท่ีหล่นลงมาจึงระเหย เปลี่ยนสถานะเป็นก๊าซ (ไอน้า) หรืออาจกล่าวได้ว่า ฐานของเมฆถูกตัดด้วยความร้อนของอากาศ ด้านล่าง ความช้ืนสัมพัทธ์ในเมฆเป็น 100% จึงเกิดการควบแน่น แต่ความช้ืนสัมพัทธ์ใต้ฐานเมฆไม่ ถึง 100% จงึ ไมม่ ีการควบแน่น การควบแน่นต้องอาศัยอนุภาคเล็กๆ ที่ลอยอยูใ่ นอากาศเป็นแกนควบแน่น (Condensation nuclei) เพ่ือให้ไอน้าในอากาศเกาะตัวจึงจะเกิดการควบแน่นได้ หากปราศจากแกนควบแน่นแล้ว ไอน้าไม่สามารถ ควบแน่นได้แม้ว่าจะมีความช้ืนสัมพัทธ์ 100% ก็ตาม อนุภาคแกนกลางการควบแน่น6 มีขนาดประมาณ 0.2 ไมครอน7 ละอองน้าขนาดเล็กมีขนาด 20 ไมครอน ละอองน้าขนาดใหญ่มีขนาด 50 ไมครอน หยดน้าฝนมี ขนาดประมาณ 2,000 ไมครอน โดยการเปล่ียนแปลงขนาดของละอองน้าจะข้ึนอยู่กับปัจจัยต่างๆ ได้แก่ การ ควบแน่นซา้ หลายครงั้ บนละอองน้าและการเคลอื่ นทีช่ นกันของละอองนา้ เน่ืองจากความป่นั ป่วนของกระแสลม รูปที่ 3 ขนาดของอนภุ าคที่เกดิ ขึ้นระหว่างเกิดการควบแน่น แรงที่กระทาต่อละอองน้าในเมฆมีอยู่อย่างน้อย 2 ชนิด ได้แก่ แรงโน้มถ่วงของโลก (Gravitational force) และแรงลอยตวั (Buoyant force) ซ่ึงทศิ ทางของแรงทัง้ สองจะสวนทางกนั หากแรงลอยตวั มีคา่ มากกว่า 6ละอองลอยท่ที าหนา้ ท่เี ปน็ แกนให้ละอองนา้ ควบแน่นเรยี กวา่ อนภุ าคแกนกลางการควบแน่น (Cloud condensation nuclei, CCN) 7ไมครอนหรอื ไมโครเมตรมขี นาดเทา่ กบั 10-6 เมตร หรอื 0.001 มิลลิเมตร

แรงโน้มถ่วงของโลกจะทาให้ละอองน้าลอยตัวอยู่ในเมฆได้แต่ถ้าหากแรงโน้มถ่วงของโลกมีค่ามากกว่าแรง ลอยตัวละอองน้าจะตกลงมาเปน็ หยาดนา้ ฟา้ ปจั จยั ทท่ี าใหเ้ กดิ การยกตวั ของกลมุ่ อากาศ การยกตัวของกลุ่มอากาศ ส่งผลต่ออุณหภูมิในอากาศ ซึ่งลดลงตามระดับความสูงของชั้นบรรยากาศ และเปน็ กระบวนการสาคัญทกี่ อ่ ให้เกดิ เมฆ โดยปัจจัยท่ีก่อให้เกิดการยกตวั ของกลุ่มอากาศ มีดังน้ี 1.การพาความร้อน พน้ื ผิวของโลกมีความแตกตา่ งกนั จึงมกี ารดูดกลืนและคายความร้อนไม่เทา่ กัน ทาให้กลมุ่ อากาศท่ีลอย อยู่เหนือพื้นผิวโลก มีอณุ หภมู ิแตกต่างกันไปด้วย โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งในช่วงฤดูร้อน (ตัวอย่างเช่น กลุ่มอากาศท่ี ลอยอยู่เหนือพื้นคอนกรีตจะมีอุณหภูมิสูงกว่ากลุ่มอากาศท่ีลอยอยู่เหนือพื้นหญ้า เป็นต้น) กลุ่มอากาศท่ีมี อุณหภูมิสูงมีความหนาแน่นน้อยกว่าอากาศในบริเวณโดยรอบ จึงลอยตัวสูงขึ้น เช่น ในวันท่ีอากาศร้อน นก เหย่ียวสามารถลอยตัวอยู่เฉยๆ ได้ โดยไม่ต้องขยับปกี เปน็ ต้น ตัวอย่างของเมฆท่เี กิดจากกระบวนการนี้ ได้แก่ ควิ มลู ัส สตราโตคิวมลู ัส และคิวมโู ลนมิ บสั เปน็ ต้น รปู ท่ี 4 อากาศยกตวั เนอื่ งจากมีอณุ หภมู สิ ูง 2.สภาพภูมิประเทศ เม่ือกระแสลมปะทะภูเขา อากาศถูกบังคับให้ลอยสูงข้ึน (เนื่องจากไม่สามารถเคลื่อนที่ไปทางอ่ืนได้) จนถึงระดับควบแน่นกจ็ ะเปลีย่ นสถานะกลับเป็นหยดนา้ จะเหน็ ไดว้ ่า บนยอดเขาสูงมกั มีเมฆปกคลุมอยู่ ทาให้ บริเวณยอดเขามีความชุ่มชื้นและอุดมไปด้วยป่าไม้ และเม่ือกระแสลมพัดผ่านยอดเขาไป อากาศแห้งที่สูญเสีย ไอน้าไป จะจมตวั ลงจนมีอุณหภมู ิสงู ข้ึน ภูมอิ ากาศบรเิ วณหลงั ภูเขาจึงเป็นเขตท่ีแห้งแล้ง เรียกว่า “เขตเงาฝน” ตัวอยา่ งของเมฆทเี่ กดิ จากกระบวนการนี้ ได้แก่ คิวมูลสั และคิวมโู ลนมิ บสั เปน็ ต้น

รปู ท่ี 5 อากาศยกตัวเนอื่ งจากเคลอ่ื นที่ขนึ้ ไปตามแนวเขา 3.อากาศบีบตัว เม่ือกระแสลมพัดมาปะทะกัน อากาศจะยกตัวข้ึนทาให้อุณหภมู ิลดต่าลงจนเกิดอากาศอิ่มตัว ไอน้าใน อากาศควบแน่นเป็นหยดน้า กลายเป็นเมฆ เมฆท่ีเกิดจากกระบวนการนี้ ได้แก่ เซอร์โรคิวมูลัส อัลโตคิวมูลัส อัลโตสเตรตัส สตราโตควิ มลู สั และสเตรตสั รปู ที่ 6 อากาศยกตัวขึน้ เน่อื งจากการปะทะกนั ของลม 4.การเกิดแนวปะทะของมวลอากาศ มวลอากาศ (Air mass) หมายถึงก้อนของอากาศท่ีมีอุณหภูมิและปริมาณไอน้าอากาศสม่าเสมอ อาจ กระจายตัวเป็นบริเวณกว้างและคงสภาพได้ยาวนาน มวลอากาศมีคุณสมบัตแิ ตกต่างกนั ไปตามแตล่ ะพ้ืนท่ีทป่ี ก คลุมแบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 ชนดิ คอื มวลอากาศเย็น (Cold air mass) และมวลอากาศอนุ่ (Warm air mass) การเกิดแนวปะทะของมวลอากาศเกิดจากอากาศร้อนมีความหนาแน่นต่ากว่าอากาศเย็น เม่ืออากาศ ร้อนปะทะกับอากาศเย็นอากาศร้อนจะลอยขึ้นและมีอุณหภูมิลดต่าลงจนถึงระดับควบแน่น ทาให้เกิดเมฆและ ฝน ซ่ึงสามารถพบได้ในข่าวพยากรณ์อากาศที่ว่า ล่ิมความกดอากาศสูง (อากาศเย็น) ปะทะกับร่องความกด อากาศต่า (อากาศร้อน) ทาให้เกดิ พายฝุ น

รูปท่ี 7 การเกดิ เมฆเนอ่ื งจากการปะทะของอากาศ 1.3 การใชป้ ระโยชนจ์ ากการวิเคราะห์เมฆ เมฆเป็นสิ่งสาคัญที่บอกถึงสารประกอบอุตุนิยมวิทยา8 ซึ่งเป็นผลของการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ของสภาพอากาศ การตรวจวัดจะตรวจชนิดของเมฆ จานวนเมฆ และความเร็ว ผลการตรวจวัดจะช่วยในการ วิเคราะหล์ กั ษณะอากาศและการพยากรณ์ได้ดขี ้ึน ตวั อย่างการการใช้ประโยชน์จากการวิเคราะหเ์ มฆ  การใชป้ ระโยชนจ์ ากวิเคราะหเ์ มฆรว่ มกบั ปริมาณน้าฝน จากรูปที่ 8 เป็นการใช้ข้อมูลร่วมกันระหว่างข้อมูลปริมาณน้าฝนย้อนหลัง 24 ชั่วโมง จากสถานี ตรวจวัดของกรมชลประทาน และ AIS กับข้อมูลภาพเมฆ เพ่ือใช้วิเคราะห์ปริมาณฝนท่ีตกและปริมาณเมฆที่ เกิดขึ้น เพื่อชว่ ยยืนยันวา่ ฝนทต่ี กในแตล่ ะพ้นื ทเี่ ป็นไปตามทค่ี าดการณ์ไวห้ รอื ไม่ รปู ที่ 8 การใชภ้ าพเมฆรว่ มกบั ขอ้ มูลปรมิ าณฝน เพ่อื ยนื ยันถึงพ้นื ทที่ มี่ ฝี นตก 8 สิ่งทเ่ี ป็นข้อมูลทางอุตนุ ยิ มวทิ ยาของสภาวะของบรรยากาศในบริเวณหนึง่ ๆ โดยทมี่ ผี ลตอ่ การเปล่ยี นแปลงของลม ฟ้า อากาศ

 การใชป้ ระโยชนจ์ ากการวเิ คราะหเ์ มฆเพ่ือการศึกษาสภาพอากาศ จากรูปท่ี 9 มีกลุ่มเมฆปกคลุมหนาแน่นบริเวณตอนบนของประเทศไทย เนื่องจากอิทธิพลของพายุ มนิ ดอลเล และร่องความกดอากาศต่าที่พาดผา่ นภาคเหนือและภาพตะวันออกเฉียงเหนือ ทาให้พ้ืนท่ีภาคเหนือ และภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือมีฝนตกหนักถึงหนกั มาก ซง่ึ อาจส่งผลใหเ้ กิดนา้ ท่วมในหลายพืน้ ท่ี รปู ท่ี 9 ภาพเมฆจากดาวเทยี ม GOES-9 ระหวา่ งวนั ท่ี 24 – 27 สงิ หาคม 2553

บทท่ี 2 การแบง่ ประเภทของเมฆ เมฆแบ่งออกได้หลายประเภท แต่มีบางประเภทเท่านั้นท่ีก่อให้เกิดฝน โดยเมฆนั้นจะลอยตัวอยู่ใน อากาศเฉยๆ แต่มีลักษณะอากาศท่ีทาให้ละอองน้ารวมตัวกันเป็นเม็ดน้าขนาดใหญ่ข้ึนและมีน้าหนักมากข้ึน กระแสอากาศหรือลมไม่สามารถจะพัดให้เม็ดน้าเหล่าน้ันลอยตัวอยู่ในอากาศได้ จึงตกลงมาเป็นฝนหรือหิมะ ขาวๆ หรือบางครั้งเป็นลูกเห็บตกลงมาบนพื้นโลก ซ่งึ การรวมตวั ของละอองนา้ ในเมฆ จนกลายเป็นเม็ดฝนนั้นมี อยู่ 2 กรรมวธิ ีคือ 1.กรรมวิธกี ารชนกันแล้วรวมตวั เป็นกรรมวธิ ขี องฝนในเขตร้อน 2.กรรมวิธีผลึกน้าแข็ง ฝนท่ีเกิดจากกรรมวิธีน้ีจะเกิดขึ้นในเมฆที่มีไอน้า ผลึกน้าแข็ง และน้า (Supercooled water) ปนกันอยู่ ซึ่งท้ังสามสภาวะจะอยู่ด้วยกันในเมฆที่มีอุณหภูมิต่ากว่า 0 องศา ไอน้าจะ กล่ันตัวลงบนผลึกน้าแข็งเพราะความดันไอน้าของเม็ดน้าสูงกว่าความดันไอน้าของผลึกน้าแข็ง ทาให้ผลึก น้าแข็งมีเม็ดโตข้ึนอย่างรวดเร็วและโตมากจนตกลงมาเป็นหิมะ (ต่ากว่า 0 องศา) เป็นฝนธรรมดา (สูงกว่า 0 องศา) และถ้าอณุ หภมู ติ า่ กวา่ 0 องศา ก็จะระเหยเปน็ ไอนา้ 2.1 ความสมั พนั ธข์ องเมฆกบั สภาพอากาศ เม่ือวิเคราะห์การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ พบว่า เมฆเป็นปัจจัยท่ีสาคัญย่ิงต่อสภาพภูมิอากาศ และระบบภูมิอากาศซ่ึงเป็นองค์ประกอบสาคัญของวัฏจักรน้าจากอากาศสู่พ้ืนดินของทั้งโลก นอกจากนั้นเมฆ ยังส่งผลต่อการแลกเปล่ียนพลังงานความร้อนและพลังงานแสงอาทิตย์ระหว่างบรรยากาศ พ้ืนผิวดิน วัฏจักร ของน้า และสิ่งมชี ีวติ ดงั น้ันการเปล่ยี นแปลงของเมฆเพียงเล็กน้อย จึงส่งผลต่อสภาพอากาศมากกว่ากา๊ ซเรือน กระจก หรอื ละอองอากาศ การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศที่เกิดจากเมฆอาจส่งผลท้ังในทางบวกและทางลบ ข้ึนอยู่กับ กระบวนการทีเ่ กยี่ วข้อง รปู ท่ี 10 สัญลกั ษณอ์ ากาศ จากกรมอุตุนยิ มวทิ ยา

ลักษณะของเมฆแต่ละชนิดน้ันสามารถที่จะบอกให้ทราบถึงแนวโน้มลักษณะของสภาวะอากาศท่ีจะ เกดิ ขน้ึ ล่วงหน้าได้ เชน่ ถา้ ในท้องฟ้ามีเมฆกอ่ ตัวในแนวตง้ั แสดงว่าอากาศกาลงั ลอยตัวขึ้น หมายถึง สภาวะของ อากาศก่อนท่ีจะเกิดลมพายุ หรอื ถา้ เมฆในทอ้ งฟา้ แผ่ตามแนวนอนเป็นชน้ั ๆ หมายถึง สภาวะอากาศท่ีสงบและ จะมีกระแสลมทางแนวตั้งเล็กน้อย หรือถ้าเมฆในท้องฟ้ากอ่ ตัวทางแนวตั้งสูงใหญ่ จะหมายถึงลักษณะของเมฆ พายุฟ้าคะนอง ที่เรียกว่า เมฆคิวมูโลนิมบัส ฝนจะตกหนักและมีฟ้าแลบ ฟ้าร้อง บางคร้ังอาจมีฟ้าผ่าลงมายัง พืน้ ดนิ ด้วย ซึง่ เมฆพายฟุ ้าคะนองนเี้ ป็นอันตรายต่อเครอื่ งบนิ ขนาดเล็กอย่างมาก คาที่ใชใ้ นการบอกลกั ษณะเมฆ การปรากฏตัวของเมฆในลักษณะต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ระดับความสูง หรือรูปร่าง จะมีคาท่ีใช้ในการ บอกลกั ษณะของเมฆเหลา่ นน้ั ดงั น้ี  สเตรตสั (Stratus)/ สตราโต (Strato-) : ลักษณะเปน็ ชน้ั  คิวมลู ัส (Cumulus)/ คิวมโู ล (Cumulo-) : ลกั ษณะเป็นกอ้ นรวมกนั  เซอรร์ ัส (Cirrus) หรือ เซอรโ์ ร (Cirro-) : เมฆชั้นสูง  อัลโต (Alto-) : เมฆชน้ั กลาง  นมิ บัส (Nimbus) หรอื นมิ โบ (Nimbo-) : ฝน รูปที่ 11 (บน) เมฆสเตรตสั เมฆควิ มูลัส และเมฆช้นั สูง (ล่าง) เมฆชั้นกลาง และเมฆฝน 2.2 การแบง่ ประเภทของเมฆตามลักษณะรปู รา่ ง ในธรรมชาติ เมฆเกดิ ขึน้ โดยมี 2 รปู ร่าง ดงั นี้ 1.เมฆก้อนลอยตวั สงู ข้นึ ในแนวต้งั เรยี กวา่ ควิ มโู ล (Cumulo) หรือควิ มูลสั (Cumulus)

รปู ที่ 12 ลักษณะของเมฆก้อน 2.เมฆแผน่ เป็นชน้ั ๆ ในแนวนอน เรยี กวา่ สตราโต (Strato) หรอื สเตรตัส (Stratus) รูปท่ี 13 ลักษณะของเมฆแผน่ 2.3 การแบง่ ประเภทของเมฆตามระดบั ความสงู การแบ่งประเภทของเมฆตามระดับความสูงจะใช้ในการตรวจและแบ่งชนิดของเมฆทางอุตุนิยมวิทยา สาหรับเป็นมาตรฐานเดียวกันเพื่อผลการวิเคราะหส์ ภาพลมฟ้าอากาศในการพยากรณ์ โดยแบ่งเมฆออกเป็น 4 ประเภท ซึ่งทงั้ 4 ประเภท ประกอบด้วยเมฆท้ังหมด 10 สกลุ ดังน้ี 1.เมฆระดับสูง (High Clouds) เมฆระดับสูงจะก่อตัวที่ความสูงมากกว่า 5,000 เมตร (20,000 ฟุต) จะเกิดข้ึนที่อุณหภูมิต่าในช้ัน บรรยากาศโทรโพสเฟียร์ ส่วนประกอบของเมฆระดับนี้คือ ผลึกน้าแข็ง ซึ่งเป็นความแตกต่างจากเมฆระดับอ่ืน ลกั ษณะของเมฆจะเปน็ ก้อนเล็กๆ ค่อนข้างโปรง่ ใส เมฆในกลุ่มจะมีชื่อนาหนา้ ดว้ ยเซอร์- (cirr-) ได้แก่ เมฆเซอร์ รสั เมฆเซอร์โรควิ มูลัส และเมฆเซอร์โรสเตรตสั 1.1เมฆเซอรร์ สั (Cirrus Cloud) (ย่อวา่ ช. หรอื Ci) เมฆสีขาวหรือเกือบขาวมีลกั ษณะเป็นเส้นใยละเอียดหรือปุยคล้ายขนนกหรือเสน้ ผม (hair - like) เป็น แผ่นบางหรือเป็นแถบเหลือบเป็นมันเงาหรืออาจจะทั้งเป็นปุยและเป็นมันเมื่อบังดวงอาทิตย์หรือดวงจันทร์

บางคร้ังทาให้เกิดวงแสง (Halo) ได้ แต่ไม่เต็มดวง เมฆชนิดน้ีเป็นเมฆในระดับสูงมีฐานสูงโดยเฉลี่ยประมาณ 10,000 เมตร การเปล่ียนแปลงของเมฆ Ci อาจเจริญเตบิ โตกลายเป็นเมฆ Cc, Cs รปู ที่ 14 เมฆเซอรร์ สั (Cirrus) 1.2 เมฆเซอร์โรควิ มลู ัส (Cirrocumulus Cloud) (ย่อว่า ซค. หรอื Cc) เมฆก้อนเล็กๆ แผ่เป็นแผ่นบางหรือเป็นแนวสีขาวเมื่อแสงอาทิตย์ส่องผ่านไม่ทา ให้เกิดเงา ประกอบด้วยอนุภาคเล็กๆ มาก ภายในแผ่นเมฆจัดตัวในรูปของก้อนเล็กๆ มีลักษณะเป็นละลอกๆ อยู่ติดกัน หรือบางตอนอาจแยกจากกันแต่จะอยู่เรียงรายกนั อย่างมีระเบียบในบางคร้ังปรากฏให้เห็นเป็นบริเวณไม่กว้าง นัก โดยรองรับมุมกับตามนุษย์น้อยกว่า 1 องศาเมื่อเมฆท่ีตรวจน้ันอยู่สูงเหนือขอบฟ้ามากกว่า 30 องศามักมี ชอ่ งหรอื รอยแยกเกิดขึน้ ในเมฆ Cc ทเ่ี ปน็ แผ่น เมฆชนดิ นี้เปน็ เมฆในระดบั สูงมีฐานสงู โดยเฉลีย่ ประมาณ 7,000 เมตร การเปล่ียนแปลงของเมฆ Cc อาจเจริญเติบโตกลายเป็นเมฆ Cs, Ac หรอื Ci, Cs รูปที่ 15 เมฆเซอรโ์ รควิ มลู สั (Cirrocumulus) 1.3 เมฆเซอรโ์ รสเตรตสั (Cirrostratus Cloud) (ยอ่ วา่ ซส. หรือ Cs) เมฆสีขาวโปร่งแสงมีลักษณะเหมือนม่านท่ีเป็นเส้นๆ ปุยเหมือนเส้นผมหรืออาจจะมองดูเรียบตลอด ปกคลุมเต็มท้องฟ้าหรือเพียงบางส่วนและมักทาให้เกิดวงแสงสีขาวหรือมีสีรอบดวงอาทิตย์หรือดวงจันทร์ (Halo) ได้ เมฆชนิดน้เี ปน็ เมฆในระดับสูงมีฐานสงู โดยเฉล่ียประมาณ 8,500 เมตร การเปล่ียนแปลงของเมฆ Cs อาจเจรญิ เติบโตกลายเป็นเมฆ Ci, Cc, As

รปู ที่ 16 เมฆเซอรโ์ รสเตรตสั (Cirrostratus) 2.เมฆระดับกลาง (Medium Clouds) เมฆระดับกลางจะก่อตัวทค่ี วามสงู ระหวา่ ง 2,000-5,000 เมตร (6,500 – 16,500 ฟุต) มีสว่ นประกอบ หลักคือละอองน้าและละอองน้าเย็นย่ิงยวด เมฆในระดับน้ีจะมีช่ือนาหน้าด้วย อัลโต- (alto-) ได้แก่ เมฆอัลโต ควิ มูลัส และเมฆอลั โตสเตรตัส 2.1 เมฆอัลโตควิ มูลัส (Altocumulus Cloud) (ยอ่ วา่ อค. หรือ Ac) มลี ักษณะอยู่เป็นกลุ่มๆ คล้ายฝูงแกะ มีสีขาว บางคร้ังสีเทา มีการจัดตัวเป็นแถวๆ หรือเปน็ คลนื่ มีเงา เมฆ มีลักษณะเป็นเกล็ด เป็นก้อนม้วนตัว (roll) อาจมี 2 ชั้นหรือมากกว่านั้น อาจเกิดพระอาทิตย์ทรงกลด (corona) ลอยเปน็ แพ มีช่องว่างระหว่างก้อนเล็กนอ้ ย กอ้ นเมฆมีขนาดใหญ่กว่าเมฆเซอรโ์ รคิวมูลัส ปรากฏเป็น สีขาวชัดเจน บางคร้ังด้านล่างอาจเปลี่ยนเป็นสีเทา เม่ือขยายตัวขึ้นจนปกคลุมท้องฟ้าเป็นบริเวณกว้าง จะบด บังดวงอาทิตย์จนทาให้ฟ้ามืดมิดได้ด้วยอิทธิพลของกระแสลมภายในมวลอากาศเย็น ขณะท่ีอากาศร้อนสัมผัส กับส่วนบนของมวลอากาศเย็นจะก่อตัวขึ้นมากด้วยอิทธิพลของคลื่นบรรยากาศขนาดเล็กจะทาให้ขยายตัวแผ่ กวา้ งออกเป็นรูปเข็มขัดหรือรปู วงคล่นื ผวิ น้ามักจะเหน็ การจัดเรียงตัวของเมฆ และมีชอ่ งว่างเปน็ แนวแถว เหตุนี้ จึงมักถูกเรียกว่าเป็นเมฆแผ่นดินไหวหรือเมฆที่บ่งบอกถึงสภาวะอากาศที่เลวร้ายกาลังจะเกิดขึ้น การ เปล่ยี นแปลงของเมฆ Ac อาจเจริญเตบิ โตกลายเป็นเมฆ Cc, Ns, Sc หรอื Ci, As, Cu, Cb รปู ที่ 17 เมฆอัลโตคิวมลู สั (Altocumulus) 2.2 เมฆอัลโตสเตรตัส (Altostratus Cloud) (ยอ่ ว่า อส. หรอื As)

มีลักษณะเป็นแผ่นหนาบางสม่าเสมอในชั้นกลางของบรรยากาศ มีลักษณะเรียบ เป็นปุยหรือฝอย ละเอียด แผ่ออกเป็นพืด เป็นลูกคล่ืนปกคลุมเต็มท้องฟ้า มีสีเทาหรือน้าเงินอ่อน และอาจมีบางส่วนท่ี แสงอาทิตย์สามารถส่องผ่านลงมายังพื้นดนิ ได้ อาจมีแสงทรงกลด เมฆแผน่ หนาสว่ นมากมักมสี ีเทา เน่ืองจากบัง แสงดวงอาทติ ย์ไม่ให้ลอดผา่ นและเกดิ ข้ึนปกคลมุ ทอ้ งฟา้ เป็นบรเิ วณกว้างมาก หรือปกคลุมท้องฟ้าท้งั หมด หรือ เมฆลอยปกคลุมท้องฟ้าเป็นสีขาวเทาอยู่ท่ีระดับความสูงประมาณ 2 – 7 กิโลเมตร และมักปกคลุมทั่วท้องฟ้า ถา้ มีอยู่บางๆ อาจทาให้เกิดร่มขึ้นกับดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ แต่โดยทั่วไปแล้วจะเหมือนกับมองผ่านกระจก กรองแสงทาให้เห็นดวงอาทิตย์ไดไ้ ม่ชัดเจน ลักษณะนที้ าให้สามารถแยกเมฆชนดิ น้อี อกจากเมฆเซอร์โรสเตรตัส ได้ชัดเจน ถ้าเมฆอัลโตสเตรตัสหนาข้ึนจะทาให้บริเวณโดยรอบมืดจนเห็นเงาได้ยาก การเปล่ียนแปลงของเมฆ As อาจเจรญิ เตบิ โตกลายเปน็ เมฆ Cs, Ac, Ns หรือ Sc, Cb รปู ที่ 18 เมฆอลั โตสเตรตสั (Altostratus) 3. เมฆระดับตา่ (Low Clouds) เมฆระดับต่าจะก่อตัวที่ความสูงต่ากว่า 2,000 เมตร (6,500 ฟุต) มีองค์ประกอบหลักคือ หยดน้า ธรรมดา ท่ีมีอุณหภูมิสูงกว่า 0 องศาเซลซียส เมฆระดับในท่ีนี้จะรวมถึงเมฆแผ่นหรือสเตรตัส (Stratus) ด้วย ซ่งึ เมฆสเตรตสั ทีล่ อยตัวอย่รู ะดับพื้นดิน เรียกวา่ “หมอก” เมฆทีจ่ ัดว่าเป็นเมฆระดบั ต่า ได้แก่ เมฆสเตรตสั เมฆ สตราโตควิ มลู สั และเมฆนิมโบสเตรตัส 3.1 เมฆสเตรตสั (Stratus Cloud) (ย่อวา่ ส. หรือ St) เป็นเมฆแผ่นสีเทาที่มีฐานค่อนข้างเรียบเมฆชนิดนี้ให้น้าฟ้าประเภทฝนละออง (drizzle) ผลึกน้าแข็ง (ice prisms) หรอื ละอองหมิ ะ (snow grains) ถ้าสามารถมองเห็นดวงอาทติ ย์ผ่านเมฆชนิดน้ไี ด้จะสามารถเห็น ขอบของดวงอาทิตย์อย่างชัดเจน เมฆชนิดน้ีไม่ทาให้เกิดวงแสง (Halo) เว้นแต่เม่ือมีอุณหภูมิต่ามากก็อาจเกิด ได้ บางครั้งเมฆชนิดนี้อาจแตกออกจากกันหรือเป็นหย่อมๆ มองดูรุ่งร่ิงคล้ายผ้าขี้ริ้ว การเปล่ียนแปลงของเมฆ St อาจเจริญเตบิ โตกลายเป็นเมฆ Sc, Cu

รูปที่ 19 เมฆสเตรตัส (Stratus) 3.2 เมฆสตราโตควิ มูลัส (Stratocumulus Cloud) (ยอ่ วา่ สค. หรือSc) มสี ีเทาหรือคอ่ นขา้ งขาวหรอื ทงั้ สองอย่าง มลี ักษณะเป็นแผน่ แผ่ออกไปในแนวเดยี วกันมีบางส่วนเปน็ สี ดา เมฆน้ีประกอบด้วยเมฆท่ีมีลักษณะเป็นก้อนส่ีเหลี่ยมเล็กๆ หรือก้อนกลมเล็กๆ หรือเมฆม้วนตัว แต่ไม่มี ลักษณะเป็นเส้นใยละเอียด ยกเว้นเมฆท่ีมีฝนเป็นสายๆ ตกลงมาไม่ถึงพ้ืนดิน (virga) เมฆท่ีประกอบเป็นเมฆ ใหญ่น้ีอาจผสมรวมกันหรอื ไม่รวมกันก็ได้ โดยปกตจิ ะจัดตัวเข้าเป็นกลุม่ เป็นแนวหรือเปน็ ลูกคล่ืนทาให้มองเห็น เมฆมีลักษณะเป็นลอนเช่ือมตดิ ต่อกันไป ส่วนมากมียอดแบนเรยี บและกวา้ งใหญ่ความกวา้ งของก้อนเมฆรองรับ มุมกับตามนุษย์เกินกว่า 5 องศา เม่ือเมฆนั้นอยู่สูงกว่าขอบฟ้าเกินกว่า 30 องศา การเปล่ียนแปลงของเมฆ Sc อาจเจรญิ เตบิ โตกลายเป็นเมฆ Ac, Ns, St, Cu หรอื Cu, Cb รูปที่ 20 เมฆสตราโตคิวมลู ัส (Stratocumulus) 3.3 เมฆนมิ โบสเตรตัส (Nimbostratus Cloud) (ยอ่ ว่า นส. หรือ Ns) เมฆสีเทาติดต่อเป็นแนวเดียวกันหรือเป็นแผ่นบางครั้งมีสีดามืด เมฆชนิดน้ีมีฝนตกติดต่อกันลงมาเป็น สายๆ หรือมีหิมะตกลงมาด้วยและเป็นน้าฟ้าที่มักตกลงมาถึงพ้ืนดิน ไม่มีฟ้าแลบ หรือฟ้าร้อง หรือลูกเห็บตก เมฆนิมโบสเตรตัสมีสีดาและหนาแผ่กว้างออกไปพอที่จะบงั ดวงอาทิตยไ์ ด้หมดเป็นเมฆที่เกดิ ในระดบั ต่า ใตเ้ มฆ น้ีอาจมีเมฆขรุขระมองดกู ระจดั กระจายเกิดขึ้นได้บ่อย ซ่ึงเมฆท่ีกลา่ วนี้อาจรวมหรือไมร่ วมกันเข้ากับเมฆใหญ่ก็

ได้ เมฆชนิดนีม้ ักเรียกกันว่า \"เมฆฝน\" การเปล่ยี นแปลงของเมฆ Ns อาจเจริญเติบโตกลายเป็นเมฆ As, Ac, Sc หรือSc, St, Cb รูปที่ 21 เมฆนิมโบสเตรตสั (Nimbostratus) 4.เมฆแนวตั้ง (Vertical Cloud) เมฆจะก่อตัวในแนวตั้ง ทาให้เมฆขยายตัวสูงขึ้นจากฐานเมฆ โดยท่ีฐานเมฆจะมีความสูงเฉล่ีย 500 เมตร เมฆทจี่ ดั ว่าเป็นเมฆแนวตงั้ ได้แก่ เมฆควิ มลู ัส และเมฆควิ มูโลนมิ บัส 4.1 เมฆควิ มูลสั (Cumulus Cloud) (ย่อว่า ค. หรอื Cu) ลกั ษณะเป็นกอ้ นหนา มียอดมนกลมคลา้ ยกะหล่าดอกเหน็ ขอบนอกได้ชัดเจน ส่วนฐานมีสีค่อนข้างดา กอ่ ตัวในแนวตง้ั กระจัดกระจายเหมอื นสาลี ถ้าเกิดข้ึนเปน็ หย่อมๆ หรอื ลอยอยู่โดดเดยี่ วแสดงถงึ สภาวะอากาศ ดี แดดจัด ถา้ มีขนาดกอ้ นเมฆใหญ่ อาจมีฝนตกภายใต้กอ้ นเมฆลักษณะเป็นฝนเฉพาะแห่งและเป็นเมฆที่ปรากฏ ให้เห็นในวันที่ท้องฟ้าแจ่มใส บางคร้ังเรียกเมฆฝ้าย รูปร่างเหมือนขนมสายไหม ด้านบนมีลักษณะเป็นก้อน ขรขุ ระส่วนด้านลา่ งราบเรียบ ก่อตัวข้นึ ที่ระดับความสูง 500 – 2,000 เมตร แต่อาจพบไดท้ ร่ี ะดับความสงู อืน่ เมฆคิวมูลัสจะขยายตัวข้ึนในช่วงเวลาบ่าย และส่วนใหญ่จะสลายตัวไปในเวลาเย็น แต่บางคร้ังอาจ ขยายตัวต่อไปถ้ามีแสงแดดแรงๆ ในช่วงท่ีเกิดใหม่จะมีลักษณะแบนเรียกว่าเมฆฮิวมิลิส แต่จะค่อยๆ โตข้ึน มี ลักษณะเช่นเดียวเมฆคิวมูลัสท่ีเห็นทั่วไปซ่ึงเรียกว่าเมฆเมดิโอคริส เมื่อโตขึ้นยอดเมฆอาจสูงมากกว่า 10 กิโลเมตร เป็นเมฆคิวมูโลนิมบัส ทาให้เกิดฝนตกหนักและฟ้าผ่าบางครั้ง อาจเกิดพายุหมุนหรือลูกเห็บตก เมฆ คิวมูลัสท่ีแตกตัวออกเป็นฝอยๆ จะเรียกว่าเมฆแฟร็กทัส การเปลี่ยนแปลงของเมฆ Cu อาจเจริญเติบโต กลายเป็นเมฆ Cb หรอื Ac, Ns, Sc, St, Cb

รปู ที่ 22 เมฆควิ มูลสั (Cumulus) 4.2 เมฆคิวมูโลนิมบัส (Cumulonimbus Cloud) (ยอ่ ว่า คน. หรอื Cb) ลักษณะเป็นเมฆก้อนใหญ่รูปร่างคล้ายภูเขาใหญ่ มียอดเมฆแผ่ออกเป็นรูปร่างคล้ายทั่ง9 (anvil) ฐาน เมฆตา่ สีดามืด เป็นเมฆหนา มืดทึบ มีฟ้าแลบ ฟ้าร้องอาจอยู่กระจัดกระจายหรือรวมกันอยู่น้อย มักมีฝนตกลง มา เรยี กเมฆชนิดนี้วา่ “เมฆฟ้าคะนอง” เมฆแนวตง้ั ขนาดใหญม่ หึมา ซ่ึงเกดิ จากกระแสลมลอยสูง สว่ นยอดเมฆ อาจสูงมากจนข้ึนไปถึงชั้นบรรยากาศช้ันสตราโทสเฟียร์ได้ ด้วยรูปร่างใหญ่โตในแนวตั้งของเมฆคิวมูโลนิมบัส จึงถือเป็นเมฆที่มขี นาดใหญ่ท่สี ุดในบรรดาเมฆทั้งหมด วัดจากความสูงต้ังแต่ยอดเมฆถึงฐาน เมฆอาจมคี วามสูง มากกว่า 1 หมน่ื เมตร บางครัง้ อาจเรียกวา่ เมฆสายฟา้ สาเหตุการเกดิ เมฆคิวมูโลนมิ บัสขึ้นนั้นมีอยูห่ ลายสาเหตุ บางครง้ั ก็เกดิ จากกระแสลมลอยสูงของสภาพ การถ่ายเทความร้อน เนื่องจากความแตกต่างของอุณหภูมิบริเวณใกล้พ้ืนดินกับบริเวณที่สูงข้ึนไปที่เกิดขึ้นโดย ความไม่มีเสถียรภาพของบรรยากาศ บางครั้งก็ยังได้รับอิทธิพลจากภูมิประเทศด้วย ดังน้ันโดยส่วนมาก เมฆคิวมูโลนิมบัสจะเกิดในช่วงฤดูร้อนท่ีมีความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิบริเวณใกล้พ้ืนดินกับบนท้องฟ้าเพ่ิม สูงข้ึนแต่ท่ีฝ่ังทะเลของญี่ปุ่นในฤดูหนาว อาจเกิดเมฆคิวมูโลนิ มบัสเน่ืองจากลมมรสุมที่พัดแรง เมฆคิวมูโลนิมบัสโดยท่ัวไปแล้วจะเกิดจากการขยายตัวของเมฆคิวมูลัสธรรมดา เมฆรูปท่ังน้ีก่อตัวขึ้นด้วยผลึก นา้ แขง็ โดยความดันต่าในบริเวณใกล้ๆ เหตุผลที่เมฆขยายตัวออกด้านข้างอยู่ท่ีบริเวณโทรโพเพาส์โดยไม่ผ่านเข้าไปยังชั้น สตราโทสเฟียร์ เพราะอุณหภูมิของโทรโพสเฟียร์ส่วนบนกับสตราโทสเฟียร์ส่วนล่างนั้นต่างกัน คือท่ีโทรโพสเฟียร์ส่วนบน อณุ หภูมิประมาณ -70 องศาเซลเซียส ในขณะท่ีชน้ั สตราโทสเฟียร์ได้รบั อทิ ธิพลจากชน้ั โอโซนทาใหอ้ ุณหภมู ิสูง กว่า ความแตกต่างของอุณหภูมิท่ีทาให้ยอดเมฆไม่สามารถผ่านเข้าไปยังชั้นสตราโทสเฟียร์ได้ ในขณะท่ีกาลัง เกิดเมฆควิ มูโลนมิ บสั เป็นรปู ทง่ั (รูปร่างที่กาลังโตเต็มที่) จะเกดิ ปรากฏการณต์ ่างๆ มากมาย เชน่ เกิดฝนฟา้ เมื่อ เมฆคิวมูโลนิมบัสปกคลุมท้องฟ้า บริเวณนั้นจะบดบังแสงอาทิตย์จนมืด บางคร้ังอาจทาให้ดูเหมือนกลางคืนใน 9แทง่ เหล็กสาหรับชา่ งใช้รองรับในการตโี ลหะบางชนดิ เช่น เหล็ก ทอง ให้เป็นรปู ต่างๆ เป็นต้น

ขณะท่ีเป็นเวลากลางวัน ภายในเมฆจะเกิดการถ่ายเทอากาศอย่างรุนแรง กระแสลมที่พัดมายังพ้ืนดินนั้นอาจ กอ่ ให้เกิดลมกระโชกและเกดิ เมฆรูปกรวยซึ่งตามมาดว้ ยพายุทอร์นาโด เป็นตน้ เมื่อแรงดันในชั้นบรรยากาศเกิดความแปรปรวน ก๊าซในช้ันบรรยากาศจะหนาแน่นขึ้นและก้อนเมฆ รวมตัวกันสามารถพัฒนากลายเป็นเมฆฝน หรือพายุได้ ซ่ึงพายุฝนท่ีก่อตัวสมบูรณ์แล้วจะถูกเรียกว่า “คิวมูโลนิมบัส” และแยกแยะได้ง่ายจากภาพถ่ายดาวเทียม กาลังแรงของก้อนเมฆคิวมูโลนิมบัสมีแสงสีขาวท่ี ทะลุผ่านชั้นบรรรยากาศโทรโพเพาส์โดยเฉพาะอย่างย่ิง ทาให้ง่ายต่อการค้นหาร่องรอยบนภาพถ่ายดาวเทียม และถึงแม้ว่าฐานของก้อนเมฆคิวมูโลนิมบัสอาจจะอยู่ต่าถึง 3 – 4,000 ฟุต แล้วก็ตาม แต่ชั้นบนของเมฆก็จะ แพร่กระจายออกเพราะว่าอยู่สูงท่ีโทรโพเพาส์ซ่ึงบ่อยครั้งจะอยู่ประมาณ 50 –60,000 ฟุต เม่ืออยู่สูงในหน้า ร้อน จะกลายเป็นพายุใหญ่ การเปล่ียนแปลงของเมฆ Cb อาจเจริญเติบโตกลายเป็นเมฆ Ci, Cs, As, Ac, Ns, Sc, St รูปที่ 23 เมฆคิวมโู ลนมิ บสั (Cumulonimbus) รปู ที่ 24 เมฆทง้ั 10 สกุล แบ่งตามระดบั ความสงู

เน่ืองจากเมฆปรากฏรูปร่างลักษณะให้เห็นและมีการเปล่ียนแปลงต่อเน่ืองกันอยู่ตลอดเวลา ดังน้ันจึง ไดม้ กี ารจดั เขา้ เปน็ หมวดหมู่ไว้เป็นลาดบั ดังนี้ 1.สกลุ (Genera) 2.ชนดิ (Species) 3.พันธุ์ (Varieties) 4.ลกั ษณะเสรมิ และเมฆทผี่ สมหรอื เพม่ิ เตมิ (Supplementary features and accessory clouds) 5.เมฆด่ังเดมิ (Mother - clouds) ซง่ึ เพมิ่ เตมิ เขา้ มาเพ่อื ทจี่ ะช้ีใหเ้ ห็นวา่ เมฆนั้นเปลีย่ นแปลงไปจากเดิม เชน่ ไรหรือกอ่ ตวั เพ่มิ จากเดิม การจัดแบง่ ประเภทและการจัดเขา้ หมวดหมขู่ องเมฆ ถือตามหลักดังน้ี  ลักษณะท่ีปรากฏให้เห็น (Appearance)  กรรมวิธกี ารเกิด (Process of formation)  ความสงู ของเมฆโดยทั่วไป (Common height)  สว่ นประกอบทเ่ี ป็นแบบพเิ ศษโดยเฉพาะตา่ งหาก (Particulate composition) 1.สกลุ ของเมฆ (Genera) แบ่งออกเป็น 10 สกลุ ในที่น้ไี ด้อธบิ ายลกั ษณะของเมฆทัง้ 10 สกลุ ไว้แลว้ ในขอ้ 2.3 การแบง่ ประเภทของเมฆตามระดบั ความสงู 1.1 เมฆเซอรร์ สั (Cirrus) 1.2 เมฆเซอร์โรคิวมลู ัส (Cirrocumulus) 1.3 เมฆเซอรโ์ รสเตรตสั (Cirrostratus) 1.4 เมฆอลั โตควิ มูลัส (Altocumulus) 1.5 เมฆอลั โตสเตรตสั (Altostratus) 1.6 เมฆสเตรตัส (Stratus) 1.7 เมฆสตราโตควิ มูลัส (Stratocumulus) 1.8 เมฆนิมโบสเตรตสั (Nimbostratus) 1.9 เมฆคิวมลู สั (Cumulus)

1.10 เมฆคิวมโู ลนิมบสั (Cumulonimbus) 2.ชนดิ ของเมฆ (Species of Clouds) แบ่งออกเป็น 14 ประเภท โดยใช้หลักดังตอ่ ไปนี้  การจัดตัวของมัน (Form) เช่น แผ่เป็นป้ืน (Banks) เป็นเหมือนม่าน (Veils) เป็นแผ่น (Sheets) หรือ เป็นชน้ั ในระดับเดียวกัน (Layers)  มติ ิ (Dimensions) พจิ ารณาจากเนือ้ ทีข่ องอนุภาคทป่ี ระกอบกนั เปน็ ความสงู ของเมฆ  โครงสร้างภายใน (Internal structure) พิจารณาจากส่วนประกอบของเมฆ เช่น ผลึกน้าแข็ง (Ice cystals) และเม็ดน้า (Water droplets) เปน็ ต้น  พิจารณาจากกรรมวิธีที่เป็นท่ีรู้จักหรือสมมติกรรมวิธีทางฟิสิกส์ซึ่งอาจเข้ามามีส่วนร่วมในการก่อตัว ของเมฆ เช่น เมฆท่เี กดิ ข้นึ เนื่องจากภมู ปิ ระเทศเป็นภเู ขา เปน็ ต้น 2.1 ฮวิ มิลสิ (Humills) เมฆชนิดนี้เป็นเมฆชนิดหนึ่งของเมฆคิวมูลัส เรียกว่าเมฆคิวมูลัสฮิวมิลิส เมฆคิวมูลัสนั้นแบ่งชนิด ตามลาดับช้ันการเจริญเติบโตเป็น 3 ช้ัน โดยเมฆฮิวมิลิสคือลาดับแรก โดยมากแล้วจะหมายถึงเมฆคิวมูลัสที่ เพ่ิงเริ่มก่อตัว โดยมีลกั ษณะเด่นคอื ยอดเมฆค่อนขา้ งมน คาว่า Humills นั้นมาจากภาษาละติน มีความหมายว่า เตี้ย เล็ก บางเบา ตามลักษณะของเมฆชนิดน้ี จึงนามาต้ังเป็นช่ือ เมื่อเมฆคิวมูลัสเร่ิมก่อตัวแล้วถูกกระแสลมแรงในแนวราบอย่างรวดเร็ว อาจเริ่มหยุดการ ขยายตัวในแนวราบ และมักจะเร่ิมขยายตัวจนยอดสูงขึ้น เม่ือถึงจุดน้ีหมายถึงเริ่มเปลี่ยนไปเป็นเมฆเมดิโอคริส ซึ่งเป็นลาดบั ข้นั ทีส่ อง รูปที่ 25 เมฆควิ มลู สั ฮิวมิลสิ (Cumulus Humills) 2.2 เมดิโอคริส (Mediocris) คาว่า Mediocris ในภาษาละติน แปลว่า โดยเฉลี่ย (Average) เม่ือใช้กับเมฆคิวมูลัส จะหมายถึง ควิ มลู สั ที่กาลงั เติบโต โดยมคี วามสงู พอๆ กับความกว้าง โดยทยี่ อดเมฆจะแสดงใหเ้ หน็ ว่าเมฆกาลังเตบิ โตข้นึ

รูปที่ 26 เมฆคิวมลู สั เมดโิ อครสิ (Cumulus Mediocris) 2.3 คอนเจสทสั (Congestus) เมื่อเมฆคิวมูลัสเติบโตข้ึนจนมีความใหญ่โตมากและอาจสูงถึง 5 – 6 กิโลเมตร จะเรียกว่า คิวมูลัส คอนเจสทัส (Cumulus Congestus) ซ่ึงอาจเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า คิวมูลัสที่ก่อตัวสูงคล้ายหอคอย (Towering Cumulus) หากคิวมูลัส คอนเจสทัส เติบโตต่อไปก็จะกลายไปเปน็ เมฆคิวมูโลนมิ บัส (Cumulonimbus) หรือเมฆ ฝนฟ้าคะนอง (Thundercloud) รูปท่ี 27 เมฆคิวมูลสั คอนเจสทัส (Cumulus Congestus) 2.4 แฟรก็ ทัส (Fractus) เมฆที่มีลักษณะขาดว่ิน มีขอบเปน็ รอยหยกั ใชก้ บั เมฆสกลุ Cumulus และ Stratus รูปท่ี 28 เมฆแฟรก็ ทัส (Fractus)

2.5 สแตรติฟอร์มสิ (Stratiformis) เมฆชนิดนี้จะมีลักษณะแผ่ออกตามแนวระดับเป็นพ้ืนที่กว้างอย่างมาก ลักษณะเช่นนี้เกิดในเมฆสกุล Stratocumulus, Altocumulus และ Cirrocumulus รปู ที่ 29 เมฆสแตรตฟิ อรม์ ิส (Stratiformis) 2.6 เลนติควิ ลารสิ (Lenticularis) เมฆน้ีมีลักษณะผิวบนและล่างเหมือนเลนส์ (บางคร้งั อาจเปรียบกับรูปร่างของเม็ดอัลมอนด์) ลักษณะ เชน่ น้ีเกิดในเมฆสกลุ Stratocumulus, Altocumulus และ Cirrocumulus รูปที่ 30 เมฆเลนติควิ ลาริส (lenticularis) 2.7 เนบวิ โลซัส (Nebulosus) เมฆชนิดน้ีจะมีลักษณะเหมือนม่านบางๆ หรือเป็นช้ันสม่าเสมอ ใช้กับเมฆสกุล Stratus และ Cirrostratus รปู ที่ 31 เมฆเนบวิ โลซสั (Nebulosus)

2.8 ฟร็อกคสั (Floccus) เมฆแต่ละก้อนมีลักษณะเป็นกระจุกหรือเป็นปุย คาว่า Floccus ในภาษาละตินแปลว่า กระจุกหรือ ปอยผม (Tuft) โดยปกติแล้วด้านบนจะค่อนข้างกลม ส่วนด้านล่างมักจะดูขรุขระขาดว่ิน เมฆชนิดน้ีอาจมีน้า โปรยฐานเมฆ (Virga) ร่วมดว้ ย เมฆชนดิ ฟร็อกคสั เกดิ ในสกลุ Cirrus, Cirrocumulus และ Altocumulus รูปที่ 32 เมฆฟร็อกคัส (Floccus) 2.9 ไฟเบรทัส (Fibratus) เมฆที่มีลักษณะเป็นเส้นโดยไม่มีปลาย มีลักษณะงอเป็นขอ หรือเป็นกระจุก เมฆชนิดน้ีเกิดในสกุล Cirrus และ Cirrostratus รูปท่ี 33 เมฆไฟเบรทสั (Fibratus) 2.10 อังซินัส (Uncinus) เมฆที่มีลักษณะปลายคล้ายตะขอเก่ียว คาว่า Uncinus เป็นภาษาละติน แปลว่า ตะขอ (Hooked) เมฆชนดิ นี้เกดิ ในสกลุ Cirrus เท่านั้น รปู ท่ี 34 เมฆองั ซนิ สั (Uncinus)

2.11 สปิสเซทสั (Spissatus) เมฆสกลุ Cirrus ที่มคี วามหนาคอ่ นข้างมาก ทาใหเ้ ห็นเป็นสีเทาเม่ือมองผ่านเมฆนี้ไปยงั ดวงอาทติ ย์ รปู ที่ 35 เมฆสปสิ เซทสั (Spissatus) 2.12 แคสเทลเลนัส (Castellanus) หรอื เมฆรูปหอคอย เมฆที่ส่วนบนมีลักษณะสูงยื่นขึ้นไปด้านบนคล้ายหอคอยของปราสาท คาว่า Castellanus มาจาก ภาษาละตินคือ Castellum แปลว่าปราสาท (Castle) ในพจนานุกรม A Dictionary of Weather ระบุว่าช่ือ ทถ่ี กู ตอ้ งของเมฆชนดิ นี้ ได้แก่ Castellatus ซึ่งมาจากภาษาละตนิ แปลว่า มีลกั ษณะคล้ายหอคอย (Turreted) รปู ท่ี 36 เมฆแคสเทลเลนสั (Castellanus) 2.13 แคลวัส (Calvus) สว่ นบนของเมฆคิวมูโลนมิ บัส ซึ่งเรม่ิ จะมขี อบเมฆที่เห็นไมช่ ัดเจน ต่างจากขอบเมฆของคิวมลู ัสท่ัวไปท่ี มีขอบตะปุ่มตะป่าชัดเจน อาจมีริ้วรอยขนาน (Striation) ปรากฏอยู่บ้าง ลักษณะเช่นน้ีบ่งบอกว่าส่วนบนของ เมฆเรมิ่ เกดิ การกลายเป็นนา้ แข็ง (Glaciation) รูปท่ี 37 เมฆแคลวสั (Calvus)

2.14 แคพลิ ลาตสั (Capillatus) ส่วนบนของเมฆคิวมูโลนิมบัส ซึ่งมีลักษณะเป็นปุยหรือขนนกแผ่ออกไป (อาจเป็นรูปท่ังหรือ สามเหล่ยี มชายธง) คาวา่ Capillatus เป็นภาษาละตนิ หมายถึง มผี มดก รูปที่ 38 เมฆแคพิลลาตสั (Capillatus) 3.พนั ธ์ุของเมฆ (Varieties of Clouds) เป็นการแบ่งเมฆจากสกุล (genera) และชนิด (species) ลงไปอีก ขึ้นอยู่กับการจัดตัวของอนุภาค ใหญ่ๆ ภายในกอ้ นเมฆซึง่ ทาให้ก้อนเมฆนนั้ โปร่งแสงมากหรือน้อย พิจารณาจากหวั ข้อดังตอ่ ไปนี้  ความโปร่งบางของเมฆ (คือเมฆนนั้ บงั ดวงอาทติ ยห์ รือดวงจันทรไ์ ดม้ ากน้อยเทา่ ใด)  การจัดตัวของอนุภาคใหญ่ๆ (macroscopic elements) ภายในเมฆ (เมฆประกอบด้วยอนุภาคซึ่ง รวมกันในรูปลักษณะตา่ งๆ) พนั ธข์ุ องเมฆทจ่ี ดั แบง่ นน้ั ไม่มีลักษณะจากัดเฉพาะของตัวมันเอง สามารถแบ่งแยกยอ่ ยออกไปอีก 9 ชนิด ดงั นี้ 3.1 ดพู ลเิ คทสั (Duplicatus) เมฆสกุลเดียวกันท่ีเกิดขึ้นมากกว่าหน่ึงระดับในเวลาเดียวกัน เรียกว่า Duplicatus ลักษณะเช่นน้ีเกิด ข้นึ กบั เมฆสกลุ Stratocumulus, Altocumulus, Altostratus, Cirrus และ Cirrostratus รปู ท่ี 39 เมฆ Altocumulus duplicatus (Ac du)

3.2 ลาคิวโนซัส (Lacunosus) เมฆกอ้ นท่ีจดั วางตวั แผต่ ามแนวนอน แต่มีรเู ปดิ หรือชอ่ งว่างกระจายแบบปกติ คาว่า Lacunosus เป็น ภาษาละติน แปลว่า มีรู (having holes)เมฆที่อาจมีลักษณะเช่นนี้ได้แก่ Altocumulus, Cirrocumulus และ Stratocumulus รูปท่ี 40 เมฆ Cirrocumulus stratiformislacunosus 3.3 อินทอร์ทสั (Intortus) ลกั ษณะของเมฆท่ีมเี สน้ ของเมฆเซอรร์ สั (Cirrus) มีรูปรา่ งโค้งแบบไม่สม่าเสมอและพนั กัน รูปที่ 41 เมฆ Cirrus Intortus 3.4 โอเพคสั (Opacus) เมฆท่ีกระจายตัวท่ัวท้องฟ้าและหนาทึบจนมองไม่เห็นดวงอาทิตย์หรือดวงจันทร์ เรียกว่า โอเพคัส (Opacus) ซ่ึงมีรากศัพท์เดียวกับ Opaque ที่แปลว่า ทึบเมฆที่มีลักษณะเช่นน้ี ได้แก่ เมฆในสกุล Stratocumulus, Stratus, Altocumulus และ Altostratus รปู ที่ 42 เมฆ Stratus Opacus

3.5 เพอร์ลซู ิดัส (Perlucidus) เมฆท่ีกระจายตัวเปน็ แผ่น หรือหยอ่ มกว้าง แต่มีชอ่ งวา่ งซ่งึ อาจมขี นาดเลก็ ที่ทาใหม้ องเห็นท้องฟ้า ดวงอาทติ ย์ หรอื ดวงจนั ทร์ได้ ลกั ษณะเช่นนี้พบในเมฆสกุล Stratocumulus และ Altocumulus รปู ท่ี 43 เมฆ Altocumulus Perlucidus 3.6 ทรานสลูซิดสั (Translucidus) ลักษณะของเมฆที่ยอมให้แสงอาทิตย์หรือแสงจันทร์ส่องผ่านมาได้บางส่วน เกิดข้ึนกับเมฆหลายสกุล ได้แก่ Stratocumulus, Stratus, Altocumulus และ Altostratus รปู ที่ 44 เมฆ Altocumulus Stratiformis Translucidus 3.7 เวอรท์ เี บรทสั (Vertebratus) ลักษณะของเมฆที่ดูคล้ายกระดูกซี่โครง ก้างปลา หรือสัตว์มีกระดูกสันหลัง เป็นคาแสดงพันธุ์ (Variety) ของเมฆทใ่ี ชก้ ับเมฆเซอรร์ ัสโดยเฉพาะ รปู ที่ 45 เมฆ Cirrus Vertebratus

3.8 เรดิเอทัส (Radiatus) ลักษณะของเมฆท่ีเรียงตัวเป็นแถวขนานกันเป็นพน้ื ที่กว้าง ซึ่งหากมองจากบางมุมจะเห็นส่วนที่อยู่ไกล ลู่เข้าหากัน หรือมีจุดกาเนิดแนวเมฆอยู่ไกลออกไป “ฉายรังสี” เมฆออกมา เมฆพันธุ์นี้จึงเรียกว่า เรดิเอทัส (Radiatus) ซ่ึงมีรากศัพท์เดียวกับคาว่า Radiate หมายถึง การแผ่รังสีออกไป เมฆที่อาจมีลักษณะเช่นนี้ได้แก่ Cumulus, Stratocumulus, Altocumulus, Altostratus และ Cirrus รูปที่ 46 เมฆ Cumulus Radiatus 3.9 อนั ดูเลทัส (Undulatus) ลักษณะของเมฆที่ปรากฏเป็นคลื่นสลับกันระหว่างเมฆกับท่ีว่าง (ท้องฟ้า) เรียกว่า อันดูเลทัส (Undulatus) ซึ่งมาจากภาษาละติน หมายถึง มีลักษณะเป็นคลื่น (Waved) พันธ์ุของเมฆแบบอันดูเลทัสเกิด ขึ้นกับเมฆหลายสกุล ได้แก่ Stratocumulus, Stratus, Altocumulus, Altostratus, Cirrocumulus และ Cirrostratus รปู ที่ 47 เมฆ Altocumulus Undulates 4.ลกั ษณะเสริมและเมฆท่ีมาผสมหรอื เพ่ิมเติม (Supplementary features and accessory cloud) มี 9 ชนิด (ลกั ษณะเสรมิ 6 ชนิดและเมฆทม่ี าผสมหรือเพมิ่ เติม 3 ชนดิ ) ดงั น้ี ลกั ษณะเสรมิ (supplementary features) มี 6 ชนิด 4.1 องิ คัส (inc): Incus

ลักษณะเสริมของเมฆคิวมูโลนิมบัสคือส่วนบนจะมีเมฆยื่นออกไปเป็นรูปท่ังตอนบนเรียบ มีลักษณะ เป็นฝอยๆ หรือเป็นเส้นๆ (เป็นเมฆน้าแข็ง - Ice cloud) หรือมองดูเป็นร่องเล็กๆ (Striated) ลักษณะเมฆรูป ดงั กล่าวบางครงั้ เรียกวา่ เมฆรูปทั่ง (Anvil - cloud) หรือหัวพายฟุ ้าคะนอง (thunderhead) 4.2 แมมมา (mam): Mamma มีลักษณะท่ีโป่งย้อยลงมาคล้ายเต้านมสัตว์อยู่ใต้ฐานเมฆ ลักษณะดังกล่าวน้ีส่วนใหญ่เกิดขึ้นกับเมฆ Cirrus, Cirrocumulus, Altocumulus, Altostratus, Stratocumulus, Cumulus และ Cumulonimbus 4.3 เวอรก์ า้ (vir): Virga คือน้าฟ้าหรือฝนท่ีตกลงมาเป็นสายๆ ในแนวตั้งหรือแนวเฉียงมองดูเหมือนสายน้าตกหรือม่านบางๆ ต่อจากใต้ฐานเมฆลงมา ซึ่งน้าฟ้านั้นจะไม่ตกลงมาถึงพื้นดินคือจะเกิดการระเหยกลายเป็นไอทั้งหมดก่อนถึง พ้ืนดิน เมฆประเภทนม้ี กั เกิดขนึ้ กบั เมฆตระกลู Cirrocumulus, Altocumulus, Altostratus, Nimbostratus, Stratocumulus, Cumulus และ Cumulonimbus 4.4 พรชี พิ ิเตตโิ อ (pre): Praecipitatio คือน้าฟ้า เช่น ฝนหิมะลูกปรายน้าแข็ง10 (ice pellets) และลูกเห็บ เป็นต้น ซ่ึงตกลงมาจากเมฆและ ลงถึงพืน้ ดินนา้ ฟ้าดังกล่าวมักเกดิ ขึ้นกับเมฆตระกูล Altostratus, Nimbostratus, Stratocumulus, Stratus, Cumulus และ Cumulonimbus 4.5 อารค์ สั (arc): Arcus เมฆดาหนามีลักษณะเปน็ กอ้ นม้วนตัวกลมๆ (roll) ทางแนวนอน ขอบของเมฆดูกะรุ่งกะริ่งเหมือนชาย ผ้าข้ีริ้ว เมฆน้ีอยู่ส่วนล่างทางด้านหน้าเมฆประเภทคิวมูโลนิมบัส (Cb) มีลักษณะดาทะมึนเม่ืออยู่ติดๆ กันหรือ กองซ้อนกัน เมฆลักษณะดังกล่าวเกดิ กบั เมฆ Cumulonimbus และเกิดกบั เมฆ Cumulus ในบางครั้ง 4.6 ทิวบา (tub): Tuba เมฆท่ีมีลักษณะเป็นลาหรือเหมือนรูปกรวยกลับหัวย่ืนลงมาจากฐานเมฆ เม่ือเมฆเสริมนี้ยื่นลงมาถึง พื้นดินจะมองเห็นเมฆวนเป็นวงชัดเจนและรุนแรง (intense vortex) เรียกว่าพายุทอร์นาโดหรือพวยน้า ชาวเรือมักเรียกว่าเมฆงวงช้าง เมฆลักษณะดังกล่าวเกิดกับเมฆตระกูล Comulonimbus และเกิดกับเมฆ Cumulus ในบางคร้งั 10น้าฟา้ ท่ีตกลงมาในรูปของเมด็ น้าแขง็ ใสหรอื ฝา้ มีลักษณะเป็นรูปทรงกลมหรอื เป็นรปู ต่างๆ

เมฆทมี่ าผสมหรอื เพิม่ เติม (accessory clouds) มี 3 ชนดิ 4.7 ไพลอิ สั (pil): Pileus เป็นเมฆผสมที่แผ่ไปตามแนวนอนไม่กว้างมาก มีรูปร่างคล้ายหมวกแก๊ปหรือผ้าคลุมผมอยู่เหนือหรือ ติดอยู่กับตอนบนของเมฆแบบที่ก่อตัวในแนวต้ัง (Cumuliform) ซึ่งมักจะแทรกเข้าไปในเมฆเล็กเป็นเมฆผสม ส่วนมากเมฆผสมนม้ี องเหน็ เปน็ กองซอ้ นๆ กนั เมฆนเี้ กิดอยกู่ บั เมฆ Cumulus และ Cumulonimbus ส่วนใหญ่ 4.8 วีลมั (vel): Velum เปน็ เมฆผสมที่มลี กั ษณะเหมือนมา่ นบางหรอื ผา้ คลมุ หน้าผ้หู ญิง (veil) มขี นาดกว้างแผไ่ ปตามแนวนอน เมฆเล็กๆ น้ีอยู่ใกล้ส่วนบนหรือติดกับส่วนบนของเมฆแบบท่ีก่อตัวในแนวตั้ง ซ่ึงมักจะแทรกเข้าไปในเมฆผสม เมฆนี้เกดิ อยกู่ บั เมฆ Cumulus และ Cumulonimbus 4.9 แพนนสั (pan): Pannus คือเมฆช้ินเล็กมองดูรุ่งริ่งซ่ึงบางครั้งก็ประกอบกันเป็นแนวติดต่อกันไปอยู่ ส่วนล่างของเมฆอ่ืนแต่ บางคร้ังก็ติดกับเมฆอื่น เมฆน้ีเกิดกับเมฆ Altostratus, Nimbostratus, Cumulus และ Comulonimbus เปน็ ส่วนใหญ่ 5.เมฆด้ังเดิม (Mother - clouds) คือเมฆที่มีอยู่แต่เดิมก่อนที่จะเปล่ียนรูปไป หรือเจริญเติบโตขึ้น กลายเป็นเมฆใหม่แตกต่างจากเมฆเดิมโดยสิ้นเชิง กรรมวิธีการเกิด หรือการก่อตัวเรียกว่า “genitus” และ “mutatus” 5.1 “genitus” คือส่วนหนึ่งของเมฆท่ีก่อตัวข้ึนและขยายตัวออกมากหรือน้อยกลายเป็นเมฆอีกสกุล หนึ่ง(genus) ต่างจากสกุลเดิมและอาจจะรวมหรือไม่รวมอยู่กับเมฆเดิม การให้ช่ือเมฆใหม่น้ีจะนาคาว่า “genitus” ต่อท้ายเมฆสกุลเดิมและนาช่ือของสกุลใหม่ไว้ข้างหน้า ตัวอย่างเช่น เม่ือส่วนบนของเมฆ คิวมูโลนิมบัสก่อตัวข้ึนกลายเป็นเมฆเซอร์รัส (อยู่ด้านบน) เมฆชนิดนี้เรียกช่ือว่าเซอร์รัสคิวมูโลนิมโบเจนิตัส (Cirrus cumulonimbogenetus) เปน็ ตน้ 5.2 “mutatus” คาว่า “mutatus” นี้ใช้เมื่อเมฆท้ังหมดหรือส่วนใหญ่ของเมฆเกิดการเปลี่ยนแปลง ภายในโดยสมบูรณ์และกลายเป็นเมฆอีกสกุลหน่ึงต่างจากเมฆสกุลเดิมการให้ชื่อเมฆใหม่นี้ใช้ชื่อสกุลใหม่ นาหน้าตามด้วยเมฆสกุลเดิมและต่อท้ายคาว่า “mutatus” เช่น เมื่อเมฆตระกูลเซอร์โรสเตรตัสกลายเป็นเมฆ เซอร์รสั ทง้ั หมดเมฆชนดิ นี้เรียกช่ือว่าเซอร์รสั เซอรโ์ รสตราโตมิวเตตัส (Cirrus cirrostratomutatus) เป็นต้น ตารางท่ี 1 สรุปภาพรวมของเมฆสกลุ ตา่ งๆ (จากหนงั สือ The Cloud Collector’s Handookของ Gavin Pretor – Pinney หนา้ 104 – 105)

สกลุ ชนดิ พนั ธ์ุ เมฆตวั ประกอบ ลักษณะเสรมิ (Genus) (Species) (Variety) (Accessory Clouds) (Supplementary Features) Cumulus humilis radiatus pileus vriga mediocris velum praecipitatio congestus pannus arcus fractus tuba Stratocumulus stratiformis translucidus mamma lenticularis perlucidus virga castellanus opacus praecipitatio duplicatus Undulates Stratus nebulosus radiatus praecipitatio fractus lacunosus opacus virga Altocumulus stratiformis translucidus mamma lenticularis undulatus castellanus translucidus floccus perlucidus opacus duplicatus

สกลุ ชนดิ พันธุ์ เมฆตวั ประกอบ ลักษณะเสรมิ (Genus) (Species) (Variety) (Accessory Clouds) (Supplementary Features) undulatus radiatus lacunosus Altostratus translucidus pannus virga opacus praecipitatio duplicatus mamma undulatus radiatus Cirrus fibratus intortus mamma Cirrocumulus uncinus Nimbostratus spissatus radiatus castellanus floccus vertebratus stratiformis lenticularis duplicatus castellanus floccus undulatus lacunosus Cumulonimbus calvus pannus praecipitatio pannus virga praecipitatio

สกลุ ชนดิ พนั ธ์ุ เมฆตวั ประกอบ ลักษณะเสรมิ (Genus) (Species) (Variety) capilatus (Accessory Clouds) (Supplementary Features) pileus virga velum incus mamma arcus tuba 2.4 ขนั้ ตอนการจาแนกเมฆเบอ้ื งตน้ เมฆบนท้องฟ้ามีลักษณะแตกต่างกันตามสภาพอากาศท่ีเกิดขึ้นในขณะนั้น หรือที่กาลังจะเกิดขึ้น ใน การที่จะจาแนกเมฆดังกล่าว สามารถทาได้ง่ายโดย การดูเมฆบนท้องฟ้า และตอบคาถามตามขั้นตอน ดงั ต่อไปน้ี ขั้นตอนท่ี 1 เมฆท่เี ห็นอยู่ มฝี นตกหรือไม่? ตอบ ไมใ่ ช่ ใหข้ ้ามไปขัน้ ตอนที่ 2 ใช่ มีฟ้าร้อง ฟ้าแลบ และฝนตกหนกั ขณะท่เี มฆน้นั ปรากฏ แสดงวา่ เป็น “เมฆควิ มโู ลนมิ บัส” รปู ท่ี 48 เมฆควิ มโู ลนมิ บสั ใช่ ฝนตกปรอยๆ แสดงวา่ เป็น “เมฆนิมโบสเตรตัส”

รูปท่ี 49 เมฆนิมโบสเตรตสั ขัน้ ตอนท่ี 2 มีลักษณะเบาบาง คล้ายขนนก หรือไม่? ตอบ ไม่ใช่ ให้ข้ามไปข้ันตอนที่ 3 ใช่ แสดงวา่ เป็น “เมฆเซอร์รัส” รูปท่ี 50 เมฆเซอรร์ สั ข้ันตอนที่ 3 เป็นแผ่นราบเรียบ หรอื เปน็ ก้อนตะปุ่มตะป่า หรอื ทงั้ สองอย่าง? ตอบ แผ่นราบเรียบ ให้ข้ามไปขั้นตอนท่ี 4 กอ้ นตะปุ่มตะป่า ให้ขา้ มไปขัน้ ตอนท่ี 5 ท้งั สองอย่าง เมฆแผ่เปน็ แผน่ ผสมกบั ก้อนเมฆขนาดใหญ่ แสดงว่าเปน็ “เมฆสตราโตคิวมลู สั ” รูปท่ี 51 เมฆสตราโตควิ มลู ัส

ขั้นตอนที่ 4 แยกแยะเมฆจากระดบั ความสงู และความหนาของเมฆ ตอบ ถา้ เมฆอยู่ในระดับสูง เบาบางและเกดิ แสงสขี าวหรือมีวงแสง (Halo)แสดงวา่ เปน็ “เมฆเซอรโ์ รสเตรตสั ” ถ้า รูปที่ 52 เมฆเซอรโ์ รสเตรตสั ควิ มลู ัส” เมฆหนา แตแ่ สงอาทิตยย์ งั สามารถส่องทะลุลงมาท่ีพื้นดนิ ได้ แสดงว่าเปน็ “เมฆอลั โต รูปท่ี 53 เมฆอลั โตคิวมลู สั ถ้า เมฆอยู่ในระดบั ต่า มองไม่เห็นสีเทาในสว่ นล่างของเมฆ (ฐานเมฆ) และปกคลุมเต็มทอ้ งฟา้ แสดงวา่ เป็น “เมฆสเตรตสั ” รปู ที่ 54 เมฆสเตรตสั

ข้นั ตอนที่ 5 ดขู นาดของก้อนเมฆ เปรียบเทยี บกบั มือ ตอบ ถ้า กอ้ นเมฆมีขนาดเทา่ เล็บมือ (ขนาดเล็กมาก) แสดงว่าเป็น “เมฆเซอร์โรควิ มลู ัส” รูปที่ 55 เมฆเซอรโ์ รควิ มลู สั ถ้า ก้อนเมฆมีขนาดเท่านวิ้ หวั แม่มือ (ขนาดกลาง) แสดงวา่ เป็น “เมฆอัลโตคิวมูลสั ” รปู ท่ี 56 เมฆอัลโตคิวมลู สั ถา้ กอ้ นเมฆมีขนาดเทา่ กาปัน้ (ขนาดใหญ)่ แสดงวา่ เปน็ “เมฆควิ มูลัส” รูปที่ 57 เมฆควิ มูลสั 2.5 การนาเทคโนโลยดี าวเทยี มมาใชใ้ นการแบ่งประเภทของเมฆ เมฆที่เห็นบนท้องฟ้าอาจจะมีลักษณะคล้ายๆ กัน ทาให้ไม่สามารถแบ่งประเภทเมฆได้ด้วยสายตาการ นาดาวเทียมมาวัดการสะท้อนของแสงจากดวงอาทิตย์ ที่เกิดจากก้อนเมฆและพื้นผิวโลก จะทาให้ทราบถึง โครงสร้างของเมฆ (อุณหภูมิ ความหนา ปริมาณไอน้า และความสูงของเมฆน้ันๆ) ซึ่งบ่งบอกถึงสภาพลักษณะ

อากาศ และเมื่อนาภาพถ่ายดาวเทียมมารวมกันหลายช่วงเวลา จะทาให้เห็นการเคล่ือนไหวของเมฆว่าไปใน ทศิ ทางใด ซึง่ เป็นส่ิงทบ่ี อกถึงการเคลื่อนตวั ของระบบอากาศ คุณสมบตั ขิ องภาพ (Properties of image) ภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาแต่ละชนิดท่ีดาวเทียมสามารถรับได้ในช่วงคล่ืนต่างๆ น้ันมีลักษณะ เฉพาะท่ีสามารถบง่ บอกถงึ ลกั ษณะของเมฆโดยท่ีแบง่ ออกเป็น 3 ชนดิ ดังน้ี  ภาพถา่ ยแบบเห็นด้วยตา (Visible image: VIS) แสดงถึงความเข้มของแสงสะท้อนของดวงอาทิตย์จากเมฆ หรือผิวโลก ทาให้สามารถตรวจจับพ้ืนที่ท่ี เป็นมหาสมทุ ร พ้ืนผิวโลก และเมฆ โดยพน้ื ที่ทีม่ ีการสะทอ้ นสูงจะไดภ้ าพที่มีความสว่างมากกว่า โดยท่ัวไปแล้ว หมิ ะและเมฆจะมีความสว่างเพราะมีการสะท้อนสูง ส่วนของพื้นดินจะมีความมืดมากกว่าเมฆ และพื้นทะเลจะ มีความมืดที่สุด เพราะมีการสะท้อนต่า อย่างไรก็ตามการสะท้อนแสงท่ีดาวเทียมตรวจวัดได้ก็ข้ึนอยู่กับมุมของ ดวงอาทิตย์และจุดที่สารวจ ในช่วงเวลาเช้าและเย็นและพ้ืนที่ท่ีอยู่ในละติจูดสูง จะรับภาพได้โดยที่มีความมืด กว่าปกติ เพราะเปน็ ส่วนท่ีมีแสงตกกระทบน้อย เกดิ จากมุมของดวงอาทติ ยท์ าให้มแี สงสะท้อนน้อย การใช้งานถ่ายแบบเหน็ ดว้ ยตา (Visible image: VIS) - ใช้แยกระหว่างเมฆหนาและบาง เน่ืองจากการสะท้อนของเมฆข้ึนอยู่กับปริมาณและความหนาแน่น ของละอองเมฆ (cloud droplet) และหยดน้าฝน (rain drop) ท่ีอยู่ในเมฆ ซึ่งปกติแล้วเมฆระดับต่าจะมี ปริมาณละอองเมฆและหยดน้าฝนมากกว่าเมฆระดับอื่นๆ ดังน้ัน จึงทาให้ดูสว่างกว่าเมฆระดับสูง ส่วนเมฆ คิวมูโลนิมบัสและเมฆหนาแบบอื่นๆ ที่มีการก่อตัวในแนวต้ังจะมีละอองเมฆและหยดน้าฝนในปริมาณมาก จึง ทาใหด้ ูสวา่ งในภาพ VIS รวมถึงเมฆระดับสงู ทบ่ี างแตม่ เี มฆระดับต่าลอยอยู่ด้านลา่ งก็สามารถมองเห็นได้ -ใช้แยกระหว่างเมฆท่ีก่อตัวในแนวต้ังและเมฆแผ่น ซึ่งสามารถระบุชนิดเมฆได้จากความหยาบ/ ละเอียดของผวิ ยอดเมฆ เมฆแผน่ นั้นจะราบเรียบเสมอกัน ในขณะท่เี มฆท่ีกอ่ ตัวในแนวตัง้ จะพืน้ ผวิ ตะปุ่มตะป่า -ใช้เปรียบเทียบความสูงของยอดเมฆ ถ้ามีเมฆระดับสูงอยู่รวมกัน เมื่อแสงจากดวงอาทิตย์ตกกระทบ ในแนวเฉยี งๆ อาจทาใหเ้ กิดเงาของเมฆท่ีสูงกวา่ พาดไปยงั เมฆที่ตา่ กว่า

รปู ท่ี 58 ภาพถ่ายดาวเทยี มแบบเห็นด้วยตา (VIS) ของเมฆคิวมูโลนมิ บสั ทีม่ เี มฆเซอร์รสั พุ่งออกทางด้านบน และลมระดบั สูงพดั มาจากทิศตะวนั ตกเฉียงใต้  ภาพถ่ายแบบวัดด้วยรังสีใตแ้ ดง (Infrared Image: IR) แสดงถึงการกระจายตัวของอุณหภูมิและสามารถดูได้ทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน ซึ่งอุณหภูมิท่ี สังเกตได้ไม่แตกต่างกัน จึงเป็นประโยชน์ต่อการสังเกตอุณหภูมิของเมฆและผิวโลก บริเวณที่มีอุณหภูมิต่าจะ ปรากฏภาพที่สว่างกว่าบรเิ วณทม่ี ีอุณหภูมิสงู การใช้งานภาพถ่ายแบบวัดดว้ ยรังสใี ตแ้ ดง (Infrared Image: IR) -ใช้ในการสงั เกตปรากฏการณ์ทางอุตนุ ยิ มวทิ ยา -ใช้ในการสังเกตความสงู ของยอดเมฆ -วัดอุณหภูมิของผิวโลก บริเวณที่ไม่มีเมฆปกคลุม สามารถใช้ภาพ IR วัดอุณหภูมิของผิวโลก ซึ่ง ประโยชนใ์ นการใหข้ ้อมูลของอุณหภูมิพืน้ ผวิ ทะเลในมหาสมุทร รูปที่ 59 ภาพถา่ ย IR สดี าแสดงวา่ มีอุณหภมู สิ งู กว่าบรเิ วณอื่นๆ สเี ทามีอณุ หภูมิต่ากวา่ และสขี าวแสดงถึงกอ้ นเมฆทม่ี อี ุณหภมู ติ า่ ทส่ี ุด ซ่งึ จะอยู่สงู ท่ีสดุ ด้วย

 ภาพถา่ ยปริมาณไอน้า (Water vapor: WV) แสดงถึงการกระจายตัวของอุณหภูมิเช่นเดียวกับภาพ IR ซ่งึ ภาพจะสว่างเมื่อมีอุณหภูมิต่าและมืดในที่ ท่มี ีอุณหภูมิสูง สาหรบั ภาพ WV จะเน้นถึงการถกู ดดู ซับด้วยปริมาณไอน้าในอากาศ ซึง่ ความสวา่ งของภาพทจ่ี ะ สัมพันธ์กบั ปรมิ าณไอน้าในบรรยากาศชนั้ บนและช้ันกลาง ในอากาศแห้งทม่ี ีปรมิ าณไอน้าอยู่นอ้ ยในบรรยากาศ ชั้นบนและกลาง ภาพจะมืดเพราะมีอุณหภูมิสูง ส่วนในอากาศชื้นท่ีมีปริมาณไอน้าอยู่มากในชั้นบนและกลาง ภาพท่ไี ด้จะดูสว่าง เพราะมีอณุ หภูมติ ่า การใช้งานภาพถ่ายปริมาณไอน้า (Water vapor: WV) -ตรวจจับการไหลของอากาศในบรรยากาศช้ันบนและช้ันกลาง ภาพ WV สามารถดูได้ถึงการแผ่รังสี จากปริมาณไอน้าในบรรยากาศชน้ั บนและกลาง รปู ท่ี 60 ภาพถา่ ยปริมาณไอน้า

ความหนาบทท่ี 3 การแบ่งประเภทของเมฆจากภาพถา่ ยดาวเทยี ม 3.1 การจาแนกเมฆจากองคป์ ระกอบของภาพถ่ายดาวเทยี ม ในการจาแนกเมฆแต่ละชนิดในภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาพิจารณาได้จากการสังเกต ลักษณะเฉพาะ (Feature) ทปี่ รากฏในภาพถา่ ยดาวเทยี มอนั ประกอบดว้ ย 1.ค่าความส่องสว่าง (Brightness) ค่าความเข้มในการส่องสว่างเป็นส่ิงที่ดีท่ีสุดที่ใช้ในการพิจารณา คุณลักษณะของเมฆและยงั ใช้ประเมนิ ค่าความหนาและความสงู ของเมฆได้ ค่าความส่องสว่างมากๆ ท่ีปรากฏในภาพ VIS เกี่ยวข้องกับความหนาของเมฆซ่ึงมีการสะท้อนแสงดวง อาทติ ยไ์ ดม้ ากกว่าและแสดงให้เห็นเป็นสีขาวเจดิ จา้ ลงไปจนถึงสเี ทาออ่ นๆ สว่ นเมฆทีบ่ างกวา่ จะมโี ทนสีเทาเข้ม จนถึงค่อนข้างดา เมฆหนา เมฆบาง รูปที่ 61 เมฆทปี่ รากฏบนภาพ VIS ขึน้ อยู่กับความหนาของเมฆ ในภาพ IR บริเวณที่มีค่าความส่องสวา่ งมากๆ หมายถงึ บริเวณที่มีอณุ หภูมิต่ามากเช่นบรเิ วณส่วนยอด ของเมฆหรือเมฆที่กอ่ ตัวในระดับสูงมักจะมีอุณหภูมติ ่าสีท่ีปรากฏในภาพดาวเทียมจึงเป็นสขี าวหรอื สีเทาออ่ นๆ เป็นตน้ ส่วนเมฆที่อยูต่ า่ กว่าและมีอุณหภูมิอุ่นกวา่ จะปรากฏในโทนสีที่คล้ากว่าหรือบางครั้งอาจกลมกลืนไปกับ พ้ืนดินหรือพนื้ น้าได้

35,000 ความสูง (ฟุต) อณุ หภมู ติ ่า,เมฆระดบั สูง 30,000 อณุ หภมู สิ ูง,เมฆระดับตา่ 25,000 20,000 อณุ หภมู ิ (องศาฟราเรนไฮต)์ 15,000 10,000 5,000 0 รูปท่ี 62 เมฆท่ปี รากฏบนภาพ IR ขน้ึ อยูก่ บั ความสูงและอุณหภูมิ 2.ความหยาบ/ละเอียดของพื้นผิวเมฆ (Cloud Texture) เป็นสิ่งสาคัญอีกประการหน่ึงที่ใช้ในการ พิจารณาแปลความซึ่งแสดงเฉพาะในภาพ VIS เท่าน้ันโดยพิจารณาเงาท่ีปรากฏขึ้นของเมฆ เมฆที่มีลักษณะ ตะปุ่มตะป่าและก่อตัวในแนวต้ังตั้งมักทาให้เกิดเงาได้ดีและมีเงาเป็นจานวนมากแสดงว่าเมฆก้อนน้ันมีพื้นผิวที่ หยาบ ขณะที่เมฆที่มีพ้ืนผิวในส่วนยอดของเมฆราบเรียบ (Smooth) มักจะปรากฏเป็นเงาขึ้นในบริเวณส่วน ยอดของเมฆนั้นแต่จะมีการทอดเงาเฉพาะบริเวณขอบไปยังช้ันเมฆท่ีอยู่ต่ากว่าหรือบนพ้ืนดินลมชั้นบนอาจทา ให้เมฆท่เี กิดขึ้นในระดับสูงฉีกขาดออกซึง่ อาจปรากฏใหเ้ หน็ เปน็ เสน้ ใยในภาพดาวเทยี มอุตนุ ิยมวทิ ยา รูปท่ี 63 ภาพถา่ ยดาวเทียม VIS แสดงความหยาบ/ละเอยี ดของพนื้ ผวิ เมฆแตล่ ะชนิด 3.รูปร่างลักษณะของโครงสร้าง (Organizational pattern) รูปร่างที่ปรากฏในภาพดาวเทียมอาจมี ลักษณะโครงสร้างเป็นแบบแถบ (Band), แนวหรือเส้น (Linear), การหมุนวนหรือแนวโค้ง (Circular) และ รูปแบบเซลล์ (Cellular)

รูปท่ี 64 รปู ร่างที่ปรากฏบนภาพถ่ายดาวเทียมในรูปแบบตา่ งๆ 4.ความคมชัดของขอบ (Edge definition) ขอบของเมฆที่ปรากฏในภาพถ่ายดาวเทียมเช่นลักษณะที่ ขาดวนิ่ หรือเปน็ ขอบที่คมชัดรวมทัง้ ขนาดและรูปทรงของเมฆสามารถใชใ้ นการพจิ ารณาชนดิ ของเมฆได้ เปน็ ต้น โดยท่ัวไปวิธีท่ีดีที่สุดในการพจิ ารณาจาแนกเมฆแต่ละชนิดตอ้ งนาภาพ VIS และภาพ IR ในช่วงเวลาเดยี วกนั กัน หรือใกล้เคียงกันและเป็นบริเวณเดียวกันมาพิจารณาร่วมกันเสมอในภาพ VIS ใช้ในการพิจารณาเก่ียวกับ รปู ทรงของเมฆ, ความหยาบ/ละเอียดพ้ืนผิวของเมฆ, รูปรา่ งลักษณะโครงสร้างของเมฆและความหนาของเมฆ ได้เป็นอย่างดี ข้อมูลเหล่าน้ีจาเป็นต้องนาไปเปรียบเทียบกับภาพ IR เพื่อพิจารณาความสูงต่าของเมฆซ่ึงเม่ือ นามาพิจารณาร่วมกันจะช่วยทาให้ไดข้ ้อสรุปในการแปลความเมฆในภาพถ่ายดาวเทียมได้ถกู ต้องรวมท้ังสภาพ อากาศทคี่ าดว่าจะเกดิ ข้นึ จากเมฆชนิดนนั้ ด้วย รปู ท่ี 65 ขอบของเมฆเมฆท่ปี รากฏในภาพถา่ ยดาวเทยี ม 3.2 การแปลความเมฆจากภาพถ่ายดาวเทยี ม 1.การแปลความเมฆแผน่ (Stratiform Clouds) เมฆแผ่นเกิดในสภาวะที่อากาศทรงตัวดี (Stable Air) ลักษณะแบนราบและแผ่ออกอาจปรากฏเป็น ช้ันๆ บริเวณส่วนบนของเมฆมีพ้ืนผิวที่ราบเรียบรูปร่างลักษณะทางโครงสร้างไม่เด่นชัดอาณาบริเวณของเมฆ

แผ่นที่แผ่ปกคลุมภูมิประเทศต่างๆ จะช่วยในการจาแนกชนิดของเมฆได้เป็นอย่างดีโดยเฉพาะเมฆท่ีเกิดใน ระดับต่าๆ และเน่ืองจากอุณหภูมิของเมฆเหล่าน้ันค่อนข้างอุ่นทาให้ปรากฏเป็นสีค่อนข้างดาจนถึงเทาปาน กลาง (Dark to Medium Gray) 1.1 หมอก/Stratus รวมกันส่วนยอดราบเรียบพื้นท่ีปกคลุมเป็นไปตามลักษณะภูมิประเทศ เมื่อเมฆ หนา ในภาพ VIS จะปรากฏเป็นสีขาวถึงเทาปานกลาง หากบางจะปรากฏเป็นรอยกระดากระด่างส่วนภาพ IR มีสีดาจนถึงเทาปานกลางเป็นเน้ือเดียวกันอาจแปรเปล่ียนไปตามอุณหภูมิแต่ละฤดูกาล หากอุณหภูมิระหว่าง เมฆกับพ้ืนผิวมีความแตกต่างกันน้อยจะทาให้การแปลความทาได้ยากบางครั้งอาจมีสีดากว่าพ้ืนดินหาก อณุ หภมู ิของพ้ืนดินนน้ั เย็นกว่า รูปที่ 66 (ซา้ ย) ลกั ษณะของเมฆสเตรตสั ทปี่ รากฏบนภาพ Visible (ขวา) ลกั ษณะของเมฆสเตรตสั ทป่ี รากฏบนภาพ Infrared 1.2 Altocumulus/Altostratus ส่วนยอดราบเรียบปรากฏเป็นชั้นๆ หรืออาจเป็นร้ิวๆ หรือพื้นผิว ราบเรียบหรืออาจเป็นเซลล์ขนาดเล็กๆ มักเกิดร่วมกับเมฆ Ci ในภาพ VIS มีสีเทาอ่อนกระดากระด่างหรือเป็น ร้ิวๆ ข้ึนอยู่กบั ความหนาและลักษณะชั้นของเมฆสว่ นภาพ IR มีสีเทาปานกลางเป็นเน้ือเดยี วกันขนึ้ อยู่กับระดับ ความสูงของเมฆ รปู ที่ 67 (ซา้ ย) ลกั ษณะของเมฆอลั โตควิ มูลสั หรอื เมฆอัลโตสเตรตสั ทีป่ รากฏบนภาพ Visible (ขวา) ลักษณะของเมฆอลั โตคิวมูลสั หรอื เมฆอลั โตสเตรตัส ทีป่ รากฏบนภาพ Infrared

2.การแปลความหมอกในภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวทิ ยา ในภาพดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาช่วงคลื่น Visible หมอกจะปรากฏเป็นแผ่นราบเรียบเหมือนกับเมฆ St ซึ่งการที่จะแยกหมอกออกจากเมฆ St ทาได้ยาก สาหรับภาพดาวเทียมอุตนุ ิยมวทิ ยาช่วงคลน่ื Infrared หมอก ปรากฏเป็นสีเทาหมน่ (Dull Shade of Gray) (ในกรณีทีม่ องเห็น) หากอณุ หภูมิของผิวพื้นและหมอกใกล้เคียง กันจะไม่ปรากฏหมอกในภาพดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาในช่วงคลื่น Infrared นอกจากนั้นหากหมอกเกิดข้ึนใน เวลากลางคืน จะไม่สามารถถ่ายภาพดาวเทียมในช่วงคลื่น Visible ได้ ซึ่งเป็นเครื่องมือช่วยประกอบในการ แปลความ จึงทาการตรวจพบบริเวณที่มหี มอกปกคลุมไม่ได้ โดยท่ัวไปภาพดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาช่วงคลื่น Visible/Infrared สามารถใช้ร่วมกันในการแปลความ หมอกซึง่ ตอ้ งพจิ ารณาหลายช่วงเวลาประกอบกันโดยพจิ ารณาบรเิ วณทป่ี รากฏเป็นเมฆสขี าวราบเรียบหากกลุ่ม เมฆสีขาวเหล่าน้ันไม่มีการเคล่ือนท่ีเมื่อเวลาผ่านไปแสดงว่าบริเวณนั้นเป็นพ้ืนที่หมอกปกคลุมสา หรับการ สลายตัวของหมอกจะเริ่มสลายตัวจากบรเิ วณขอบนอกเข้าสู่พื้นท่ีด้านในท้ังน้ีเน่ืองจากบริเวณขอบนอกน้ันบาง กวา่ หมอกท่ีเกดิ บริเวณภูเขาแมน่ ้าหรอื หบุ เขาจะมีขอบท่คี มชดั เพราะเป็นทห่ี มอกเกดิ ขึน้ ในพื้นท่คี ่อนข้างจากัด 3.การแปลความเมฆก้อน (Cumuliform Clouds) เมฆก้อนเกิดข้ึนในสภาวะที่อากาศไม่ทรงตัว (Unstable Air) ซึ่งอากาศมีการยกตัวและจมตัว รูปทรง ของเมฆจะเป็นก้อนๆ, แถบ, เซลล์หรือมีลักษณะคล้ายคล่ืน (Wave) ในภาพ VIS มักปรากฏใหัเห็นลักษณะ พ้ืนผิวของเมฆเปน็ ตะปมุ่ ตะปา่ ส่วนในภาพ IR ข้ึนอยูก่ บั ความสงู ของเมฆเหลา่ นน้ั 3.1 Cumulus ก้อนเล็กๆ รูปทรงแตกต่างกันไปอาจเกิดเป็นเงาข้ึนหากมุมของดวงอาทิตย์อยู่ต่า พื้นผิวเป็นลักษณะตะปุ่มตะป่าในภาพ VIS ปรากฏสีขาวปานกลางส่วนภาพ IR ปรากฏเป็นสีดาถึงขาวปาน กลางหากเปน็ ก้อนเลก็ ๆ หรือเป็นก้อนเดยี่ วๆ อาจตรวจพบได้ยาก รปู ท่ี 68 (ซา้ ย) ลกั ษณะของเมฆควิ มูลสั ที่ปรากฏบนภาพ Visible (ขวา) ลักษณะของเมฆคิวมลู สั ทีป่ รากฏบนภาพ Infrared

3.2 Cumulonimbus ก้อนกลมโตหรือคล้ายหัวแครอทข้ึนอยู่กับลมชั้นบนส่วนยอดของเมฆเป็น ตะปุ่มตะป่า ยอดสูงเฉล่ีย 35,000 ฟุตและ 60,000 ฟุตหากเป็นพายุฟ้าคะนองอย่างรุนแรง จะปรากฏเป็นสี ขาวมากหรืออาจปรากฏเงาขึ้นในส่วนบนของยอดเมฆในภาพ VIS ส่วน ส่วนภาพ IR มีสีขาวมากโดยเฉพาะใน พื้นที่ส่วนยอดของเมฆทมี่ อี ุณหภมู ติ า่ มาก รูปท่ี 69 (ซา้ ย) ลักษณะของเมฆควิ มูโลนิมบสั ที่ปรากฏบนภาพ Visible (ขวา) ลกั ษณะของเมฆคิวมโู ลนมิ บสั ทปี่ รากฏบนภาพ Infrared 3.3 Stratocumulus เป็นก้อนหรือเซลล์และอาจเรียงตัวเป็นแนวหรือเป็นกลุ่มๆ ขอบของเมฆมัก ติดกัน บางคร้ังอาจเห็นพื้นผิวตะปุ่มตะป่าในภาพ VIS บริเวณตรงกลางเป็นสีขาวส่วนบริเวณขอบเป็นสีเทา เพราะค่อนข้างบาง ส่วนภาพ IR มีสีดาถึงเทาเป็นเน้ือเดียวกันหากเป็นแบบเซลล์อาจเห็นไม่ชัดเจนและหาก ความแตกตา่ งของอณุ หภูมเิ มฆกบั พ้นื ดนิ หรือน้าน้อยจะไม่สามารถแยกแยะออกจากกนั ได้ รูปที่ 70 (ซา้ ย) ลักษณะของเมฆสตราโตควิ มลู สั ท่ีปรากฏบนภาพ Visible (ขวา) ลักษณะของเมฆสตราโตคิวมูลสั ทีป่ รากฏบนภาพ Infrared 4.การแปลความเมฆช้นั สงู (Cirriform Clouds) 4.1 Cirrus มีลักษณะเป็นเส้นใยบางๆ อาจมองทะลุผ่านและเห็นเมฆหรือผิวพื้นที่อยู่ต่ากว่าในภาพ VIS มีสดี าถึงเทาปานกลางข้ึนอยู่กบั ผวิ พืน้ ดา้ นล่าง ส่วนภาพ IR มสี ีเทาอ่อนหากเปน็ เส้นใยอาจเห็นไม่ชดั เจน

รปู ท่ี 71 (ซา้ ย) ลักษณะของเมฆเซอรร์ สั ที่ปรากฏบนภาพ Visible (ขวา) ลักษณะของเมฆเซอรร์ สั ทปี่ รากฏบนภาพ Infrared 4.2 Cirrostratus/Cirrocumulus ราบเรียบส่วนบนและเป็นเนื้อเดียวกันอาจเห็นเป็นเส้นใยหรือแผ่น ในภาพ VIS มีสีเทาอ่อนในบริเวณที่เมฆบาง หากเมฆมีความหนาเพ่ิมข้ึนจะปรากฏเป็นสีขาว ส่วนภาพ IR มีสี ขาวถึงเทาออ่ นและแยกแยะออกจากเมฆชัน้ กลางได้ยาก รูปที่ 72 (ซา้ ย) ลักษณะของเมฆเซอรโ์ รสเตรตสั หรอื เมฆเซอรโ์ รคิวมลู สั ที่ปรากฏบนภาพ Visible (ขวา) ลักษณะของเมฆเมฆเซอร์โรสเตรตสั หรือเมฆเซอร์โรควิ มูลสั ที่ปรากฏบนภาพ Infrared 4.3 Anvil Cirrus มกั ราบเรียบยกเวน้ บริเวณยอดทพี่ งุ่ ลา้ ขน้ึ ไปดา้ นบนขอบชดั เจนทางดา้ นต้นลมและ ทางด้านปลายลมอาจไม่ชัดเจนในภาพ VIS ปรากฏเป็นสีขาวมากในส่วนที่มีลมกาลังแรงและจางลงทางด้าน ปลายลม สว่ นภาพ IR ปรากฏเป็นสีขาวมากบรเิ วณท่ีมีลมรุนแรงและจางลงทางดา้ นปลายลม รูปที่ 73 (ซา้ ย) เมฆ Anvil cirrus แบบมองเหน็ ดว้ ยสายตา (ขวา) เมฆ Anvil cirrus ท่ปี รากฏบนภาพถ่ายดาวเทยี ม

ตารางที่ 2 ลกั ษณะเมฆท่ปี รากฏบนภาพถา่ ยดาวเทยี มอุตนุ ิยมวิทยา ชนดิ เมฆ ลกั ษณะ ส/ี ระดบั สี ส/ี ระดบั สี ภาพ VIS ภาพ IR ขาว Cirrus เบาบาง/ราบเรยี บ เทาอ่อน/ขาว แต่เบาบาง เทาอ่อน/ขาว Cirrostratus ม่านบางๆ /แผ่น เทาอ่อน/ขาว Cirrocumulus หย่อมบางๆ เทาอ่อน/ขาว เทาอ่อน/ขาว Altostratus แผน่ ราบเรยี บ ขอบเขต เทาปานกลางถงึ อ่อน เทาปานกลาง Altocumulus ไมช่ ดั เจน อาจเป็นใยหรือมีเงา Stratocumulus แผน่ ราบเรียบ ขอบเขต เทาปานกลางถงึ ออ่ น เทาปานกลาง ไมช่ ัดเจน อาจมีใย ก้อนหรือเซลล์ เทาปานกลางถงึ อ่อน ดาถึง เทาปานกลาง Cumulus เปน็ กอ้ น ตะปุ่มตะป่า เทาอ่อนถึงขาว เทาปานกลาง มรี ปู ร่างแตกตา่ งกนั ถงึ อ่อน Cumulonimbus รูปทรงกลม หรอื มีรปู รา่ งเหมือนแครอท ขาวสวา่ ง ขาวสวา่ ง ตะปมุ่ ตะป่า อาจมีเงาตรงยอดเมฆ Nimbostratus ขนาดใหญ่ มีความราบเรียบ เทาปานกลางถงึ อ่อน เทาปานกลาง ถงึ ขาว Stratus, Fog ราบเรียบ เทาปานกลางถึงขาว ดาถึง ปกคลุมตามภมู ปิ ระเทศ ข้ึนอยกู่ ับ เทาปานกลาง ความหนาของเมฆ

บทที่ 4 เกรด็ ความรเู้ กย่ี วกบั เมฆ 4.1 หมอก 1.ความหมายของหมอก หมอก (Fog) – FG เป็นน้าในอากาศหรือไฮโดรมีทีเออร์ (Hydrometeor) ชนิดหนึ่งท่ีประกอบด้วย กลุ่มละอองน้าขนาดเล็กมากสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าซึ่งลอยอยู่ในอากาศใกล้พื้นดิน โดยปกติจะทาให้ ทศั นวิสยั ทางแนวนอนที่ผวิ พื้นโลกลดลงเหลือน้อยกวา่ 1,000 เมตร ถ้าทัศนวิสยั มากกว่า 1,000 เมตร เรียกว่า หมอกบางหรือหมอกน้าค้าง (Mist) โดยท่ัวไปขณะเกิดหมอกทัศนวิสัยจะต่ากว่า 1 กิโลเมตรหมอกจึงเป็น ปรากฏการณ์ที่เป็นอันตรายอย่างย่ิงต่อการบินเพราะทัศนวิสัยมีความสาคัญต่อการบินมาก แม้ว่าในปัจจุบัน เคร่ืองบินจะมีสมรรถนะในการบินขึ้น-ลงสนามบินได้เกือบทุกสภาวะอากาศก็ตาม แต่นักบินก็จะต้องมองเห็น ทางว่ิงของสนามบินเม่ือมีหมอกปกคลุมสนามบินขณะที่ทาการบินท่ีตาแหน่งเครื่องบินท่ีเหมาะสม สภาพ อากาศขณะน้ันจะปลอดโปร่ง ปราศจากเมฆ นักบินสามารถมองเห็นสนามบินด้านล่างได้ชัดเจน แต่เมื่อลด ระดับลงมาอยู่ในชั้นของหมอกนักบินอาจมองไม่เห็นสนามบิน ท้ังนี้เพราะหมอกปกคลุมสนามบิน ซ่ึงหมอกมี ความสูงจากพ้ืนดินเพียงเล็กน้อย ทาให้ปกคลุมหนาทึบบริเวณใกล้พ้ืนดนิ ปรากฏการณ์นี้มีความสาคัญมากซ่ึง นกั บนิ ตอ้ งคานึงถึงเพราะเป็นสาเหตขุ องอบุ ตั ิเหตุเคร่อื งบินตกได้ รูปท่ี 74 หมอก (Fog) หมอกแต่ละประเภท สามารถแบ่งออกเปน็ - หมอกน้าค้าง (Mist) - BR เป็นน้าในอากาศหรือไฮโดรมีทีเออร์ (Hydrometeor) ซ่ึงประกอบด้วย ละอองน้า เล็กมากจนไม่สามารถเห็นได้ด้วยตาเปล่า หรือละอองน้าดูดความชื้น (Hydroscopic water droplets) ลอยอยู่ในอากาศ หมอกน้าค้างมีลักษณะเช่นเดียวกับหมอกแต่บางกว่า เม่ือมีหมอกน้าค้างเกิดขึ้น เหนือท่ีใดมักจะมีลักษณะคล้ายม่านบางสีเทาคลุมอยู่เหนือภูมิประเทศ ทาให้ทัศนวิสัยที่ผิวพ้ืนโลกลดลงน้อย

กว่าหมอก แต่ยังเห็นได้ไกลเกินกว่า 1 กิโลเมตร ความชื้นสัมพัทธ์ในหมอกน้าค้างส่วนใหญ่จะน้อยกว่า 95% หมอกนา้ ค้างเปน็ สภาพอากาศที่อยรู่ ะหว่างฟา้ หลัวชนื้ (Damp haze) กบั หมอก - หมอกเป็นหย่อม(Fog patches) - BCFG เป็นหมอกซ่ึงกระจายออกเป็นแนวไม่สม่าเสมอกัน เป็น หยอ่ มๆ - หมอกตื้น (Shallow Fog) - MIFG เปน็ หมอกซึ่งปกคลุมพนื้ ดิน ตา่ กวา่ 2 เมตร - หมอกบางส่วน (Partial fog) - PRFG เปน็ หมอกซ่ึงปกคลมุ บางสว่ นของทางว่ิง (Runway) 2.ความแตกต่างระหวา่ งเมฆกับหมอก หมอกมีกระบวนการเกิดเช่นเดียวกับเมฆ แต่ก็มีความแตกต่างตรงท่ีหมอกฐานอยู่ติดกับพื้นดิน ส่วน เมฆจะมีฐานลอยอยูเ่ หนอื พื้นดินข้นึ ไป 3.การแบ่งประเภทของหมอกตามลักษณะการเกิด การเกิดหมอกมีลักษณะการเกิดคล้ายเมฆ หมอกทุกชนิดเกิดเม่ืออุณหภูมิอากาศมีค่าเท่ากับอุณหภูมิ จุดน้าค้าง ทาให้อากาศเกิดการอิ่มตัว (Saturate) แล้วกลั่นตัว (Condense) เป็นละอองน้าเล็กๆ หมอก สามารถแบ่งออกตามลกั ษณะการเกิด ดงั นี้ 3.1 หมอกท่ีเกิดจากการเย็นตัวของอากาศ (Cooling fog) เป็นหมอกท่ีเกิดขึ้นภายในมวลอากาศ เรยี กวา่ Air mass fog ซ่งึ แบง่ ย่อยออกได้อกี คือ 3.1.1 หมอกท่ีเกิดจากการแผ่รังสีความร้อน (Radiation fog) เป็นหมอกที่เกิดเหนือพ้ืนดินในเวลา กลางคนื และสลายตัวไปในเวลาเช้าหลังจากดวงอาทติ ย์ขึ้น หมอกชนิดนี้มักเกิดในวันทีอ่ ากาศดี ท้องฟ้าปลอด โปร่ง ลมอ่อน และอากาศมีความชื้นสูง เกิดจากตอนกลางคืน พ้ืนดินจะคายความร้อนหรือแผ่รังสีออกได้มาก ทาใหพ้ ื้นดินเย็นลง อากาศในชั้นลา่ งท่อี ยู่ติดพื้นดินจะเย็นลงด้วย จนมีอณุ หภูมิเท่ากับจดุ น้าค้าง ทาให้ไอน้าใน อากาศทอ่ี ยใู่ กล้พนื้ ดินกลั่นตวั เกดิ เป็นหมอก รปู ท่ี 75 หมอกทเ่ี กดิ จากการเยน็ ตวั ของอากาศ

3.1.2 หมอกท่ีเกิดจากการพาความร้อนในแนวนอน (Advection fog) หมอกท่ีเกิดข้นึ ในช้ันตา่ ๆ ของ มวลอากาศชื้นซ่ึงเคล่ือนท่ีไปบนผิวพื้นท่ีเย็นกว่าจนทาให้อุณหภูมิของอากาศข้างล่างลดลงต่ากว่าอุณหภูมิจุด น้าค้าง หมอกชนิดน้ีมกั เกดิ จากอากาศชน้ื เคล่อื นท่ีไปบนผวิ พ้ืนน้าทีเ่ ย็นจดั (เชน่ หมอกทะเล - sea fog) รูปท่ี 76 หมอกทเี่ กดิ จากการพาความร้อนในแนวนอน 3.1.3 หมอกลาดเนินเขา (Up-slope fog) หมอกที่เกิดตามลาดเนินเขาด้านรบั ลม เนอ่ื งจากอากาศยก ตัวสูงข้ึนตามลาดเขาทาให้เกิดการขยายตัวแบบอะเดียแบติก (adiabatic expansion) แล้วเย็นลงจนถึง อุณหภมู ิจดุ นา้ ค้าง จนกระทัง่ ไอนา้ กลัน่ ตวั กลายเปน็ หมอก รปู ท่ี 77 หมอกลาดเนินเขา 3.2 หมอกท่ีเกิดจากการระเหย (Evaporation fog) หมายถึงหมอกซึ่งเกิดข้ึนโดยการระเหยอย่าง รวดเร็วของน้าจากผิวหน้าน้าท่ีอุ่นและกระจายเข้าไปในมวลอากาศเย็นและมีเสถียรภาพคือมีการทรงตัวดี ทา ใหม้ วลอากาศเย็นนน้ั อม่ิ ตวั และเกิดเปน็ หมอก ซึง่ แบง่ ได้ดงั นี้ 3.2.1 หมอกในแนวปะทะอากาศ (Frontal fog) หมอกซึ่งเกิดขึ้นในบริเวณแนวปะทะอากาศ โดยท่ัวไป แบ่งออกเป็น 3 ชนิดคือ หมอกที่เกิดก่อนแนวปะทะอากาศอุ่น (warm - front pre - frontal fog) หมอกท่ีเกิดตามหลังแนวปะทะอากาศเย็น (cold - front post - frontal fog) และหมอกท่ีเกิดขณะแนว ปะทะอากาศเคล่ือนผา่ น (frontal - passage fog)

3.2.2 หมอกไอน้า (Steam fog) หมายถึงหมอกท่ีเกิดจากการระเหยเมื่อไอน้าระเหยเข้าไปหรือเพ่ิม เข้าไปในอากาศที่มีอากาศเย็นจัดกว่าและมีการทรงตัวดี ตัวอย่างเช่น มวลอากาศเคล่ือนผ่านแนวน้าแข็ง (stretches of ice) กอ่ นจะผา่ นไปเหนอื ผวิ พื้นทะเลที่อนุ่ เป็นตน้ รูปท่ี 78 หมอกทเ่ี กดิ จากการระเหย การพยากรณห์ มอก (Fog forecast) สามารถพยากรณห์ มอกท่เี กิดขนึ้ ได้เมอื่ อากาศมีคุณสมบตั ติ ่อไปน้ี 1.ทอ้ งฟ้าไม่มเี มฆ (Clear sky) หรือมเี มฆเล็กน้อย 2.ลมอ่อน ไมเ่ กิน 5 นอต (Light wind) 3.ความชนื้ สัมพทั ธข์ องอากาศสงู (High relative humidity) 4.อตั ราส่วนผสมของอากาศจะตอ้ งคงท่ีหรือเพมิ่ ขนึ้ (Constant or Mixing ratio) 5.อากาศมกี ารทรงตวั ดี (Stable air) และมี inversion ท่รี ะดบั ตา่ การพยากรณห์ มอกสลายตัวมีหลักการสงั เกตดังนี้ 1.เมื่อมีความร้อนเกิดข้ึน เช่น ดวงอาทิตย์ส่องในตอนเช้า เม่ือหมอกได้รับความร้อนก็จะยกตัว กลายเป็นเมฆหรอื ระเหยกลายเป็นไอทั้งหมด 2.เมอ่ื ลมมีกาลงั แรงขึ้น หมอกจะสลายตวั ได้เรว็ ขึน้ 3.เม่ือมีเมฆปกคลุมท้องฟ้ามากข้ึนจะทาให้หมอกสลายไดด้ ีย่งิ ขึ้น การกาจัดหมอก การกาจัดหรือลดปริมาณหมอกลงในบริเวณพ้ืนท่ีจากัดพ้ืนท่ีหนึ่ง โดยการ เปล่ียนแปลงตามธรรมชาติหรือโดยการกระทาของมนุษย์ หมอกซึ่งเย็นจัดมีอุณหภูมิต่ากว่าจุดเยือกแข็ง (Supercooled Fog) สามารถทาให้สลายตัวไปได้โดยการหว่านน้าแข็งแห้งหรือซิลเวอร์ไอโอไดด์ (dry ice or silver iodide) เขา้ ไปในหมอก ส่วนหมอกอุน่ (warm fog) สามารถกาจดั ได้โดยวธิ ี FIDO (Fog Investigation


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook