Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตัวชี้วัดที่ต้องรู้และควรรู้ตามหลักสูตรแกนกลางฯ 51 - SC-KPI

ตัวชี้วัดที่ต้องรู้และควรรู้ตามหลักสูตรแกนกลางฯ 51 - SC-KPI

Published by yutthana10, 2018-04-26 15:34:31

Description: ตัวชี้วัดที่ต้องรู้และควรรู้ตามหลักสูตรแกนกลางฯ 51 - SC-KPI

Keywords: หลักสูตร,ตัวชี้วัด,2551,วิทยาศาสตร์

Search

Read the Text Version

ตัวชวี้ ัดและสาระการเรยี นรูแ้ กนกลางตอ้ งรู้และควรรู้ กลุม่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 กลมุ่ พฒั นาหลกั สตู รและมาตรฐานการเรยี นรู้ สานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 15 สิงหาคม 2559

สรปุ ตัวชี้วัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลางตอ้ งร้แู ละควรรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ระดบั ช้นั ตวั ชีว้ ดั ทั้งหมด ต้องรู้ ควรรู้ หมายเหตุ ป.1 16 15 1 ป.2 23 22 1 ป.3 28 25 3 ป.4 21 21 0 ป.5 34 34 0 ป.6 37 37 0 ม.1 42 42 0 ม.2 37 37 0 ม.3 40 39 1 ม.4-6 67 67 0 รวม 345 339 6 ข้อมลู ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559

ตวั ชวี้ ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตอ้ งรู้และควรรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551ชนั้ ท่ี รหัสตัวช้ีวดั ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ป.1 1 ว 1.1 ป.1/1 เปรียบเทียบความแตกต่าง - สิ่งมีชวี ติ มลี กั ษณะแตกต่างจากสิ่งไม่มีชีวติ  ระหว่างสง่ิ มชี ีวิตกับสงิ่ ไม่มีชวี ิต โดยส่งิ มชี วี ิตจะมกี ารเคลื่อนท่ี กินอาหาร ขบั ถ่าย หายใจ เจริญเติบโต สบื พันธุ์ และ ตอบสนองต่อสิ่งเรา้ แต่สงิ่ ไม่มชี วี ิตจะไม่มี ลักษณะดังกลา่ ว2 ว 1.1 ป.1/2 สังเกตและอธิบายลกั ษณะ - โครงสร้างภายนอกของพชื ได้แก่ ราก ลาตน้  และหน้าที่ของโครงสร้าง ใบ ดอก และผล แต่ละสว่ นทาหน้าท่ีแตกต่างกนั ภายนอกของพืชและสัตว์ - โครงสรา้ งภายนอกของสัตว์ ไดแ้ ก่ ตา หู จมูก ปาก เท้า และขา แตล่ ะส่วนทาหนา้ ที่ แตกตา่ งกัน3 ว 1.1 ป.1/3 สงั เกตและอธิบายลกั ษณะ - อวัยวะภายนอกของมนุษยม์ ีลักษณะ  หน้าท่ีและความสาคญั ของ และหน้าท่แี ตกตา่ งกนั อวยั วะเหลา่ นี้ อวัยวะภายนอกของมนุษย์ มีความสาคญั ตอ่ การดารงชวี ิต จึงต้องดแู ล ตลอดจนการดูแลรกั ษาสุขภาพ รกั ษา และป้องกันไม่ใหอ้ วัยวะเหล่าน้ัน ไดร้ ับอนั ตราย4 ว 1.2 ป.1/1 ระบลุ ักษณะของสิง่ มชี วี ิต - สงิ่ มีชีวิตในท้องถิ่นจะมที ้ังลักษณะ  ในท้องถนิ่ และนามาจัดจาแนก ทเ่ี หมือนกันและแตกต่างกนั ซึง่ สามารถ โดยใช้ลักษณะภายนอก นามาจาแนกโดยใชล้ กั ษณะภายนอก เป็นเกณฑ์ เป็นเกณฑ์5 ว 3.1 ป.1/1 สังเกตและระบุลักษณะท่ีปรากฏ - วสั ดทุ ่ีใชท้ าของเล่น ของใช้ในชีวิตประจาวนั  หรือสมบตั ิของวัสดุทใ่ี ช้ทาของเล่น อาจมีรปู ร่าง สี ขนาด พ้นื ผวิ ความแขง็ ของใช้ในชวี ิตประจาวัน เหมือนกัน หรือแตกต่างกัน6 ว 3.1 ป.1/2 จาแนกวสั ดุท่ีใช้ทาของเล่น - ลกั ษณะหรือสมบตั ติ า่ ง ๆ ของวัสดุ  ของใช้ในชีวิตประจาวนั รวมท้ัง สามารถนามาใช้เปน็ เกณฑใ์ นการจาแนก ระบุเกณฑ์ท่ีใชจ้ าแนก วสั ดทุ ใี่ ช้ทาของเลน่ ของใชใ้ นชีวติ ประจาวัน7 ว 4.1 ป.1/1 ทดลองและอธิบายการดงึ - การดงึ และการผลักวัตถุ เป็นการออกแรง  หรือการผลกั วัตถุ กระทาตอ่ วตั ถุ ซ่ึงอาจทาใหว้ ัตถเุ คล่ือนที่ หรือไม่เคลอ่ื นท่ี และเปลย่ี นแปลงรูปร่าง หรอื อาจไม่เปล่ียนแปลงรูปรา่ ง8 ว 6.1 ป.1/1 สารวจ ทดลอง และอธิบาย - ดิน ประกอบดว้ ย เศษหิน ซากพชื ซากสัตว์  องคป์ ระกอบและสมบัติ โดยมีน้าและอากาศแทรกอยู่ในชอ่ งว่าง ทางกายภาพของดินในท้องถ่ิน ของเมด็ ดิน - ดนิ ในแตล่ ะท้องถนิ่ มีสมบตั ิทางกายภาพ แตกตา่ งกันในดา้ นของสี เน้ือดนิ การอุ้มน้า และการจับตัวของดิน ขอ้ มูล ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

๒ช้ัน ท่ี รหัสตวั ชี้วัด ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ป.1 9 ว 7.1 ป.1/1 ระบวุ า่ ในท้องฟ้ามดี วงอาทติ ย์ - ในท้องฟ้ามดี วงอาทิตย์ ดวงจันทร์  ดวงจันทร์และดวงดาว และดวงดาว โดยจะมองเห็นทอ้ งฟ้า มีลักษณะเปน็ คร่งึ วงกลมครอบแผ่นดินไว้สาระที่ 8 ธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสบื เสาะหาความรู้ การแกป้ ัญหารวู้ า่ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติทีเ่ กิดข้นึ ส่วนใหญม่ ีรปู แบบทแ่ี น่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ขอ้ มูลและเครือ่ งมือท่ีมีอยู่ในชว่ งเวลานน้ั ๆ เขา้ ใจวา่ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สงั คมและสิง่ แวดลอ้ ม มีความเกี่ยวข้องสมั พันธก์ นั10 ว 8.1 ป.1/1 ต้งั คาถามเก่ียวกบั เรอื่ งทจ่ี ะศึกษา - ตามที่กาหนดให้หรือตามความสนใจ11 ว 8.1 ป.1/2 วางแผนการสงั เกต สารวจ - ตรวจสอบ ศึกษาค้นคว้า โดยใช้ ความคดิ ของตนเองและของครู12 ว 8.1 ป.1/3 ใช้วสั ดุ อปุ กรณใ์ นการสารวจ - ตรวจสอบ และบันทึกผล ด้วยวิธีงา่ ย ๆ13 ว 8.1 ป.1/4 จดั กลมุ่ ข้อมลู ท่ีไดจ้ ากการสารวจ -  ตรวจสอบและนาเสนอผล14 ว 8.1 ป.1/5 แสดงความคิดเหน็ ในการสารวจ -  ตรวจสอบ15 ว 8.1 ป.1/6 บนั ทกึ และอธบิ ายผลการสังเกต - สารวจตรวจสอบ โดยเขยี นภาพ หรือขอ้ ความสนั้ ๆ16 ว 8.1 ป1/7 นาเสนอผลงานดว้ ยวาจา - ให้ผ้อู ่ืนเขา้ ใจ รวม 16 ตัวชี้วดั 15 1 ขอ้ มูล ณ วันท่ี 15 สงิ หาคม 2559

๓ชั้น ที่ รหัสตวั ชี้วัด ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ป.2 1 ว 1.1 ป.2/1 ทดลองและอธิบาย น้า แสง - พืชต้องการนา้ และแสงในการเจรญิ เตบิ โต  เป็นปจั จยั ทีจ่ าเป็นตอ่ และการดารงชีวติ การดารงชีวติ ของพชื2 ว 1.1 ป.2/2 อธิบายอาหาร นา้ อากาศ - พชื และสัตวต์ อ้ งการอาหาร นา้ อากาศ  เป็นปจั จัยท่จี าเปน็ เพ่ือการดารงชวี ติ และการเจริญเติบโต ตอ่ การดารงชีวติ และ - นาความร้ไู ปใช้ประโยชนใ์ นการดูแลพืช การเจริญเตบิ โตของพืชและสัตว์ และสตั วเ์ พ่ือให้เจริญเตบิ โตได้ดี และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์3 ว 1.1 ป.2/3 สารวจและอธิบาย พืช และสัตว์ - พืช และสัตวม์ กี ารตอบสนองตอ่ แสง  สามารถตอบสนองต่อแสง อณุ หภูมิ และการสัมผสั อณุ หภมู ิ และการสมั ผัส4 ว 1.1 ป.2/4 ทดลองและอธบิ ายรา่ งกาย - ร่างกายมนุษย์สามารถตอบสนองตอ่ แสง  ของมนษุ ย์สามารถตอบสนอง อณุ หภูมิ และการสัมผัส ตอ่ แสง อุณหภูมิ และการสัมผสั5 ว 1.1 ป.2/5 อธบิ ายปัจจัยท่ีจาเป็นต่อ - มนษุ ยต์ ้องการอาหาร น้า อากาศ  การดารงชีวติ และ เพอื่ การดารงชีวิตและการเจริญเตบิ โต การเจรญิ เตบิ โตของมนุษย์6 ว 1.2 ป.2/1 อธบิ ายประโยชน์ของพืชและสตั ว์ - พืชและสตั ว์มีประโยชน์ต่อมนษุ ยใ์ นแง่ของ  ในท้องถิ่น ปจั จัยสี่ คอื เป็นอาหาร ท่ีอยู่อาศัย เคร่ืองนงุ่ ห่ม และยารักษาโรค7 ว 3.1 ป.2/1 ระบชุ นิดและเปรียบเทยี บสมบตั ิ - ของเลน่ ของใช้อาจทาจากวัสดตุ า่ ง ๆ กัน  ของวสั ดุทน่ี ามาทาของเล่น เชน่ ไม้ เหล็ก กระดาษ พลาสติก ยาง ของใชใ้ นชีวิตประจาวัน ซึง่ วัสดตุ า่ งชนดิ กัน จะมสี มบัติแตกตา่ งกนั8 ว 3.1 ป.2/2 เลอื กใชว้ สั ดแุ ละส่ิงของตา่ ง ๆ - การเลือกวัสดแุ ละส่ิงของตา่ ง ๆ มาใช้งาน  ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและปลอดภัย ในชวี ติ ประจาวนั เพ่ือความเหมาะสมและ ปลอดภยั ต้องพจิ ารณาจากสมบตั ิของวสั ดุ ทีใ่ ช้ทาสง่ิ ของนน้ั9 ว 4.1 ป.2/1 ทดลองและอธิบายแรง - แมเ่ หลก็ มแี รงดงึ ดูดหรอื ผลักระหวา่ ง  ที่เกิดจากแม่เหล็ก แทง่ แม่เหล็ก รอบแท่งแม่เหลก็ มีสนามแม่เหลก็ และสามารถดึงดดู วัตถุทที่ าด้วยสารแมเ่ หลก็10 ว 4.1 ป.2/2 อธบิ ายการนาแมเ่ หลก็ - แมเ่ หลก็ มปี ระโยชนใ์ นการทาของเล่น  มาใช้ประโยชน์ ของใช้ และนาไปแยกสารแม่เหลก็ ออกจาก วัตถอุ ่นื ได้11 ว 4.1 ป.2/3 ทดลองและอธบิ ายแรงไฟฟ้า - เม่อื ถูวัตถุบางชนิดแล้วนาเข้าใกล้กนั  ทเ่ี กดิ จากการถูวัตถุบางชนดิ จะดึงดูดหรือผลกั กันได้ แรงทเี่ กดิ ข้นึ นี้ เรยี กวา่ แรงไฟฟ้า และวัตถุน้ันจะดึงดดู วัตถเุ บา ๆ ได้12 ว 5.1 ป.2/1 ทดลองและอธิบายได้ว่าไฟฟ้า - ไฟฟา้ จากเซลล์ไฟฟ้าหรอื แบตเตอรี่  เปน็ พลงั งาน สามารถทางานได้ ไฟฟ้าจึงเป็นพลังงาน ข้อมลู ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559

๔ช้ัน ที่ รหสั ตวั ชี้วดั ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ป.2 13 ว 5.1 ป.2/2 สารวจและยกตัวอยา่ งเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า - พลังงานไฟฟ้าเปลี่ยนเป็นพลงั งานอ่นื ได้  ในบ้านทเี่ ปล่ียนพลังงานไฟฟ้า ซึ่งตรวจสอบได้จากเครื่องใชไ้ ฟฟา้ ในบ้าน เป็นพลงั งานอนื่ เชน่ พัดลม หม้อหงุ ข้าวไฟฟ้า14 ว 6.1 ป.2/1 สารวจและจาแนกประเภท - ดนิ จาแนกออกเปน็ ประเภทใหญ่ ๆ  ของดนิ โดยใช้สมบัติทางกายภาพ ไดแ้ ก่ ดนิ รว่ น ดินเหนยี ว และดนิ ทราย เป็นเกณฑ์ และนาความรู้ไปใช้ ตามลกั ษณะที่แตกตา่ งกันในด้านของสี ประโยชน์ เนื้อดนิ การอมุ้ น้า และการจับตัวของดิน ซ่ึงนาไปใช้ประโยชนไ์ ด้แตกต่างกนั ตามสมบัติของดิน15 ว 7.1 ป.2/1 สืบค้นและอภปิ รายความสาคัญ - ดวงอาทติ ย์เป็นแหล่งพลงั งานท่ีสาคญั  ของดวงอาทิตย์ ของโลกเพราะใหท้ ง้ั พลงั งานความร้อน และพลงั งานแสง ซึ่งชว่ ยในการดารงชวี ิต ของส่งิ มีชวี ติสาระท่ี 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีมาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละจิตวทิ ยาศาสตรใ์ นการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหารวู้ ่าปรากฏการณท์ างธรรมชาตทิ ่เี กิดขึ้นส่วนใหญม่ ีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ขอ้ มูลและเคร่อื งมือทีม่ ีอยู่ในชว่ งเวลาน้นั ๆ เขา้ ใจวา่ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สงั คมและสิ่งแวดลอ้ ม มีความเกยี่ วข้องสัมพนั ธก์ ัน16 ว 8.1 ป.2/1 ตงั้ คาถามเกย่ี วกับเร่ืองที่จะศกึ ษา -  ตามที่กาหนดใหแ้ ละตามความสนใจ17 ว 8.1 ป.2/2 วางแผนการสงั เกต สารวจตรวจสอบ  ศกึ ษาค้นควา้ โดยใช้ความคิด - ของตนเอง ของกลมุ่ และของครู -18 ว 8.1 ป.2/3 ใชว้ สั ดุ อปุ กรณ์ เคร่ืองมือ ทเ่ี หมาะสมในการสารวจ ตรวจสอบและบันทึกข้อมลู19 ว 8.1 ป.2/4 จดั กลุ่มข้อมูล เปรยี บเทยี บ - และนาเสนอผล20 ว 8.1 ป.2/5 ต้ังคาถามใหมจ่ ากผลการสารวจ -  ตรวจสอบ21 ว 8.1 ป.2/6 แสดงความคดิ เหน็ เป็นกล่มุ - และรวบรวมเป็นความรู้22 ว 8.1 ป.2/7 บนั ทึกและอธิบายผลการสังเกต - สารวจตรวจสอบอย่างตรงไปตรงมา โดยเขยี นภาพ แผนภาพหรือ คาอธิบาย23 ว 8.1 ป.2/8 นาเสนอผลงานดว้ ยวาจา - ใหผ้ ู้อ่ืนเขา้ ใจกระบวนการ และผลของงาน รวม 23 ตัวช้ีวดั 22 1 ข้อมลู ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559

๕ช้ัน ท่ี รหสั ตวั ชี้วดั ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ป.3 1 ว 1.2 ป.3/1 อภปิ รายลักษณะตา่ ง ๆ - สง่ิ มีชวี ติ แต่ละชนดิ จะมีลักษณะแตกต่างกัน  ของส่ิงมชี ีวิตใกลต้ วั2 ว 1.2 ป.3/2 เปรยี บเทียบและระบุลักษณะ - สิ่งมีชีวติ ทกุ ชนิดจะมลี ักษณะภายนอก  ท่คี ลา้ ยคลงึ กนั ของพ่อแม่กบั ลูก ทป่ี รากฏคล้ายคลงึ กับพ่อแม่ของส่งิ มชี วี ิต ชนิดนั้น3 ว 1.2 ป.3/3 อธบิ ายลักษณะท่คี ลา้ ยคลงึ กัน - ลักษณะภายนอกทค่ี ล้ายคลึงกนั ของพ่อแม่  ของพ่อแม่กบั ลูกว่าเป็นการถ่ายทอด กบั ลูก เปน็ การถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม ลักษณะทางพนั ธุกรรม และนาความรู้ - มนษุ ย์นาความร้ทู ี่ไดเ้ กีย่ วกับการถา่ ยทอด ไปใช้ประโยชน์ ลักษณะทางพนั ธุกรรมมาใชป้ ระโยชน์ ในการพฒั นาสายพนั ธ์ุของพชื และสัตว์4 ว 1.2 ป.3/4 สบื คน้ ขอ้ มูลและอภิปรายเกย่ี วกับ - สิ่งมชี วี ติ ท่ไี ม่สามารถปรบั ตัวใหเ้ ขา้ กับ  สง่ิ มีชวี ิตบางชนดิ ทีส่ ูญพนั ธไุ์ ปแล้ว สภาพแวดล้อมท่ีเปลย่ี นแปลงไปได้ และที่ดารงพนั ธม์ุ าจนถงึ ปจั จุบนั ก็จะสูญพันธ์ไุ ปในท่สี ุด - สง่ิ มชี ีวิตที่สามารถปรับตวั เข้ากับ สภาพแวดล้อมที่เปลย่ี นแปลงไปได้ จะสามารถอยรู่ อดและดารงพันธตุ์ อ่ ไป5 ว 2.1 ป.3/1 สารวจสิง่ แวดลอ้ มในท้องถิ่น - สิ่งแวดล้อม หมายถึง ส่ิงที่อยรู่ อบ ๆ  ของตนและอธิบายความสมั พันธ์ ตวั เรา มีทงั้ สง่ิ มชี ีวิตและส่ิงไม่มีชวี ติ ของส่งิ มีชีวติ กบั สิง่ แวดล้อม ส่ิงมีชวี ิตมีความสมั พนั ธ์กบั สิง่ แวดลอ้ ม ท้ังกับสงิ่ มีชวี ิตด้วยกันและกบั สงิ่ ไม่มีชีวติ6 ว 2.2 ป.3/1 สารวจทรพั ยากรธรรมชาติ - ดิน หิน น้า อากาศ ปา่ ไม้ สตั วป์ า่ และแร่  และอภปิ รายการใช้ทรัพยากร จัดเปน็ ทรัพยากรธรรมชาตทิ ่ีมีความสาคญั ธรรมชาติในท้องถิ่น - มนุษยใ์ ชท้ รัพยากรธรรมชาติในท้องถนิ่ เพื่อประโยชนต์ ่อการดารงชวี ติ7 ว 2.2 ป.3/2 ระบกุ ารใชท้ รัพยากรธรรมชาติ - มนษุ ยน์ าทรพั ยากรธรรมชาตมิ าใช้  ท่ีกอ่ ให้เกิดปัญหาส่งิ แวดล้อม อย่างมากมายจึงสง่ ผลกระทบต่อ ในท้องถ่ิน ส่งิ แวดลอ้ มในท้องถ่นิ8 ว 2.2 ป.3/3 อภิปรายและนาเสนอการใช้ - มนุษยต์ ้องช่วยกันดูแลและรจู้ ักใช้  ทรัพยากรธรรมชาตอิ ย่างประหยดั ทรพั ยากรธรรมชาติอย่างประหยดั และคุม้ ค่า คมุ้ ค่า และมีส่วนรว่ มในการปฏบิ ตั ิ เพอื่ ใหม้ กี ารใช้ได้นานและย่งั ยนื9 ว 3.1 ป.3/1 จาแนกชนดิ และสมบัตขิ องวสั ดุ - ของเล่น ของใช้ อาจมสี ่วนประกอบหลายสว่ น  ที่เป็นสว่ นประกอบของของเล่น และอาจทาจากวัสดุหลายชนิดซึ่งมสี มบัติ ของใช้ แตกต่างกนั10 ว 3.1 ป.3/2 อธิบายการใช้ประโยชน์ของวัสดุ - วัสดแุ ต่ละชนดิ มีสมบัตแิ ตกตา่ งกัน  แต่ละชนิด จึงใช้ประโยชนไ์ ดต้ า่ งกัน ขอ้ มลู ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

๖ชัน้ ท่ี รหสั ตวั ช้ีวัด ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ป.3 11 ว 3.2 ป.3/1 ทดลองและอธบิ ายผลของ - เมอื่ มีแรงมากระทา เช่น การบีบ บดิ ทุบ  การเปลี่ยนแปลงท่ีเกดิ ข้นึ กบั วสั ดุ ดดั ดึง ตลอดจนการทาให้ร้อนขึน้ หรอื ทาให้ เมอ่ื ถกู แรงกระทา หรือทาใหร้ ้อนข้ึน เย็นลง จะทาให้วัสดุเกิดการเปลีย่ นแปลง หรือทาใหเ้ ยน็ ลง รูปรา่ ง ลกั ษณะ หรอื มสี มบตั ิแตกตา่ งไป จากเดิม12 ว 3.2 ป.3/2 อภปิ รายประโยชนแ์ ละอนั ตราย - การเปล่ยี นแปลงของวัสดุ อาจนามาใช้  ทีอ่ าจเกดิ ข้นึ เน่ืองจาก ประโยชน์หรือทาให้เกิดอันตรายได้ การเปลย่ี นแปลงของวสั ดุ13 ว 4.1 ป.3/1 ทดลองและอธิบายผลของ - การออกแรงกระทาตอ่ วัตถุแลว้ ทาให้วัตถุ  การออกแรงท่กี ระทาต่อวตั ถุ เปลยี่ นแปลงการเคลื่อนท่ี โดยวตั ถทุ ห่ี ยดุ นง่ิ จะเคลื่อนที่ และวัตถุทก่ี าลังเคล่อื นท่ี จะเคลอ่ื นทเี่ รว็ ขึน้ หรอื เคลอื่ นทีช่ า้ ลง หรือหยุดเคลอ่ื นท่ี หรือเปล่ยี นทิศทาง14 ว 4.1 ป.3/2 ทดลองการตกของวัตถุสู่พ้ืนโลก - วตั ถุตกสพู่ ้ืนโลกเสมอ เนื่องจากแรงโนม้ ถว่ ง  และอธบิ ายแรงท่โี ลกดึงดดู วตั ถุ หรือแรงดึงดูดของโลกกระทาตอ่ วัตถุ และแรงน้ีคือนา้ หนักของวัตถุ15 ว 5.1 ป.3/1 บอกแหลง่ พลังงานธรรมชาติ - การผลิตไฟฟ้าใชพ้ ลังงานจากแหล่งพลังงาน  ทใ่ี ชผ้ ลติ ไฟฟ้า ธรรมชาติ ซึ่งบางแหล่งเป็นแหลง่ พลงั งาน ท่มี จี ากัด เช่น นา้ มนั แก๊สธรรมชาติ บางแหล่งเป็นแหล่งพลังงานที่หมุนเวยี น เชน่ น้า ลม16 ว 5.1 ป.3/2 อธบิ ายความสาคัญของพลังงาน - พลงั งานไฟฟา้ มคี วามสาคัญต่อ  ไฟฟา้ และเสนอวธิ ีการใชไ้ ฟฟ้า ชีวิตประจาวัน เชน่ เปน็ แหลง่ กาเนิด อยา่ งประหยดั และปลอดภัย แสงสว่าง จงึ ต้องใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัด เชน่ ปิดไฟเม่ือไม่ใช้งาน รวมทั้งใชไ้ ฟฟ้า อยา่ งปลอดภัย เช่น เลือกใชอ้ ุปกรณต์ า่ ง ๆ ทีม่ ีมาตรฐาน17 ว 6.1 ป.3/1 สารวจและอธบิ ายสมบตั ิทางกายภาพ - น้าพบไดท้ ั้งที่เปน็ ของเหลว ของแข็ง  ของนา้ จากแหล่งน้าในท้องถ่นิ และแก๊ส นา้ ละลายสารบางอย่างได้ และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ นา้ เปลยี่ นแปลงรูปร่างตามภาชนะท่ีบรรจุ และรกั ษาระดับในแนวราบ - คณุ ภาพของนา้ พจิ ารณาจากสี กล่นิ ความโปรง่ ใสของนา้ - นา้ เป็นทรัพยากรธรรมชาติทม่ี คี วามจาเป็น ต่อชีวติ ทง้ั ในการบรโิ ภค อุปโภค จึงต้องใช้ อย่างประหยัด ขอ้ มลู ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

๗ชัน้ ท่ี รหสั ตัวชี้วดั ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ป.3 18 ว 6.1 ป.3/2 สบื คน้ ข้อมูลและอภปิ ราย - อากาศ ประกอบดว้ ย แก๊สไนโตรเจน  สว่ นประกอบของอากาศ แกส๊ ออกซเิ จน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และความสาคญั ของอากาศ และแก๊สอนื่ ๆ รวมท้งั ไอนา้ และฝ่นุ ละออง - อากาศมีความสาคัญต่อการดารงชวี ิต สง่ิ มชี วี ติ ทุกชนดิ ตอ้ งใช้อากาศในการหายใจ และอากาศยังมปี ระโยชนใ์ นด้านอ่ืน ๆ อีกมากมาย19 ว 6.1 ป.3/3 ทดลองอธิบายการเคลื่อนท่ี - อากาศจะเคลื่อนที่จากบริเวณที่มอี ณุ หภมู ติ า่  ของอากาศ ท่มี ผี ลจากความแตกต่าง ไปยังบริเวณทีม่ อี ณุ หภมู ิสูงกวา่ โดยอากาศ ของอุณหภมู ิ ทเ่ี คล่อื นทีใ่ นแนวราบทาให้เกิดลม20 ว 7.1 ป.3/1 สังเกต และอธบิ ายการขน้ึ - ตก โลกหมุนรอบตวั เองทาใหเ้ กดิ ปรากฏการณ์  ของดวงอาทิตย์ ดวงจนั ทร์ ต่อไปนี้ การเกิดกลางวนั กลางคนื - ปรากฏการณ์ขนึ้ – ตกของดวงอาทติ ย์ และการกาหนดทิศ และดวงจันทร์ - เกดิ กลางวนั และกลางคนื โดยด้านทหี่ ันรับ แสงอาทิตย์เปน็ เวลากลางวนั และด้านตรงขา้ ม ท่ีไม่ไดร้ บั แสงอาทติ ย์เปน็ เวลากลางคืน - กาหนดทศิ โดยสงั เกตจากการขน้ึ และตก ของดวงอาทิตย์ ให้ดา้ นท่เี หน็ ดวงอาทติ ย์ข้ึน เปน็ ทิศตะวนั ออกและด้านท่เี หน็ ดวงอาทติ ย์ตก เปน็ ทิศตะวนั ตก เมื่อใช้ทิศตะวันออก เปน็ หลกั โดยใหด้ า้ นขวามืออยูท่ าง ทิศตะวนั ออก ดา้ นซา้ ยมืออยู่ทาง ทิศตะวนั ตก ดา้ นหนา้ จะเป็นทศิ เหนอื และด้านหลังจะเป็นทิศใต้สาระท่ี 8 ธรรมชาติของวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีมาตรฐาน ว 8.1 ใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแกป้ ัญหารวู้ ่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาตทิ ่ีเกิดข้ึนส่วนใหญม่ รี ปู แบบทแ่ี น่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูลและเคร่ืองมือทมี่ ีอยูใ่ นชว่ งเวลาน้นั ๆ เข้าใจว่าวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สงั คมและสิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้องสมั พนั ธก์ ัน21 ว 8.1 ป.3/1 ตั้งคาถามเก่ียวกับเร่ืองทจ่ี ะศึกษา -  ตามท่กี าหนดให้และตามความสนใจ22 ว 8.1 ป.3/2 วางแผนการสังเกต เสนอวิธี - สารวจตรวจสอบ ศึกษาค้นควา้ โดยใช้ความคดิ ของตนเอง ของกลุม่ และคาดการณ์ สงิ่ ท่จี ะพบจากการสารวจ ตรวจสอบ ขอ้ มลู ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

ชนั้ ท่ี รหัสตวั ชี้วัด ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๘ - ต้องรู้ ควรรู้ป.3 23 ว 8.1 ป.3/3 เลอื กใช้วัสดุ อปุ กรณ์ เคร่ืองมือ  - ท่เี หมาะสมในการสารวจตรวจสอบ -  -  และบันทึกข้อมลู  -24 ว 8.1 ป.3/4 จดั กลุม่ ข้อมูล เปรยี บเทียบกับ  - ส่ิงที่คาดการณ์ไว้และนาเสนอผล 25 ว 8.1 ป.3/5 ตัง้ คาถามใหม่จากผลการสารวจ 25 3 ตรวจสอบ26 ว 8.1 ป.3/6 แสดงความคดิ เห็นและรวบรวม ข้อมลู จากกลมุ่ นาไปสู่การสรา้ ง ความรู้27 ว 8.1 ป.3/7 บันทึกและอธบิ ายผลการสงั เกต สารวจตรวจสอบตามความเปน็ จรงิ มีแผนภาพประกอบคาอธิบาย28 ว 8.1 ป.3/8 นาเสนอ จัดแสดงผลงาน โดยอธบิ ายด้วยวาจา และเขยี น แสดงกระบวนการและผลของงาน ใหผ้ ูอ้ ื่นเข้าใจ รวม 28 ตัวชี้วัด ข้อมลู ณ วันท่ี 15 สงิ หาคม 2559

๙ชั้น ท่ี รหัสตวั ช้ีวดั ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ป.4 1 ว 1.1 ป.4/1 ทดลองและอธิบายหน้าท่ี - ภายในลาตน้ ของพืชมีท่อลาเลยี ง  2 ว 1.1 ป.4/2 ของทอ่ ลาเลียงและปากใบ เพ่ือลาเลยี งน้าและอาหาร และในใบ ของพชื มีปากใบทาหนา้ ท่ีคายน้า 3 ว 1.1 ป.4/3 อธบิ าย นา้ แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ - ปจั จัยทสี่ าคัญตอ่ การเจริญเติบโต  4 ว 1.1 ป.4/4 แสง และคลอโรฟิลล์ เปน็ ปจั จัย และการสังเคราะหด์ ว้ ยแสงของพชื ทจี่ าเปน็ บางประการต่อ ไดแ้ ก่ นา้ แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ แสง 5 ว 5.1 ป.4/1 การเจริญเติบโต และ และคลอโรฟลิ ล์ 6 ว 5.1 ป.4/2 การสงั เคราะหด์ ้วยแสงของพืช 7 ว 5.1 ป.4/3 ทดลองและอธิบายการตอบสนอง - พืชมกี ารตอบสนองต่อแสง เสยี ง  ของพืชต่อแสง เสียง และการสัมผัส และการสมั ผัส ซ่งึ เป็นสภาพแวดล้อม 8 ว 5.1 ป.4/4 ภายนอก 9 ว 5.1 ป.4/5 อธิบายพฤตกิ รรมของสัตว์ - พฤติกรรมของสัตวเ์ ปน็ การแสดงออก  ทต่ี อบสนองต่อแสง อุณหภูมิ ของสตั วใ์ นลักษณะต่าง ๆ เพื่อตอบสนอง 10 ว 5.1 ป.4/6 การสัมผัส และนาความรู้ไปใช้ ตอ่ สงิ่ เรา้ เชน่ แสง อุณหภูมิ การสมั ผสั 11 ว 6.1 ป.4/1 ประโยชน์ - นาความรเู้ ก่ยี วกบั พฤติกรรมของสัตว์ ไปใช้ประโยชน์ ในการจดั สภาพแวดล้อม ให้เหมาะสมกับการดารงชวี ิตของสัตว์ และเพื่อพฒั นาอตุ สาหกรรมการเกษตร ทดลองและอธบิ ายการเคล่ือนท่ี - แสงเคลือ่ นทีจ่ ากแหล่งกาเนิดทุกทิศทาง  ของแสงจากแหล่งกาเนดิ และเคล่ือนที่เป็นแนวตรง ทดลองและอธิบายการสะท้อน - แสงตกกระทบวัตถจุ ะเกิดการสะท้อน  ของแสงท่ีตกกระทบวัตถุ ของแสง โดยมีมมุ ตกกระทบเทา่ กบั มุมสะท้อน ทดลองและจาแนกวัตถุ - เม่ือแสงกระทบวัตถตุ า่ งกัน จะผา่ นวตั ถุ  ตามลกั ษณะการมองเหน็ แต่ละชนดิ ได้ต่างกัน ทาให้จาแนกวัตถุ จากแหลง่ กาเนิดแสง ออกเปน็ ตวั กลางโปร่งใส ตวั กลางโปร่งแสง และวตั ถุทบึ แสง ทดลองและอธิบายการหกั เห - เม่ือแสงเคล่ือนทผี่ า่ นตัวกลางที่ต่างชนิดกัน  ของแสงเม่อื ผา่ นตัวกลางโปรง่ ใส ทิศทางการเคลื่อนท่ีของแสงเปลย่ี น สองชนิด เรียก การหกั เหของแสง ทดลองและอธบิ ายการเปลี่ยนแสง - เซลลส์ รุ ิยะเป็นอปุ กรณ์ท่เี ปลี่ยนพลงั งานแสง  เปน็ พลังงานไฟฟ้า และนาความรู้ เปน็ พลังงานไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้าหลายชนิด ไปใชป้ ระโยชน์ มีเซลลส์ รุ ยิ ะเป็นสว่ นประกอบ เชน่ เคร่อื งคดิ เลข ทดลองและอธิบายแสงขาว - แสงขาวผ่านปริซึมจะเกิดการกระจาย  ประกอบด้วยแสงสีต่าง ๆ ของแสงเป็นแสงสีต่าง ๆ นาไปใชอ้ ธบิ าย และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ปรากฏการณธ์ รรมชาติ เช่น การเกดิ สีรงุ้ สารวจและอธบิ ายการเกดิ ดิน - ดนิ เกดิ จากหินทผ่ี ุพัง ผสมกับซากพืช  ซากสตั ว์ ขอ้ มูล ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559

๑๐ชัน้ ท่ี รหสั ตัวช้ีวดั ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ป.4 12 ว 6.1 ป.4/2 ระบุชนดิ และสมบัติของดนิ - ดนิ มสี ว่ นประกอบของเศษหิน  ทใ่ี ช้ปลูกพชื ในท้องถิน่ อนิ ทรยี วัตถุ นา้ และอากาศในสดั สว่ น ทแ่ี ตกตา่ งกนั ทาใหเ้ กิดดินหลายชนดิ พชื แตล่ ะชนดิ เติบโตไดด้ ใี นดินทแี่ ตกตา่ งกัน ดังนน้ั การปลูกพชื จึงควรเลอื กใชด้ ิน ให้เหมาะสม13 ว 7.1 ป.4/1 สร้างแบบจาลอง เพอ่ื อธิบาย - ระบบสรุ ิยะ ประกอบดว้ ย ดวงอาทิตย์  ลักษณะของระบบสรุ ยิ ะ เป็นศนู ย์กลาง และมีบริวารโคจรอยู่โดยรอบ คอื ดาวเคราะห์แปดดวง ดาวเคราะหแ์ คระ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง และวตั ถุ ขนาดเลก็ อน่ื ๆ สว่ นดาวตกหรอื ผพี ุ่งไต้ อกุ กาบาต อาจเกิดมาจากดาวหาง ดาวเคราะห์น้อย หรือวตั ถุขนาดเลก็ อื่น ๆสาระที่ 8 ธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีมาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหารวู้ า่ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติทเี่ กิดขนึ้ ส่วนใหญม่ ีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ขอ้ มูลและเครอ่ื งมือทีม่ ีอยใู่ นช่วงเวลานนั้ ๆ เขา้ ใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สงั คมและส่ิงแวดลอ้ ม มคี วามเก่ียวข้องสัมพนั ธก์ ัน14 ว 8.1 ป.4/1 ต้งั คาถามเกยี่ วกบั ประเดน็ หรือ - เรอื่ ง หรือสถานการณ์ ทจี่ ะศึกษา ตามทีก่ าหนดให้และตามความสนใจ15 ว 8.1 ป.4/2 วางแผนการสังเกต เสนอวิธี - สารวจตรวจสอบ หรือศึกษา คน้ คว้า และคาดการณ์สง่ิ ที่จะพบ จากการสารวจตรวจสอบ16 ว 8.1 ป.4/3 เลอื กอปุ กรณ์ทีถ่ ูกต้องเหมาะสม -  ในการสารวจตรวจสอบ17 ว 8.1 ป.4/4 บนั ทึกข้อมลู ในเชงิ ปริมาณ - นาเสนอผล สรปุ ผล18 ว 8.1 ป.4/5 สร้างคาถามใหม่เพอ่ื การสารวจ - ตรวจสอบต่อไป19 ว 8.1 ป.4/6 แสดงความคิดเห็นและสรุป - สิง่ ท่ไี ด้เรียนรู้20 ว 8.1 ป.4/7 บนั ทกึ และอธิบายผลการสารวจ -  ตรวจสอบอย่างตรงไปตรงมา21 ว 8.1 ป.4/8 นาเสนอ จัดแสดงผลงาน - โดยอธบิ ายดว้ ยวาจา หรือเขยี น อธบิ ายกระบวนการและผลของงาน ให้ผอู้ ่ืนเข้าใจ รวม 21 ตวั ชี้วัด 21 0 ขอ้ มลู ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559

๑๑ชัน้ ท่ี รหัสตวั ชี้วัด ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ป.5 1 ว 1.1 ป.5/1 สังเกตและระบสุ ่วนประกอบ - ดอกโดยท่วั ไป ประกอบดว้ ย กลบี เลยี้ ง  ของดอกและโครงสร้างที่เกยี่ วข้อง กลบี ดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย กบั การสืบพนั ธุ์ของพืชดอก - ส่วนประกอบของดอกที่ทาหนา้ ที่ เก่ียวข้องกับการสืบพันธุ์ ไดแ้ ก่ เกสรเพศเมีย ประกอบด้วย รงั ไข่ ออวุล และเกสรเพศผู้ ประกอบดว้ ย อบั เรณู และละอองเรณู2 ว 1.1 ป.5/2 อธิบายการสืบพันธุ์ของพืชดอก - พืชดอกมีการสบื พนั ธท์ุ ั้งแบบอาศัยเพศ  การขยายพนั ธุ์พชื และนาความรู้ และการสบื พนั ธุ์แบบไมอ่ าศยั เพศ ไปใช้ประโยชน์ - การขยายพนั ธ์ุพืชเพื่อเพิ่มปริมาณ และคุณภาพของพืช ทาได้หลายวิธี โดยการเพาะเมล็ด การปักชา การตอนกง่ิ การตดิ ตา การทาบกิ่ง การเสียบยอด และการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ3 ว 1.1 ป.5/3 อธิบายวฏั จักรชีวิตของพชื ดอก - พืชดอกเมื่อเจรญิ เติบโตเต็มท่จี ะออกดอก  บางชนดิ ดอกไดร้ บั การผสมพนั ธ์กุ ลายเปน็ ผล ผลมีเมล็ด ซ่ึงสามารถงอกเป็นต้นพชื ต้นใหม่ หมุนเวยี นเป็นวัฏจกั ร4 ว 1.1 ป.5/4 อธิบายการสบื พันธุ์ และ - สตั ว์มีการสืบพนั ธแุ์ บบอาศัยเพศ  การขยายพันธุข์ องสัตว์ และการสบื พนั ธ์ุแบบไม่อาศัยเพศ - การขยายพนั ธุส์ ัตวโ์ ดยวิธกี ารคดั เลอื กพนั ธ์ุ และการผสมเทยี ม ทาให้มนุษย์ได้สัตว์ ที่มีปรมิ าณและคุณภาพตามที่ตอ้ งการ5 ว 1.1 ป.5/5 อภปิ รายวฏั จักรชีวิตของสัตว์ - สตั วบ์ างชนดิ เชน่ ผเี ส้ือ ยุง กบ เมอ่ื ไข่  บางชนิด และนาความรูไ้ ปใช้ ไดร้ ับการผสมพนั ธ์ุจะเจริญเป็นตวั ออ่ น ประโยชน์ และตวั อ่อนเจรญิ เติบโตเปน็ ตัวเตม็ วยั จนกระทั่งสามารถสืบพนั ธไ์ุ ด้ หมุนเวียน เปน็ วัฏจักร - มนุษย์นาความรเู้ กี่ยวกบั วัฏจกั รชวี ติ ของสตั วม์ าใช้ประโยชนม์ ากมาย ทัง้ ทางด้านเกษตร การอุตสาหกรรม และการดูแลรักษาส่ิงแวดลอ้ ม6 ว 1.2 ป.5/1 สารวจ เปรยี บเทยี บและระบุ - ลักษณะของตนเองจะคลา้ ยคลึงกบั  ลักษณะของตนเองกับคนในครอบครวั คนในครอบครัว7 ว 1.2 ป.5/2 อธิบายการถ่ายทอดลกั ษณะ - การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม  ทางพันธกุ รรมของส่ิงมีชีวิต เป็นการถ่ายทอดลักษณะบางลกั ษณะ ในแตล่ ะรุน่ จากบรรพบุรุษสลู่ ูกหลาน ซ่ึงบางลักษณะ จะเหมือนพ่อหรือเหมอื นแม่ หรอื อาจมี ลกั ษณะเหมือนปู่ ย่า ตา ยาย ข้อมลู ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

๑๒ชนั้ ที่ รหัสตัวช้ีวัด ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ป.5 8 ว 1.2 ป.5/3 จาแนกพชื ออกเปน็ พืชดอก - พืชแบ่งออกเป็นสองประเภท คือ พชื ดอก  และพืชไม่มดี อก กบั พืชไม่มีดอก9 ว 1.2 ป.5/4 ระบลุ กั ษณะของพชื ดอก - พืชดอกแบ่งออกเป็น พืชใบเล้ยี งเด่ยี ว  ท่ีเป็นพืชใบเล้ยี งเด่ยี ว และพืช กับพืชใบเลย้ี งคู่ โดยสังเกตจาก ราก ใบเลย้ี งคู่ โดยใชล้ กั ษณะ ลาต้น และใบ ภายนอกเปน็ เกณฑ์10 ว 1.2 ป.5/5 จาแนกสตั วอ์ อกเป็นกลมุ่ - การจาแนกสตั วเ์ ป็นกลมุ่ โดยใชล้ กั ษณะ  โดยใช้ลักษณะภายในบางลักษณะ ภายนอก และลกั ษณะภายในบางลักษณะ และลกั ษณะภายนอกเป็นเกณฑ์ เปน็ เกณฑ์ แบ่งออกได้เป็นสตั ว์มกี ระดูก สันหลัง และสัตวไ์ ม่มีกระดูกสันหลัง - สัตว์มกี ระดกู สนั หลงั แบง่ เป็นกลมุ่ ปลา สตั ว์สะเทนิ นา้ สะเทินบก สตั วเ์ ลื้อยคลาน สตั ว์ปีก และสัตวเ์ ลย้ี งลกู ด้วยน้านม11 ว 3.1 ป.5/1 ทดลองและอธบิ ายสมบัติของวัสดุ - ความยืดหยุ่น ความแขง็ ความเหนียว  ชนิดต่าง ๆ เก่ียวกับความยืดหยุ่น การนาความร้อน การนาไฟฟ้า ความแขง็ ความเหนยี ว และความหนาแนน่ เปน็ สมบัติตา่ ง ๆ การนาความร้อน การนาไฟฟ้า ของวสั ดุ ซง่ึ วสั ดตุ ่างชนดิ กนั จะมสี มบัติ และความหนาแน่น บางประการแตกตา่ งกัน12 ว 3.1 ป.5/2 สืบค้นขอ้ มูล และอภปิ ราย - ในชีวิตประจาวันมีการนาวสั ดตุ ่าง ๆ  การนาวสั ดไุ ปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั มาใช้ทาสิง่ ของเครือ่ งใช้ตามสมบัติ ของวสั ดุนัน้ ๆ13 ว 4.1 ป.5/1 ทดลองและอธบิ ายการหาแรงลัพธ์ - แรงลัพธ์ของแรงสองแรงท่ีกระทาต่อวตั ถุ  ของแรงสองแรง ซงึ่ อยู่ใน โดยแรงทงั้ สองอยูใ่ นแนวเดียวกนั เทา่ กบั แนวเดยี วกันที่กระทาต่อวตั ถุ ผลรวมของแรงทัง้ สองนนั้14 ว 4.1 ป.5/2 ทดลองและอธบิ ายความดันอากาศ - อากาศมแี รงกระทาตอ่ วตั ถุ แรงทอ่ี ากาศ  กระทาตงั้ ฉากต่อหน่ึงหนว่ ยพื้นที่ เรียกวา่ ความดันอากาศ15 ว 4.1 ป.5/3 ทดลองและอธบิ ายความดนั ของ - ของเหลวมีแรงกระทาตอ่ วตั ถุทุกทศิ ทาง  ของเหลว แรงทขี่ องเหลวกระทาตง้ั ฉากต่อหนึ่งหนว่ ย พนื้ ท่ี เรียกว่า ความดันของของเหลว ซงึ่ มีความสมั พันธก์ ับความลึก16 ว 4.1 ป.5/4 ทดลองและอธบิ ายแรงพยงุ ของ - ของเหลวมีแรงพยุงกระทาต่อวัตถุทล่ี อย  ของเหลว การลอยตวั และการจม หรอื จมในของเหลว การจมหรอื การลอยตวั ของวัตถุ ของวัตถุขึ้นอยู่กบั น้าหนักของวัตถุ และแรง พยงุ ของของเหลวนนั้17 ว 4.2 ป.5/1 ทดลองและอธิบายแรงเสยี ดทาน - แรงเสยี ดทานเปน็ แรงตา้ นการเคล่อื นท่ี  และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ของวัตถุ แรงเสียดทาน มปี ระโยชน์ เช่น ในการเดนิ ตอ้ งอาศัยแรงเสียดทาน ขอ้ มูล ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

๑๓ช้นั ที่ รหัสตวั ช้ีวัด ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ป.5 18 ว 5.1 ป.5/1 ทดลองและอธบิ ายการเกดิ เสยี ง - เสียงเกดิ จากการสั่นของแหลง่ กาเนิด  19 ว 5.1 ป.5/2 20 ว 5.1 ป.5/3 และการเคลอ่ื นที่ของเสยี ง เสยี งและเสยี งเคลื่อนท่ีจากแหลง่ กาเนิด 21 ว 5.1 ป.5/4 22 ว 6.1 ป.5/1 เสียงทกุ ทิศทางโดยอาศัยตวั กลาง 23 ว 6.1 ป.5/2 ทดลองและอธิบายการเกิดเสียงสูง - แหลง่ กาเนิดเสียงส่ันดว้ ยความถต่ี า่  24 ว 6.1 ป.5/3 25 ว 6.1 ป.5/4 เสียงต่า จะเกดิ เสียงต่า แต่ถา้ ส่นั ดว้ ยความถส่ี ูง จะเกดิ เสยี งสูง ทดลองและอธิบายเสยี งดัง - แหลง่ กาเนิดเสยี งส่ันด้วยพลังงานมาก  เสียงคอ่ ย จะทาใหเ้ กดิ เสยี งดัง แต่ถ้าแหลง่ กาเนดิ เสียง สั่นดว้ ยพลังงานน้อยจะเกดิ เสียงค่อย สารวจและอภปิ รายอันตราย - เสียงดังมาก ๆ จะเปน็ อนั ตรายต่อการไดย้ ิน  ที่เกดิ ขนึ้ เมอ่ื ฟังเสยี งดังมาก ๆ และเสียงท่ีกอ่ ใหเ้ กดิ ความราคาญ เรยี กว่า มลพษิ ทางเสียง สารวจ ทดลอง และอธบิ าย - ไอนา้ ในอากาศท่ีควบแนน่ เปน็ ละอองนา้  การเกิดเมฆ หมอก นา้ คา้ ง ฝน เล็ก ๆ ทาใหเ้ กิดหมอก และเมฆ ละอองนา้ และลูกเห็บ เลก็ ๆ ทร่ี วมกันเปน็ หยดน้าจะทาใหเ้ กดิ น้าค้าง และฝน - หยดนา้ ทก่ี ลายเปน็ น้าแขง็ แลว้ ถูกพายุ พดั วน ในเมฆระดับสงู จนเป็นกอ้ นนา้ แข็ง ขนาดใหญข่ ึ้นแลว้ ตกลงมาทาให้เกดิ ลูกเหบ็ ทดลองและอธิบายการเกิด - วฏั จกั รน้าเกดิ จากการหมุนเวยี น  วัฏจักรนา้ อย่างต่อเน่ืองระหวา่ งน้าบรเิ วณผิวโลก กบั นา้ ในบรรยากาศ ออกแบบและสร้างเคร่ืองมือ - อุณหภูมิ ความชื้น ความกดอากาศ  อยา่ งง่ายในการวัดอณุ หภูมิ มีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งสามารถตรวจสอบ ความช้ืน และความกดอากาศ โดยใชเ้ คร่อื งมืออย่างงา่ ยได้ ทดลองและอธิบายการเกิดลม - การเกิดลมเกิดจากการเคลื่อนทข่ี องอากาศ  และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตามแนวพ้นื ราบ อากาศบรเิ วณท่มี ีอุณหภูมสิ งู ในชีวิตประจาวนั มวลอากาศจะขยายตัวลอยตัวสูงขน้ึ ส่วนอากาศบริเวณที่มีอุณหภูมิต่า มวลอากาศ จะจมตวั ลงและเคลื่อนทีไ่ ปแทนที่ - พลังงานจากลมนาไปใช้ประโยชน์ได้มากมาย ในดา้ นการผลิตกระแสไฟฟา้ และการทา กังหันลม ข้อมูล ณ วันท่ี 15 สงิ หาคม 2559

๑๔ช้นั ท่ี รหสั ตวั ช้ีวัด ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ป.5 26 ว 7.1 ป.5/1 สงั เกตและอธบิ ายการเกิดทิศ - การที่โลกหมุนรอบตวั เองน้ีทาให้เกดิ  และปรากฏการณ์การข้ึน - ตก การกาหนดทิศ โดยโลกหมนุ รอบตัวเอง ของดวงดาว โดยใชแ้ ผนท่ีดาว ทวนเขม็ นาฬิกาจากทศิ ตะวันตกไปยัง ทศิ ตะวันออก เมื่อสงั เกตจากขั้วเหนอื จงึ ปรากฏให้เหน็ ดวงอาทิตย์และดวงดาวต่าง ๆ ขึ้นทางทศิ ตะวันออก และตกทางทศิ ตะวนั ตก - แผนทดี่ าวชว่ ยในการสงั เกตตาแหน่ง ดาวบนทอ้ งฟ้าสาระที่ 8 ธรรมชาติของวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละจิตวทิ ยาศาสตร์ในการสบื เสาะหาความรู้ การแก้ปัญหารวู้ า่ ปรากฏการณท์ างธรรมชาติทเี่ กดิ ขนึ้ ส่วนใหญ่มรี ูปแบบที่แนน่ อน สามารถอธบิ ายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูลและเครือ่ งมือทีม่ ีอย่ใู นช่วงเวลาน้นั ๆ เข้าใจวา่ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมและสิ่งแวดล้อม มคี วามเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน27 ว 8.1 ป.5/1 ตั้งคาถามเกย่ี วกับประเดน็ - หรือเรอื่ ง หรือสถานการณ์ ทจ่ี ะศึกษาตามท่ีกาหนดให้ และตามความสนใจ28 ว 8.1 ป.5/2 วางแผนการสังเกต เสนอ - การสารวจตรวจสอบ หรอื ศึกษา คน้ คว้าและคาดการณ์สง่ิ ท่จี ะพบ จากการสารวจตรวจสอบ29 ว 8.1 ป.5/3 เลอื กอุปกรณ์ท่ีถูกต้องเหมาะสม -  ในการสารวจตรวจสอบใหไ้ ด้ ขอ้ มลู ที่เชอื่ ถือได้30 ว 8.1 ป.5/4 บนั ทกึ ข้อมูลในเชงิ ปริมาณ - และคุณภาพ และตรวจสอบผล กบั สงิ่ ทค่ี าดการณ์ไว้ นาเสนอผล และข้อสรปุ31 ว 8.1 ป.5/5 สรา้ งคาถามใหมเ่ พ่ือการสารวจ - ตรวจสอบต่อไป32 ว 8.1 ป.5/6 แสดงความคิดเห็นอยา่ งอสิ ระ - อธิบายและสรปุ ส่งิ ที่ไดเ้ รยี นรู้33 ว 8.1 ป.5/7 บันทกึ และอธบิ ายผลการสารวจ -  ตรวจสอบตามความเปน็ จริง มกี ารอ้างอิง34 ว 8.1 ป.5/8 นาเสนอ จดั แสดงผลงาน - โดยอธบิ ายด้วยวาจา หรอื เขียน อธิบายแสดงกระบวนการ และ ผลของงานใหผ้ ู้อ่ืนเขา้ ใจ รวม 34 ตัวชี้วดั 34 0 ขอ้ มูล ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559

๑๕ชน้ั ท่ี รหัสตวั ช้ีวัด ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ป.6 1 ว 1.1 ป.6/1 อธิบายการเจริญเติบโตของมนษุ ย์ - มนุษย์มีการเจริญเติบโตและมีการเปลีย่ นแปลง  จากวยั แรกเกิดจนถึงวยั ผ้ใู หญ่ ทางด้านร่างกายตัง้ แต่แรกเกิดจนเป็นผู้ใหญ่2 ว 1.1 ป.6/2 อธบิ ายการทางานทสี่ มั พนั ธก์ ัน - ระบบย่อยอาหาร ทาหนา้ ทย่ี อ่ ยอาหาร  ของระบบย่อยอาหาร ระบบหายใจ ใหเ้ ป็นสารอาหารขนาดเล็กแล้วจะถกู ดูดซมึ และระบบหมนุ เวยี นเลือดของมนุษย์ เขา้ สู่ระบบหมนุ เวยี นเลือด แก๊สออกซิเจน ทไ่ี ด้จากระบบหายใจจะทาให้สารอาหาร เกิดการเปลย่ี นแปลงจนกลายเปน็ พลังงาน ที่ร่างกายนาไปใชไ้ ด้3 ว 1.1 ป.6/3 วิเคราะหส์ ารอาหารและอภิปราย - สารอาหาร ได้แก่ โปรตีน คาร์โบไฮเดรต  ความจาเปน็ ทีร่ ่างกายต้องได้รับ ไขมนั แร่ธาตุ วิตามิน และน้า มคี วามจาเป็น สารอาหารในสัดสว่ นท่เี หมาะสม ต่อรา่ งกาย มนุษยจ์ าเปน็ ตอ้ งไดร้ ับสารอาหาร กบั เพศและวยั ในสัดส่วนทีเ่ หมาะสมกับเพศและวยั เพื่อการเจรญิ เติบโต และการดารงชีวิต4 ว 2.1 ป.6/1 สารวจและอภิปรายความสัมพนั ธ์ - กลุ่มส่ิงมชี ีวิตในแหลง่ ที่อยู่ต่าง ๆ  ของกล่มุ สงิ่ มชี วี ติ ในแหล่งทอ่ี ยู่ตา่ ง ๆ มคี วามสัมพันธก์ ัน และมคี วามสมั พันธ์ กบั แหลง่ ท่ีอยใู่ นลักษณะของแหล่งอาหาร แหล่งที่อยู่อาศยั แหลง่ สืบพนั ธุ์ และแหลง่ เลี้ยงดูลูกอ่อน5 ว 2.1 ป.6/2 อธบิ ายความสมั พนั ธข์ องส่งิ มีชวี ิต - ความสมั พันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับส่งิ มีชวี ติ  กับสิ่งมชี วี ติ ในรปู ของโซ่อาหาร ในรูปของโซ่อาหาร และสายใยอาหาร และสายใยอาหาร ทาใหเ้ กิดการถา่ ยทอดพลังงานจากผ้ผู ลติ สผู่ ูบ้ ริโภค6 ว 2.1 ป.6/3 สบื ค้นข้อมูลและอธิบายความสัมพนั ธ์ - สงิ่ มชี ีวติ ทอี่ าศยั อยูใ่ นแต่ละแหลง่ ที่อยู่  ระหวา่ งการดารงชีวิตของสิ่งมีชวี ิต จะมโี ครงสร้างท่เี หมาะสมต่อการดารงชีวิต กบั สภาพแวดล้อมในท้องถนิ่ ในแหล่งท่อี ยนู่ ้นั และสามารถปรบั ตัว ใหเ้ ขา้ กับสภาพแวดล้อมเพื่อหาอาหาร และมชี วี ติ อยรู่ อด7 ว 2.2 ป.6/1 สบื ค้นขอ้ มลู และอภิปราย - ทรพั ยากรธรรมชาตติ ่าง ๆ ในแตล่ ะทอ้ งถ่นิ  แหล่งทรัพยากรธรรมชาติ มปี ระโยชนต์ อ่ การดารงชีวติ ของส่งิ มชี ีวติ ในแตล่ ะท้องถน่ิ ทเี่ ปน็ ประโยชน์ ต่อการดารงชีวิต8 ว 2.2 ป.6/2 วเิ คราะหผ์ ลของการเพม่ิ ข้นึ - การเพม่ิ ข้ึนของประชากรมนุษย์  ของประชากรมนุษย์ต่อการใช้ ทาให้ทรัพยากรธรรมชาติถูกใช้มากขนึ้ ทรพั ยากรธรรมชาติ เป็นผลทาให้ทรพั ยากรธรรมชาตลิ ดน้อยลง และส่ิงแวดล้อมเปลีย่ นแปลงไป9 ว 2.2 ป.6/3 อภปิ รายผลต่อสงิ่ มชี วี ติ - ภัยพิบัตจิ ากธรรมชาติและการกระทา  จากการเปลย่ี นแปลงสิ่งแวดลอ้ ม ของมนษุ ย์ ทาใหส้ งิ่ แวดล้อมเปล่ยี นแปลง ทงั้ โดยธรรมชาติและโดยมนุษย์ เปน็ ผลทาให้พืชและสัตวป์ ่าบางชนิดสญู พนั ธุ์ ข้อมลู ณ วันท่ี 15 สงิ หาคม 2559

๑๖ชั้น ที่ รหสั ตวั ช้ีวดั ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ป.6 10 ว 2.2 ป.6/4 อภิปรายแนวทางในการดแู ลรักษา - การสรา้ งจติ สานึกในการอนุรกั ษ์ เฝ้าระวงั  ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทรพั ยากรธรรมชาตติ ลอดจนการปลกู ตน้ ไม้ เพ่ิมขึ้น เพื่อเป็นแนวทางหนึ่งในการดูแล รกั ษาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม11 ว 2.2 ป.6/5 มสี ่วนร่วมในการดแู ลรกั ษา - ร่วมจดั ทาโครงการเฝ้าระวังรักษาคุณภาพ  สิ่งแวดลอ้ มในท้องถน่ิ ของส่ิงแวดล้อมในทอ้ งถ่นิ อย่างยงั่ ยนื12 ว 3.1 ป.6/1 ทดลองและอธบิ ายสมบัตขิ อง - สารอาจปรากฏในสถานะของแข็ง  ของแขง็ ของเหลว และแก๊ส ของเหลว หรอื แก๊ส สารทง้ั สามสถานะ มีสมบตั บิ างประการเหมอื นกัน และบางประการแตกตา่ งกนั13 ว 3.1 ป.6/2 จาแนกสารเป็นกล่มุ โดยใช้ - การจาแนกสารอาจจาแนกโดยใช้  สถานะหรอื เกณฑ์ท่ีกาหนดเอง สถานะการนาไฟฟ้า การนาความร้อน หรือสมบตั อิ ่นื เป็นเกณฑ์ได้14 ว 3.1 ป.6/3 ทดลองและอธิบายวธิ กี ารแยกสาร - ในการแยกสารบางชนดิ ท่ผี สมกนั  บางชนิดทีผ่ สมกัน โดยการร่อน ออกจากกันต้องใช้วธิ กี ารต่าง ๆ ที่เหมาะสม การตกตะกอน การกรอง ซง่ึ อาจจะทาได้โดยการร่อน การตกตะกอน การระเหิด การระเหยแห้ง การกรอง การระเหิด การระเหยแหง้ ทง้ั นี้ขึ้นอยู่กับสมบัติของสารท่ีเปน็ ส่วนผสม ในสารผสมนน้ั ๆ15 ว 3.1 ป.6/4 สารวจและจาแนกประเภทของ - จาแนกประเภทของสารต่าง ๆ ที่ใช้  สารตา่ ง ๆ ทใ่ี ชใ้ นชีวติ ประจาวนั ในชีวิตประจาวัน ตามการใช้ประโยชน์ โดยใชส้ มบัติและการใช้ประโยชน์ แบ่งได้เปน็ สารปรุงรสอาหาร สารแตง่ สีอาหาร ของสารเปน็ เกณฑ์ สารทาความสะอาด สารกาจัดแมลง และ ศัตรูพชื ซึง่ สารแตล่ ะประเภท มคี วามเปน็ กรด - เบสแตกต่างกนั16 ว 3.1 ป.6/5 อภิปรายการเลอื กใช้สาร - การใชส้ ารตา่ ง ๆ ในชีวิตประจาวนั  แตล่ ะประเภทได้อยา่ งถกู ต้อง ต้องเลือกใชใ้ หถ้ ูกต้อง ตามวตั ถปุ ระสงค์ และปลอดภยั ของการใชง้ าน ปลอดภัยต่อส่ิงมีชวี ิต และสง่ิ แวดล้อม17 ว 3.2 ป.6/1 ทดลองและอธบิ ายสมบัตขิ องสาร - เม่อื สารเกิดการเปล่ียนแปลงเปน็ สารละลาย  เม่ือสารเกิดการละลาย และ หรือเปล่ยี นสถานะ สารแตล่ ะชนดิ ยังคงแสดง เปลีย่ นสถานะ สมบัติของสารเดมิ18 ว 3.2 ป.6/2 วเิ คราะห์และอธิบายการเปลยี่ นแปลง - การเปลี่ยนแปลงทางเคมี หรอื การเกดิ  ทท่ี าใหเ้ กดิ สารใหม่ และมีสมบัติ ปฏกิ ริ ยิ าทางเคมี ทาให้มีสารใหมเ่ กดิ ข้ึน เปล่ียนแปลงไป และสมบัตขิ องสารจะเปล่ยี นแปลงไปจากเดิม19 ว 3.2 ป.6/3 อภปิ รายการเปลยี่ นแปลง - การเปลย่ี นแปลงของสาร ทั้งการละลาย  ของสารที่กอ่ ให้เกิดผลต่อ การเปลีย่ นสถานะ และการเกิดสารใหม่ ส่ิงมชี วี ติ และสงิ่ แวดลอ้ ม ตา่ งกม็ ีผลต่อสิง่ มชี ีวติ และสิ่งแวดล้อม ข้อมูล ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

๑๗ช้นั ที่ รหัสตัวช้ีวัด ตวั ช้วี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ป.6 20 ว 5.1 ป.6/1 ทดลองและอธิบายการต่อวงจร - วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ประกอบดว้ ย  ไฟฟ้าอย่างงา่ ย แหล่งกาเนดิ ไฟฟา้ อุปกรณ์ไฟฟา้21 ว 5.1 ป.6/2 ทดลองและอธิบายตัวนาไฟฟ้า - วัสดุที่กระแสไฟฟ้าผ่านไดเ้ ป็นตวั นาไฟฟา้  และฉนวนไฟฟ้า ถา้ กระแสไฟฟา้ ผา่ นไม่ได้เปน็ ฉนวนไฟฟา้22 ว 5.1 ป.6/3 ทดลองและอธบิ ายการต่อเซลลไ์ ฟฟ้า - เซลล์ไฟฟา้ หลายเซลลต์ ่อเรียงกัน โดยขว้ั บวก  แบบอนกุ รม และนาความรู้ไปใช้ ของเซลล์ไฟฟา้ เซลล์หนง่ึ ต่อกับขว้ั ลบของ ประโยชน์ อกี เซลลห์ นึ่งเป็นการต่อแบบอนุกรม ทาให้ มกี ระแสไฟฟ้าผ่านอปุ กรณไ์ ฟฟ้าในวงจร เพิม่ ขึ้น - การตอ่ เซลล์ไฟฟ้าแบบอนกุ รมสามารถ นาไปใชป้ ระโยชน์ในชวี ติ ประจาวนั เชน่ การตอ่ เซลลไ์ ฟฟ้าในไฟฉาย23 ว 5.1 ป.6/4 ทดลองและอธิบายการต่อหลอด - การตอ่ หลอดไฟฟา้ แบบอนุกรม  ไฟฟ้าท้งั แบบอนุกรม แบบขนาน จะมีกระแสไฟฟ้าปริมาณเดียวกนั ผ่าน และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ หลอดไฟฟา้ แตล่ ะหลอด - การต่อหลอดไฟฟ้าแบบขนาน กระแสไฟฟ้า จะแยกผ่านหลอดไฟฟ้าแต่ละหลอดสามารถ นาไปใชป้ ระโยชน์ เชน่ การต่อหลอดไฟฟา้ หลายดวงในบ้าน24 ว 5.1 ป.6/5 ทดลองและอธิบายการเกดิ - สายไฟท่ีมีกระแสไฟฟ้าผา่ นจะเกดิ  สนามแมเ่ หล็กรอบสายไฟ สนามแม่เหลก็ รอบสายไฟ สามารถนาไปใช้ ทีม่ กี ระแสไฟฟ้าผ่าน และนา ประโยชน์ เชน่ การทาแม่เหล็กไฟฟา้ ความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์25 ว 6.1 ป.6/1 อธิบาย จาแนกประเภทของหิน - หนิ แต่ละชนิดมีลกั ษณะแตกต่างกัน  โดยใชล้ กั ษณะของหิน สมบตั ิ จาแนกตามลักษณะที่สังเกตไดเ้ ปน็ เกณฑ์ ของหนิ เป็นเกณฑแ์ ละนาความรู้ เช่น สี เนอ้ื หนิ ความแขง็ ความหนาแน่น ไปใชป้ ระโยชน์ - นกั ธรณวี ทิ ยา จาแนกหินตามลกั ษณะ การเกดิ ได้ ๓ ประเภท คือ หินอคั นี หนิ ตะกอน และหนิ แปร - ลกั ษณะหิน และสมบัติของหินที่แตกต่างกัน นามาใชใ้ ห้เหมาะกบั งานทงั้ ในด้านกอ่ สร้าง ดา้ นอุตสาหกรรม และดา้ นอื่น ๆ26 ว 6.1 ป.6/2 สารวจและอธิบายการเปลยี่ นแปลง - การเปลย่ี นแปลงของหนิ ในธรรมชาติ  ของหนิ โดยการผพุ งั อยู่กบั ท่ี การกร่อน ทาให้หนิ มีขนาดเลก็ ลง จนเปน็ สว่ นประกอบของดนิ27 ว 6.1 ป.6/3 สืบคน้ และอธบิ ายธรณพี บิ ัตภิ ยั - มนุษย์ควรเรียนรู้และปฏิบัติตนให้ปลอดภัย  ทม่ี ผี ลตอ่ มนษุ ย์และสภาพแวดลอ้ ม จากธรณีพิบัติภัยท่ีอาจเกดิ ข้นึ ในท้องถิน่ ในทอ้ งถน่ิ ไดแ้ ก่ น้าป่าไหลหลาก น้าทว่ ม แผน่ ดินถล่ม แผ่นดนิ ไหว สนึ ามิ และอ่ืน ๆ ข้อมูล ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

๑๘ช้นั ท่ี รหัสตัวช้ีวดั ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ป.6 28 ว 7.1 ป.6/1 สร้างแบบจาลอง และอธบิ าย - การที่โลกโคจรรอบดวงอาทติ ย์ ในเวลา 1 ปี  การเกดิ ฤดู ข้างขน้ึ ข้างแรม ในลักษณะที่แกนโลกเอียงกบั แนวตั้งฉาก สุริยุปราคา จนั ทรุปราคา ของระนาบทางโคจร ทาให้บริเวณส่วนตา่ ง ๆ และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ของโลกรับพลงั งานจากดวงอาทิตย์แตกต่างกัน เป็นผลใหเ้ กิดฤดตู า่ ง ๆ - ดวงจันทรไ์ มม่ ีแสงสว่างในตัวเอง แสงสว่าง ทเี่ ห็นเกิดจากแสงอาทิตยต์ กกระทบดวงจนั ทร์ แล้วสะท้อนมายงั โลก การที่ดวงจันทรโ์ คจร รอบโลก ขณะท่โี ลกโคจรรอบดวงอาทติ ย์ ดวงจนั ทรจ์ ึงเปลี่ยนตาแหน่งไป ทาให้มองเห็น แสงสะท้อนจากดวงจนั ทร์แตกต่างกัน ในแตล่ ะคนื ซง่ึ เรยี กว่าข้างขน้ึ ข้างแรม และนามาใช้จดั ปฏทิ ินในระบบจนั ทรคติ - การที่โลก ดวงจนั ทร์ ดวงอาทติ ย์ อยู่ในแนวเสน้ ตรงเดียวกันทาใหด้ วงจันทร์ บงั ดวงอาทติ ย์ เรียกว่า เกิดสุรยิ ปุ ราคา และเมื่อดวงจนั ทร์เคล่ือนทเ่ี ข้าไปอยู่ในเงา ของโลก เรยี กว่า เกิดจันทรปุ ราคา29 ว 7.2 ป.6/1 สบื คน้ อภปิ รายความกา้ วหนา้ - ความกา้ วหน้าของจรวด ดาวเทียม  และประโยชน์ของเทคโนโลยี และยานอวกาศ อวกาศ - ความก้าวหนา้ ของเทคโนโลยอี วกาศ ไดน้ ามาใชใ้ นการสารวจข้อมูลของวัตถุ ทอ้ งฟ้า ทาให้ได้เรยี นรู้เกย่ี วกับระบบสรุ ยิ ะ ท้งั ในและนอกระบบสุรยิ ะเพิ่มข้ึนอีกมากมาย และยังมปี ระโยชนใ์ นการพฒั นาเทคโนโลยี ในดา้ นการสารวจทรัพยากรธรรมชาติ การส่อื สาร การสารวจสภาพอากาศ ดา้ นการแพทย์ และดา้ นอนื่ ๆ อีกมากมายสาระที่ 8 ธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีมาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวทิ ยาศาสตรใ์ นการสืบเสาะหาความรู้ การแกป้ ัญหารวู้ า่ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาตทิ ี่เกิดข้ึนส่วนใหญม่ ีรปู แบบทแี่ นน่ อน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ขอ้ มูลและเครอื่ งมือทีม่ ีอยใู่ นช่วงเวลานั้น ๆ เขา้ ใจวา่ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมและสง่ิ แวดลอ้ ม มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน30 ว 8.1 ป.6/1 ตั้งคาถามเกี่ยวกับประเดน็ - หรอื เรือ่ ง หรือสถานการณ์ ทจี่ ะศึกษาตามที่กาหนดให้ และตามความสนใจ ข้อมูล ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

ชัน้ ที่ รหสั ตัวช้ีวดั ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ๑๙ - ต้องรู้ ควรรู้ป.6 31 ว 8.1 ป.6/2 วางแผนการสงั เกต เสนอการสารวจ  - ตรวจสอบ หรอื ศกึ ษาคน้ คว้า  - และคาดการณ์สงิ่ ที่จะพบ  - จากการสารวจตรวจสอบ -  - 32 ว 8.1 ป.6/3 เลอื กอปุ กรณ์และวธิ ีการ  - สารวจตรวจสอบทีถ่ ูกต้อง  เหมาะสมให้ไดผ้ ลทคี่ รอบคลุม 37 0 และเชื่อถือได้33 ว 8.1 ป.6/4 บนั ทกึ ข้อมูลในเชิงปริมาณ และ คุณภาพ วเิ คราะห์ และตรวจสอบผล กับส่ิงที่คาดการณ์ไว้ นาเสนอผล และ ข้อสรปุ34 ว 8.1 ป.6/5 สร้างคาถามใหมเ่ พื่อการสารวจ ตรวจสอบตอ่ ไป35 ว 8.1 ป.6/6 แสดงความคดิ เหน็ อย่างอิสระ อธบิ าย ลงความเหน็ และสรุป สิ่งทไ่ี ดเ้ รยี นรู้36 ว 8.1 ป.6/7 บนั ทกึ และอธบิ ายผลการสารวจ ตรวจสอบตามความเปน็ จริง มเี หตผุ ลและมปี ระจักษ์พยาน อา้ งองิ37 ว 8.1 ป.6/8 นาเสนอ จัดแสดงผลงาน โดยอธิบายดว้ ยวาจา และเขียน รายงานแสดงกระบวนการ และผลของงานใหผ้ ูอ้ ่นื เข้าใจ รวม 37 ตัวช้ีวดั ข้อมลู ณ วันท่ี 15 สงิ หาคม 2559

๒๐ชั้น ที่ รหสั ตัวชี้วัด ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ม.1 1 ว 1.1 ม.1/1 สังเกต และอธิบายรูปร่าง ลกั ษณะ - เซลลข์ องสิง่ มชี ีวติ เซลล์เดยี ว และเซลล์  ของเซลล์ของสิ่งมีชีวติ เซลลเ์ ดยี ว ของส่งิ มชี ีวิตหลายเซลล์ เชน่ เซลล์พืช และเซลลข์ องสงิ่ มีชีวิตหลายเซลล์ และเซลลส์ ัตว์ มีรปู รา่ ง ลกั ษณะแตกตา่ งกัน2 ว 1.1 ม.1/2 สังเกตและเปรยี บเทียบส่วนประกอบ - นิวเคลียส ไซโทรพลาซึม และเยอ่ื หุ้มเซลล์  สาคัญของเซลล์พชื และเซลลส์ ัตว์ เปน็ ส่วนประกอบสาคัญของเซลลท์ เ่ี หมือนกนั ของเซลล์พชื และเซลลส์ ัตว์ - ผนังเซลลแ์ ละคลอโรพลาสต์ เปน็ สว่ นประกอบ ทพ่ี บได้ในเซลล์พืช3 ว 1.1 ม.1/3 ทดลองและอธบิ ายหน้าที่ - นวิ เคลยี ส ไซโทรพลาซึม เยือ่ หุ้มเซลล์  ของส่วนประกอบท่สี าคัญ แวคิวโอล เปน็ ส่วนประกอบท่ีสาคญั ของเซลล์พืชและเซลล์สตั ว์ ของเซลล์สัตว์ มหี นา้ ท่ีแตกตา่ งกนั - นวิ เคลียส ไซโทรพลาซึม เย่ือหมุ้ เซลล์ แวคิวโอล ผนงั เซลล์ และคลอโรพลาสต์ เป็นส่วนประกอบท่ีสาคัญของเซลล์พชื มหี น้าทีแ่ ตกต่างกัน4 ว 1.1 ม.1/4 ทดลองและอธบิ ายกระบวนการ - การแพรเ่ ปน็ การเคล่ือนท่ีของสาร  สารผ่านเซลลโ์ ดยการแพร่ จากบรเิ วณทม่ี ีความเข้มขน้ สงู ไปสู่บรเิ วณ และออสโมซิส ทม่ี คี วามเข้มข้นตา่ - ออสโมซสิ เป็นการเคลอื่ นที่ของน้าผ่านเขา้ และออกจากเซลล์ จากบริเวณทม่ี ีความเข้มข้น ของสารละลายต่า ไปสู่บริเวณทีม่ ีความเข้มข้น ของสารละลายสงู โดยผ่านเย่ือเลอื กผา่ น5 ว 1.1 ม.1/5 ทดลองหาปัจจยั บางประการที่จาเป็น - แสง คลอโรฟลิ ล์ แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์  ต่อการสังเคราะหด์ ้วยแสงของพืช และนา้ เปน็ ปัจจยั ท่ีจาเป็นต่อกระบวนการ และอธิบายว่าแสง คลอโรฟลิ ล์ สังเคราะหด์ ้วยแสงของพืช แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ น้า เปน็ ปัจจัยท่จี าเป็นตอ้ งใชใ้ นการ สังเคราะหด์ ว้ ยแสง6 ว 1.1 ม.1/6 ทดลองและอธบิ ายผลท่ีได้ - น้าตาล แก๊สออกซิเจน และน้า  จากการสงั เคราะห์ด้วยแสง เปน็ ผลติ ภัณฑ์ท่ไี ดจ้ ากกระบวนการ ของพืช สงั เคราะห์ด้วยแสงของพืช7 ว 1.1 ม.1/7 อธบิ ายความสาคัญของกระบวนการ - กระบวนการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง  สงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพืช มีความสาคัญต่อการดารงชีวิตของสิง่ มีชีวิต ตอ่ สิง่ มชี ีวติ และส่ิงแวดลอ้ ม และตอ่ สิง่ แวดลอ้ มในดา้ นอาหาร การหมุนเวียน ของแกส๊ ออกซเิ จน และแกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์8 ว 1.1 ม.1/8 ทดลองและอธบิ ายกลมุ่ เซลล์ - เนือ้ เยอ่ื ลาเลยี งนา้ เป็นกลุม่ เซลล์เฉพาะ  ทเ่ี ก่ียวข้องกบั การลาเลยี งนา้ เรยี งต่อเน่ืองกนั ตั้งแต่ราก ลาตน้ จนถึงใบ ของพชื ทาหนา้ ที่ในการลาเลยี งนา้ และธาตอุ าหาร ขอ้ มูล ณ วันท่ี 15 สงิ หาคม 2559

๒๑ชน้ั ท่ี รหัสตวั ช้ีวัด ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ม.1 9 ว 1.1 ม.1/9 สังเกตและอธบิ ายโครงสร้าง - เน้ือเยือ่ ลาเลียงนา้ และเนือ้ เยือ่ ลาเลียง  ทีเ่ ก่ยี วกับระบบลาเลียงนา้ อาหาร เปน็ กลุ่มเซลลท์ ่ีอยู่ค่ขู นานกนั และอาหารของพชื เปน็ ทอ่ ลาเลยี งจากราก ลาต้นถงึ ใบ ซึ่งการจัดเรยี งตัวของท่อลาเลียงในพชื ใบเลย้ี งเดีย่ วและพืชใบเลย้ี งคู่จะแตกต่างกนั - เนอื้ เยื่อลาเลียงน้า ทาหน้าท่ีในการลาเลยี ง น้าและธาตอุ าหารจากรากสใู่ บ สว่ นเนือ้ เยือ่ ลาเลียงอาหาร ทาหน้าทีล่ าเลียงอาหาร จากใบสู่สว่ นตา่ ง ๆ ของพืช - การคายน้ามีสว่ นชว่ ยในการลาเลียงน้าของพชื10 ว 1.1 ม.1/10 ทดลองและอธบิ ายโครงสรา้ ง - เกสรเพศผู้และเกสรเพศเมยี เปน็ โครงสรา้ ง  ของดอกท่เี กีย่ วข้องกบั การสบื พันธ์ุ ท่ีใช้ในการสืบพันธ์ขุ องพืชดอก ของพืช 11 ว 1.1 ม.1/11 อธิบายกระบวนการสบื พันธ์ุ - กระบวนการสบื พนั ธแุ์ บบอาศยั เพศ แบบอาศยั เพศของพืชดอก ของพชื ดอกเป็นการปฏสิ นธิระหว่างเซลล์ และการสบื พนั ธุแ์ บบไม่อาศัยเพศ สบื พนั ธ์ุเพศผแู้ ละเซลล์ไข่ในออวลุ ของพชื โดยใช้ส่วนต่าง ๆ ของพชื - การแตกหน่อ การเกดิ ไหล เปน็ การสืบพนั ธุ์ เพอ่ื ช่วยในการขยายพนั ธุ์ ของพืชแบบไม่อาศัยเพศ โดยไมม่ ีการปฏิสนธิ - ราก ลาต้น ใบ และก่งิ ของพืชสามารถ นาไปใชข้ ยายพนั ธ์ุพชื ได้12 ว 1.1 ม.1/12 ทดลองและอธิบายการตอบสนอง - พชื ตอบสนองต่อส่งิ เรา้ ภายนอก  ของพชื ต่อแสง นา้ และการสัมผสั โดยสงั เกตไดจ้ ากการเคลื่อนไหว ของสว่ นประกอบของพชื ทม่ี ีตอ่ แสง นา้ และการสัมผัส13 ว 1.1 ม.1/13 อธิบายหลักการและผลของ - เทคโนโลยชี วี ภาพ เปน็ การใช้เทคโนโลยี  การใชเ้ ทคโนโลยี ชีวภาพ เพอ่ื ทาให้สิง่ มชี วี ิตหรือองค์ประกอบของ ในการขยายพันธุ์ ปรบั ปรงุ พันธ์ุ สิ่งมชี วี ติ มีสมบัติตามต้องการ เพมิ่ ผลผลิตของพชื และนาความรู้ - การเพาะเลย้ี งเนื้อเย่ือพชื พันธุวิศวกรรม ไปใช้ประโยชน์ เปน็ เทคโนโลยชี ีวภาพท่ีใช้ในการขยายพนั ธุ์ ปรับปรงุ พันธุ์ และเพม่ิ ผลผลิตของพชื14 ว 3.1 ม.1/1 ทดลองและจาแนกสารเป็นกลมุ่ - เมื่อใชเ้ น้ือสารเป็นเกณฑ์ จาแนกสารได้เปน็  โดยใช้เน้ือสารหรอื ขนาดอนภุ าค สารเน้อื เดยี ว และสารเนอ้ื ผสม ซึ่งสาร เปน็ เกณฑ์ และอธิบายสมบตั ิ แต่ละกลุ่มจะมสี มบตั ิแตกต่างกัน ของสารในแต่ละกล่มุ - เม่ือใช้ขนาดอนภุ าคของสารเปน็ เกณฑ์ จาแนกสารเป็นสารแขวนลอย คอลลอยด์ และสารละลาย ซง่ึ สารแต่ละกลุม่ จะมสี มบัตแิ ตกต่างกัน ขอ้ มลู ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

๒๒ชั้น ที่ รหสั ตวั ชี้วัด ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ม.1 15 ว 3.1 ม.1/2 อธบิ ายสมบัตแิ ละการเปลี่ยน - สี รปู รา่ ง ขนาด ความแข็ง ความหนาแน่น  สถานะของสาร โดยใชแ้ บบจาลอง จดุ เดือด จุดหลอมเหลว เป็นสมบตั ิ การจัดเรยี งอนภุ าคของสาร ทางกายภาพของสาร ความเป็นกรด- เบส ความสามารถในการรวมตัวกับสารอืน่ ๆ การแยกสลายของสาร และการเผาไหม้ เป็นสมบัตทิ างเคมี - สารในสถานะต่าง ๆ มลี กั ษณะการจัดเรียง อนุภาค ระยะห่างระหว่างอนุภาค และ แรงยึดเหนีย่ วระหว่างอนภุ าคแตกต่างกนั ซึง่ สามารถใช้แบบจาลองการจัดเรียงอนุภาค ของสาร อธิบายสมบัติบางประการของสารได้16 ว 3.1 ม.1/3 ทดลอง และอธบิ ายสมบตั ิ - สารละลายท่ีมนี ้าเป็นตวั ทาละลาย  ความเปน็ กรด - เบส ของ อาจจะมสี มบตั เิ ปน็ กรด กลาง หรอื เบส สารละลาย ซ่งึ สามารถทดสอบด้วยกระดาษลิตมสั หรืออนิ ดิเคเตอร์17 ว 3.1 ม.1/4 ตรวจสอบคา่ pH ของสารละลาย - ความเปน็ กรด – เบสของสารละลาย ระบเุ ป็น  และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ คา่ pH ซ่ึงตรวจสอบได้ดว้ ยเคร่อื งมอื วัดค่า pH หรือยูนิเวอรซ์ ัลอินดเิ คเตอร์ - ผลติ ภณั ฑ์ทีใ่ ช้ในชีวิตประจาวัน อาจมีความเปน็ กรด - เบสแตกต่างกนั จงึ ควรเลือกใช้ให้ถกู ต้องปลอดภัยต่อตนเอง และสิ่งแวดลอ้ ม18 ว 3.2 ม.1/1 ทดลองและอธิบายวธิ ีเตรียม - สารละลายประกอบด้วยตวั ละลาย และ  สารละลายทมี่ ีความเขม้ ขน้ ตัวทาละลาย สารละลายทีร่ ะบคุ วามเข้มขน้ เป็นรอ้ ยละ และอภปิ รายการนา เป็นร้อยละ หมายถงึ สารละลายทมี่ อี ัตราส่วน ความร้เู กี่ยวกับสารละลายไปใช้ ของปริมาณตวั ละลาย ละลายอยใู่ น ประโยชน์ สารละลายรอ้ ยสว่ น - ในชีวิตประจาวนั ได้มกี ารนาความรู้เร่ือง สารละลายไปใช้ประโยชน์ ทางดา้ นการเกษตร อุตสาหกรรมอาหาร การแพทย์ และดา้ นอน่ื ๆ19 ว 3.2 ม.1/2 ทดลองและอธิบายการเปลี่ยนแปลง - เมือ่ สารเกดิ การเปลย่ี นสถานะ และเกดิ การ  สมบัติ มวล และพลังงานของสาร ละลายมวลของสารจะไมเ่ ปลี่ยนแปลง เมอ่ื สารเปลยี่ นสถานะ และ แตส่ มบัตทิ างกายภาพเปล่ียนแปลง รวมทั้ง เกิดการละลาย มีการถ่ายโอนพลงั งานระหวา่ งระบบ กับสิ่งแวดล้อม20 ว 3.2 ม.1/3 ทดลองและอธิบายปัจจัยทีม่ ผี ล - อุณหภูมิ ความดัน ชนดิ ของสารมผี ล  ต่อการเปล่ยี นสถานะ และการ ต่อการเปลย่ี นสถานะ และการละลายของสาร ละลายของสาร ข้อมูล ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

๒๓ช้ัน ที่ รหัสตวั ช้ีวดั ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ม.1 21 ว 4.1 ม.1/1 สบื ค้นขอ้ มูลและอธิบายปรมิ าณ - ปริมาณทางกายภาพแบง่ เป็นปริมาณสเกลาร์  สเกลาร์ ปริมาณเวกเตอร์ และปริมาณเวกเตอร์ ปรมิ าณสเกลาร์เปน็ ปรมิ าณ ท่ีมแี ตข่ นาด ปริมาณเวกเตอร์เป็นปริมาณที่มีทงั้ ขนาด และทิศทาง22 ว 4.1 ม.1/2 ทดลองและอธบิ ายระยะทาง - การเคลื่อนท่ขี องวัตถุเก่ยี วข้องกบั ระยะทาง  การกระจัด อัตราเร็ว และ การกระจดั อตั ราเร็ว ความเร็ว ความเร็วในการเคลื่อนท่ีของวัตถุ ระยะทาง คือ ความยาวทว่ี ดั ตามแนว ทางการเคล่อื นทขี่ องวัตถจุ ากตาแหนง่ เรม่ิ ตน้ ไปยงั ตาแหนง่ สุดทา้ ย การกระจัด คอื เวกเตอร์ ท่ชี ต้ี าแหน่งสุดทา้ ยของวตั ถเุ ทียบกบั ตาแหนง่ เรมิ่ ตน้ อัตราเรว็ คอื ระยะทาง ทว่ี ตั ถเุ คล่อื นท่ไี ด้ในหนงึ่ หน่วยเวลา ความเร็ว คือ การกระจดั ของวัตถุ ในหนึง่ หนว่ ยเวลา23 ว 5.1 ม.1/1 ทดลองและอธิบายอณุ หภูมิ -การวัดอณุ หภมู เิ ปน็ การวัดระดบั ความรอ้ น  และการวดั อุณหภูมิ ของสาร สามารถวดั ดว้ ยเทอร์มอมิเตอร์24 ว 5.1 ม.1/2 สังเกตและอธิบายการถา่ ยโอน - การถา่ ยโอนความร้อนมีสามวิธี คอื  ความร้อน และนาความรู้ไปใช้ การนาความร้อน การพาความรอ้ น ประโยชน์ และการแผร่ งั สีความร้อน - การนาความรอ้ น เปน็ การถ่ายโอน ความร้อนโดยการสั่นของโมเลกุล - การพาความร้อน เป็นการถ่ายโอน ความร้อนโดยโมเลกุลของสารเคล่อื นท่ีไปดว้ ย - การแผ่รังสีความร้อน เปน็ การถ่ายโอน ความร้อนจากคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟา้ - การนาความรู้เรอ่ื งการถา่ ยโอนความร้อน ไปใช้ประโยชน์25 ว 5.1 ม.1/3 อธบิ ายการดดู กลืน การคาย - วตั ถทุ ่ีแตกต่างกนั มีสมบตั ิในการดดู กลนื  ความรอ้ น โดยการแผร่ ังสี ความร้อน และคายความร้อนได้ตา่ งกัน และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ - การนาความรูเ้ รื่องการดูดกลนื ความรอ้ น และการคายความร้อนไปใชป้ ระโยชน์26 ว 5.1 ม.1/4 อธิบายสมดุลความร้อน และ - เมือ่ วัตถสุ องส่งิ อยใู่ นสมดลุ ความรอ้ น  ผลของความร้อนต่อการขยายตวั วัตถทุ งั้ สองมอี ุณหภูมิเทา่ กัน ของสาร และนาความรู้ไปใช้ - การขยายตวั ของวัตถเุ ป็นผลจากความร้อน ในชวี ติ ประจาวนั ทีว่ ตั ถไุ ด้รับเพม่ิ ข้นึ - การนาความรูเ้ รอ่ื งการขยายตัวของวัตถุ เมอ่ื ไดร้ ับความร้อนไปใช้ประโยชน์ ข้อมูล ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

๒๔ชนั้ ท่ี รหสั ตัวชี้วดั ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ม.1 27 ว 6.1 ม.1/1 สืบค้นและอธบิ ายองคป์ ระกอบ - บรรยากาศของโลกประกอบดว้ ย  และการแบ่งช้ันบรรยากาศ ส่วนผสมของแกส๊ ต่าง ๆ ที่อยู่รอบโลก ท่ีปกคลุมผิวโลก สงู ขึน้ ไปจากพนื้ ผิวโลกหลายกโิ ลเมตร - บรรยากาศแบ่งเป็นชน้ั ตามอุณหภูมิ และการเปลี่ยนแปลงอุณหภมู ติ ามความสูง จากพนื้ ดนิ28 ว 6.1 ม.1/2 ทดลองและอธบิ ายความสมั พันธ์ - อณุ หภูมิ ความชืน้ และความกดอากาศ  ระหว่างอุณหภูมิ ความชน้ื มผี ลตอ่ ปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศ และความกดอากาศทมี่ ีผล ตอ่ ปรากฏการณท์ างลมฟ้าอากาศ29 ว 6.1 ม.1/3 สงั เกต วเิ คราะห์ และอภิปราย - ปรากฏการณ์ทางลมฟา้ อากาศ ไดแ้ ก่  การเกิดปรากฏการณ์ทางลมฟา้ การเกิดเมฆ ฝน พายุฟ้าคะนอง พายหุ มนุ อากาศทมี่ ผี ลต่อมนุษย์ เขตรอ้ น ลมมรสุม ฯลฯ30 ว 6.1 ม.1/4 สืบค้น วเิ คราะห์ และแปล - การพยากรณ์อากาศอาศยั ข้อมลู เกยี่ วกบั  ความหมายข้อมลู จาก อุณหภูมิ ความกดอากาศ ความชืน้ ปรมิ าณ การพยากรณ์อากาศ เมฆ ปริมาณน้าฝน และนามาแปลความหมาย เพ่อื ใช้ในการทานายสภาพอากาศ31 ว 6.1 ม.1/5 สบื ค้น วิเคราะห์ และอธบิ าย - สภาพลมฟา้ อากาศที่เปลย่ี นแปลงบนโลก  ผลของลมฟา้ อากาศตอ่ ทาใหเ้ กิดพายุ ปรากฏการณเ์ อลนโิ ญ การดารงชวี ติ ของสงิ่ มชี ีวติ ลานีญา ซ่ึงสง่ ผลตอ่ การดารงชีวติ ของ และสิง่ แวดล้อม มนุษย์และส่งิ แวดลอ้ ม32 ว 6.1 ม.1/6 สืบคน้ วิเคราะห์ และอธิบาย - ปัจจยั ทางธรรมชาตแิ ละการกระทา  ปจั จัยทางธรรมชาตแิ ละ ของมนษุ ย์ เช่น ภูเขาไฟปะทุ การตัดไม้ การกระทาของมนษุ ยท์ ่ีมีผลต่อ ทาลายปา่ การเผาไหมข้ องเครอื่ งยนต์ การเปลย่ี นแปลงอุณหภมู ขิ องโลก และการปล่อยแกส๊ เรือนกระจก มผี ล รูโหวโ่ อโซน และฝนกรด ทาใหเ้ กดิ ภาวะโลกร้อน รูโหวข่ องชั้นโอโซน และฝนกรด - ภาวะโลกรอ้ น คือ ปรากฏการณท์ ีอ่ ุณหภูมิ เฉลย่ี ของโลกสูงข้ึน33 ว 6.1 ม.1/7 สืบคน้ วเิ คราะห์ และอธบิ าย - ภาวะโลกรอ้ นทาใหเ้ กดิ การละลาย  ผลของภาวะโลกร้อน รูโหวโ่ อโซน ของธารนา้ แข็ง ระดับน้าทะเลสงู ขึ้น และฝนกรด ท่ีมีต่อสิ่งมชี วี ติ และ การกัดเซาะชายฝ่ังเพ่มิ ข้นึ นา้ ท่วม ไฟปา่ สิ่งแวดล้อม สง่ ผลให้สิ่งมชี ีวิตบางชนดิ สญู พนั ธุ์ และทาให้ส่ิงแวดลอ้ มเปล่ียนแปลงไป - รูโหวโ่ อโซน และฝนกรดมผี ลต่อ การเปลีย่ นแปลงของส่ิงมีชีวิตและ สงิ่ แวดลอ้ ม ขอ้ มลู ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559

๒๕ช้ัน ท่ี ตวั ช้ีวดั รหสั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ม.1 สาระท่ี 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาตรฐาน ว 8.1 ใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหารวู้ ่าปรากฏการณท์ างธรรมชาติที่เกิดข้ึนส่วนใหญม่ ีรูปแบบทแ่ี น่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใตข้ อ้ มูลและเครือ่ งมือท่มี ีอยใู่ นชว่ งเวลาน้ัน ๆ เข้าใจวา่ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมและส่ิงแวดลอ้ ม มคี วามเกยี่ วข้องสัมพันธก์ ัน34 ว 8.1 ม.1 - 3/1 ต้ังคาถามท่ีกาหนดประเดน็ หรือตัวแปร - ทสี่ าคัญในการสารวจตรวจสอบ หรือศกึ ษา คน้ ควา้ เรือ่ งทีส่ นใจได้อย่างครอบคลมุ และ เชือ่ ถือได้35 ว 8.1 ม.1 - 3/2 สรา้ งสมมตฐิ านท่ีสามารถตรวจสอบได้ - และวางแผนการสารวจตรวจสอบหลาย ๆ วธิ ี36 ว 8.1 ม.1 - 3/3 เลือกเทคนิควิธีการสารวจตรวจสอบ - ท้งั เชงิ ปริมาณและเชงิ คุณภาพที่ได้ผลเท่ียงตรง และปลอดภัย โดยใชว้ สั ดแุ ละเคร่ืองมือ ท่ีเหมาะสม37 ว 8.1 ม.1 - 3/4 รวบรวมข้อมูล จัดกระทาข้อมูลเชงิ ปริมาณ - และเชิงคุณภาพ38 ว 8.1 ม.1 - 3/5 วเิ คราะห์และประเมนิ ความสอดคล้อง - ของประจักษ์พยานกบั ข้อสรปุ ทัง้ ทส่ี นบั สนุน หรือขดั แย้งกับสมมติฐานและความผิดปกติ ของข้อมลู จากการสารวจตรวจสอบ39 ว 8.1 ม.1 - 3/6 สร้างแบบจาลอง หรือรูปแบบท่ีอธบิ ายผล - หรือแสดงผลของการสารวจตรวจสอบ40 ว 8.1 ม.1 - 3/7 สรา้ งคาถามท่นี าไปส่กู ารสารวจตรวจสอบ - ในเร่ืองทเี่ กีย่ วข้องและนาความรทู้ ีไ่ ด้ ไปใชใ้ นสถานการณใ์ หม่หรอื อธิบายเก่ยี วกบั แนวคดิ กระบวนการ และผลของโครงงาน หรอื ช้ินงานใหผ้ ้อู ื่นเข้าใจ41 ว 8.1 ม.1 - 3/8 บนั ทกึ และอธิบายผลการสังเกต การสารวจ - ตรวจสอบคน้ ควา้ เพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ ต่าง ๆ ให้ได้ข้อมลู ที่เชื่อถือได้และยอมรับ การเปลี่ยนแปลงความรู้ทีค่ น้ พบเม่ือมขี ้อมลู และประจักษ์พยานใหมเ่ พิม่ ขึ้นหรือโต้แยง้ จากเดิม42 ว 8.1 ม.1 – 3/9 จัดแสดงผลงาน เขียนรายงานและ/หรือ - อธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และ ผลของโครงงาน หรือชิน้ งานใหผ้ อู้ นื่ เข้าใจ รวม 42 ตัวช้ีวัด 42 0 ขอ้ มูล ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

๒๖ชัน้ ท่ี รหสั ตัวช้ีวัด ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ม.2 1 ว 1.1 ม.2/1 อธิบายโครงสร้างและการทางาน - ระบบย่อยอาหาร ระบบหมุนเวยี นเลือด  ของระบบยอ่ ยอาหาร ระบบ ระบบหายใจ ระบบขบั ถ่าย ระบบสืบพนั ธุ์ หมุนเวียนเลือด ระบบหายใจ และระบบประสาทของมนุษย์ ในแตล่ ะระบบ ระบบขับถ่าย ระบบสบื พันธุ์ ประกอบด้วยอวัยวะหลายชนิดที่ทางาน ของมนุษย์ และสัตว์ รวมทั้งระบบ อย่างเปน็ ระบบ ประสาทของมนุษย์ - ระบบย่อยอาหาร ระบบหมุนเวยี นเลอื ด ระบบหายใจ ระบบขับถ่าย ระบบสบื พนั ธุ์ ของสัตว์ ประกอบด้วยอวัยวะหลายชนดิ ทีท่ างานอยา่ งเปน็ ระบบ2 ว 1.1 ม.2/2 อธบิ ายความสัมพันธข์ องระบบตา่ ง ๆ - ระบบย่อยอาหาร ระบบหมุนเวยี นเลือด  ของมนุษย์และนาความรู้ไปใช้ ระบบหายใจ ระบบขบั ถ่าย ระบบสืบพันธุ์ ประโยชน์ ของมนุษย์ ในแตล่ ะระบบมกี ารทางาน ทีส่ มั พันธก์ นั ทาใหม้ นุษยด์ ารงชวี ติ อยู่ได้ อย่างปกติ ถ้าระบบใดระบบหนงึ่ ทางาน ผดิ ปกตยิ ่อมสง่ ผลกระทบต่อระบบอน่ื ๆ ดงั น้นั จงึ ตอ้ งมกี ารดูแลรกั ษาสุขภาพ3 ว 1.1 ม.2/3 สงั เกตและอธบิ ายพฤตกิ รรม - แสง อณุ หภูมิ และการสมั ผัส จดั เปน็  ของมนุษยแ์ ละสตั วท์ ต่ี อบสนอง ส่ิงเร้าภายนอก ส่วนการเปลยี่ นแปลง ต่อส่ิงเร้าภายนอกและภายใน ระดบั สารในรา่ งกาย เช่น ฮอร์โมน จดั เป็นสงิ่ เรา้ ภายใน ซง่ึ ทงั้ สง่ิ เรา้ ภายนอก และสง่ิ เร้าภายในมีผลต่อมนุษย์ และสัตว์ ทาให้แสดงพฤติกรรมต่าง ๆ ออกมา4 ว 1.1 ม.2/4 อธบิ ายหลักการและผลของการใช้ - เทคโนโลยชี วี ภาพเปน็ การใช้เทคโนโลยี  เทคโนโลยีชวี ภาพในการขยายพันธุ์ เพอื่ ทาให้สง่ิ มีชีวติ หรอื องค์ประกอบ ปรบั ปรงุ พนั ธุ์ และเพิ่มผลผลิตของ ของสิ่งมชี ีวิต มีสมบัติตามต้องการ สัตว์และนาความร้ไู ปใช้ประโยชน์ - การผสมเทียม การถ่ายฝากตัวออ่ น การโคลน เป็นการใชเ้ ทคโนโลยีชีวภาพ ในการขยายพนั ธุ์ ปรับปรงุ พนั ธ์ุ และ เพ่ิมผลผลิตของสตั ว์5 ว 1.1 ม.2/5 ทดลองวิเคราะห์ และอธิบาย - แป้ง น้าตาล ไขมัน โปรตีน วติ ามนิ ซี  สารอาหารในอาหารมปี ริมาณ เป็นสารอาหาร และสามารถทดสอบได้ พลังงาน และสัดส่วนท่ีเหมาะสม - การบรโิ ภคอาหาร จาเปน็ ต้องใหไ้ ด้สารอาหาร กับเพศและวัย ที่ครบถว้ นในสดั สว่ นที่เหมาะสมกบั เพศและวัย และได้รับปริมาณพลังงานท่เี พียงพอ กับความต้องการของรา่ งกาย ขอ้ มูล ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559

๒๗ชั้น ที่ รหัสตวั ช้ีวดั ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ม.2 6 ว 1.1 ม.2/6 อภิปรายผลของสารเสพตดิ ต่อระบบ - สารเสพติดแตล่ ะประเภทมผี ลต่อระบบต่าง ๆ  ตา่ งๆ ของร่างกาย และแนวทาง ของรา่ งกาย ทาใหร้ ะบบเหลา่ นน้ั ทาหนา้ ที่ ในการปอ้ งกนั ตนเองจากสารเสพติด ผิดปกติ ดงั นัน้ จงึ ต้องหลกี เล่ยี งการใช้ สารเสพติด และหาแนวทางในการป้องกนั ตนเองจากสารเสพตดิ7 ว 3.1 ม.2/1 สารวจและอธิบายองค์ประกอบ - ธาตุ เป็นสารบริสุทธิ์ทป่ี ระกอบด้วย  สมบตั ิของธาตแุ ละสารประกอบ อะตอมชนดิ เดยี วกันและไมส่ ามารถ แยกสลายเปน็ สารอืน่ ได้อีกโดยวิธีการ ทางเคมี - สารประกอบเป็นสารบริสุทธ์ิ ที่ประกอบดว้ ยธาตุตงั้ แต่สองธาตขุ ึ้นไป รวมตัวกันดว้ ยอัตราสว่ นโดยมวลคงที่ และมีสมบตั ิแตกต่างจากสมบัตเิ ดิม ของธาตุที่เปน็ องคป์ ระกอบ8 ว 3.1 ม.2/2 สบื ค้นขอ้ มูลและเปรยี บเทียบ - ธาตแุ ตล่ ะชนิดมีสมบัตบิ างประการ  สมบตั ขิ องธาตุโลหะ ธาตุอโลหะ ทค่ี ลา้ ยกันและแตกต่างกัน จงึ สามารถ ธาตุกึ่งโลหะ และธาตุกัมมนั ตรังสี จาแนกกลมุ่ ธาตุตามสมบตั ิของธาตุ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ เป็นธาตโุ ลหะ กง่ึ โลหะ อโลหะ และ ธาตกุ มั มนั ตรงั สี - ในชีวติ ประจาวันมีวสั ดุ อุปกรณ์ และผลติ ภณั ฑต์ า่ ง ๆ ทีผ่ ลติ มาจากธาตุ และสารประกอบ จึงควรเลือกใชใ้ ห้ถูกต้อง เหมาะสม ปลอดภยั และย่ังยืน9 ว 3.1 ม.2/3 ทดลองและอธิบายหลกั การแยกสาร - การกรอง การตกผลึก การสกัด การกล่นั  ดว้ ยวิธกี ารกรอง การตกผลึก การสกดั และโครมาโทกราฟี เป็นวธิ กี ารแยกสาร การกลัน่ และโครมาโทกราฟี และ ทีม่ หี ลกั การแตกต่างกัน และสามารถนาไป นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจาวัน10 ว 3.2 ม.2/1 ทดลองและอธิบายการเปลี่ยนแปลง - เมอ่ื สารเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมีจะมพี ลังงาน  สมบัติ มวล และพลงั งานเมือ่ สาร เข้ามาเกยี่ วขอ้ ง ซ่ึงอาจเปน็ การดดู พลงั งาน เกิดปฏกิ ิริยาเคมี รวมทัง้ อธบิ าย ความรอ้ นหรือคายพลงั งานความร้อน ปัจจยั ที่มผี ลต่อการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี - อุณหภูมิ ความเข้มข้น ธรรมชาติของสาร และตวั เร่งปฏกิ ริ ยิ า มีผลต่อการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมขี องสาร ข้อมูล ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

๒๘ชัน้ ท่ี รหัสตวั ช้ีวดั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ม.2 11 ว 3.2 ม.2/2 ทดลอง อธบิ ายและเขียนสมการเคมี - สมการเคมีใช้เขียนแสดงการเกดิ  ของปฏิกิรยิ าของสารตา่ ง ๆ ปฏิกิรยิ าเคมขี องสาร ซงึ่ มีท้ังสารตง้ั ตน้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ และสารผลติ ภณั ฑ์ - ปฏกิ ิรยิ าระหวา่ งโลหะกับออกซเิ จน โลหะกบั น้า โลหะกับกรด กรดกบั เบส และกรดกบั คาร์บอเนต เปน็ ปฏิกริ ิยาเคมี ท่พี บท่ัวไป - การเลือกใช้วสั ดแุ ละสารรอบตัว ในชีวติ ประจาวันไดอ้ ย่างเหมาะสม และปลอดภัย โดยคานึงถึงปฏิกิริยา ท่ีเกดิ ขน้ึ12 ว 3.2 ม.2/3 สืบคน้ ข้อมลู และอภิปรายผลของ - สารเคมแี ละปฏิกริ ยิ าเคมี มีทงั้ ประโยชน์  สารเคมี ปฏิกริ ิยาเคมตี ่อสง่ิ มีชวี ิต และโทษต่อสิ่งมีชวี ติ และสงิ่ แวดลอ้ ม และส่ิงแวดลอ้ ม ทั้งทางตรงและทางอ้อม13 ว 3.2 ม.2/4 สบื คน้ ข้อมูลและอธิบายการใช้ - การใชส้ ารเคมีต้องมีความระมดั ระวัง  สารเคมีอยา่ งถูกต้อง ปลอดภัย ปอ้ งกันไมใ่ ห้เกิดอันตรายต่อตนเอง วิธปี ้องกัน และแกไ้ ขอันตราย และผู้อ่ืน โดยใช้ให้ถูกตอ้ ง ปลอดภัย ที่เกิดข้ึนจากการใชส้ ารเคมี และคมุ้ คา่ - ผ้ใู ช้สารเคมีควรรูจ้ กั สัญลกั ษณ์เตือนภัย บนฉลาก และรวู้ ธิ ีการแก้ไข และ การปฐมพยาบาลเบื้องตน้ เมื่อได้รับ อนั ตรายจากสารเคมี14 ว 4.1 ม.2/1 ทดลองและอธิบายการหาแรงลพั ธ์ - แรงเป็นปรมิ าณเวกเตอร์ เมื่อมแี รง  ของแรงในระนาบเดยี วกันที่กระทา หลายแรงในระนาบเดยี วกันกระทาต่อวัตถุ ตอ่ วตั ถุ เดียวกนั สามารถหาแรงลัพธไ์ ด้โดย ใช้หลักการรวมเวกเตอร์15 ว 4.1 ม.2/2 อธิบายแรงลพั ธ์ที่กระทาต่อวตั ถุ - เมอื่ แรงลัพธม์ ีค่าเป็นศนู ย์กระทาต่อวัตถุ  ทห่ี ยดุ นิ่ง หรอื วัตถุเคลอ่ื นที่ ทีห่ ยดุ น่งิ วตั ถุน้นั กจ็ ะหยุดนงิ่ ตลอดไป ด้วยความเร็วคงตัว แต่ถ้าวัตถเุ คล่ือนท่ีดว้ ยความเรว็ คงตวั ก็จะเคล่ือนทด่ี ้วยความเร็วคงตวั ตลอดไป16 ว 5.1 ม.2/1 ทดลองและอธิบายการสะทอ้ น - เมอื่ แสงตกกระทบผิววตั ถุ หรือตวั กลาง  ของแสง การหักเหของแสง อกี ตวั กลางหน่ึง แสงจะเปลย่ี นทศิ ทาง และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ การเคล่อื นท่โี ดยการสะทอ้ นของแสง หรือการหกั เหของแสง - การนาความรู้เก่ยี วกับการสะท้อน ของแสง และการหักเหของแสงไปใช้ อธบิ ายแวน่ ตา ทัศนอปุ กรณ์ กระจก เสน้ ใยนาแสง ขอ้ มลู ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

๒๙ชนั้ ท่ี รหสั ตัวช้ีวัด ตวั ชี้วัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ม.2 17 ว 5.1 ม.2/2 อธิบายผลของความสว่าง  ทมี่ ีต่อมนุษย์และสิ่งมีชวี ติ อืน่ ๆ - นัยนต์ าของคนเราเป็นอวยั วะใชม้ องดู 18 ว 5.1 ม.2/3 สิ่งตา่ ง ๆ นัยน์ตามีองคป์ ระกอบสาคญั  19 ว 6.1 ม.2/1 ทดลอง และอธิบายการดดู กลืน หลายอย่าง  แสงสี การมองเหน็ สขี องวตั ถุ และ - ความสวา่ งมผี ลตอ่ นยั นต์ ามนษุ ย์ 20 ว 6.1 ม.2/2 นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ จงึ มีการนาความรู้เกย่ี วกับความสว่าง  21 ว 6.1 ม.2/3 มาชว่ ยในการจัดความสว่างใหเ้ หมาะสม  22 ว 6.1 ม.2/4 สารวจ ทดลอง และอธบิ าย กบั การทางาน  ลักษณะของชัน้ หนา้ ตัดดนิ สมบัติ - ออกแบบวิธีการตรวจสอบว่าความสวา่ ง ของดิน และกระบวนการเกิดดนิ มีผลตอ่ สิง่ มีชวี ิตอ่นื สารวจ วิเคราะห์ และอธิบาย - เมือ่ แสงตกกระทบวตั ถุ วัตถุจะดูดกลืน การใชป้ ระโยชน์ และการปรับปรุง แสงสีบางสไี ว้ และสะท้อนแสงสีทเ่ี หลือ คุณภาพของดิน ออกมาทาให้เรามองเหน็ วัตถุเป็นสีตา่ ง ๆ - การนาความรู้เกยี่ วกับการดูดกลืนแสงสี ทดลอง เลยี นแบบ เพื่ออธิบาย การมองเหน็ สีของวัตถุไปใชป้ ระโยชน์ กระบวนการเกิดและลักษณะ ในการถา่ ยรูปและในการแสดง องคป์ ระกอบของหิน ทดสอบและสงั เกตองค์ประกอบ - ดินมลี กั ษณะและสมบัติแตกตา่ งกนั และสมบตั ขิ องหนิ เพือ่ จาแนก ตามวตั ถตุ ้นกาเนิดดนิ ลกั ษณะภูมิอากาศ ประเภทของหิน และนาความรู้ ลกั ษณะภูมิประเทศ พชื พรรณ สงิ่ มีชวี ิต ไปใช้ประโยชน์ และระยะเวลาในการเกดิ ดนิ และ ตรวจสอบสมบตั ิบางประการของดิน - ชั้นหน้าตดั ดนิ แตล่ ะชนั้ และแต่ละพื้นที่ มีลกั ษณะ สมบัติ และองค์ประกอบ แตกต่างกัน - ดนิ ในแตล่ ะท้องถ่นิ มลี กั ษณะ และสมบัติ ตา่ งกันตามสภาพของดนิ จึงนาไปใช้ ประโยชนต์ ่างกัน - การปรับปรงุ คณุ ภาพของดินข้นึ อยู่กับ สภาพของดินเพื่อทาใหด้ นิ มีความเหมาะสม ต่อการใชป้ ระโยชน์ - กระบวนการเปลยี่ นแปลงทางธรณีวิทยา ทั้งบนและใต้พื้นผิวโลก ทาให้เกิดหนิ ท่มี ลี กั ษณะองค์ประกอบแตกต่างกนั ทงั้ ทางด้านกายภาพและทางเคมี - หินแบ่งเป็นหนิ อคั นี หนิ แปร และหินตะกอน หนิ แต่ละประเภท มีความสมั พันธก์ นั และนาไปใช้ประโยชน์ ในทางอุตสาหกรรม การก่อสร้าง และอ่ืน ๆ ขอ้ มลู ณ วันท่ี 15 สงิ หาคม 2559

๓๐ช้นั ท่ี รหัสตวั ชี้วัด ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ม.2 23 ว 6.1 ม.2/5 ตรวจสอบและอธบิ ายลักษณะ - เมือ่ สภาวะแวดล้อมธรรมชาตทิ อ่ี ยภู่ ายใต้  ทางกายภาพของแร่ และการนา อณุ หภมู แิ ละความดันทีเ่ หมาะสม ไปใชป้ ระโยชน์ ธาตุ และสารประกอบจะตกผลึกเป็นแร่ ทมี่ ลี ักษณะและสมบัติต่างกัน ซึง่ ตอ้ งใช้วิธี ตรวจสอบสมบตั ิแตล่ ะอย่างแตกตา่ งกนั ไป - แรท่ ่สี ารวจพบในประเทศไทยมหี ลายชนดิ แต่ละชนิดตรวจสอบทางกายภาพ ได้จากรูปผลึก ความถ่วงจาเพาะ ความแข็ง ความวาว แนวแตกเรียบ สี และสีผงของแร่ และนาไปใชป้ ระโยชนต์ า่ งกัน เช่น ใช้ทา เครื่องประดบั ใช้ในดา้ นอุตสาหกรรม24 ว 6.1 ม.2/6 สบื ค้นและอธบิ ายกระบวนการเกิด - ปโิ ตรเลยี ม ถา่ นหนิ หนิ นา้ มัน เปน็ เช้ือเพลิง  ลักษณะและสมบตั ิของปโิ ตรเลียม ธรรมชาติ ท่เี กดิ จากกระบวนการเปลีย่ นแปลง ถ่านหนิ หินน้ามัน และการนาไปใช้ ทางธรณีวทิ ยา ซง่ึ แตล่ ะชนดิ จะมลี ักษณะ ประโยชน์ สมบัติ และวธิ ีการนาไปใชป้ ระโยชน์ แตกตา่ งกนั25 ว 6.1 ม.2/7 สารวจและอธิบายลกั ษณะแหล่งนา้ - แหล่งน้าบนโลก มที ัง้ นา้ จดื น้าเค็ม  ธรรมชาติ การใช้ประโยชน์ และ โดยแหลง่ น้าจืดมอี ยทู่ ้ังบนดิน ใต้ดนิ การอนุรักษ์แหล่งนา้ ในท้องถิ่น และในบรรยากาศ - การใช้ประโยชนข์ องแหล่งน้า ตอ้ งมีการ วางแผนการใช้ การอนุรักษ์ การปอ้ งกัน การแก้ไข และผลกระทบด้วยวิธกี าร ทีเ่ หมาะสม26 ว 6.1 ม.2/8 ทดลองเลยี นแบบและอธิบาย - แหล่งนา้ บนดนิ มหี ลายลักษณะขึน้ อยู่กับ  การเกดิ แหลง่ น้าบนดิน แหล่งนา้ ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ ลกั ษณะทางนา้ ใต้ดนิ และความเรว็ ของกระแสนา้ ในแตล่ ะฤดกู าล - นา้ บนดนิ บางส่วนจะไหลซึมสใู่ ต้ผิวดิน ถูกกักเกบ็ ไวใ้ นช้ันดนิ และหิน เกิดเป็นน้า ใตด้ นิ ซึ่งส่วนหน่ึงจะซึมอย่ตู ามชอ่ งวา่ ง ระหว่างเมด็ ตะกอน เรยี กวา่ น้าในดนิ อกี ส่วนหนึง่ จะไหลซึมลกึ ลงไปจนถูกกักเกบ็ ไวต้ ามช่องวา่ งระหวา่ งเมด็ ตะกอน ตามรูพรุน หรือตามรอยแตกของหิน หรือช้นั หิน เรียกวา่ นา้ บาดาล - สมบัติของน้าบาดาลข้ึนอยู่กับชนิด ของดนิ แหลง่ แร่ และหิน ทเ่ี ปน็ แหลง่ กกั เก็บนา้ บาดาล และช้นั หินอุม้ นา้ ขอ้ มลู ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

๓๑ช้นั ท่ี รหสั ตัวชี้วดั ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ม.2 27 ว 6.1 ม.2/9 ทดลองเลียนแบบและอธบิ าย - การผุพงั อยกู่ ับท่ี การกร่อน การพัดพา  กระบวนการผุพงั อยู่กับท่ี การกร่อน การทับถม และการตกผลึก เปน็ กระบวนการ การพัดพา การทับถม การตกผลกึ สาคัญทที่ าใหพ้ ื้นผิวโลกเกดิ การเปลี่ยนแปลง และผลของกระบวนการดงั กลา่ ว เป็นภมู ิลักษณต์ า่ ง ๆ โดยมีลม น้า ธารนา้ แข็ง คล่นื และแรงโน้มถว่ งของโลกเป็นตัวการ สาคญั28 ว 6.1 ม.2/10 สบื ค้น สรา้ งแบบจาลองและอธบิ าย - โครงสร้างของโลกประกอบด้วย  โครงสร้างและองคป์ ระกอบของโลก ชน้ั เปลือกโลก ชนั้ เน้ือโลก และชน้ั แก่นโลก โครงสร้างแตล่ ะชัน้ จะมีลักษณะ และ สว่ นประกอบแตกตา่ งกันสาระท่ี 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตรใ์ นการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหารวู้ ่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติท่ีเกิดขนึ้ ส่วนใหญม่ ีรูปแบบทแ่ี น่นอน สามารถอธบิ ายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูลและเครือ่ งมือทมี่ ีอย่ใู นชว่ งเวลานัน้ ๆ เขา้ ใจว่าวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมและส่งิ แวดลอ้ ม มคี วามเกยี่ วข้องสัมพนั ธ์กัน29 ว 8.1 ม.1 - 3/1 ตัง้ คาถามท่ีกาหนดประเดน็ - หรือตัวแปรท่ีสาคัญในการสารวจ ตรวจสอบ หรือศกึ ษาคน้ ควา้ เรอื่ งท่ีสนใจไดอ้ ย่างครอบคลุม และเช่อื ถือได้30 ว 8.1 ม.1 - 3/2 สรา้ งสมมตฐิ านที่สามารถ - ตรวจสอบได้และวางแผน การสารวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี31 ว 8.1 ม.1 - 3/3 เลือกเทคนิควธิ ีการสารวจ - ตรวจสอบทง้ั เชิงปริมาณ และ เชงิ คณุ ภาพ ท่ีไดผ้ ลเท่ียงตรง และ ปลอดภัย โดยใช้วัสดแุ ละเคร่อื งมือ ทีเ่ หมาะสม32 ว 8.1 ม.1 - 3/4 รวบรวมข้อมลู จัดกระทาขอ้ มูล - เชงิ ปริมาณ และเชงิ คุณภาพ33 ว 8.1 ม.1 - 3/5 วิเคราะห์และประเมิน - ความสอดคล้องของประจกั ษ์พยาน กับข้อสรปุ ทง้ั ท่สี นบั สนนุ หรือขดั แย้งกับสมมติฐาน และความผดิ ปกตขิ องข้อมูล จากการสารวจตรวจสอบ34 ว 8.1 ม.1 - 3/6 สร้างแบบจาลอง หรือรปู แบบ - ท่อี ธิบายผลหรือแสดงผลของ การสารวจตรวจสอบ ขอ้ มลู ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

ช้นั ที่ รหัสตวั ชีว้ ดั ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ๓๒ - ตอ้ งรู้ ควรรู้ม.2 35 ว 8.1 ม.1 - 3/7 สร้างคาถามท่ีนาไปสกู่ ารสารวจ  - ตรวจสอบในเร่อื งทเ่ี กีย่ วข้อง และ  - นาความร้ทู ่ไี ดไ้ ปใชใ้ นสถานการณ์  37 0 ใหม่หรืออธิบายเกย่ี วกับแนวคดิ กระบวนการและผลของโครงงาน หรอื ชิน้ งานให้ผูอ้ ืน่ เขา้ ใจ36 ว 8.1 ม.1 - 3/8 บนั ทกึ และอธิบายผลการสังเกต การสารวจตรวจสอบค้นควา้ เพ่มิ เตมิ จากแหลง่ ความรตู้ ่าง ๆ ให้ได้ข้อมูล ท่เี ชื่อถอื ได้และยอมรบั การเปลี่ยนแปลง ความรทู้ ีค่ ้นพบเมื่อมีข้อมูล และประจักษ์พยานใหมเ่ พิ่มข้ึน หรอื โตแ้ ยง้ จากเดิม37 ว 8.1 ม.1 - 3/9 จดั แสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธบิ ายเกยี่ วกบั แนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงาน หรือชน้ิ งานให้ผูอ้ นื่ เขา้ ใจ รวม 37 ตวั ชี้วัด ขอ้ มลู ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

๓๓ชั้น ท่ี รหสั ตัวช้ีวัด ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ม.3 1 ว 1.2 ม.3/1 สงั เกตและอธิบายลักษณะของ - เมื่อมองเซลลผ์ ่านกลอ้ งจุลทรรศน์  โครโมโซมทม่ี หี นว่ ยพันธุกรรม จะเห็นเส้นใยเล็ก ๆ พันกนั อยู่ในนิวเคลยี ส หรือยนี ในนวิ เคลยี ส เมอื่ เกดิ การแบ่งเซลลเ์ สน้ ใยเหลา่ นี้ จะขดสน้ั เข้าจนมีลักษณะเปน็ ทอ่ นสั้น เรียกว่า โครโมโซม - โครโมโซม ประกอบด้วย ดีเอ็นเอ และโปรตนี - ยีนหรือหนว่ ยพนั ธุกรรมเป็นสว่ นหน่งึ ท่ีอยู่บนดเี อ็นเอ2 ว 1.2 ม.3/2 อธบิ ายความสาคัญของสาร - เซลล์หรือสง่ิ มีชวี ติ มีสารพันธุกรรม  พนั ธุกรรม หรอื ดีเอ็นเอ และ หรอื ดีเอน็ เอ ท่คี วบคมุ ลักษณะของ กระบวนการถ่ายทอดลักษณะ การแสดงออก ทางพนั ธุกรรม - ลกั ษณะทางพันธุกรรมท่ีควบคมุ ดว้ ยยนี จากพ่อและแม่สามารถถา่ ยทอดสลู่ กู3 ว 1.2 ม.3/3 อภปิ รายโรคทางพันธุกรรม ผา่ นทางเซลลส์ ืบพันธแุ์ ละการปฏสิ นธิ  - โรคธาลสั ซเี มีย ตาบอดสี เปน็ โรคทาง ที่เกดิ จากความผดิ ปกติของยีน พนั ธกุ รรมทเ่ี กิดจากความผิดปกตขิ องยีน และโครโมโซมและนาความรู้ไปใช้ - กลุ่มอาการดาวน์เปน็ ความผิดปกติ ประโยชน์ ของร่างกายซ่งึ เกิดจากการที่มีจานวน โครโมโซมเกนิ มา - ความรู้เกย่ี วกับโรคทางพนั ธุกรรม สามารถนาไปใชใ้ นการป้องกันโรค ดแู ลผ้ปู ว่ ย และวางแผนครอบครวั 4 ว 1.2 ม.3/4 สารวจและอธิบายความหลากหลาย - ความหลากหลายทางชวี ภาพทีท่ าให้ ทางชวี ภาพในท้องถ่ินทที่ าให้ สง่ิ มีชวี ติ อยอู่ ย่างสมดลุ ขึน้ อยู่กับ ส่ิงมชี วี ิตดารงชีวิตอยไู่ ด้อยา่ งสมดุล ความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความหลากหลายของชนิดสิ่งมชี วี ติ และความหลากหลายทางพนั ธุกรรม5 ว 1.2 ม.3/5 อธิบายผลของความหลากหลาย - การตัดไม้ทาลายป่าเป็นสาเหตหุ นง่ึ  ทางชีวภาพท่ีมีต่อมนุษย์ สัตว์ พชื ทท่ี าให้เกิดการสูญเสียความหลากหลาย และสงิ่ แวดลอ้ ม ทางชีวภาพ ซึ่งส่งผลกระทบต่อการดารงชวี ิต มนุษย์ สตั ว์ พืช และสิง่ แวดล้อม - การใช้สารเคมีในการกาจดั ศัตรพู ืช และสตั ว์ สง่ ผลกระทบต่อสงิ่ มีชีวติ ท้ังมนุษย์ สัตว์ และพชื ทาใหเ้ กดิ การเปลี่ยนแปลงความหลากหลาย ทางชวี ภาพและส่งผลกระทบต่อสงิ่ แวดล้อม ขอ้ มลู ณ วันท่ี 15 สงิ หาคม 2559

๓๔ชั้น ท่ี รหัสตัวช้ีวัด ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ม.3 6 ว 1.2 ม.3/6 อภปิ รายผลของเทคโนโลยีชีวภาพ - ผลของเทคโนโลยีชีวภาพ มปี ระโยชน์  ตอ่ การดารงชวี ติ ของมนษุ ย์ และ ต่อมนุษย์ ทง้ั ดา้ นการแพทย์ การเกษตร สง่ิ แวดลอ้ ม และอตุ สาหกรรม7 ว 2.1 ม.3/1 สารวจระบบนเิ วศตา่ ง ๆ ในท้องถน่ิ - ระบบนเิ วศในแต่ละท้องถน่ิ ประกอบด้วย  และอธิบายความสัมพันธ์ของ องคป์ ระกอบทางกายภาพ และ องคป์ ระกอบภายในระบบนเิ วศ องค์ประกอบทางชวี ภาพเฉพาะถิ่น ซง่ึ มีความเกี่ยวขอ้ งสัมพนั ธ์กัน8 ว 2.1 ม.3/2 วเิ คราะห์และอธิบายความสัมพนั ธ์ - สิ่งมีชีวิตมีความเก่ยี วข้องสมั พันธก์ นั  ของการถ่ายทอดพลงั งานของ โดยมีการถ่ายทอดพลงั งานในรปู ของ ส่ิงมชี ีวติ ในรปู ของโซ่อาหาร โซอ่ าหาร และสายใยอาหาร และสายใยอาหาร9 ว 2.1 ม.3/3 อธบิ ายวัฏจักรน้า วฏั จกั รคารบ์ อน - น้า และคารบ์ อนเป็นองคป์ ระกอบ  และความสาคัญที่มีตอ่ ระบบนเิ วศ ในส่งิ มชี ีวติ และสิ่งไม่มชี วี ิต - นา้ และคาร์บอนจะมีการหมุนเวยี น เปน็ วัฏจกั รในระบบนิเวศ ทาใหส้ ิ่งมชี วี ิต ในระบบนเิ วศนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้10 ว 2.1 ม.3/4 อธิบายปัจจัยที่มผี ลต่อการ - อัตราการเกิด อัตราการตาย อัตราการ  เปลย่ี นแปลงขนาดของประชากร อพยพเข้า และอัตราการอพยพออก ในระบบนเิ วศ ของส่งิ มชี วี ิต มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ขนาดของประชากรในระบบนเิ วศ11 ว 2.2 ม.3/1 วเิ คราะหส์ ภาพปัญหาสิง่ แวดลอ้ ม - สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อม และ  ทรพั ยากรธรรมชาติในทอ้ งถิน่ และ ทรัพยากรธรรมชาติในทอ้ งถิน่ เกดิ จาก เสนอแนวทางในการแก้ไขปญั หา การกระทาของธรรมชาติ และมนษุ ย์ - ปญั หาสงิ่ แวดลอ้ ม และทรพั ยากรธรรมชาติ ท่ีเกิดขึน้ ควรมแี นวทางในการดูแลรกั ษา และป้องกนั12 ว 2.2 ม.3/2 อธิบายแนวทางการรกั ษาสมดุล - ระบบนิเวศจะสมดลุ ได้จะต้องมีการควบคุม  ของระบบนเิ วศ จานวนผู้ผลิต ผบู้ ริโภค ผู้สลายสารอนิ ทรยี ์ ใหม้ ปี รมิ าณ สัดส่วน และการกระจาย ที่เหมาะสม - การใช้ทรพั ยากรธรรมชาตอิ ยา่ งย่ังยืน และการดูแลรกั ษาสภาพแวดล้อม เปน็ การรกั ษาสมดุลของระบบนเิ วศ13 ว 2.2 ม.3/3 อภิปรายการใชท้ รัพยากรธรรมชาติ - การนาทรพั ยากรธรรมชาตมิ าใช้  อยา่ งยั่งยนื อย่างคุ้มค่าด้วยการใชซ้ า้ นากลับมาใช้ใหม่ ลดการใชผ้ ลติ ภณั ฑ์ ใชผ้ ลติ ภณั ฑ์ชนดิ เดิม ซอ่ มแซมสิ่งของเครอื่ งใช้ เป็นวธิ กี ารใช้ ทรพั ยากรธรรมชาติอยา่ งย่ังยืน ขอ้ มลู ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559

๓๕ชั้น ท่ี รหสั ตวั ช้ีวดั ตัวชี้วดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ม.3 14 ว 2.2 ม.3/4 วเิ คราะหแ์ ละอธบิ ายการใช้ - การใชท้ รัพยากรธรรมชาตคิ วรคานงึ ถงึ  ทรัพยากรธรรมชาติ ตามปรัชญา ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงบนพนื้ ฐาน เศรษฐกจิ พอเพียง ของทางสายกลางและความไมป่ ระมาท โดยคานงึ ถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการเตรียมตวั ให้พรอ้ มที่จะรับผลกระทบ และการเปล่ยี นแปลงท่เี กิดขน้ึ15 ว 2.2 ม.3/5 อภปิ รายปัญหาสิง่ แวดลอ้ ม และ - ปญั หาส่ิงแวดล้อม อาจเกิดจากมลพิษ  เสนอแนะแนวทางการแกป้ ัญหา ทางน้า มลพิษทางเสยี ง มลพิษทางอากาศ มลพษิ ทางดนิ - แนวทางการแก้ปัญหามีหลายวธิ ี เรมิ่ จากศึกษาแหล่งที่มาของปัญหา เสาะหา กระบวนการในการแกป้ ัญหา และทุกคน มีส่วนรว่ มในการปฏบิ ตั ิเพ่ือแกป้ ัญหานน้ั16 ว 2.2 ม.3/6 อภปิ รายและมีส่วนรว่ มในการดูแล - การดูแลและอนรุ ักษ์สงิ่ แวดล้อมในท้องถ่นิ  และอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมในทอ้ งถ่นิ ให้ยงั่ ยนื ควรได้รบั ความร่วมมือจากทุกฝ่าย อย่างยงั่ ยืน และต้องเป็นความรับผิดชอบของทุกคน17 ว 4.1 ม.3/1 อธบิ ายความเรง่ และผลของ - วัตถุเคล่ือนทดี่ ้วยความเรว็ ทีเ่ ปล่ียนแปลง  แรงลัพธท์ ีท่ าต่อวัตถุ เป็นการเคล่ือนท่ีด้วยความเร่ง เม่ือแรงลัพธ์ มีค่าไม่เทา่ กับศนู ย์กระทาตอ่ วัตถุ วตั ถุจะ เคลื่อนทด่ี ้วยความเรง่ ซง่ึ มที ิศทางเดียวกบั แรงลพั ธ์18 ว 4.1 ม.3/2 ทดลองและอธิบายแรงกริ ิยา - ทกุ แรงกริ ิยาจะมีแรงปฏกิ ริ ิยาโต้ตอบ  และแรงปฏกิ ิรยิ าระหวา่ งวตั ถุ ดว้ ยขนาดของแรงเท่ากนั แต่มีทศิ ทาง และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ตรงขา้ ม - การนาความรเู้ รื่องแรงกิริยา และแรง ปฏิกิรยิ าไปใช้อธบิ าย เชน่ การชกั เยอ่ การจดุ บง้ั ไฟ19 ว 4.1 ม.3/3 ทดลองและอธิบายแรงพยุง - แรงพยุง คอื แรงทีข่ องเหลวกระทาต่อวัตถุ  ของของเหลวท่ีกระทาต่อวัตถุ มีค่าเทา่ กับน้าหนกั ของของเหลวทมี่ ีปริมาตร เท่ากบั ส่วนทีจ่ มของวตั ถุ - ของเหลวที่มีความหนาแน่นมากจะมีแรง พยุงมาก - วัตถุทล่ี อยได้ในของเหลวจะมีความหนาแน่น นอ้ ยกว่าความหนาแนน่ ของของเหลว ขอ้ มูล ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

๓๖ช้ัน ท่ี รหสั ตวั ช้ีวดั ตัวชี้วดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ม.3 20 ว 4.2 ม.3/1 ทดลองและอธิบายความแตกต่าง - แรงเสยี ดทานสถิตเปน็ แรงเสยี ดทาน  ระหว่างแรงเสียดทานสถติ กบั แรง ทก่ี ระทาต่อวัตถขุ ณะหยุดน่ิง สว่ นแรง เสยี ดทานจลน์และนาความรไู้ ปใช้ เสียดทานจลนเ์ ป็นแรงเสียดทานท่กี ระทา ประโยชน์ ต่อวัตถขุ ณะเคล่ือนที่ - การเพิ่มแรงเสยี ดทาน เชน่ การออกแบบ พน้ื รองเทา้ เพ่ือกันลน่ื - การลดแรงเสยี ดทาน เช่น การใชม้ ันหล่อลื่น ท่จี ดุ หมนุ21 ว 4.2 ม.3/2 ทดลองและวเิ คราะห์โมเมนต์ - เมอื่ มีแรงท่กี ระทาต่อวัตถุ แลว้ ทาใหเ้ กิด  ของแรงและนาความรู้ไปใช้ โมเมนต์ของแรงรอบจุดหมุนวตั ถุจะเปลยี่ น ประโยชน์ สภาพการหมุน - การวิเคราะหโ์ มเมนต์ของแรง ในสถานการณต์ ่าง ๆ22 ว 4.2 ม.3/3 สงั เกตและอธบิ ายการเคลอ่ื นที่ - การเคล่อื นท่ีของวตั ถุมที ้ังการเคลื่อนท่ี  ของวตั ถุทเี่ ปน็ แนวตรงและแนวโคง้ ในแนวตรง เช่น การตกแบบเสรี และ การเคลื่อนท่ีในแนวโคง้ เช่น การเคล่ือนที่ แบบโพรเจกไทล์ของลูกบาสเกตบอลใน อากาศ การเคลื่อนท่ีแบบวงกลมของวตั ถุ ท่ผี กู เชือกแลว้ แกวง่ เปน็ ตน้23 ว 5.1 ม.3/1 อธิบายพลังงานจลน์ พลงั งานศักย์ - การใหง้ านแกว่ ตั ถเุ ปน็ การถ่ายโอน  โน้มถว่ งกฎการอนุรกั ษ์พลังงาน พลงั งานให้วัตถุ พลังงานน้ีเป็นพลงั งานกล และความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งปริมาณ ซง่ึ ประกอบด้วยพลงั งานศักย์ และ เหล่าน้ี รวมทัง้ นาความรไู้ ปใช้ พลังงานจลน์ พลังงานจลนเ์ ป็นพลังงาน ประโยชน์ ของวัตถุขณะวตั ถุเคลือ่ นที่ ส่วนพลงั งาน ศักย์โนม้ ถ่วงของวตั ถุเป็นพลังงานของวตั ถุ ทอี่ ยสู่ ูงจากพน้ื โลก - กฎการอนรุ ักษ์พลงั งานกล่าววา่ พลังงาน รวมของวตั ถุไม่สูญหาย แตส่ ามารถเปล่ยี น จากรปู หนึ่งไปเปน็ อีกรปู หนง่ึ ได้ - การนากฎการอนุรักษ์พลงั งานไปใช้ ประโยชน์ในการอธบิ ายปรากฏการณ์ เชน่ พลงั งานน้าเหนอื เขอื่ นเปลีย่ นรปู จากพลังงานศักย์โนม้ ถว่ งเปน็ พลังงานจลน์ ป้ันจัน่ ตอกเสาเขม็24 ว 5.1 ม.3/2 ทดลองและอธิบายความสมั พันธ์ - ความต่างศกั ย์ กระแสไฟฟา้  ระหวา่ งความต่างศกั ย์ กระแสไฟฟ้า และความต้านทาน มีความสัมพันธก์ นั ความต้านทาน และนาความรู้ไปใช้ ตามกฎของโอหม์ ประโยชน์ - การนากฎของโอห์มไปใช้วิเคราะห์ วงจรไฟฟ้าอยา่ งง่าย ขอ้ มลู ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

๓๗ชั้น ท่ี รหสั ตวั ชี้วัด ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ม.3 25 ว 5.1 ม.3/3 คานวณพลงั งานไฟฟ้าของเคร่ืองใช้ - การคานวณพลงั งานไฟฟ้าของเครื่องใช้  ไฟฟา้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ไฟฟ้าเป็นส่วนหนงึ่ ของการคดิ คา่ ไฟฟ้า และเป็นแนวทางในการประหยัดพลงั งาน ไฟฟ้าในบา้ น26 ว 5.1 ม.3/4 สังเกตและอภปิ รายการต่อวงจรไฟฟ้า - การต่อวงจรไฟฟ้าในบา้ นต้องออกแบบ  ในบา้ นอย่างถูกต้องปลอดภัย และ วงจร ตดิ ตง้ั เครอ่ื งใช้ไฟฟา้ อุปกรณไ์ ฟฟ้า ประหยดั อย่างถูกต้อง โดยการต่อสวิตชแ์ บบอนุกรม ตอ่ เต้ารบั แบบขนาน และเพื่อความปลอดภยั ต้องต่อสายดินและฟิวส์ รวมท้ังต้องคานึงถึง การใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัด27 ว 5.1 ม.3/5 อธบิ ายตวั ต้านทาน ไดโอด - ชิ้นสว่ นอเิ ลก็ ทรอนิกส์ เช่น ตวั ตา้ นทาน  ทรานซสิ เตอร์ และทดลอง ไดโอด ทรานซิสเตอร์ มีสมบตั ิทางไฟฟ้า ต่อวงจรอิเล็กทรอนิกสเ์ บ้อื งต้น แตกต่างกัน ตวั ต้านทาน ทาหน้าท่จี ากดั ท่มี ที รานซสิ เตอร์ กระแสไฟฟา้ ในวงจร ไดโอดมีสมบัติ ให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้ทิศทางเดียว และทรานซสิ เตอร์ทาหนา้ ที่เป็นสวติ ซ์ ปิด - เปิดวงจร - การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เบ้ืองตน้ ที่มที รานซิสเตอร์ 1 ตวั ทาหนา้ ท่เี ป็นสวติ ซ์28 ว 7.1 ม.3/1 สืบค้นและอธิบายความสัมพันธ์ - ดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์  ระหว่างดวงอาทติ ย์ โลก ดวงจันทร์ อยเู่ ปน็ ระบบได้ภายใต้แรงโน้มถว่ ง และดาวเคราะห์อ่นื ๆ และผลที่เกดิ ข้ึน - แรงโน้มถ่วงระหวา่ งโลกกบั ดวงจนั ทร์ ตอ่ สงิ่ แวดลอ้ มและส่ิงมชี ีวิตบนโลก ทาให้ดวงจนั ทร์โคจรรอบโลก แรงโนม้ ถว่ ง ระหว่างดวงอาทิตยก์ ับบรวิ าร ทาให้บริวาร เคลอ่ื นรอบดวงอาทติ ยก์ ลายเป็นระบบ สุรยิ ะ - แรงโน้มถ่วงท่ดี วงจนั ทร์ ดวงอาทติ ย์ กระทาตอ่ โลก ทาให้เกิดปรากฏการณ์ น้าข้นึ นา้ ลง ซงึ่ ส่งผลตอ่ สงิ่ แวดล้อม และสิ่งมชี ีวติ บนโลก ข้อมูล ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

๓๘ชัน้ ท่ี รหสั ตวั ชี้วัด ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ม.3 29 ว 7.1 ม.3/2 สบื ค้นและอธิบายองค์ประกอบของ - เอกภพประกอบดว้ ยกาแล็กซีมากมาย  เอกภพ กาแลก็ ซี และระบบสุริยะ นบั แสนล้านแห่ง แต่ละกาแล็กซี ประกอบดว้ ยดาวฤกษจ์ านวนมาก ทีอ่ ยู่เป็นระบบดว้ ยแรงโน้มถ่วง กาแลก็ ซี ทางชา้ งเผือก มีระบบสุรยิ ะอยทู่ ี่แขนของ กาแล็กซีด่ ้านกลุม่ ดาวนายพราน30 ว 7.1 ม.3/3 ระบุตาแหนง่ ของกลมุ่ ดาว - กลมุ่ ดาวฤกษ์ประกอบด้วยดาวฤกษ์  และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ หลายดวงท่ีปรากฏอยใู่ นขอบเขตแคบ ๆ และเรยี งเปน็ รูปตา่ ง ๆ กันบนทรงกลมฟา้ โดยดาวฤกษ์ท่ีอยใู่ นกลมุ่ เดยี วกัน ไม่จาเป็นต้องอย่ใู กล้กันอยา่ งทตี่ าเหน็ แต่มีตาแหน่งทีแ่ นน่ อนบนทรงกลมฟ้า จึงใชบ้ อกทศิ และเวลาได้31 ว 7.2 ม.3/1 สบื คน้ และอภปิ รายความก้าวหน้า - มนุษย์ใช้กล้องโทรทรรศน์ จรวด ดาวเทียม  ของเทคโนโลยีอวกาศท่ีใชส้ ารวจ ยานอวกาศ สารวจอวกาศ วตั ถทุ อ้ งฟา้ อวกาศ วัตถุทอ้ งฟ้า สภาวะอากาศ สภาวะอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ ทรพั ยากรธรรมชาติ การเกษตร การเกษตรและใช้ในการสอ่ื สาร และการสื่อสารสาระท่ี 8 ธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีมาตรฐาน ว 8.1 ใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตรใ์ นการสบื เสาะหาความรู้ การแกป้ ัญหารวู้ ่าปรากฏการณท์ างธรรมชาติที่เกิดข้ึนส่วนใหญม่ ีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธบิ ายและตรวจสอบได้ภายใตข้ อ้ มูลและเคร่ืองมือท่มี ีอยใู่ นชว่ งเวลานั้น ๆ เข้าใจว่าวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมและสงิ่ แวดล้อม มคี วามเก่ียวข้องสมั พันธก์ ัน32 ว 8.1 ม.1 - 3/1 ต้งั คาถามท่ีกาหนดประเด็น - หรือตัวแปรทสี่ าคญั ในการสารวจ ตรวจสอบ หรอื ศึกษาคน้ ควา้ เรื่อง ท่ีสนใจได้อย่างครอบคลุม และ เช่ือถือได้33 ว 8.1 ม.1 - 3/2 สร้างสมมติฐานท่ีสามารถ - ตรวจสอบได้ และวางแผน การสารวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี34 ว 8.1 ม.1 - 3/3 เลอื กเทคนิควิธกี ารสารวจ - ตรวจสอบท้งั เชงิ ปรมิ าณ และ เชงิ คณุ ภาพท่ีไดผ้ ลเทีย่ งตรง และปลอดภยั โดยใช้วสั ดุ และเครื่องมือทเ่ี หมาะสม35 ว 8.1 ม.1 - 3/4 รวบรวมข้อมลู จดั กระทาขอ้ มูล - เชิงปริมาณ และเชงิ คณุ ภาพ ข้อมลู ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559

ชั้น ท่ี รหสั ตัวช้ีวัด ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๓๙ - ต้องรู้ ควรรู้ม.3 36 ว 8.1 ม.1 - 3/5 วเิ คราะหแ์ ละประเมนิ  - ความสอดคล้องของประจกั ษ์ -   พยานกับขอ้ สรปุ ท้ังทีส่ นบั สนนุ -  หรือขดั แย้งกบั สมมติฐาน และ -  ความผิดปกติของขอ้ มูล 39 1 จากการสารวจตรวจสอบ37 ว 8.1 ม.1 - 3/6 สรา้ งแบบจาลอง หรือรูปแบบ ทอี่ ธบิ ายผลหรอื แสดงผลของ การสารวจตรวจสอบ38 ว 8.1 ม.1 - 3/7 สรา้ งคาถามที่นาไปส่กู ารสารวจ ตรวจสอบในเร่ืองทเี่ กี่ยวข้อง และ นาความรูท้ ่ีได้ไปใชใ้ นสถานการณ์ ใหม่ หรอื อธิบายเกย่ี วกบั แนวคดิ กระบวนการและผลของโครงงาน หรอื ช้ินงานให้ผอู้ ื่นเข้าใจ39 ว 8.1 ม.1 - 3/8 บนั ทึกและอธบิ ายผลการสงั เกต การสารวจตรวจสอบค้นคว้า เพ่ิมเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ใหไ้ ดข้ ้อมลู ทเ่ี ช่ือถือได้และยอมรบั การเปลีย่ นแปลงความรู้ทีค่ ้นพบ เมื่อมีขอ้ มลู และประจักษพ์ ยานใหม่ เพม่ิ ขน้ึ หรือโตแ้ ย้งจากเดิม40 ว 8.1 ม.1 - 3/9 จัดแสดงผลงาน เขยี นรายงาน และ/หรืออธิบายเกีย่ วกบั แนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงาน หรือชิน้ งานให้ผู้อื่นเข้าใจ รวม 40 ตัวชีว้ ัด ขอ้ มูล ณ วันท่ี 15 สงิ หาคม 2559

๔๐ชน้ั ที่ รหัสตัวชี้วัด ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ม.4 - 6 1 ว 1.1 ม.4 - 6/1 ทดลองและอธบิ ายการ - สารตา่ ง ๆ เคล่ือนท่ผี ่านเข้า และออกจากเซลล์  รักษาดุลยภาพของเซลล์ ตลอดเวลา เซลลจ์ งึ ตอ้ งมีการรกั ษาดลุ ยภาพ ของสิ่งมีชีวิต เพอื่ ให้รา่ งกายของสิ่งมชี ีวติ ดารงชีวติ ไดต้ ามปกติ - เซลล์มีการลาเลยี งสารผา่ นเซลล์โดยวธิ กี ารแพร่ การออสโมซิส การลาเลยี งแบบฟาซิลเิ ทต การลาเลยี งแบบใชพ้ ลังงาน และการลาเลียงสาร ขนาดใหญ่ - สิ่งมชี วี ติ เซลลเ์ ดียวมีการลาเลียงสารเกดิ ขึ้น ภายในเซลล์เพยี งหนงึ่ เซลล์ แต่สงิ่ มชี ีวติ หลายเซลล์ ต้องอาศัยการทางานประสานกัน ของเซลลจ์ านวนมาก2 ว 1.1 ม.4 - 6/2 ทดลองและอธิบายกลไก - พชื มีกลไกในการรักษาดลุ ยภาพของน้า  การรกั ษาดลุ ยภาพของ โดยมีการควบคุมสมดลุ ระหว่างการคายนา้ น้าในพืช ผ่านปากใบและการดูดน้าทรี่ าก - การเปดิ ปิดของปากใบเป็นการควบคมุ อัตรา การคายน้าของพชื ซ่ึงช่วยในการรกั ษาดลุ ยภาพ ของนา้ ภายในพืชให้มีความชุม่ ชื้นในระดบั ท่ีพอเหมาะ3 ว 1.1 ม.4 - 6/3 สืบค้นข้อมลู และอธบิ าย - ไตเปน็ อวัยวะสาคัญในการรักษาดลุ ยภาพ  กลไกการควบคมุ ดลุ ยภาพ ของน้าและสารต่าง ๆ ในร่างกาย ซึง่ มีโครงสร้าง ของนา้ แรธ่ าตุ และ และการทางานร่วมกับอวัยวะอื่น อุณหภมู ขิ องมนุษย์ และ - ภายในไตมีหน่วยไต ของเหลวทีผ่ า่ นเข้าสู่ สัตว์อ่ืน ๆ และนาความรู้ หน่วยไต สว่ นหนึ่งจะถกู ดดู ซึมกลับสหู่ ลอดเลือด ไปใชป้ ระโยชน์ สว่ นท่ไี มถ่ ูกดดู ซึมกลบั จะผ่านไปยังท่อปสั สาวะ - ยเู รีย โซเดียมไอออน และคลอไรด์ไอออน เป็นของเสียจากกระบวนการเมแทบอลิซึม จะถกู ขับออกจากไตไปพร้อมกบั ปัสสาวะ - อะมีบาและพารามเี ซยี มเป็นสิ่งมีชวี ติ เซลล์เดยี ว ที่มีโครงสร้างภายในเซลลท์ ่เี รียกวา่ คอนแทร็กไทล์- แวควิ โอล ในการกาจดั น้า และของเสยี ออกจาก เซลล์ - ปลานา้ จืดมเี ซลลบ์ ริเวณเหงอื กทน่ี ้าเขา้ สู่ รา่ งกายไดโ้ ดยการออสโมซสิ สว่ นปลาน้าเคม็ ป้องกันการสูญเสยี น้าออกจากร่างกาย โดยมีผวิ หนัง และเกล็ดทป่ี ้องกนั ไม่ให้แรธ่ าตุ จากน้าทะเลซึมเข้าสรู่ า่ งกาย และทบี่ ริเวณ เหงือกมีกลมุ่ เซลลซ์ ่ึงขับแร่ธาตสุ ว่ นเกนิ ออก โดยวธิ กี ารลาเลียงแบบใช้พลงั งาน ขอ้ มูล ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

๔๑ ชนั้ ที่ รหัสตัวช้ีวัด ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ม.4 - 6 - มนษุ ยม์ ีกลไกในการควบคุมอณุ หภูมิของร่างกาย 4 ให้อย่ใู นสภาวะทีเ่ หมาะสม โดยศูนยค์ วบคุมอณุ หภมู ิ 5 จะอยู่ทีส่ มองสว่ นไฮโพทาลามสั - สัตวเ์ ลือดอุ่นสามารถรักษาอุณหภมู ิของร่างกาย ให้เกือบคงที่ได้ในสภาวะแวดล้อมต่าง ๆ ส่วนสัตว์ เลอื ดเย็น อุณหภูมริ ่างกายจะแปรผันตามอุณหภูมิ ของสงิ่ แวดล้อม ว 1.1 ม.4 - 6/4 อธบิ ายเกี่ยวกับระบบ - รา่ งกายมนษุ ย์ มีภูมิคุ้มกันซ่ึงเปน็ กลไกในการ  ภมู ิค้มุ กนั ของร่างกาย ป้องกันเชื้อโรคหรอื สิ่งแปลกปลอมเขา้ สรู่ ่างกาย และนาความรู้ไปใช้ - ผิวหนัง เซลล์เมด็ เลือดขาวและระบบน้าเหลือง ในการดูแลรกั ษาสุขภาพ เป็นส่วนสาคัญของรา่ งกายท่ีทาหน้าทีป่ ้องกัน และทาลายเช้ือโรคและสิ่งแปลกปลอมทีเ่ ขา้ สู่ รา่ งกาย - ระบบภูมิค้มุ กนั มีความสาคัญย่ิงต่อร่างกาย มนษุ ย์ การรับประทานอาหารที่ถูกสขุ ลักษณะ การออกกาลังกาย การดูแลสุขอนามัย ตลอดจน การหลีกเลี่ยงสารเสพติด และพฤติกรรมท่ีเส่ยี ง ทางเพศ และการไดร้ ับวัคซนี ในการปอ้ งกนั โรคต่าง ๆ ครบตามกาหนด จะชว่ ยเสริมสรา้ ง ภูมิคมุ้ กันและรกั ษาภูมคิ ุ้มกันของรา่ งกายได้ ว 1.2 ม.4 - 6/1 อธบิ ายกระบวนการถ่ายทอด - ส่ิงมีชวี ิตมีการถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรม  สารพนั ธุกรรม การแปรผนั จากพ่อแม่มาสรู่ นุ่ ลูกหลานได้ ซ่ึงสังเกตได้จาก ทางพันธกุ รรม มิวเทชัน ลกั ษณะท่ปี รากฏ และการเกิดความหลากหลาย - ดีเอน็ เอเปน็ นิวคลโี อไทดส์ ายยาวสองสายพนั กนั ทางชวี ภาพ เปน็ เกลยี วคู่วนขวา แตล่ ะสายประกอบด้วย นวิ คลโี อไทด์นับลา้ นหน่วย ซง่ึ มโี ครงสรา้ ง ประกอบดว้ ย น้าตาลเพนโทส ไนโตรเจนเบส สช่ี นิด และหมู่ฟอสเฟต โดยท่ีลาดบั เบสของ นวิ คลโี อไทดจ์ ะมีข้อมูลทางพันธกุ รรมบันทึกอยู่ - มวิ เทชันเป็นการเปล่ยี นแปลงทางพนั ธุกรรม ในระดับยีนหรือโครโมโซม ซ่งึ เปน็ ผลมาจาก การเปลีย่ นแปลงที่เกดิ ขน้ึ กบั ดเี อ็นเอ โดยมวิ เทชัน ท่ีเกิดในเซลลส์ บื พันธส์ุ ามารถถ่ายทอดไปส่รู ุ่นลกู และหลานได้ - การแปรผันทางพนั ธุกรรมทาให้สงิ่ มีชวี ติ ท่ีเกดิ ใหม่มีลกั ษณะที่แตกต่างกนั หลากหลาย ชนดิ ก่อให้เกดิ เป็นความหลากหลายทางชวี ภาพ ข้อมลู ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

๔๒ชั้น ที่ รหัสตวั ช้ีวดั ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ม.4 - 6 6 ว 1.2 ม.4 - 6/2 สืบคน้ ขอ้ มลู และอภปิ ราย - มนุษยน์ าความรู้ทางเทคโนโลยชี วี ภาพด้าน  ผลของเทคโนโลยชี ีวภาพ พนั ธุวิศวกรรม การโคลน และการเพาะเลยี้ งเน้อื เย่ือ ทม่ี ตี ่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มาใชใ้ นการพัฒนาให้เกดิ ความก้าวหน้าในด้านต่าง ๆ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ มากข้ึนและแพร่หลาย - การใชเ้ ทคโนโลยชี ีวภาพท่สี ร้างส่งิ มีชวี ิตใหม่ เกดิ ขึ้น หรือสง่ิ มีชีวติ ทมี่ ีการดัดแปรพนั ธกุ รรม ส่งผลกระทบท้ังทางด้านทเี่ ป็นประโยชน์และโทษ ตอ่ ส่งิ แวดล้อม เศรษฐกจิ และสังคม7 ว 1.2 ม.4 - 6/3 สืบค้นขอ้ มูล และอภิปราย - โลกมีความหลากหลายของระบบนิเวศ  ผลของความหลากหลาย ซ่งึ มสี ่ิงมชี ีวิตอาศัยอยู่มากมายหลายสปชี สี ์ ทางชวี ภาพที่มตี ่อมนุษย์ สิ่งมีชีวิตสปีชสี ์เดยี วกันกย็ ังมีความหลากหลาย และส่ิงแวดลอ้ ม ทางพนั ธกุ รรม - ความหลากหลายทางชีวภาพสง่ ผลทาให้มนุษย์ และส่ิงมีชีวิตอนื่ ๆ ไดใ้ ชป้ ระโยชน์ในแงข่ อง การเปน็ อาหาร ที่อยู่อาศยั แหลง่ สืบพันธุ์และ ขยายพันธ์ุ ทาใหส้ ง่ิ มีชีวิตสามารถดารงพนั ธุ์อยู่ได้ - สิ่งมีชวี ติ ท่มี ีความหลากหลายทางชีวภาพ มีความต้องการปัจจยั ต่าง ๆ ในการดารงชีวติ แตกต่างกันซึง่ จะชว่ ยรักษาสมดลุ ของระบบนเิ วศ บนโลกได้8 ว 1.2 ม.4 - 6/4 อธบิ ายกระบวนการ - ส่งิ มชี ีวิตแต่ละสปีชสี จ์ ะมีความหลากหลาย  คัดเลือกตามธรรมชาติ ที่แตกต่างกนั สิง่ มีชีวติ ในสปีชีสเ์ ดียวกัน และผลของการคัดเลอื ก จะผสมพนั ธุแ์ ละสบื ลูกหลานต่อไปได้ ตามธรรมชาตติ ่อ - การคดั เลอื กตามธรรมชาติจะส่งผลทาให้ ความหลากหลาย ลกั ษณะพนั ธกุ รรมของประชากรในกลุ่มย่อย ของสงิ่ มีชีวติ แตล่ ะกลุ่มแตกต่างกันไปจนกลายเป็นสปีชีสใ์ หม่ ทาใหเ้ กิดเป็นความหลากหลายของสง่ิ มีชวี ิต9 ว 2.1 ม.4 - 6/1 อธบิ ายดลุ ยภาพของ - ระบบนิเวศในธรรมชาติจะมีความสมดลุ ได้  ระบบนิเวศ ก็ต่อเม่อื มีสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ทเ่ี อื้ออานวย ต่อการดารงชวี ติ ของส่ิงมชี วี ติ ชนิดต่าง ๆ ในระบบนเิ วศจนทาใหเ้ กิดความหลากหลาย ของระบบนเิ วศบนโลก10 ว 2.1 ม.4 - 6/2 อธบิ ายกระบวนการ - ระบบนเิ วศในโลกทมี่ ีความหลากหลาย  เปลีย่ นแปลงแทนที่ มีการเปลยี่ นแปลงต่าง ๆ เกิดขน้ึ อยู่ตลอดเวลา ของสง่ิ มีชีวิต ไม่ว่าจะเป็นการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึ้น ตามธรรมชาตหิ รือการเปลยี่ นแปลงท่ีเกดิ จาก มนษุ ย์เปน็ ผู้กระทา การเปลี่ยนแปลงเหลา่ น้ี อาจสง่ ผลทาใหร้ ะบบนเิ วศเสียสมดลุ ได้ ขอ้ มลู ณ วันท่ี 15 สงิ หาคม 2559

๔๓ ชน้ั ที่ รหสั ตัวชี้วัด ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ม.4 - 6 - เม่อื ระบบนิเวศเสียสมดลุ จะเกดิ การเปลย่ี นแปลง 11 แทนทเี่ กิดข้นึ ในระบบนิเวศน้ัน การเปลยี่ นแปลง 12 สภาพทางธรรมชาติของระบบนิเวศยอ่ มสง่ ผล 13 ทาใหเ้ กดิ การเปลีย่ นแปลงแทนท่ีของสิ่งมชี ีวิต ในระบบนิเวศน้นั ด้วย ว 2.1 ม.4 - 6/3 อธบิ ายความสาคัญ - ความหลากหลายทางชวี ภาพมีความสาคัญ  ของความหลากหลาย ต่อสง่ิ มีชวี ติ สิง่ มีชีวติ ทุกชนดิ มคี วามสาคญั ทางชวี ภาพ และเสนอแนะ ต่อระบบนิเวศ ถ้าสง่ิ มีชวี ติ ชนิดใดชนิดหนึ่ง แนวทางในการดูแล ถกู ทาลายหรือสูญหายไป กจ็ ะสง่ ผลกระทบ และรกั ษา ต่อความหลากหลายของสิง่ มีชวี ิตอืน่ ๆ ในระบบ นเิ วศดว้ ย - ความหลากหลายทางชวี ภาพของระบบนิเวศ หน่ึงยังอาจเกื้อกูลตอ่ ระบบนเิ วศอืน่ ๆ ไดด้ ว้ ย - ความหลากหลายทางชีวภาพมีความสาคัญ ต่อมนุษย์ มนษุ ยใ์ ช้ประโยชนจ์ ากความหลากหลาย ทางชวี ภาพมากมาย การใช้ที่ขาดความระมดั ระวงั อาจสง่ ผลกระทบต่อความหลากหลาย ทางชวี ภาพได้ ซ่งึ ทุกคนควรมีสว่ นรว่ มในการดูแล และรักษา ว 2.2 ม.4 - 6/1 วิเคราะห์สภาพปัญหา - ความสมั พันธซ์ ึ่งกนั และกันระหว่างส่งิ มชี วี ิต  สาเหตุของปญั หาส่ิงแวดล้อม กับสง่ิ แวดลอ้ ม หรอื ระหวา่ งสิ่งมีชีวิตกับส่ิงมีชวี ติ และทรัพยากร ธรรมชาติ ด้วยกนั มีความสัมพนั ธก์ ันหลายระดับ ตงั้ แต่ ในระดับท้องถ่นิ ระดับ ระดบั ท้องถิน่ ระดบั ประเทศ และระดบั โลก ประเทศ และระดบั โลก - การเพ่มิ ขึ้นของประชากรมนุษยส์ ่งผลให้ มกี ารใช้ทรพั ยากรธรรมชาติเพ่ิมขน้ึ ทาให้ทรพั ยากรธรรมชาตลิ ดจานวนลง และเกิดปญั หามลพษิ ทางด้านต่าง ๆ ตามมา - ปัญหามลพิษทเี่ กิดขน้ึ มดี ว้ ยกันหลายสาเหตุ บางปญั หามผี ลกระทบเกิดข้ึนในระดับท้องถน่ิ บางปัญหาสง่ ผลกระทบระดับประเทศ และบางปัญหามคี วามรุนแรงจนเปน็ ปญั หา ระดบั โลก ว 2.2 ม.4 - 6/2 อภปิ รายแนวทาง - การใช้ทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ทีม่ อี ยู่  ในการป้องกนั แก้ไข อยา่ งจากัดจาเป็นต้องใชด้ ้วยความระมัดระวงั ปญั หาสง่ิ แวดลอ้ ม และไม่ให้เกิดผลกระทบต่อสง่ิ แวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติ - สง่ิ แวดลอ้ มที่อยู่ในสภาพเส่อื มโทรม หรือเกิดเป็น มลพษิ ที่เป็นผลเนอื่ งมาจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ตอ้ งหาแนวทางในการปอ้ งกนั แกไ้ ข ฟนื้ ฟูใหก้ ลบั มี สภาพที่สามารถใช้การได้ ขอ้ มูล ณ วันท่ี 15 สงิ หาคม 2559

๔๔ชัน้ ที่ รหัสตวั ชี้วัด ตัวชี้วดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ม.4 - 6 14 ว 2.2 ม.4 - 6/3 วางแผนและดาเนนิ การ - สิง่ แวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติควรต้องมี  เฝา้ ระวังอนุรักษ์ และ การเฝ้าระวงั อนรุ ักษ์ และพฒั นา ซ่ึงทุกคน พัฒนาส่ิงแวดลอ้ ม และ ควรร่วมกันปฏิบตั ิ เพ่ือให้เกดิ การใช้ประโยชน์ ทรัพยากรธรรมชาติ อย่างย่ังยืน15 ว 3.1 ม.4 - 6/1 สบื คน้ ขอ้ มูลและอธิบาย - นักวิทยาศาสตรใ์ ช้ข้อมูลจากการศึกษา  โครงสรา้ งอะตอม และ โครงสร้างอะตอม สร้างแบบจาลองอะตอม สัญลกั ษณ์นวิ เคลยี ร์ แบบต่าง ๆ ทมี่ ีพัฒนาการอย่างต่อเน่ือง ของธาตุ - อะตอมประกอบดว้ ยอนุภาคมลู ฐานสาคัญ 3 ชนิด คือ โปรตอน นิวตรอน และอเิ ลก็ ตรอน จานวนโปรตอนในนิวเคลียส เรียกวา่ เลขอะตอม ผลรวมของจานวนโปรตอนกับนวิ ตรอน เรียกวา่ เลขมวล ตวั เลขทง้ั สองน้ีจะปรากฎอยใู่ น สัญลักษณ์นิวเคลยี ร์ของไอโซโทปตา่ ง ๆ ของธาตุ16 ว 3.1 ม.4 - 6/2 วเิ คราะหแ์ ละอธบิ าย - อเิ ลก็ ตรอนในอะตอมของธาตจุ ะจดั เรยี งอยู่ใน  การจัดเรยี งอิเล็กตรอน ในอะตอม ความสัมพนั ธ์ ระดับพลงั งานตา่ ง ๆ และในแตล่ ะระดับพลงั งาน ระหวา่ งอเิ ลก็ ตรอน ในระดับพลังงานนอกสุด จะมีจานวนอเิ ล็กตรอนเปน็ คา่ เฉพาะ กับสมบัติของธาตุ และ การเกดิ ปฏิกริ ยิ า - อิเลก็ ตรอนในระดบั พลังงานนอกสุดจะแสดง17 ว 3.1 ม.4 - 6/3 อธิบายการจดั เรียงธาตุ สมบตั บิ างประการของธาตุ เช่น ความเป็นโลหะ และทานายแนวโนม้ สมบัตขิ องธาตุในตาราง อโลหะ และเกย่ี วขอ้ งกบั การเกิดปฏิกริ ิยา ธาตุ ของธาตนุ น้ั18 ว 3.1 ม.4-6/4 วิเคราะห์และอธบิ าย การเกดิ พนั ธะเคมี - ตารางธาตุปัจจุบนั จัดเรียงธาตตุ ามเลขอะตอม  ในโครงผลกึ และ ในโมเลกุลของสาร และอาศยั สมบตั ิท่คี ล้ายกนั ทาให้สามารถทานาย19 ว 3.1 ม.4 - 6/5 สืบคน้ ข้อมูลและอธิบาย แนวโนม้ สมบตั ิของธาตุในตารางธาตไุ ด้ ความสมั พันธ์ ระหวา่ ง จุดเดอื ด จุดหลอมเหลว - แรงยดึ เหนี่ยวระหวา่ งไอออนหรืออะตอม  และสถานะของสารกบั ของธาตุให้อยรู่ วมกนั เป็นโครงผลึก หรือโมเลกลุ  แรงยึดเหนยี่ วระหวา่ ง เรียกวา่ พันธะเคมี อนุภาคของสาร - พนั ธะเคมีแบ่งออกเป็น พนั ธะไอออนิก พนั ธะโคเวเลนต์ และพนั ธะโลหะ - จุดเดือด จุดหลอมเหลว และสถานะของสาร มีความเกย่ี วข้องกบั แรงยึดเหนี่ยวระหวา่ งอนภุ าค ของสารนัน้ สารที่อนภุ าคยึดเหนี่ยวกันด้วยแรง ยึดเหนยี่ วหรือพันธะเคมที ่ีแข็งแรง จะมจี ดุ เดือด และจดุ หลอมเหลวสงู สารในสถานะของแขง็ อนุภาคยึดเหน่ียวกนั ดว้ ยแรงทแี่ ข็งแรงกวา่ สาร ในสถานะของเหลว และแก๊สตามลาดบั ขอ้ มลู ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559

๔๕ชั้น ท่ี รหสั ตวั ชี้วัด ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ม.4 - 6 20 ว 3.2 ม.4 - 6/1 ทดลองอธิบายและเขยี น - ในชวี ิตประจาวนั จะพบเหน็ ปฏิกริ ิยาเคมี  สมการของปฏิกริ ยิ าเคมี จานวนมาก ท้งั ที่เกิดในธรรมชาตแิ ละมนษุ ย์ ทั่วไปที่พบในชีวิตประจาวนั เป็นผู้กระทา ปฏิกิรยิ าเคมีเขยี นแทนได้ดว้ ย รวมท้งั อธิบายผลของ สมการเคมี สารเคมีที่มีตอ่ สง่ิ มีชีวติ - มนษุ ยน์ าสารเคมีมาใชป้ ระโยชน์ ทั้งในบ้าน และสง่ิ แวดลอ้ ม ในทางการเกษตร และอุตสาหกรรม แต่สารเคมี บางชนิดเปน็ อนั ตรายต่อสิ่งมีชวี ิตและสงิ่ แวดลอ้ ม21 ว 3.2 ม.4 - 6/2 ทดลองและอธบิ ายอัตรา - ปริมาณของสารต้งั ตน้ หรือผลิตภณั ฑ์  การเกดิ ปฏิกิริยาเคมี ที่เปล่ยี นแปลงไปต่อหน่วยเวลา เรียกวา่ อตั รา ปจั จยั ท่ีมผี ลต่ออตั รา การเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี และปริมาณของสาร การเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี และ ทเ่ี ปลีย่ นแปลงไปน้นั อาจวัดจากคา่ ความเขม้ ขน้ นาความร้ไู ปใช้ประโยชน์ ปริมาตร หรือมวลของสาร ซงึ่ ขน้ึ อยู่กับลักษณะ ของสาร - ความเข้มข้น พ้ืนทผ่ี ิว อุณหภูมิ ตัวเร่งปฏิกิริยา เปน็ ปจั จยั ท่ีมผี ลต่ออตั ราการเกิดปฏกิ ิริยาเคมี การควบคุมปัจจยั เหล่านีเ้ พ่ือทาใหป้ ฏกิ ริ ิยา เกิดขึน้ ในอัตราท่ีเหมาะสม สามารถนามาใช้ ให้เปน็ ประโยชน์ได้22 ว 3.2 ม.4 - 6/3 สืบค้นข้อมลู และอธบิ าย - การสลายตวั ของซากพชื และซากสตั วท์ ี่ทับถม  การเกิดปโิ ตรเลยี ม อยใู่ ตท้ ะเลอย่างต่อเนื่องภายใตอ้ ณุ หภูมิและ กระบวนการแยกแก๊ส ความดันสูงนานนบั ลา้ นปี จะเกดิ เป็นปิโตรเลยี ม ธรรมชาติ และการกลั่น โดยมไี ดท้ ้ังสถานะของแขง็ ของเหลว หรอื แกส๊ ลาดับส่วนน้ามนั ดิบ ซ่งึ มีสารประกอบไฮโดรคาร์บอนหลายชนดิ รวมกันและอาจมีสารประกอบอน่ื ๆ ปะปน อยู่ดว้ ย - การนาแกส๊ ธรรมชาตมิ าใชป้ ระโยชนจ์ ะตอ้ ง ผ่านกระบวนการแยกแกส๊ ส่วนของเหลว หรอื น้ามันดบิ จะแยกโดยการกลัน่ ลาดบั สว่ น23 ว 3.2 ม.4 - 6/4 สืบคน้ ขอ้ มลู และอภิปราย - มเี ทน อีเทน โพรเพน และบวิ เทน เปน็ ผลิตภัณฑ์  การนาผลติ ภณั ฑท์ ่ีไดจ้ าก ทไ่ี ดจ้ ากการแยกแก๊สธรรมชาตแิ ละกลน่ั ลาดับ การแยกแกส๊ ธรรมชาติ สว่ นน้ามันดบิ นามาใชเ้ ปน็ เชือ้ เพลงิ และสารต้งั ต้น และการกล่ันลาดับส่วน สารผลติ ภณั ฑ์อื่น ๆ ซ่งึ มีจานวนอะตอมคารบ์ อน น้ามันดิบไปใชป้ ระโยชน์ เพม่ิ ขนึ้ นาไปใชป้ ระโยชน์แตกต่างกนั รวมท้งั ผลของผลิตภัณฑ์ - การสมั ผสั ตวั ทาละลายและไฮโดรคารบ์ อน ต่อส่ิงมีชวี ติ และสง่ิ แวดล้อม บางชนดิ ในรปู ของไอและของทใี่ ชแ้ ล้ว อาจเปน็ อนั ตรายตอ่ สุขภาพได้ รวมถึงการกาจดั อยา่ งไม่ถูกวิธีกจ็ ะมผี ลต่อสง่ิ แวดล้อมด้วย ขอ้ มลู ณ วันท่ี 15 สงิ หาคม 2559

๔๖ชั้น ท่ี รหัสตัวช้ีวัด ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ม.4 - 6 24 ว 3.2 ม.4 – 6/5 ทดลองและอธิบาย - พอลิเมอร์เปน็ สารประกอบท่ีโมเลกลุ มีขนาดใหญ่  การเกิดพอลเิ มอร์ สมบัติ เกดิ จากมอนอเมอร์จานวนมากเชอ่ื มต่อกันด้วย ของพอลเิ มอร์ พันธะโคเวเลนต์ มีท้งั ที่เกิดในธรรมชาติ และ สงั เคราะหข์ ึ้น - ปฏิกิรยิ าทมี่ อนอเมอรร์ วมกันเปน็ พอลิเมอร์ เรยี กว่า ปฏิกิริยาพอลเิ มอไรเซชัน ซง่ึ อาจเปน็ แบบควบแนน่ หรอื แบบต่อเติม - พอลิเมอร์มีหลายชนิด แตล่ ะชนดิ อาจมสี มบตั ิ บางประการเหมอื นกันและบางประการแตกต่างกัน25 ว 3.2 ม.4 - 6/6 อภปิ รายการนาพอลิเมอร์ - พอลเิ มอร์นาไปใชป้ ระโยชน์ได้แตกตา่ งกัน  ไปใชป้ ระโยชน์ รวมท้งั ตามสมบตั ิของพอลเิ มอรช์ นดิ น้ัน ๆ เชน่ ผลท่ีเกิดจากการผลิต และ ใชพ้ ลาสตกิ ทาภาชนะ ใช้เส้นใยสงั เคราะห์ ใช้พอลิเมอร์ต่อส่งิ มีชวี ติ ทาเครือ่ งนงุ่ หม่ และสิ่งแวดล้อม - พอลิเมอรส์ งั เคราะหท์ ี่นาไปใชป้ ระโยชน์ ในชีวิตประจาวนั บางชนดิ สลายตวั ยาก การใชอ้ ย่างฟ่มุ เฟือยและไมร่ ะมัดระวงั อาจก่อให้เกดิ ปัญหาต่อสงิ่ มีชีวติ และส่ิงแวดลอ้ มได้26 ว 3.2 ม.4 - 6/7 ทดลองและอธิบาย - คาร์โบไฮเดรตจัดเป็นแหลง่ พลังงาน  องคป์ ระกอบ ประโยชน์ ของสิง่ มชี ีวติ พบได้ท่ัวไปในชีวติ ประจาวัน และปฏกิ ริ ยิ าบางชนิด เช่น น้าตาล แปง้ เซลลโู ลส และไกลโคเจน ของคาร์โบไฮเดรต โดยมนี ้าตาลเป็นหนว่ ยยอ่ ยสาคญั ซง่ึ ประกอบด้วย ธาตุ C H และ O การตรวจสอบชนิดของน้าตาล ทาได้โดยใช้สารละลายเบเนดิกต์27 ว 3.2 ม.4 - 6/8 ทดลองและอธิบาย - ไขมนั และนา้ มนั เปน็ สารประกอบไตรกลีเซอไรด์  องค์ประกอบ ประโยชน์ เกดิ จากการรวมตวั ของกรดไขมันกับกลีเซอรอล และปฏกิ ิริยาบางชนดิ กรดไขมันมที งั้ ชนดิ อมิ่ ตวั และไม่อมิ่ ตัว ซ่งึ สามารถ ของไขมันและน้ามนั ตรวจสอบไดโ้ ดยใชส้ ารละลายไอโอดนี - ไขมันและนา้ มันนามาใช้ประโยชนไ์ ด้ ทั้งการบริโภค และใช้ในอตุ สาหกรรม การบรโิ ภคไขมันที่ขาดความระมดั ระวัง จะเป็นอันตรายตอ่ สขุ ภาพได้28 ว 3.2 ม.4 - 6/9 ทดลองและอธิบาย - โปรตีนเปน็ สารท่ชี ่วยในการเจรญิ เติบโต  องค์ประกอบ ประโยชน์ เสริมสรา้ งและซ่อมแซมเน้ือเยื่อ หน่วยย่อยของ และปฏิกริ ยิ าบางชนดิ โปรตีน คอื กรดอะมิโน ซ่ึงมที ั้งกรดอะมิโนจาเป็น ของโปรตนี และกรด และไมจ่ าเปน็ มีธาตอุ งคป์ ระกอบสาคัญคือ C H นวิ คลอี กิ O N การทดสอบโปรตนี ในอาหารใชส้ ารละลาย CuSO4 กบั NaOH ข้อมลู ณ วันท่ี 15 สงิ หาคม 2559

๔๗ชน้ั ท่ี รหัสตัวช้ีวดั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ม.4 - 6 - กรดนิวคลีอิกเปน็ สารโมเลกุลใหญ่คลา้ ยโปรตีน ประกอบดว้ ย ธาตุ C H O N ทพ่ี บในเซลล์ ของสิง่ มีชวี ติ มี ๒ ชนิด คือ DNA และ RNA ซึ่งเก่ยี วขอ้ งกบั กระบวนการถ่ายทอดทางพนั ธกุ รรม 29 ว 4.1 ม.4 - 6/1 ทดลองและอธิบาย - ในสนามโน้มถว่ งจะมีแรงกระทาต่อวตั ถุ ทาให้  ความสัมพนั ธร์ ะหว่างแรง วตั ถุมีน้าหนกั เมือ่ ปลอ่ ยวัตถุ วัตถจุ ะตกแบบเสรี กบั การเคลอื่ นท่ีของวัตถุ สนามโนม้ ถ่วงทาให้วัตถตุ า่ ง ๆ ไมห่ ลดุ จากโลก ในสนามโน้มถว่ ง และ เชน่ การโคจรของดาวเทียมรอบโลก และอาจใช้ นาความร้ไู ปใช้ประโยชน์ แรงโน้มถว่ งไปใชป้ ระโยชนเ์ พ่ือหาแนวดิง่ ของ ชา่ งกอ่ สรา้ ง 30 ว 4.1 ม.4 - 6/2 ทดลองและอธิบาย - เมอ่ื อนภุ าคทม่ี ีประจไุ ฟฟ้าอยใู่ นสนามไฟฟ้า  ความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง จะมีแรงกระทาต่ออนุภาคนั้น ซ่งึ อาจทาให้สภาพ แรงกับการเคลือ่ นที่ของ การเคล่อื นทีข่ องอนุภาคเปล่ยี นไปสามารถ อนภุ าคในสนามไฟฟา้ นาสมบตั ินี้ไปประยกุ ตส์ ร้างเคร่ืองมือบางชนิด และนาความรู้ไปใช้ เชน่ เครอื่ งกาจัดฝนุ่ ออสซลิ โลสโคป ประโยชน์ 31 ว 4.1 ม.4 - 6/3 ทดลองและอธบิ าย - เมอื่ อนุภาคทมี่ ีประจุไฟฟ้าเคลื่อนท่ีในสนามแมเ่ หล็ก  ความสัมพันธร์ ะหว่าง จะมแี รงกระทาต่ออนภุ าคนนั้ ซ่ึงอาจทาให้สภาพ แรงกับการเคล่ือนท่ขี อง การเคลอ่ื นทขี่ องอนุภาคเปล่ียนไป สามารถนาสมบตั ิน้ี อนุภาคในสนามแม่เหลก็ ไปประยุกตส์ รา้ งหลอดภาพโทรทศั น์ และนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ 32 ว 4.1 ม.4 - 6/4 วิเคราะห์และอธิบาย - อนภุ าคในนวิ เคลียส เรียกวา่ นวิ คลีออน  แรงนิวเคลยี ร์และแรงไฟฟ้า นิวคลีออน ประกอบดว้ ย โปรตอนและนิวตรอน ระหวา่ งอนภุ าคในนวิ เคลยี ส นิวคลอี อนในนิวเคลยี สยึดเหนี่ยวกนั ดว้ ยแรง นวิ เคลียร์ ซง่ึ มีคา่ มากกว่าแรงผลักทางไฟฟ้า ระหว่างนวิ คลีออน นิวคลอี อนจึงอยูร่ วมกัน ในนิวเคลยี สได้ 33 ว 4.2 ม.4 - 6/1 อธบิ ายและทดลอง - การเคลื่อนที่แนวตรงเปน็ การเคล่ือนท่ีในแนวใด  ความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง แนวหน่ึง เช่น แนวราบหรือแนวดิ่งทีม่ กี ารกระจัด การกระจัด เวลา ความเร็ว ความเร็ว ความเรง่ อยใู่ นแนวเสน้ ตรงเดยี วกัน ความเร่งของการเคลอื่ นท่ี โดยความเรง่ ของวัตถุหาไดจ้ ากความเร็ว ในแนวตรง ทเี่ ปลี่ยนไปในหนึง่ หน่วยเวลา 34 ว 4.2 ม.4 - 6/2 สังเกตและอธิบายการเคล่ือนท่ี - การเคลอ่ื นทแ่ี บบโพรเจกไทลเ์ ป็นการเคลื่อนที่  แบบโพรเจกไทล์ แบบวงกลม วิถโี ค้งทีม่ ีความเร็วในแนวราบคงตวั และความเร่ง และแบบฮาร์มอนิกอยา่ งง่าย ในแนวด่งิ คงตวั - การเคล่ือนที่แบบวงกลมป็นการเคล่อื นท่ี ท่มี คี วามเร็วในแนวเส้นสมั ผัสวงกลมและมีแรง ในทศิ ทางเขา้ สู่ศูนย์กลาง ขอ้ มลู ณ วันท่ี 15 สงิ หาคม 2559

๔๘ชั้น ท่ี รหัสตวั ช้ีวดั ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ม.4 - 6 - การเคล่ือนท่ีแบบฮาร์มอนิกอย่างงา่ ย เป็นการเคล่ือนทีก่ ลบั ไปกลบั มาซา้ ทางเดิม เชน่ การแกว่งของลกู ตุ้มอยา่ งงา่ ย โดยที่มมุ สูงสดุ ทเ่ี บนจากแนวด่ิง มีค่าคงตัวตลอด 35 ว 4.2 ม.4 - 6/3 อภปิ รายผลการสบื คน้ - การเคลอ่ื นทีแ่ บบโพรเจกไทล์สามารถนาไปใช้  และประโยชน์เกย่ี วกบั ประโยชน์ เชน่ การเล่นเทนนิส บาสเกตบอล การเคลื่อนท่ีแบบโพรเจกไทล์ - การเคลอื่ นท่ีแบบวงกลมสามารถนาไปใช้ แบบวงกลม และแบบ ประโยชน์ เช่น การวง่ิ ทางโค้งของรถยนต์ ฮารม์ อนกิ อย่างง่าย ใหป้ ลอดภัย - การเคล่อื นทแ่ี บบฮารม์ อนกิ อย่างง่ายสามารถ นาไปใช้ประโยชนใ์ นการสร้างนาฬิกาแบบลกู ตุ้ม 36 ว 5.1 ม.4 - 6/1 ทดลองและอธิบายสมบัติ - คลน่ื กลมีสมบตั ิการสะท้อน การหกั เห  ของคล่นื กล และอธิบาย การแทรกสอด และการเล้ียวเบน ความสมั พันธ์ระหวา่ ง - อัตราเรว็ ความถี่ และความยาวคล่นื มีความสัมพนั ธ์กนั อัตราเรว็ ความถี่ และ ดังน้ี อัตราเรว็ = ความถี่  ความยาวคลน่ื ความยาวคลืน่ 37 ว 5.1 ม.4 - 6/2 อธิบายการเกดิ คลนื่ เสียง - คลน่ื เสยี งเกดิ จากการสน่ั ของแหลง่ กาเนดิ เสยี ง  บตี สข์ องเสยี ง ความเข้มเสียง - บีตสข์ องเสยี งเกดิ จากคลื่นเสียงจากแหล่งกาเนิด ระดบั ความเข้มเสยี ง สองแหล่งทมี่ ีความถี่ต่างกันเล็กน้อยมารวมกนั การได้ยินเสียง คุณภาพเสียง ทาใหไ้ ดย้ ินเสียงดัง ค่อยเปน็ จังหวะ และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ - ความเขม้ เสยี ง คือ พลังงานเสยี งทต่ี กตง้ั ฉาก บนหนง่ึ หนว่ ยพืน้ ทใ่ี นหนงึ่ หน่วยเวลา - ระดบั ความเข้มเสียงจะบอกความดงั ค่อย ของเสียงท่ีได้ยนิ - เครอื่ งดนตรแี ต่ละชนดิ ทใ่ี ช้ตวั โน้ตเดียวกัน จะใหร้ ปู คล่ืนที่แตกต่างกัน เรียกว่า มคี ณุ ภาพ เสยี งตา่ งกัน 38 ว 5.1 ม.4 - 6/3 อภปิ รายผลการสืบคน้ - มลพษิ ทางเสียงมีผลตอ่ สขุ ภาพของมนุษย์  ข้อมูลเกย่ี วกบั มลพษิ ถา้ ฟงั เสยี งทม่ี รี ะดับความเขม้ เสียงสงู กวา่ ทางเสยี งที่มีต่อสขุ ภาพ มาตรฐานเป็นเวลานาน อาจก่อใหเ้ กิดอันตราย ของมนษุ ย์ และการเสนอ ตอ่ การไดย้ ินและสภาพจติ ใจได้ การปอ้ งกัน วธิ ีป้องกัน โดยการหลีกเล่ียงหรอื ใช้เครื่องครอบหู หรอื ลด การส่นั ของแหล่งกาเนิดเสยี ง เช่น เครื่องจักร ขอ้ มลู ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559