Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือชุมชนยั่งยืน 2564

คู่มือชุมชนยั่งยืน 2564

Published by จิณณะ สอนอุ่น, 2021-09-16 07:18:08

Description: คู่มือชุมชนยั่งยืน 2564

Keywords: ยั่งยืน

Search

Read the Text Version

คำนำ ท่ีประชุมคณะเจ้าหน้าท่ีผู้ทรงคุณวุฒิและผู้ชานาญการในการดาเนินงานสร้างชุมชน เขม้ แขง็ และปลอดยาเสพติดจากกระทรวงมหาดไทย สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติด กระทรวงยุติธรรม กระทรวงสาธารณสุข และสานักงานตารวจแห่งชาติ ด้วยเม่ือวันท่ี 30 มกราคม 2563 โดยได้รว่ มหารอื แนวทาง การบรู ณาการสร้างชุมชนเข้มแข็งปลอดยาเสพติดประจาปี 2563 ทป่ี ระชมุ ไดเ้ ห็นชอบใหก้ าหนดกรอบและแนวทางดาเนินการสร้างชุมชนเข้มแข็งประจาปี 2563 โดยเนน้ การบูรณาการกิจกรรมจากทุกหน่วยท่ีเกีย่ วขอ้ งดงั กล่าว เพอ่ื เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพและลด ขั้นตอนซา้ ซอ้ นในการปฏิบัตงิ าน เพอ่ื ประโยชน์สงู สดุ ในการบรรลุวตั ถปุ ระสงค์การสร้างชุมชนเข้มแข็ง และยัง่ ยนื ศูนย์อานวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด สานักงานตารวจแห่งชาติ โดย กองบัญชาการตารวจปราบปรามยาเสพติด จึงได้จัดทาคู่มือการดาเนินงานโครงการดาเนินงานชุมชน ยั่งยืน เพ่ือแก้ไขปัญหายาเสพติดแบบครบวงจรตามยุทธศาสตร์ชาติเพ่ือให้ชุดปฏิบัติการใช้เป็น แนวทางในการปฏิบตั งิ านในพืน้ ทช่ี มุ ชน ใหเ้ กดิ ประสทิ ธิภาพสงู สดุ และเปน็ แนวทางเดยี วกัน ศูนย์อานวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพตดิ สานักงานตารวจแหง่ ชาติ กองบญั ชาการตารวจปราบปรามยาเสพตดิ มีนาคม 2564 1

คูม่ ือกำรดำเนินงำน โครงกำรดำเนนิ งำนชุมชนย่ังยนื เพอ่ื แกไ้ ขปญั หำยำเสพตดิ แบบครบวงจรตำมยุทธศำสตร์ชำติ 1. ท่ีมำ แผนปฏิบัติการด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด พ.ศ.2563 ได้กาหนดมาตรการ แก้ไขปัญหายาเสพติดโดยมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ แผนปฏิรูปประเทศแผนพัฒนา เศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาตปิ ระกอบดว้ ย 5 มาตรการดงั น้ี 1. มาตรการความร่วมมือระหว่างประเทศหน่วยงานรับผิดชอบหลักคือกระทรวงกลาโหม (กองบัญชาการกองทัพไทยกองทัพบกกองทัพเรือ) กระทรวงมหาดไทย (สานักงานปลัดกระทรวง มหาดไทยกรมการปกครอง) สานักงานตารวจแห่งชาติสานักนายกรัฐมนตรี (สานักข่าวกรองแห่งชาติ สภาความมั่นคงแหง่ ชาติ (กอ.รมน.)) 2. มาตรการปราบปรามและบังคับใช้กฎหมายหน่วยงานรับผิดชอบหลัก เช่น สานักงาน ตารวจแห่งชาติ กระทรวงยุติธรรม กระทรวงมหาดไทย (สานักปลัดกระทรวงมหาดไทยกรมการ ปกครอง) กระทรวงกลาโหม สานักงานคณะกรรมการป้องกันการฟอกเงิน สานักงานคณะกรรมการ ป้องกนั การทุจริตภาครัฐ กระทรวงการคลงั และกระทรวงสาธารณสุข 3. มาตรการป้องกันยาเสพติดหน่วยงานรับผิดชอบหลัก เช่น กระทรวงมหาดไทย (สานักปลัดกระทรวงมหาดไทย กรมการปกครอง กรมการพัฒนาชุมชน และกรมส่งเสริมการปกครอง ท้องถน่ิ ) กอ.รมน. สานักงาน ป.ป.ส. 4. มาตรการบาบัดรักษายาเสพติด หน่วยงานรับผิดชอบหลัก เช่น กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย (สานักปลดั กระทรวงมหาดไทย กรมการปกครอง กรมการพัฒนาชุมชน และกรม สง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถิ่น) และกระทรวงยตุ ธิ รรม (สานักงาน ป.ป.ส. กรมคมุ ประพฤต)ิ 5. มาตรการบริหารจัดการอย่างบูรณาการหน่วยงานรับผิดชอบหลัก เช่น สานักงาน ป.ป.ส. กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย กระทรวงกลาโหม สานักงานตารวจแห่งชาติ กระทรวง พฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์ และ หน่วยงานอ่นื ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง ดังน้ัน คู่มือฉบับนี้จึงจัดทาข้ึนเพ่ือใช้เป็นแนวทางและมาตรฐานในการปฏิบัติงานการสร้าง ชุมชนเข้มแข็งปลอดยาเสพติดอย่างยั่งยืน ปี 2563 สาหรับเจ้าหน้าที่ชุดปฏิบัติการภาคีเครือข่าย ได้แก่สานักงานตารวจแห่งชาติ ป.ป.ส. กระทรวงมหาดไทยและกระทรวงสาธารณสุข และหน่วยงาน อ่ืนๆ ทเี่ กี่ยวข้อง เพ่ือนาไปใช้ในการปฏิบัติงานจริงในพื้นที่ในการสร้างความเข้มแข็งอย่างย่ังยืนให้กับ หม่บู า้ น/ชมุ ชน ตอ่ ไป 2. วตั ถุประสงค์ 1. เพอื่ ใช้เปน็ คูม่ อื ในการปฏิบตั งิ านในการสรา้ งชุมชนเขม้ แขง็ ปลอดยาเสพติดอย่างยั่งยืนแบบ บูรณาการ 2. เพ่ือเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจและความร่วมมือ ของกระบวนการสร้างชุมชนเข้มแข็ง ปลอดยาเสพติดอยา่ งยง่ั ยนื แบบบรู ณาการใหแ้ ก่เจา้ หน้าท่ีชุดปฏิบตั กิ ารทกุ ระดับ 3. เพื่อสร้างมาตรฐานในการปฏบิ ัตงิ าน โดยมีผลสัมฤทธ์ิท่ีสามารถบรรลุเป้าหมายตามตัวชี้วัด ภายใต้แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติได้ 2

กรอบแนวคิด การป้องกนั และปราบปรามปัญหายาเสพติดเป็นภารกิจภายใต้แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นความมั่นคง แผนย่อยการป้องกันแก้ไขปัญหาท่ีมีผลกระทบต่อความมั่นคงและแนวทางการ ป้องกนั และปราบปรามยาเสพติด มุ่งยดึ แนวคดิ การแก้ไขปญั หายาเสพตดิ ตัง้ แต่ตน้ ทาง-กลางทาง-ปลายทาง ในการดาเนนิ การอยา่ งเปน็ ระบบ โดยเฉพาะการเสรมิ สร้างความเข้มแข็งของหมู่บ้าน/ชุมชน ตามแนว ชายแดนเพื่อพัฒนาพื้นท่ีและประชาชนตามแนวชายแดนพื้นท่ีพิเศษที่มีปัญหายาเสพติด สลาย โครงสร้างปัญหาและการบูรณาการ การแก้ไขปัญหาที่เก่ียวเนื่องกับการแก้ไขปัญหายาเสพติดพัฒนา คุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ตามแนวพระราชดาริหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตาม ยุทธศาสตร์แนวทางดาเนินงาน “เข้าใจเข้าถึงพัฒนา” และศาสตร์พระราชา ซ่ึงเป็นกรอบการแก้ไข ปัญหายาเสพติดและลดปัญหาเชิงโครงสร้างหรือปัญหาที่เก่ียวข้องกับยาเสพติดและการสร้างอาสา ปอ้ งกนั การแพร่ระบาดของยาเสพติดในชุมชน การปรับระบบนิเวศ (สภาพแวดล้อม) ท่ีเหมาะสมโดย การเสริมสร้างปัจจัยท่ีเอื้อต่อการไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด การดูแลผู้ใช้ ผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด ให้เข้าถึงการบาบัดรักษาและการลดผลกระทบจากยาเสพติด โดยการคัดกรองประเมินวินิจฉัย ที่มี ประสิทธิภาพกาหนดแผนการให้การบาบัดรักษาที่เหมาะสม ฟื้นฟูสมรรถภาพท่ีครอบคลุมทุกมิติ ตลอดจนการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเครือข่ายในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ให้สามารถอยู่ร่วมกัน ในสงั คมชุมชนไดอ้ ยา่ งปกตสิ ุขและเทา่ เทียม 3. องค์ประกอบและหนำ้ ทขี่ องเจ้ำหน้ำที่ชดุ ปฏบิ ตั ิกำร 1. ชดุ ปฏบิ ตั ิการบรู ณาการปฏบิ ัตงิ าน 1.1 คณะเจ้าหน้าท่ีชุดปฏิบัติการบูรณาการ ประกอบด้วยเจ้าหน้าท่ีจากสานักงานตารวจ แหง่ ชาติ, กระทรวงมหาดไทย, ป.ป.ส., กระทรวงสาธารณสุข, กระทรวงศึกษาธิการ, องค์กรปกครอง สว่ นทอ้ งถนิ่ , กศน., พฒั นาชมุ ชน, แรงงาน และ กอ.รมน 1.2 ภารกิจหน้าที่เข้าพื้นที่ประจาการในหมู่บ้าน/ชุมชนเพ่ือดาเนินการตามข้ันตอนท่ี ดังน้ี แสวงหาความร่วมมือ, การค้นหาผู้เสพผู้เกี่ยวข้องเพื่อเข้ากระบวนการชุมชนบาบัด, ค้นหาปัญหาและ การมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา ติดตามช่วยเหลือเย่ียมบ้านสร้างกฎชุมชน, ฟ้ืนฟูสังคม, ดารงความ เข้มแขง็ เฝา้ ระวัง และติดตามประเมินผล 2. คณะกรรมการประจาหมู่บา้ น /ชุมชน 2.1 คณะกรรมการประจาหมู่บ้าน/ชุมชน ตามกรอบของกระทรวงมหาดไทย ปราชญ์ชุมชน, ผนู้ าทางความคิด เช่น พระ หรอื ครู ในชมุ ชนนน้ั ๆ 2.2 ภารกิจหนา้ ท่ี 1) เป็นชุดทางานและให้ความร่วมมือพร้อมสนับสนุนการทางานของชุดปฏิบัติการ 2) เปน็ คณะกรรมการกลัน่ กรอง บุคคล/ครัวเรือนสขี าว 3) ร่วมทางานกับชุดปฏบิ ตั ิการเพ่อื สร้างชุมชนเข้มแขง็ อยา่ งยัง่ ยืน 4) เปน็ แกนหลกั ในการบาบัดผู้ตดิ ยาเสพตดิ ตามหลักการชุมชนบาบดั 5) รับช่วงต่อจากชุดปฏิบัติการ ในการรักษาสภาพชุมชนหลังจากเสร็จสิ้นโครงการ 6) เป็นแกนหลักสร้างกฎหมู่บ้าน/ชุมชนและควบคุมดูแลให้เป็นไปตามธรรมนูญ หมบู่ า้ น/ชุมชน 3

3. คณะกรรมการประจาคุ้ม 3.1 คณะกรรมการประจาคมุ้ ประกอบด้วยประธานคมุ้ กรรมการคุ้ม5-7 คนโดยการ คัดเลอื กจากคนในค้มุ และมี ตารวจ กับฝา่ ยปกครอง สาธารณสขุ เป็นที่ปรึกษา 3.2 ภารกจิ หนา้ ท่ี 1) เป็นชุดทางานและใหค้ วามรว่ มมือพรอ้ มสนับสนุนการทางานของชดุ ปฏบิ ัตกิ าร 2) เปน็ คณะกรรมการกล่ันกรองบุคคลและครวั เรือนสขี าว ระดบั คุ้มในเบ้อื งต้น ก่อนที่ จะเสนอให้คณะกรรมการกล่นั กรองครวั เรอื นสขี าวในระดับหมู่บ้าน/ชุมชน พิจารณา 3) สอดสอ่ งดูแล คนในคมุ้ พร้อมเปน็ แนวรว่ ม แจง้ ข่าวสาร ความเคล่อื นไหวในการ ทางานของคุ้ม 4) ประชาสัมพันธข์ ่าวสารและเปน็ สอ่ื กลางเชอื่ มระหว่างชาวบา้ นกบั ชุดปฏิบัตกิ าร 5) ทาการคน้ หาผู้เกยี่ วขอ้ งกบั ยาเสพติด และประชุมการทางานอย่างตอ่ เน่ืองเพื่อหา แนวทางแก้ไขปัญหาและอปุ สรรคภายในคุ้ม 4. คณะกรรมการกลั่นกรองบคุ คล/ครัวเรือน สขี าว 4.1 คณะกรรมการกล่ันกรองบุคคล/ครัวเรือน สีขาว ในหมู่บ้าน/ชุมชนประกอบด้วย คณะกรรมการท่ีได้รับการแต่งต้ังของชุมชน มีประธาน 1 คน กรรมการ 5-7 คน โดยมี ตารวจ, ปกครอง และ สาธารณสขุ เปน็ ทีป่ รกึ ษา 4.2 ภารกจิ หนา้ ท่ี 1) ทาการกล่ันกรองและรับรองบุคคลและครัวเรือน ว่าจะไม่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด ดว้ ยความบริสทุ ธิย์ ตุ ธิ รรม 2) การประชุมเพอ่ื รบั รองบุคคลและครวั เรอื น ใหก้ ระทาโดยทางลบั 3) เป็นตัวแทนและสายข่าวติดตาม สอดส่องดูแลเฝ้าระวัง คนในชุมชน และร่วมมือ การทางานกบั ชุดปฏิบตั กิ าร 4

กระบวนกำรสร้ำงชมุ ชนยัง่ ยืน แบบบูรณำกำร กระบวนกำรทำงำนประกอบด้วย 3 ขั้นตอนหลัก คือ ขน้ั ตอนท่ี 1 ขนั้ เตรยี มกำร ขัน้ ตอนที่ 2 ขน้ั ปฏิบตั กิ ำร ข้นั ตอนที่ 3 ขั้นส่งต่อควำมสำเร็จ โดยแต่ละขน้ั ตอนมรี ายละเอยี ดในการปฏิบตั ดิ ังนี้ ขน้ั ตอนที่ 1 ขัน้ เตรียมกำร 1. กำรจดั ทำคำส่ังและแต่งตัง้ คณะทำงำน 1. ศูนย์อานวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของทุกส่วนราชการ ร่วมประชุมวางกรอบ แนวทางการปฏิบัตงิ าน, วัตถปุ ระสงค์ และแผนงานให้ชัดเจน 2. แต่งต้ังคณะทางานในแต่ละส่วนราชการในทุกระดับ ให้มีการบูรณาการทุกหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องให้ครบถ้วน ทั้งระดับภาค/จังหวัด และอาเภอ ซึ่งประกอบด้วย ปปส.ภาค/กทม. ผบช.ภาค,ผวู้ ่าราชการจงั หวัด, ผบก.จว, สาธารณสุข จว. และหนว่ ยงานทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง 3. ชุดปฏิบตั ิการระดับพื้นท่ี โดย ศูนยอ์ านวยการปอ้ งกันและปราบปรามยาเสพตดิ ซ่ึงมี นายอาเภอ/ ผอู้ านวยการเขต เปน็ ผูอ้ านวยการศนู ย์ฯ ประกอบด้วย จนท.ตร. ปกครอง สาธารณสขุ เจ้าหนา้ ที่ พัฒนาชมุ ชน เจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และหน่วยงานทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง 4. ให้จัดฝึกอบรมความรู้ตามคู่มือการดาเนินงาน โครงการดาเนินงานชุมชนยั่งยืน เพื่อแก้ไข ปัญหายาเสพติดแบบครบวงจรตามยุทธศาสตร์ชาติ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ให้กับ ชุดปฏิบัติการ กอ่ นลงปฏบิ ตั งิ านจริง 5. ศอ.ปส.อ./เขต. ให้จัดทาคาส่ังชุดปฏิบัติการท่ีลงพื้นท่ีจริง เจ้าหน้าท่ีควรประกอบด้วย หน่วยงาน ตำรวจ,ปกครอง,สำธำรณสขุ ,พัฒนำชุมชน,แรงงำน,กศน.,อบต.และกอ.รมน. ที่ร่วม ปฏิบัติการในพื้นที่ให้เรียบร้อย ในการเข้าชุมชน การเข้าไปพักแรมในพื้นที่มีเป้าหมายเป็น ระยะเวลา3 เดือน 5

2. กำรสืบสภำพชมุ ชนและพบปะแกนนำ หลงั จากประชุมวางแผนและออกคาสั่งแต่งต้ังเป็นทเ่ี รยี บรอ้ ย ชุดปฏบิ ตั กิ าร รว่ มหารือกบั ส่วน เก่ยี วข้องเพอื่ ทาการสบื สภาพชุมชนและลงพื้นท่ีเพ่ือพบปะแกนนาดงั นี้ ก. การสืบสภาพชุมชนเพ่ือคัดเลือกชุมชนเปา้ หมาย การคัดเลือกชมุ ชนเป้าหมายควรเป็นชมุ ชนท่มี ีปญั หายาเสพติดแพร่ระบาดรุนแรงหรือพื้นที่สีแดง ผนู้ าชุมชนพร้อมจะให้ความร่วมมอื และมสี ถานที่ หรือภูมศิ าสตรเ์ หมาะสมท่เี ขา้ ทาโครงการ โดยมีดัชนีชี้วัด 2 ตัว เพ่ือประเมินสภำพปัญหำยำเสพติดในหมู่บ้ำน/ชุมชน ประกอบด้วย ผู้ผลิต/ผู้ขำย และ ผู้เสพ/ผู้ติดยำเสพติด สำหรับเกณฑ์ประเมินสถำนะหมู่บ้ำน/ชุมชน จำกสภำพปญั หำยำเสพตดิ จะแยกเป็น 4 ประเภท คอื สีขาว : ก ไม่มผี ู้ผลติ /ผู้ขายยาเสพติด และไม่มีผูเ้ สพ/ผู้ตดิ ยาเสพตดิ สเี ขียว : ข ไม่มีผู้ผลิต/ผู้ขายยาเสพติด และมีผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด ไม่เกิน 3 คน ต่อประชากร 1,000 คน สีเหลือง : ค ไม่มีผู้ผลิต/ผู้ขายยาเสพติดและมีผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด ตั้งแต่ 3 คน แต่ไม่เกนิ 5 คน ตอ่ ประชากร 1,000 คน สีแดง : ง มีผู้ผลิต/ผู้ขายยาเสพติด หรือมีผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด เกิน 5 คน ขน้ึ ไป ต่อประชากร 1,000 คน หมำยเหตุ* สำมำรถอ้ำงอิงข้อมูลจำกระบบ Crimes จำกสำนกั งำนตำรวจแห่งชำติ ข. มอบหมายหน้าที่ในการทางานให้ครอบคลุม ให้ชัดเจนทุกด้าน เช่นหน้าที่ ฝ่ายธุรการ, ควบคุมผู้เสพ, ประชาสัมพันธ์,พิธีกร, หาข่าว,จับกุม เป็นต้น พร้อมมีคาสั่งรองรับ ให้จัดพร้อมเตรียม อปุ กรณใ์ นการทางานให้พร้อมก่อนปฏบิ ัติการจรงิ ค. จัดทากาหนดการและแผนงาน ตารางในการทางาน ประจาวัน,ประจาสัปดาห์ ประจาเดือน ตลอดจนหลังเสร็จสนิ้ โครงการ เพ่อื งา่ ยต่อการปฏบิ ัติและมคี วามเปน็ ระบบ ระเบียบ ง. ในระดับหมู่บ้าน/ชุมชน ให้จัดทาคาส่ังชุดปฏิบัติการระดับชุมชนเพื่อร่วมทางานกับชุด ปฏบิ ัตกิ ารทีล่ งพน้ื ทีจ่ รงิ ใหถ้ กู ตอ้ งและสง่ คาสงั่ ให้ ผอ.ศอ.ปส.อ./เขต. กำรพบผู้นำชมุ ชน/แกนนำชุมชนและกำรแสวงหำควำมรว่ มมือจำกประชำชน 1.1 จัดประชุมร่วมกับผู้นาชุมชน/แกนนาชุมชนและหน่วยเก่ียวข้อง เพื่อแจ้งวัตถุประสงค์ รายละเอียดโครงการ และขน้ั ตอนการดาเนินงาน 1.2 รว่ มกาหนด วันเริม่ ตน้ โครงการ พิธีเปิดการประชาคมและกาหนดจุดพักแรมในชุมชน จุด พักแรมควรเน้นสมรภูมิท่ีเหมาะสม อยู่ศูนย์กลางหมู่บ้าน/ชุมชน มีสถานที่จัดกิจกรรมสะดวกต่อการ เดนิ ทาง และมีความปลอดภัยต่อชุดปฏิบัตกิ าร 1.3 ร่วมกนั รา่ งเนอ้ื หารายละเอยี ดในบันทึกข้อตกลง ( MOU ) เพื่อให้ผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องลงนาม ในวนั เปดิ โครงการ และระหว่างการดาเนนิ โครงการ ใหค้ รบทกุ หลังคาเรือน 6

บนั ทึกข้อตกลง (MOU) คือ หนังสือซ่ึงฝ่ายหนึ่งแสดงความสมัครใจจะปฏิบัติอย่างหน่ึงอย่าง ใดตามเง่ือนไขท่ีปรากฏในหนังสือนั้นกับอีกฝ่ายหนึ่งท่ีได้ร่วมกันลงนามไว้เพ่ือทาข้อตกลงร่วมกันใน การดาเนินการแก้ปัญหาอย่างใดอย่างหน่ึงร่วมกัน ถ้ากรณีเนื้อหาของบันทึกข้อตกลง (MOU) น้ัน มีเจตนาต้องการให้เกิดผลผูกพัน มีการระบุหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละฝ่ายไว้อย่างชัดเจนย่อม ถอื ว่าบันทกึ ข้อตกลง (MOU) น้ัน เปน็ ข้อตกลงเนือ่ งจากมีนติ ิสัมพนั ธ์ต่อกัน ทงั้ น้ี ขอ้ ความใน MOU ใหเ้ ป็นไปตามหลักและความเช่ือทางศาสนาของแตล่ ะพ้นื ที่ 1.4 กาหนดและมอบหมายหน้าทใ่ี นวันพธิ ีเปิดและการประชาคมให้เรยี บร้อย เพือ่ ใหเ้ กดิ การ ทางานอย่างมีประสทิ ธิภาพ - ควรเชิญหนว่ ยงานท่เี ป็นภาคเี ครอื ข่ายภาคต่างๆและพันธมติ รในการบรู ณาการ ร่วมใน พิธีเปดิ เพื่อใหท้ ราบถึงการดาเนนิ งานของชุดปฏบิ ัตกิ ารเพ่อื ความสะดวกในการประสานงาน - ประชาสมั พนั ธ์ งานในหมบู่ า้ น/ชมุ ชนเปา้ หมายอย่างตอ่ เน่อื ง ทุกชอ่ งทางให้ทราบถงึ วนั เวลาและสถานทจี่ ัดงาน เพ่ือให้ประชาชนในพื้นท่เี ข้ารว่ มประชมุ การประชาคมให้มากทส่ี ุด จะทาให้ เกดิ ร่วมมอื ในการปฏิบตั กิ าร มีความตนื่ ตัว ทราบวัตถุประสงค์ของชุดปฏบิ ัตกิ ารในการลงชมุ ชน ทาให้ สามารถบรรลวุ ัตถปุ ระสงคข์ องโครงการไดเ้ รว็ ขนึ้ - เชิญสือ่ มวลชนเขา้ รว่ มทาข่าวและสงั เกตการณ์ 1.5 พธิ ีเปิดและการจัดทาประชาคม ในวนั เปิดโครงการ ควรจัดทาประชาคมและประกาศ วาระหมูบ่ ้านในคราวเดยี วกัน เพอ่ื ใหท้ กุ คนมสี ่วนร่วม ใหเ้ กิดการรวมพลังของชุมชน เกดิ กระแสที่ดี งา่ ยตอ่ การทางาน ให้ดาเนินการจัดทากติการ่วมกัน ดงั นี้ 1) กาหนดขอ้ ตกลงรว่ มกันในการแกไ้ ขปญั หา ระดมความคิดจัดทาเป็นกติกาชมุ ชน โดย 1.1) การจดั ทาคุม้ และคณะกรรมการคุม้ 1.2) กาหนดรปู แบบการคดั กรอง และรปู แบบการเอกซเรย์ ผูเ้ สพ โดยโครงการ มุ่งเน้นท่ีจะค้นหาผู้เสพทุกคน (เอกซ์เรย์ 100%) แต่ท้ังน้ีต้องได้รับความร่วมจากประชาชน ในการ ตรวจปสั สาวะประชาชนทกุ คน การปฏิบัติอาจจะร่วมกันกาหนดบุคคลที่สมควรตรวจและบุคคลท่ีควร ยกเว้น เชน่ เดก็ คนแก่ คนปว่ ย เป็นตน้ เพือ่ ใหก้ ารตรวจค้นหาผเู้ กี่ยวขอ้ งได้สะดวกรวดเร็ว 1.3) ร่วมกาหนดกตกิ า และการดาเนินการกับผู้เสพและผู้ทีไ่ มใ่ ห้ความรว่ มมือ เพอื่ ใหช้ ุมชนได้มโี อกาสมีส่วนรว่ มในการบาบัด ตามหลกั CBTx และชมุ ชนบาบัด การดาเนนิ งานจึงให้ ชุมชนเขา้ มามบี ทบาทรว่ มใหข้ อ้ มลู รว่ มแกไ้ ขปัญหาใหม้ ากทส่ี ุด 1.4) ในวันจัดพิธีเปิด หากสามารถตรวจปัสสาวะได้ ควรตรวจเป็นรายบุคคล โดยเฉพาะผู้นา/แกนนาชุมชน ถ้าดาเนินการได้จะสร้างความน่าเชื่อถือแก่ชาวบ้านและได้รับความ ร่วมมอื จากชาวบา้ นมากยิ่งข้นึ 7

จัดให้มีกำรลงนำมในบนั ทึกข้อตกลง (MOU) 2 ระดบั ดงั น้ี 1. สาหรับประธานและหน่วยงานต่างๆ ท่ีจะร่วมมือในการทางานในคร้ังน้ี มีการลงนาม ต่อ หน้า สาธารณชน เพื่อเป็นการประกาศเจตนารมณ์ อย่างชัดเจน ให้ประชาชน สื่อมวลชน และมีส่วน ราชการตา่ งๆ รว่ มเปน็ สักขพี ยานว่าจะร่วมปฏิบัตงิ านในชมุ ชนดว้ ยกนั 2. สาหรับประชาชน โดยครัวเรือนและ1 ฉบับให้ตัวแทนครัวเรือน1 คนลงนามให้ครบทุก ฉบบั เพ่อื เปน็ ข้อตกลงรว่ มกนั ว่าจะให้ความรว่ มมอื และยนิ ยอมเข้ารว่ มโครงการกบั ภาครัฐในคร้ังนี้ หลังจากดาเนินการจัดทาพิธีเปิดเรียบร้อย ชุดปฏิบัติการตามคาสั่ง ซ่ึงประกอบด้วยตารวจ, ปกครอง, สาธารณสุข, อบต., ผ้นู าชุมชน ร่วมกันจัดเตรียมอุปกรณ์และเอกสารท่ีจาเป็นและเกี่ยวข้อง ทกุ ชนดิ ให้พร้อม สามารถลงพ้ืนท่ไี ดท้ ันที ขน้ั ตอนน้ีมีความสาคญั มาก ชุดปฏิบัตกิ ารต้องประชมุ ชแ้ี จงมอบหมายหน้าท่ีให้ละเอียดชัดเจน อีกครั้งก่อนลงพ้ืนที่ หากทีมงานทุกคนเข้าใจงาน มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน จะทาให้สามารถ ปฏิบัตหิ นา้ ที่ได้ ตรงจดุ รวดเรว็ มีความเป็นมืออาชีพ เกิดความไว้วางใจจากองค์กรภาคีเครือข่ายและ ประชาชน อุปกรณ์ท่ีต้องจัดเตรียม อุปกรณ์สานักงาน , กล้อง ,ช่องทางส่ือสาร, ยานพาหนะ, เคร่อื งตรวจปสั สาวะ และอปุ กรณเ์ ชงิ สญั ลกั ษณ์ ดังนี้ 1. บตั รพลเมอื งสขี าว บัตรพลเมืองสีขำว มีไว้เพ่ือมอบให้บุคคลที่ผ่านรับรองจากคณะกรรมการกล่ันกรองฯ แล้วว่า ไม่ยุ่งเก่ียวกับยาเสพติด การมอบบัตรควรจัดพิธีมอบเพ่ือให้เกิดภาพลักษณ์ท่ีดีและมีความภูมิใจ ผู้บังคับบัญชาที่ลงนามในบัตรจะเป็นหัวหน้าสถานี หรือ ผู้บังคับการ แล้วแต่ความเหมาะสม *มุ่งเน้น ประโยชน์ของบัตรพลเมืองสีขาว มีไว้เพ่ือความภาคภูมิใจ แสดงความบริสุทธิ์ต่อเจ้าหน้าท่ีระหว่างทา โครงการและเป็นตัวอย่างท่ีดีของชุมชนนั้น ๆ แต่ไม่ใช่บัตรของทางราชการไม่สามารถไปใช้สิทธิทาง ราชการใดๆ 8

2. ปา้ ยหรือธง ครัวเรอื นสขี าว ป้ำย/ธง ครัวเรือนสีขำว มีไว้เพื่อมอบให้ครัวเรือนที่สมาชิกทุกคนได้รับการรับรองว่าเป็น บุคคลสีขาวทั้งครัวเรือนก็จะได้รับป้าย/ธงครัวเรือนสีขาว การมอบควรจัดพิธีมอบพร้อมกับวันมอบ บตั รพลเมอื งสีขาว ให้ตดิ ปา้ ยไวห้ น้าบา้ นทีส่ ามารถเห็นได้เดน่ ชัด 3. ปา้ ยหรือธง คมุ้ สขี าว ป้ำย/ธง คุ้มสีขำว คุ้มใดท่ีครัวเรือนได้รับการรับรองว่าไม่ยุ่งเก่ียวกับยาเสพติดและได้รับป้าย ครัวเรอื นสขี าวครบทกุ หลังคาเรือน คมุ้ นั้น ๆ กจ็ ะได้รับการประกาศวา่ เปน็ คมุ้ สีขาว ติดป้ายไว้บริเวณ ทางเขา้ คุ้มท่ีเหน็ ได้เดน่ ชดั หรือบริเวณหนา้ บ้านประธานคุ้ม 4. ป้ายหรอื ธง หมู่บ้าน/ชุมชน สีขาว ป้ำย/ธงหมู่บ้ำนสีขำว หากทุกคุ้มได้รับการรับรองว่าไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดและได้รับ ป้าย/ ธง คมุ้ สีขาวครบทกุ คุ้ม ก็จะได้รับป้าย/ธงหมู่บ้านสีขาวปลอดยาเสพติดให้ติดทางเข้าหมู่บ้านบริเวณที่ เห็นไดเ้ ดน่ ชดั เพือ่ ประกาศใหท้ กุ คนทราบ นามาซงึ่ ความภมู ิใจของหม่บู า้ น/ชุมชน 9

5. ป้ายคณะกรรมการคุ้ม ป้ายคุ้มที่ดีควรมีขนาดใหญ่พอเหมาะ มีภาพถ่ายของ ประธานและกรรมการทุกคนโดยระบุชื่อ นามสกุล ตาแหน่ง หมายเลขโทรศัพท์ พร้อม บ้านเลขท่ีของสมาชิกในคุ้มนั้น มี จนท.ตารวจ ปกครอง สาธารณสุข ฝ่ายละ 1 คน เป็นท่ี ปรึกษาคุ้ม ให้ติดป้ายคุ้ม บริเวณบ้านประธานคุ้ม หรือ จุดท่ี เหมาะสมของคมุ้ น้นั ๆ สามารถมองเห็นได้อยา่ งชดั เจน ขั้นตอนท่ี 2 ข้นั ปฏบิ ัติกำร แนวทางการปฏบิ ตั ิ มดี ังน้ี 1. เข้ำพกั แรมในพืน้ ที่ ชุดปฏิบัติการทุกนายเข้าพักแรมพ้ืนท่ีพร้อมกัน ร่วมจัดสถานที่ จัดเตรียมอุปกรณ์ และ ประชมุ วางแผนการทางาน ตลอดระยะเวลา 3 เดอื น เนื่องจากชุดปฏิบัติการประกอบด้วยเจ้าหน้าท่ีจากหลายหน่วยงาน หลายองค์กร หลากหลายสาขาอาชีพและความถนัดแตกต่างการ แต่การปฎิบัติมีแนวทาง เป้าหมายเดียวกัน จึงจาเปน็ ต้อง วางแผนมอบหมายการทางานให้ชดั เจน ดงั น้ี 1) มอบหมายหน้าทเ่ี วรยาม 2) กาหนดตารางทางานประจาวัน ประจาเดือน ให้ชัดเจน ในแต่ละวัน ภารกิจท่ีควรมีเร่ิม จากประชุมทุกเช้า กิจกรรมเคารพธงชาติ,ออกประชาสัมพันธ์ , ออกตรวจเยี่ยมครัวเรือน, ตรวจ ปัสสาวะ, จับกุมฝ่าฝืน,ให้ความรู้, ร่วมทากิจกรรมกับชาวบ้าน,ช่วงเย็นจัดกิจกรรมบาบัด, ประชุม สรปุ ผลการทางาน และช่วงกลางคืน ตงั้ จุดตรวจจดุ สกัดและออกตรวจตระเวนในหมูบ่ า้ น 3) กาหนดกิจกรมหลัก กิจกรรมเสริมและสถานท่ีจัดกิจกรรม เช่นการฝึก ชรบ., กิจกรรม ครอบครวั อบอนุ่ , การอบรมเยาวชนแกนนา เป็นตน้ . 4) กาหนดวันเวลาพบปะผู้เสพ ตรวจปัสสาวะ ตรวจร่างกายจาก สาธารณสุข (ภายหลัง จากทไี่ ด้ขอ้ มลู จากการเอกซ์เรย)์ 5) จดุ พกั แรมให้มีธงชาติไทยและปิดป้ายโครงการใหช้ ดั เจน 6) ประชาสัมพันธ์การทางานและจุดประสงค์ อย่างเน่ืองทุกช่องทาง เช่น รถขยายเสียง, เสียงตามสาย, โซเชียลของชุมชน,ป้ายประชาสมั พันธ์ เพอ่ื สรา้ งความเข้าใจและความร่วมมือ 7) การจดั เก็บสถิตขิ อ้ มูลการทางาน 7.1) เอกสารขอ้ มลู ต้องจดั เกบ็ ใหเ้ ปน็ ระบบ แยกแฟ้มเปน็ เร่ืองๆ สามารถตรวจสอบได้ตลอด 7.2) การตรวจปัสสาวะ ต้องถ่ายภาพทุกคร้ังและควรมีภาพถ่ายคนในชุมชนทุกคน เพื่อนามาจัดทาบัตรพลเมืองสีขา่ วและเปน็ การจดั เกบ็ ประวัตไิ วใ้ นการปอ้ งกันเหตุ 7.3) ผลการปฏิบัติงานต้องสรุปในกระดานเพ่ือให้รู้ทิศทางในการทางานและสามารถ ตรวจสอบผลงาน ขอ้ มูลได้ตลอดเวลา ทาใหท้ กุ คนรู้แผนงาน 10

2. กระบวนกำรสรำ้ งแนวร่วม แนวทางการปฏิบัติ การทางานกับชุมชน จาเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากประชาชนและ ให้มีบทบาท มีส่วนร่วมในทุกมิติ งานจึงจะเกิดผลสาเร็จ ชุดปฏิบัติต้องมีกลยุทธ์ในการทางาน มีรปู แบบและความจรงิ ใจ โดยมแี นวทางดงั นี้ 2.1 ชุดปฏบิ ตั กิ ารตอ้ งออกพบปะประชาชน ประชาสัมพันธ์ทุกชอ่ งทางอยา่ งต่อเน่ือง แจก แบบสอบถาม ในช่วงแรก พร้อมสารวจข้อมูลปัญหายาเสพติด และทาการเปิดเวทีประชาคมคร้ังท่ี 2 (MOU) เพื่อสังเคราะห์ข้อมูลร่วมกันกับคณะกรรมการหมู่บ้าน ร่วมกันค้นหาปัญหา กาหนดแนวทาง แกไ้ ข ร่วมกัน โดยส่งเสรมิ ใหช้ มุ ชนมสี ่วนรว่ มในการแกไ้ ขปญั หา โดยให้คณะกรรมการหมู่บ้านกาหนด มาตรการทางสงั คม และดูแลให้เป็นไปตามธรรมนูญหมู่บ้าน 2.2 จัดทาแผนท่ีเดินดิน เพ่ือให้รู้สภาพพื้นที่ จุดสถานที่ เป้าหมายสาคัญประกอบการ ทางาน ในชุมชนและใชใ้ นการประชุม วางแผนในการทางาน 2.3 การจดั ทาคุ้ม โดยมแี นวทางปฏิบัติดังนี้ 1) แบ่งพ้ืนที่ออกเป็นคุ้มโดยยึดหลักภูมิประเทศไม่จาเป็นต้องเรียงตามบ้านเลขท่ี ให้ งา่ ยต่อการควบคุม ติดตอ่ สือ่ สาร 2) แต่งตั้งคณะกรรมการคุ้ม ประกอบด้วย ประธาน1คนจากการคัดเลือกหรือสมัคร ของผู้นาทางธรรมชาติ กรรมการ 5-8 คน และมี ตารวจ ปกครอง สาธารณสุข เป็นที่ปรึกษา คณะกรรมการคุ้มมีหน้าท่ี เป็นตัวแทนในการร่วมทางานกับเจ้าหน้าที่ กลั่นกรองบุคคลเบื้องต้น เป็น ตัวกลางเชื่อระหว่างเจ้าหน้าที่กับชาวบ้าน ออกเยี่ยมเยียนครอบครัวบุคคลเป้าหมาย เพ่ือให้กาลังใจ รว่ มตรวจปสั สาวะ ใหค้ าปรกึ ษา 3) จัดทาป้ายคุ้ม ตามขนาดที่มาตรฐาน(รายละเอียดข้างต้น) ให้ติดไว้ที่บ้านประธาน ค้มุ หรือจดุ กงึ่ กลางของคุ้ม หมายเหตุ* ความสาคัญและความจาเป็นของคุ้ม ทาให้การทางานได้รวดเร็ว ลงลึกถึง ระดับบุคคล ประหยัดเวลาและครอบคลุมทุกพ้ืน โดย มีคณะกรรมการคุ้มคอยช่วยเหลือสนับสนุนให้ ข้อมูล เป็นตัวแทนของชุมชน จึงเกิดความโปร่งใส ยุติธรรม และปัญหาต่างๆ คนในพื้นที่จะมีความรู้ ทราบสาเหตุแกน่ แทข้ องปัญหา จึงสามารถแกไ้ ขได้ตรงจุด และเม่ือชุดปฏิบัติการถอน คุ้มแต่ละคุ้มจะ สามารถดูแล สร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนได้อย่างต่อเน่ือง โดยมีการสนับสนุนเช่ือเหลือและติดตาม จาก ศอ.ปส.อ., ศอ.ปส.เขต, ศอ.ปส.เขต/กทม. 2.4 สารวจข้อมูล ปัญหาท่ีชุมชนกาลังได้รับความเดือดร้อนโดยเรียงลาดับความจาเป็น เรง่ ด่วนและร่วมกันหาทางแก้ไขโดยเรว็ เพ่ือให้เกิดความเชื่อม่ันศรทั ธาจากชุมชน 2.5 ร่วมทากิจกรรมโดยเฉพาะประเพณีชุมชนเพื่อสร้างความคุ้นเคยและการเอาใจใส่ใน การแกไ้ ขปญั หา 2.6 เปิดโอกาสให้ประชาชน แกนนา อาสาสมคั ร เขา้ มารว่ มการทางานเช่น การออกตรวจ, การตง้ั ด่าน, การพฒั นาหมูบ่ า้ น จะกอ่ ให้เกิดความสามัคคใี นชมุ ชนเกิดความหวงแหนและเกิดความรัก ในแผ่นดินเกิดของตนเอง 11

3. กระบวนกำรค้นหำผ้เู สพหรอื กำรเอกซ์เรย์ 100% แนวทางการปฎบิ ัติ 3.1 หลังจากมีลงนามในบันทึกข้อตกลง(MOU)ในวันพิธีเปิดหากยังบันทึกไม่หมดให้ ดาเนินการต่อให้เสร็จส้ินทุกหลังคาเรือนเพื่อป้องกันการเกิดปัญหา ตลอดจนให้เป็นไปตามความ ถูกต้องทางข้อกฎหมาย สารวจครัวเรือนอย่างละเอียด เพ่ือค้นหาผู้เกี่ยวข้องกับกระบวนการยาเสพ ติด/ทาแผนท่เี ดนิ ดิน/ สบื สภาพชมุ ชน/ ค้นหาผ้เู สพ /ผู้คา้ จดั ทาข้อมูลฝา่ ยสบื สวน ปราบปราม จับกุม ผู้กระทาความผิด ต้องมีการประชุมวางแผนผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องทั้งหมด ปปส., ตารวจ , มหาดไทย, สาธารณสขุ , กศน.,พัฒนาชมุ ชน , แรงงาน , อบจ.,อบต.รวมทั้งหน่วยที่เป็นภาคีเครือข่ายท้ังหมด เพ่ือ แจ้งวัตถุประสงค์ เป้าหมาย แนวทางในการดาเนินการ ในทุกๆด้าน ทั้งปราบปราม ป้องกัน บาบัดรักษา และพฒั นาความย่ังยนื 3.2 ตรวจปัสสาวะบุคคล 100% เพื่อค้นหาผู้เสพ ตามข้อตกลง ของชุมชน เพื่อให้ได้ ข้อมูลท่ีถูกต้องและยุติธรรม ทาการตรวจแบบเปิดเผย ถ่ายรูปเก็บหลักฐาน จัดทาแฟ้มข้อมูล อย่าง เปน็ ระบบ ดงั น้ี 1) ควรใหล้ งนามในบันทกึ ข้อตกลงให้ครบทกุ ครวั เรือนก่อนตรวจ 2) ถอื เป็นประชามติ จากการประชาคมหมู่บา้ นให้ทุกคนตรวจปสั สาวะเพ่ือแสดงความ บริสุทธ์ิใจ 3) ผู้ที่ยกเว้นไม่ตรวจให้ทาเป็นข้อตกลงของหมู่บ้าน เช่น เด็ก,ผู้สูงอายุ คนชราและ คนไข้ตดิ เตยี ง เปน็ ต้น 4) การตรวจปัสสาวะทุกครั้งให้เป็นรูปแบบคณะกรรมการมีชุดปฏิบัติและผู้นาชุมชน คณะกรรมการคมุ้ พร้อมใหบ้ นั ทกึ ภาพและจัดเกบ็ ข้อมูลไวท้ ุกคร้งั 5) บุคคลที่ไม่สามารถรับการตรวจได้ เช่นทางานในต่างจังหวัด,ไปศึกษาต่างถ่ิน เป็น ต้น ให้บุคคลนั้นไปรับการตรวจกับสถานีตารวจในพ้ืนท่ีโดยให้ชุดปฏิบัติการประสานงานไว้ล่วงหน้า หากผลการตรวจปรากฏว่าเป็นผู้เสพต้องให้ไปพบเจ้าหน้าที่สารณสุขตามกาหนดโดย คณะกรรมการ คุ้มนั้นๆ คอยติดตามและช่วยเหลือ ให้ประชาสัมพันธ์ควบคู่การเอกซเรย์มีการแข่งกันเอกซเรย์ เพ่ือให้ชาวบ้านตื่นตัวและ สามารถมารับการตรวจที่ ศูนย์อานวยการได้ ในระหว่างนั้น ต้องมีการออกตรวจตราในพื้นท่ีและ จับกุมผู้ที่ไม่ให้ความร่วมมือและยังฝ่าฝืนกฎหมาย มีการต้ังด่านตรวจค้นและการเข้าค้นในบ้าน เป้าหมายตามความเหมาะสมเพ่ือกดดันผู้ค้าและผู้ท่ีไม่ยอมให้ความร่วมมือ ควบคู่ไปด้วย จะทาให้ ประชาชนสว่ นใหมเ่ ห็นความเอาจริงของชุดปฏิบัตกิ าร 12

3.3 กดดันโดนการออกตรวจตรา ตรวจค้นพื้นท่ีเป้าหมาย จุดเส่ียง จุดม่ัวสุม ทั้งในและ พื้นที่ขา้ งเคยี งอยา่ งต่อเนือ่ ง 3.4 ต้ังจุดสกัดชั่วคราวตามจุดท่ีเหมาะสม เพ่ือตรวจหาผู้กระทาความผิด และป้องกันจาก ภัยนอกชมุ ชน 4. กระบวนกำรกลน่ั กรองและรับรองบุคคล หลังจากค้นหาผู้เสพ ตรวจปัสสาวะ เอกซ์เรย์อย่างละเอียด จากการขยายผล ตลอดจน ข้อมูลจากสายข่าว จะสามารถแยกบุคคลได้ 3 กลุ่ม คอื ประชาชนทวั่ ผู้ไมเ่ ก่ียวข้อง,ผ้เู สพ และผู้มีส่วน เก่ียวข้อง ใหช้ ุดปฏิบตั กิ ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลและดาเนินการดงั น้ี 4.1 การคัดกรองผู้เสพ 1. เมือ่ ทราบตัวผู้เสพ/ผูต้ ดิ และผู้เก่ียวข้องกับยาเสพติด ให้ชุดปฏิบัติการฯ ประสาน รพ.สต. หรอื รพ. หรอื สาธารณสุขอาเภอ ดาเนินการคดั กรองผเู้ สพ/ผตู้ ดิ ยาเสพติด (แบบ V2) 2. วางระบบการบาบัดดูแลช่วยเหลือผู้เสพโดยชุมชน โดยเน้นระบบสมัครใจบาบัด รว่ มกับมาตรการชมุ ชน หากไม่สมคั รใจให้ดาเนินการตามประกาศคสช.ท่ี 108/2557 ทาการบาบัด โดยใช้ชุมชนเป็นศูนย์กลาง (CBTx) หรือตามความเหมาะสมของสภาพปัญหาของผู้ป่วย โดยยืดหยุ่น กระบวนการบาบัดรักษา เน้นการดูแลแบบรอบด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย จิตใจ อันตรายท่ีเกิดจากยา เสพติด สัมพันธภาพ การศึกษาชีวิตความเป็นอยู่ (ที่อาศัย รายได้และการประกอบอาชีพ) โดยอาจ แยกผใู้ ชย้ าเสพตดิ ตามระดับของการเสพตดิ ไดแ้ ก่ - ผใู้ ช้ ผเู้ สพ สามารถให้การบาบดั ดูแลชว่ ยเหลือโดยชุมชน สามารถทาได้หลายวิธี เช่น การจัดแบง่ กลมุ่ ดแู ลแบบเพื่อนช่วยเพอ่ื น พ่ชี ่วยนอ้ ง การให้คาแนะนา/บาบดั แบบส้ัน (BA,BI)โดย จนท.สธ. หรือ อสม. การนัดมาพบปะเพื่อทากลุ่มบาบัดโดยใช้บุคลากรในชุมชน หรือ อาจใช้รูปแบบ ค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (หลักสูตร 12 วัน) ทั้งนี้ต้องเป็นกระบวนการทาด้วยความสมัครใจ ไม่มี ผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ และอาชีพการงาน และต้องเกิดการยอมรับและการมีส่วนร่วมของ ชุมชนเปน็ สาคญั - ผู้ติด หรอื ผูเ้ สพทเ่ี คยผ่านการบาบดั มาแล้วหลายครั้ง ผู้ที่มีโรคหรืออาการทางจิต ทางประสาท ผู้ใช้ยาเสพติดประเภทเฮโรอีน ฝ่ิน หรือ ผู้ใช้ยาเสพติดโดยวิธีการฉีด หรือ เกินศักยภาพ ของชุมชนที่จะดูแล หรือ ไม่ให้ความร่วมมือในการช่วยเหลือโดยชุมชน ให้ส่ง โรงพยาบาลใกล้เคียง หรือ รพ.เฉพาะทางด้านยาเสพติดของกรมการแพทย์ (สบยช.และโรงพยาบาลธัญญารักษ์) หรือ รพ. สงั กดั กรมสขุ ภาพจิต 4.2 กระบวนการกลั่นกรองบุคคลและครัวเรอื น สีขาว หลงั จากคน้ หาผู้เก่ยี วข้องกับยาเสพติด เขา้ พบปะครัวเรอื น เยยี่ มเยอื นประชาชน การตรวจปัสสาวะ 100 เปอรเ์ ซน็ ต์ นาขอ้ มูลทไ่ี ด้มาดาเนินการดงั น้ี 1. ผู้เสพนาเข้าสู่กระบวนการตามข้อ 1 พร้อมมีการนัดหมายให้มารายงานตัว พบ เพื่อตรวจปัสสาวะ ร่วมกิจกรรมบาบัดและพบเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข ตามกาหนด จัดทาตารางนัด หมายใหเ้ รียบรอ้ ย* 13

2. ทาการกลั่นกรองบุคคล/ครัวเรือน สีขาว โดยคณะกรรมการกลั่นกรองระดับ ชุมชน/หมู่บ้าน ให้มีการประชุมในเชิงลับนารายชื่อท่ีได้จากการตรวจปัสสาวะเข้าสู่การประชุมเพ่ือ มอบบตั รบคุ คลสีขาวให้กับบุคคลที่ไม่เก่ียวข้องกับยาเสพติด โดยมีหลักเกณฑ์คือต้องได้รับการรับรอง จากคณะกรรมการทุกคนเป็นเอกฉันท์ ว่า สมควรได้รับบัตรพลเมืองสีขาว หากกรณีมีผู้แย้งต้ังแต่ 1 คนข้ึนไปถอื วา่ ไม่ผา่ นการรับรอง ใหน้ าเขา้ ที่ประชมุ เพื่อรับรองในครงั้ ตอ่ ไป กรณีผู้เสพ/ผู้ติด ท่ีผ่านกระบวนการบาบัดจะต้องได้รับการรับรองจาก จนท.สธ. ท่ี บาบดั รกั ษาและตรวจปสั สาวะไม่พบสารเสพตดิ ในร่างกายเป็นจานวนอย่างน้อยติดต่อกัน 16 ครั้ง จึง สามารถนาเขา้ สูก่ ระบวนการกล่ันกรองเพ่ือรบั รองเปน็ บุคคลสีขาว ตอ่ ไป บุคคลที่ผ่านการรับรองจากคณะกรรมการกล่ันกรอง ให้มีการมอบบัตรพลเมืองสีขาว เพ่อื สร้างแรงจูงใจและเป็นตัวอย่างท่ีดีในหมู่บ้าน/ชุมชน หากครัวเรือนใดมีผู้ได้รับบัตรพลเมืองสีขาว ทุกคน ให้มอบธงครัวเรือนสีขาวและในคุ้มใดมีครัวเรือนสีขาวทั้งคุ้มและมอบธง/ป้าย สีขาว หากทุก คุ้มได้รับประกาศเป็นคุ้มสีขาว ให้ประกาศหมู่บ้าน/ชุมชน เป็นหมู่บ้าน/ชุมชน สีขาวปลอดยาเสพติด ตอ่ ไป 4.3 คณะกรรมการกลั่นกรองบุคคลและครวั เรือนสีขาว แต่งตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองบุคคลหรือครัวเรือนสีขาว สามารถใช้คณะกรรมการ หมู่บ้านที่มีอยู่เดิม หรือแต่งตั้งขึ้นใหม่ คัดเลือกบุคคลที่เป็นแกนนาได้รับการยอมรับจากชุมชน เพ่ือใหเ้ กิดความโปรง่ ใสและยตุ ธิ รรม โดยให้ประธานชมุ ชนหรือผ้ใู หญบ่ ้านเปน็ คนลงนาม หมายเหตุ* ความสาคัญของคณะกรรมการกล่ันกรอง ป้องกันปัญหาความแตกแยก ,ทาให้ การทางานง่าย รวดเร็ว สามารถพิจารณาข้อมูลได้ละเอียดลงลึกได้มากกว่าเพราะเป็นคนในชุมชนจะ ทราบปัญหาได้ดีกว่า และได้รับการยอมรับมากกว่า สร้างการมีส่วนร่วม ป้องกันการเหลื่อมล้าท่ี เกดิ ขึ้น คณะกรรมการต้องมีความยุติดธรรมโปร่งใส เก็บความลบั ได้เป็นกลาง และเป็นตัวแทนให้กับ ชมุ ชน 4.4 รูปแบบกระบวนการคดั กรองหลงั จากตรวจปัสสาวะรายบุคคลแลว้ นารายชื่อเข้าสู่ คณะกรรมการเพ่ือกล่ันกรองและให้คณะกรรมการรับรอง โดยลงลายมอื ช่ือทุกคน หากมกี ารโต้แย้งให้ ถือว่ายังไม่ผ่านการคดั กรอง การดาเนนิ การต้องมคี วามโปร่งใส ยตุ ิธรรมและสามารถตรวจสอบได้ ทาให้ ได้รบั การยอมจากคนในชุมชน เกดิ ความศรัทธาสร้างแนวรว่ มและการทางานทีบ่ รรลุเป้าหมายไดง้ ่ายข้นึ 1) การประชุมคณะกรรมการคัดกรองทุกคร้ังต้องมีประธาน และคณะกรรมการควร เข้าร่วมประชุมให้ครบองค์ประชุม หากไม่มีภารกิจจาเป็น ไม่ควรขาดการประชุม เพ่ือไม่ให้มีข้อ โต้แย้งใด ๆ ภายหลัง และมีเจ้าหน้าท่ีตารวจ หรือเจ้าหน้าท่ีกรมการปกครองเป็นที่ปรึกษาอยู่ด้วย อย่างนอ้ ย 1 นาย รูปแบบการนง่ั กลนั่ กรองบคุ คลทถี่ กู ต้อง 14

2) กาหนดกติกาท่ีชัดเจนและเป็นธรรม อาทิ เช่น เม่ือกล่ันกรอง คนในบ้านตนเอง คณะกรรมการคนนั้นต้องไม่อยู่ในท่ีประชุม, การประชุมต้องเป็นความลับ และคณะกรรมการ กลนั่ กรองตอ้ งไม่นาข้อมลู ในทป่ี ระชุมออกไปเผยแพร่ส่สู าธารณะ บคุ คลที่ถือว่าผ่านการกลั่นกรองเป็น บคุ คลสีขาว กรรมการต้องยกมือและใหก้ ารรบั รองทุกคน 3) การเก็บข้อมูลจากการทางาน ลงพื้นที่ ตรวจปัสสาวะและกลั่นกรอง ข้อมูล ผู้เกี่ยวข้องต่างๆต้องมีการบันทึกข้อมูลไว้และเก็บข้อมูลไว้อย่างเป็นระบบสามารถตรวจสอบได้ ตลอดเวลา 4) จัดให้มีพิธีมอบบัตรพลเมืองสีขาวขึ้นเป็นประจา โดยบุคคลท่ีผ่านการรับรองจาก คณะกรรมการ100%ว่าไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดจะได้บัตรพลเมืองสีขาว หากครอบครัวใดท่ีมีสมาชิก ในครอบครวั ไดร้ บั บตั รพลเมอื งสีขาวครบทุกคนจะได้รับป้ายบ้านสีขาว หากคุ้มใดได้รับป้ายสีขาวครบ ทุกหลังคาเรือนจะได้รับป้ายคุ้มสีขาว และหากทุกคุ้มได้รับป้ายคุ้มสีขาวจะได้รับป้ายหมู่บ้านสีขาว ตามลาดบั ควรจัดทุกๆเดือนเพ่ือกระตุ้นให้แข่งกันทาความดี และกดดันคนท่ีไม่ให้ความร่วมมือ การจัดงานมอบให้ชาวบ้านทุกมีส่วนร่วมและเชิญองค์กร ภาคีเครือข่ายสังเกตุการณ์และร่วมบูรณา การในการทางาน *หมายเหตุ ความสาคัญทาให้เกิดกิจกรรมดีดีสร้างจิตสานึกที่ดีในชุมชน เป็นการสร้าง แรงจูงใจเชิงสัญญลักษณ์เชิงจิตวิมทยา ท่ีจับต้องได้ เกิดการแข่งขันกันทาความดี คนในชุมชนมีความ ภาคภมู ใิ จและเปน็ รูปธรรมชดั เจนที่สามารถตรวจสอบได้ 4.5 กระบวนการชุมชนบาบดั กระบวนการบาบัดฟ้ืนฟูโดยให้ชุมชนมีส่วนร่วม หรือชุมชนบาบัด ให้จัดทาค่ายเปิด โดยใช้สถานท่ีภายในหมู่บ้านเป็นศูนย์กลางในการนัดหมาย รวมพล ให้มาพบชุดปฏิบัติการและชุด สาธารณสุขเป็นประจาตามวงรอบกาหนด เช่น ทุกๆ 3 วัน หรือ 5 วัน เพื่อติดตามผลและร่วมทา กิจกรรมบาบัด ชุดปฏิบัติการสามารถจัดกิจกรรมบาบัดได้หลากหลาย เช่น กีฬา ศิลปะ ดนตรี อาชีพ ศาสนา ฯลฯ ควรมีการฝึกระเบียบวินัยความรับผิดชอบตลอดจนจิตอาสาต่อสังคม โดยออกบาเพ็ญ สาธารณะประโยชน์ เชน่ ขุดลอกคูคลอง เก็บขยะ กวาดลานวัดฯ วัตถุประสงค์เพ่ือให้ชุมชนเห็นความ เปล่ียนแปลง พร้อมให้โอกาส ซ่ึงจะทาให้ผู้เสพ/ผู้ติด เกิดความภาคภูมิใจและเป็นส่วนหนึ่งของสังคม การจัดกิจกรรมสามารถจัดได้หลากหลายรูปแบบ เน้นการปรับเปล่ียนพฤติกรรมและผู้เสพได้มีโอกาส แสดงออก มีจุดยืนในสังคม ได้รับโอกาสที่ดี และเป็นส่วนหน่ึงของสังคม ตรงตามวัตถุประสงค์ของ โครงการทเ่ี น้นให้โอกาส เยียวรักษา และคืนบุตรหลานที่มคี วามพร้อมกับคืนสูส่ ังคม 1) สร้างกิจกรรม/โครงการให้เกิดสัมพันธ์ภาพในครอบครัว/ชุมชน เช่น โครงการ ครอบครัวอบอุ่น โครงการบ้านน่าอยู่ เพ่ือให้มีโอกาสได้ใช้เวลาร่วมกับครอบครัวและชุมชน มีการ แต่งตั้งที่ปรึกษา พี่ดูแลน้อง เพ่ือนดูแลเพ่ือน ให้คาปรึกษาต่อเน่ืองเพ่ือเป็นการลด ละ เลิก อย่าง ตอ่ เนอื่ ง ป้องกันการหวนกลบั มาเสพติดซา้ 2) กิจกรรมบาบัด นัดทากิจกรรมบาบัดในช่วงเย็นของแต่ละวัน ซึ่งเป็นการบาบัดเปิด ไมบ่ งั คับ กจิ กรรมบาบัดท่ีสามารถนามาใช้ ดงั นี้ 15

2.1) กีฬาบาบัด นาออกกาลังกายเป็นประจาทุกวันให้ร่างกายแข็งแรง (ผู้นา ปฏบิ ตั คิ อื ชดุ ปฏิบตั กิ ารและศึกษาธกิ าร) 2.2) การฝึกอาชีพ ร่วมกับ หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องฝึกอาชีพเพ่ือสามารถนาไป ประกอบอาชพี ได้ (ผนู้ าปฏบิ ตั ิคอื ชดุ ปฏบิ ัตกิ าร , กศน.,แรงงาน หรือพัฒนาชมุ ชน) 2.3) การฝกึ ระเบียบแถว วินัย และการร่วมตง้ั จุดตรวจกับเจา้ หน้าที่ ( ผู้ น า ปฏบิ ตั คิ อื ชดุ ปฏบิ ตั กิ ารตารวจ,ทหาร,ปกครอง) 2.4) ฝกึ การเปน็ จติ อาสาพัฒนาหมบู่ า้ น เกบ็ กวาดขยะ ลานวัด มัสยิด สถานท่ี สาธารณะ และสถานทร่ี าชการ (ผนู้ าปฏิบตั ิคือ ชดุ ปฏิบัติการหรอื ผู้นาชมุ ชน) 2.5) ดนตรีบาบดั ประโยชน์คลายความเครียดและสร้างความออ่ นโยน จากจืต ใตและสามารถนาไปเป็นอาชีพได้ (ผู้นาปฏิบัติคือ ชุดปฏิบัติการ และ ศึกษาธิการ, แรงงาน หรือจิต อาสาจากหนว่ ยงานภาคีเครอื ข่าย นกั ศกึ ษา องคก์ รเอกชน ) 2.6) ศาสนาบาบดั พฒั นาจิตใจให้รู้ความผิดชอบช่ัวดี (ผู้ นา ปฏิ บัติ คือ ชุ ด ปฏบิ ตั ิการ,วัฒนธรรมหรอื ผ้นู าศาสนา) 2.7) การพบหมอยามเย็น เชิญคุณหมอมาให้ความรู้เร่ืองสุขภาพและการดูแล ตนเอง (ผูป้ ฏบิ ตั คิ ือ ชุดปฏิบัตกิ ารและ สาธารณสุข หรอื จิตแพทย์) 2.8) ควรมีการจัดกิจกรรมนิทรรศการผลงานของผู้เข้าร่วมบาบัด และประชาชน ในชุมชนมีการแข่งขันกีฬาและกิจกรรมเพื่อให้ผู้เข้าร่วมงานและหน่วยราชการต่างๆ เห็นการ เปล่ียนแปลงในทางที่ดีของกระบวนการชุมชนบาบัด มีการนาประธานหัวหน้าส่วนราชการออกเย่ียม บ้าน/คุ้มผู้เข้าร่วมโครงการ เพ่ือติดตามผลการดาเนินงานของชุดปฏิบัติการและสร้างความภาคภูมิใจ ใหก้ บั ชุมชน 3) ผู้เสพท่ีผ่านการปัสสาวะจานวน 16 คร้ัง ให้นาเข้าสู่กระบวนการกลั่นกรองบุคคล และมอบบตั รสีขาว ตอ่ ไป (ผปู้ ฏิบัตคิ ือ ชุดปฏิบตั กิ ารและ คกก.หมู่บา้ น) 16

4.6 การสรา้ งชุมชนเข้มแข็ง กระบวนการสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง ให้ดาเนินการควบคู่ไปพร้อมกับภารกิจอื่นใน ประจาวัน โดยมีเป้าหมายเข้าไปเป็นส่วนหน่ึงของชุมชน รับรู้และช่วยแก้ไขปัญหาต่างๆ นอกจาก ปัญหายาเสพติด จะทาให้เป็นการแก้ไขปัญหาในทุกมิติ สร้างความศรัทธาให้กับประชาชน เกิดความ ตนื่ ตวั พร้อมที่จบั มอื ร่วมมอื กับชุดปฏบตั ิการ การดาเนินการเน้นการแก้ไขปัญหาและผลกระทบในชุมชน ความต้องการของ ประชาชนเป็นหลักและเป็นการแก้ไขอย่างย่ังยืน การที่ชุมชนจะเข้มแข็งต้องเข้มด้วยตัวชุมชนเอง ฉะนั้น ชุดปฏิบัติการทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษา เป็นผู้แนะนา สนับสนุน แต่คนในชุมชนต้องพร้อมใจกัน ร่วมแก้ปัญหาอย่างแท้จริงเพราะเป็นปัญหา ความต้องการของชุมชนเอง ชุดปฏิบัติการต้องสามารถ กระต้นุ หรือทาเข้าใจกบั ประชาชนในชุมชนใหไ้ ด้ แนวทางปฎิบัติ 1) ประชาคมชาวบ้านเปิดโอกาสให้ทุกคนมีส่วนร่วม จากเวทีประชาคมให้สารวจ ปัญหาที่เกิดข้ึนในชุมชนและร่วมจัดลาดับความเร่งด่วนในการแก้ไขปัญหา ตลอดจนแนวทางแก้ไข ร่วมกัน ตัวอย่างเช่น ปัญหารถแว้นต์ให้มีมติชุมชนในการดาเนินกับเยาวชนและผู้เกี่ยวข้อง กาหนด กติการ่วมกนั เพอ่ื แกไ้ ขปัญหาปญั หาได้เด็ดขาด 2) จัดให้มีศูนย์หรือช่องทางรับแจ้งเหตุคอยเชื่อเหลือประสานการทางาน ตลอดเวลา ปญั หาเร่งดว่ นต้องได้การแก้ไขอยา่ งรวดเรว็ เชน่ ปญั หาทะเลาะวิวาท 3) การป้องกันปัญหาที่จะเกิดข้นึ ในอนาคต เช่น แก้ไขจุดเสี่ยง , ติดต้ังกล้องวงจรปิด , ตัดต้นไม้เพ่ือปรับปรุงภูมิทัศน์ติดไฟส่องสว่าง เพื่อลบช่องว่างการก่ออาชญากรรม จัดกิจกรรมให้ ความรทู้ างกฎหมายและอาชญากรรม 4) การพัฒนาหมู่บ้านชุมชนให้น่าอยู่ชวนมอง ร่วมปรับปรุงพื้นท่ีจากหมู่บ้านปิด ให้มี ความสะดวก สะอาด ปลอดภัย สวยงาม ร่วมกัน พัฒนา ถนน คูคลองให้สวยใสสะอาด สถานท่ี สาธารณะ 5) ส่งเสริมคนในชุมชนให้มีสวัสดิการท่ีดีข้ึน มีรายได้ สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ส่งเสริมการสร้างอาชีพพร้อมช่องทางตลาด ให้ชนชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ตลอดจนสร้างจิตสานึกใน การรักบ้านเกิด ความภูมิของชุมชนเกิดความหวงแหนและพร้อมจะเป็นแนวร่วมในการป้องกันแก้ไข ไปด้วยกัน 6) การฝึกกาลังสนบั สนนุ 6.1) การฝึก ชรบ.หมู่บ้านเพื่อให้มาทาหน้าท่ีเป็นผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ในการทางาน จัด เวรยาม 24 ชั่วโมง ให้ชาวบ้านมีส่วนร่วมในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง เป็นการดูแลบุตรหลานของเขา เอง (ผูป้ ฏิบัติคอื ชดุ ปฏบิ ตั ิการและ มหาดไทย) 6.2) โครงการต่างๆ ท่ีจาเป็นและเหมาะสม เช่น (ผู้ปฏิบัติคือ ชุดปฏิบัติการและ ภาคีเครอื ขา่ ย) - โครงการครอบครัวอบอุ่น ให้ครอบครัวมีโอกาสได้แก้ไขปัญหาร่วมกัน สร้างความรกั รอยยิ้มในครอบครัวและออกตรวจเย่ยี มครวั เรอื น 17

- โครงการอบรมกลุ่มเสี่ยง กลุ่มวัยรุ่นหรือกลุ่มเยาวชนเส่ียงต่อการพัวพัน อบรมให้ความรู้และให้เข้ามาช่วยเหลือในการพฒั นาหมู่บา้ น - โครงการกีฬาเชื่อมความสัมพันธ์ในหมู่บ้าน ให้ชาวบ้านและเยาวชนมีโอกาส ได้ทากจิ กรรมรว่ มกนั ให้เวทใี นการแสดงออกและการยอมรับจากสังคม - โครงการพี่ช่วยน้องน้องฟังพี่ คืนคนดีสู่ครอบครัว คนท่ียอมรับและแก้ไข พรอ้ มกับเปน็ คนดใี หโ้ อกาสทางสังคม แนะนาอาชพี การเรยี นต่อและชเู ป็นแบบอยา่ งในสังคมต่อไป 5. กระบวนกำรตดิ ตำม ช่วยเหลือ เย่ียมบ้ำน สร้ำงกฎชุมชน ฟนื้ ฟสู งั คม 5.1 ประชุมคณะทางานสร้างความเข้มแข็งในหมู่บ้าน/ชุมชนเพ่ือแก้ไขปัญหาการแพร่ ระบาดยาเสพติดร่วมกับชุมชนติดตามช่วยเหลือผู้ผ่านการบาบัดรักษ าผู้เสพยาเสพติดควบคุมดูแล ไม่ให้ผเู้ สพกลบั ไปใชย้ าเสพติดซ้า ด้วยการใช้มาตรการเชิงบวก และรับรองครัวเรือนปลอดภัยยาเสพ ตดิ ปักธงหมู่บา้ น/ชุมชนปลอดยาเสพตดิ 5.2 การสร้างภูมิคุ้มกันทั้งในมิติเด็กและเยาวชนในสถานศึกษานอกสถานศึกษาประชาชน ท่ัวไปผู้ใช้แรงงานการใช้มาตรการทางสังคมในชุมชนครูตารวจแดร์และตารวจชุมชนสัมพันธ์ใช้องค์ ความร้ใู นการแก้ไขปญั หายาเสพตดิ ในหมู่บา้ นชมุ ชนและสร้างความรว่ มมือของชุมชน มีการจัดอบรมให้ความรู้กับกลุ่มเส่ียงและประชาชนเพื่อทราบถึงพิษภัยของยาเสพติด ตลอดจนเป็นแนวร่วมในการดูแลชุมชนกันเองควรจัดทาโครงการท่ีเป็นประโยชน์และสร้างศักยภาพ ให้กับชุมชน ส่งเสริมสนับสุนนให้ชุมชนดูแลซ่ึงกันและกัน เช่น โครงการบ้านน่าอยู่ โครงการส่งเสริม อาชพี ให้กับคนตกงาน ฯลฯ ควรมเี วทีหรือลานกิจกรรมให้กับเด็กและเยาวชนสามารถแสดงออกใช้เวลาว่างให้เป็น ประโยชน์เพ่ือไม่ให้เกิดผู้เสพรายใหม่ เสริมภูมิคุ้มกันเด็ก เยาวชนในหมู่บ้าน/ชุมชน เช่น ลานกีฬา, ลานศีลธรรม, มหาดไทยและสาธารณสุขและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สามารถนากิจกรรมเข้าแทรกเพ่ือ ดแู ลเยาวชนใหห้ า่ งไกลยาเสพตดิ ได้ 5.3 สร้างคณะกรรมการหม่บู ้าน/ชุมชนใหเ้ ข้มแขง็ สามารถรบั ภารกิจแก้ไขปัญหายาเสพติด ในหมู่บ้าน/ชุมชนเพื่อดาเนินการต่อโดยมีฝ่ายราชการสนับสนุนการปฏิบัติรักษาสภาพพ้ืนท่ีติดตาม ควบคุมพฤติกรรมกลุ่มเป้าหมายท่ีผ่านกระบวนการเฝ้าระวังสร้างเครือข่ายและดาเนินความสัมพันธ์ ระหวา่ งชมุ ชน หน้าที่อยา่ งสม่าเสมอ จัดทาโครงการให้ความรู้กับคณะกรรมการหมู่บ้านชุมชนที่ถูกต้อง เพ่ือสามารถรับ ภารกิจแก้ไขปัญหาได้อย่างต่อเน่ืองหลังจากเสร็จส้ินโครงการ มีการจัดทาช่องทางส่ือสารระหว่าง หมบู่ า้ นแกนนาและชุดปฏิบตั ิการเพอื่ ประสานงานไดอ้ ย่างต่อเนื่อง มีการประชาสัมพันธ์ข่าวสารที่เป็น ประโยชน์ต่อชมุ ชนจดั โครงการเฝ้าระวังโดยอาสาสมัคร, ชรบ.ในชุมชน เช่น โครงการเพ่ือนช่วยเพื่อน โครงการพด่ี ูแลน้อง ฯลฯ 5.4 มีการตั้งกฎหรือธรรมนูญหมู่บ้านเพ่ือใช้บังคับกับคนในหมู่บ้าน เช่น การกดดันไม่ให้ ครอบครัวท่ีเก่ียวข้องกับยาเสพติดกู้เงินกองทุนหมู่บ้าน การไม่คบค้าสมาคมกับครอบครัวท่ีเก่ียวข้อง กับยาเสพติด 18

เพ่ือความเข้มแข็งอย่างย่ังยืน ควรมีการจัดตั้งกฎกติกาชุมชนให้ทุกคนปฏิบัติเป็นแนวทาง เดียวกัน ชุมชนดูแลชุมชนด้วยกันเอง โดยมีธรรมนูญหมู่บ้านเป็นกฎที่ทุกคนจะต้องเคารพร่วมกัน ตัวอย่าง เช่น จะไม่เข้าร่วมกิจกรรมใดใดกับครอบครัวท่ีค้ายาเสพติด, คนท่ีอยู่ในกระบวนการค้ายา เสพติดจะต้องไม่ได้รับสิทธิพิเศษในหมู่บ้าน ผู้ฝ่าฝืนย่อมมีโทษทางสังคม เช่น ไม่ให้กู้เงินกองทุน หมู่บา้ น การไม่คบค้าสมาคม หรือการไม่ไดร้ บั ความช่วยเหลอื ตา่ งๆ 5.5 กดดัน จับกมุ ผู้ค้า/ผ้ทู ่ียังไมเ่ ลิกเก่ยี วข้องกับยาเสพติดอย่างต่อเนื่องขยายผลเครือข่าย ท่เี กย่ี วขอ้ งและยึดทรัพยส์ นิ ชดุ ปฏิบัตกิ ารรว่ มกบั แกนนาหมู่บ้านยังตอ้ งทาการตรวจตราตั้งด่านสกัดเป็นประจาทุก วัน เพื่อกดดันป้องกันและทาการจับกุมผู้ท่ียังฝ่าฝืนและกระทาผิด มีการทางานด้านการข่าวในเชิงลึก อย่างตอ่ เนื่องตลอดจนแสวงหาความรว่ มมือจากประชาชนควบคูม่ าตรการปราบปราม มอบหมาย ชรบ.หมู่บ้านที่ผ่านการฝึก ทาหน้าท่ีผู้ช่วยเจ้าพนักงานร่วมตรวจตราใน หมู่บ้าน/ชุมชน เพอ่ื สกัดก้นั ไมใ่ หย้ าเสพติดจากขา้ งนอกเข้ามาใหช้ มุ ชน ตลอด 24 ชั่วโมง 5.6 ในส่วนของมหาดไทย สาธารณสุขและหน่วยราชการที่เก่ียวข้อง สามารถแทรก กจิ กรรมหรือโครงการทีท่ าให้ชุมชนเขม้ แข็งได้ 5.7 ควรมีการนาผู้เข้าร่วมบาบัดได้บาเพ็ญประโยชน์ให้กับชุมชนร่วมทากิจกรรมให้ชุมชน เพื่อใหโ้ อกาสในการกลบั ใจ เชน่ ขดุ ลอกคลอง ทาความสะอาดถนน เก็บขยะ ฯลฯ เพื่อสร้างจิตสานึก ทีด่ ใี ห้กบั ผบู้ าบดั รู้จักความเสียสละและความสามัคคีทาใหช้ ุมชนให้โอกาสเห็นความตั้งใจจริง พร้อมท่ี จะกลบั ไปเปน็ สว่ นหน่ึงของชุมชน 6. กระบวนกำรดำรงควำมเขม้ แขง็ เฝ้ำระวัง 6.1 เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจคณะกรรมการหมู่บ้าน/ชุมชนให้เข้าใจบทบาทภารกิจใน การแก้ไขปัญหายาเสพติดในหมู่บ้าน/ชุมชนเพื่อดาเนินการต่อได้ด้วยหมู่บ้าน/ชุมชนเองโดยมีฝ่าย ราชการสนับสนุนการปฏิบัติและจัดเวรยามรักษาสภาพพื้นท่ีไม่ให้มีการแพร่ระบาดยาเสพติดติดตาม ควบคมุ พฤติกรรมกล่มุ เป้าหมายท่ีผ่านกระบวนการเฝ้าระวังสร้างเครือข่ายและดารงการติดต่อสื่อสาร ระหวา่ งชุมชนและเจา้ หน้าท่อี ยา่ งสมา่ เสมอ แต่งตั้งชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน เพื่อดูแลตรวจตรา ป้องกัน แจ้งข่าว อย่าง ต่อเนื่องโดยมกี ารทางานตอ่ จากชุดปฏิบตั ิการหลงั เสร็จส้ินภารกิจ มีการประชุมประเมินผลการทางาน อย่างสมา่ เสมอ อย่างน้อยเดือนละ 1 ครงั้ เพ่ือทราบปญั หาและร่วมแก้ไข 6.2 คณะกรรมการฯ จัดตั้งชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้านตรวจตรารักษาความสงบและ ปอ้ งกนั ผู้ค้าผเู้ สพจากภายนอกเข้ามาในหมูบ่ า้ น/ชมุ ชน ชุด ชรบ. ท่ีผ่านการฝึกอบ รมต้องแต่งต้ังให้ถูกต้องตามกฎระเบียบของ กระทรวงมหาดไทย และมีคาส่ังมอบหมายให้เป็นผู้ช่วยเจ้าพนักงาน โดยนายอาเภอเพื่อดูแลหมู่บ้าน อย่างตอ่ เน่ือง ศูนย์ยาเสพติดอาเภอ ต้องรับผิดชอบในการกากับดูแลความเข้มแข็งและยั่งยืนของ ชุมชนอย่างต่อเนื่อง โดยออกเป็นคาสั่งแต่งต้ังคณะทางานรักษาความปลอดภัยหมู่บ้านมีการร่วม ทางานแบบบูรณาการ แต่งต้ังชุดปฏิบัติการประจาตาบล, ฝึกอบรมชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน 19

(ชรบ.) เพิ่มเติม ตามความเหมาะสม ดาเนินการรักษาความสงบเรียบร้อยภายในหมู่บ้าน/ชุมชน เฝ้า ระวังโดยการเขา้ เวรยามหมู่บ้าน มหาดไทยสามารถทากิจกรรมเสริมเกยี่ วกบั ชรบ.ไดใ้ นส่วนทเ่ี หน็ ควร 6.3 ปรับสภาพแวดล้อมชุมชนให้เหมาะสมกับการเป็นพ้ืนที่ปลอดภัย ท้ังการควบคุมพื้นท่ี เสย่ี งไม่ให้เป็นพื้นทมี่ ว่ั สมุ และสง่ เสรมิ พน้ื ที่/กิจกรรมเชงิ บวก นาผู้เสพ ประชาชนในชุมชน จิตอาสา ร่วมพัฒนาหมู่บ้าน โดยร่วมวิเคราะห์ปัญหาใน หมู่บ้านเพ่ือร่วมกันป้องกันและแก้ไขปัญหาอาชญากรรมท่ีจะเกิดข้ึน ร่วมกันพัฒนาปรับปรุงถนนท่ี อาจจะเกิดอุบตั ิเหตุ ปรบั ปรุงภูมิทัศน์ท่ีเปน็ จดุ เสย่ี งในการเกิดปัญหาอาชญากรรม เพื่อความปลอดภัย ในชวี ติ และทรพั ยส์ นิ ของประชาชน มหาดไทย, สาธารณสุข, อบต.และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง สามารถนากิจกรรมเพ่ือ แกไ้ ขปัญหาในชมุ ชนได้ เช่น แก้ไขปัญหาอาชญากรรม, แก้ไขปัญหาความยากจนหนี้สิน, แก้ไขปัญหา แหล่งน้าบริโภคอุปโภค, แก้ไขปัญหาแหล่งน้าเพ่ือการเกษตร, แก้ไขปัญหาขยะ น้าเสีย มลพิษ สง่ิ แวดลอ้ ม และปัญหาอนื่ ๆ ที่เป็นประโยชน์ตอ่ ชุมชน 6.4 ดารงการใชม้ าตรการทางสงั คมในชมุ ชนอย่างต่อเนอ่ื ง ควรมีการประชาสัมพันธ์ข่าวสาร เน้นย้าประชาชนในหมู่บ้านชุมชนให้ทราบกฎกติกา ชุมชนและปฏบิ ัติตามอย่างเครง่ ครัด ควรมีคณะกรรมการหมู่บ้านหรือจิตอาสาเฝ้าติดตามสอดส่องดูแลผู้ฝ่าฝืนในชุมชน มี บทลงโทษท่ีชัดเจน คณะกรรมการแกนนาของหมู่บ้านผู้ควบคุมกฎกติกาต้องมีความเด็ดขาด เป็น ธรรม โปร่งใส เสมอภาค และดาเนินการอย่างต่อเนื่องเพ่ือความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน ในการปรับปรุง เปล่ียนแปลงหรือบังคับใช้ให้ประกาศให้ทุกคนในหมู่บ้านรับทราบและให้บันทึกเป็นข้อตกลง (MOU) ของหมู่บ้าน 6.5 ตดิ ตามเฝา้ ระวงั ผ้คู ้า/ผู้ท่ียงั ไมเ่ ลกิ เกยี่ วข้องกบั ยาเสพตดิ อยา่ งตอ่ เนือ่ ง คณะกรรมการหมู่บา้ น คณะกรรมการคุ้ม ชรบ.หมบู่ า้ น ภาคีเครือข่าย สมาชิกแจ้งข่าว อาสาสมัครต่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง ร่วมกันติดตามเฝ้าระวังมีการประสานการทางานอย่างต่อเนื่องกาหนด ช่องทางส่ือสารให้ชัดเจนกาหนดการประชุมและติดตามผลเป็นประจาทุกเดือนพร้อมจัดทาเป็นแผน ความยั่งยืนอย่างตอ่ เนื่อง โดยศนู ย์ยาเสพตดิ อาเภอเปน็ ผู้กากับดูและชว่ ยเหลอื 6.6 การผลิตสายข่าวโดยชาวบ้าน เพื่อป้องกัน ดูแล และเฝ้าระวังปัญหายาเสพติด ใน หมู่บ้าน/ชุมชน จดั อบรมสมาชิกแจ้งข่าวในหมู่บ้านให้ความรู้และแต่งตั้งมอบหมายหน้าท่ีให้ชัดเจนมีผู้ กากับควบคมุ ดูแลและช่องทางส่ือสารให้ชัดเจน ตลอดจนมีการอบรมพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพอย่าง ต่อเน่อื ง 6.7 การแลกเปล่ียนเรียนรู้ ถ่ายทอดผลงานชุมชน การสร้างพ้ืนท่ีชุมชนต้นแบบ เพ่ือเป็น แหล่งศึกษาเรยี นรู้ ยกยอ่ งเชดิ ชู และให้ขวญั กาลงั ใจ 1) เลขานุการต้องจัดเก็บ สถิติ ข้อมูล ภาพถ่าย ผลงานของชุดปฏิบัติการ หมูบ่ ้านชมุ ชนผลการปฏิบตั ิงานทุกอยา่ งให้เป็นระบบ 20

2) ประชาสัมพันธ์ผลการดาเนินงานของชุดปฏิบัติการหมู่บ้านและชุมชนทาง สื่อทุกช่องทางเพ่อื ให้รบั รูถ้ ึงความสาเร็จ 3) ส่งเสริมสนับสนุนเพื่อเป็นสถานที่ศึกษาดูงาน แหล่งเรียนรู้ของหมู่บ้าน ชมุ ชนอย่างยง่ั ยืน ใหก้ ับสาธารณชนและองคก์ รตา่ งๆ 4) มีการมอบประกาศนียบัตร ศอ.ปส.ทุกระดับให้กับหมู่บ้าน/บุคคลที่ร่วม ปฏบิ ตั งิ านมีผลงานท่ีชัดเจนเสียสละเพ่อื เป็นขวญั และกาลังใจ 5) มหาดไทย สาธารณสขุ และหนว่ ยงานท่ีเกีย่ วข้อง สามารถเพ่ิมเติมได้ 6.8 จัดประชุมประชาคมเป็นประจาทุกเดือนเพ่ือดารงมาตรการทางสังคมอย่าง ต่อเน่ืองและติดตามประเมินผลการทางานของหมู่บ้านชุมชน ขยายผลหมู่บ้านข้างเคียง ดารงการ ตดิ ต่อสอื่ สารใหค้ วามชว่ ยเหลือและใหค้ าแนะนาอยา่ งตอ่ เนือ่ ง ขน้ั ตอนที่ 3 สง่ ตอ่ ควำมยง่ั ยืน เปา้ หมาย เป็นชมุ ชนเข้มแข็งอย่างยัง่ ยืน สามารถพ่ึงพาตนเองไดแ้ ละเป็นตัวอย่างใหก้ ับชมุ ชนอืน่ ๆ หลักการ จะทาอย่างไรหลังจากเสร็จสิ้นภารกิจในกระบวนการสร้างชุมชนเข้มแข็งให้ย่ังยืน เม่ือชุดปฏิบัติการต้องถอนกาลังออกจากหมู่บ้านหรือชุมชน จึงจาเป็นต้องวางหลักการและวิธีการให้ ชมุ ชนสามารถดาเนินการตอ่ เพ่อื รกั ษาสภาพใหย้ งั่ ยนื ตลอดไป แนวทางปฏิบัติ ประกอบดว้ ย มาตรการรกั ษาสภาพหมบู่ ้านชุมชน การส่งมอบพื้นที่ และการ ติดตามประเมินผล 1. กำรรกั ษำสภำพหมบู่ ้ำนชุมชน 1.1 การจดั ทาปฏิทินชุมชนด้านการป้องกนั และปราบปรามยาเสพติด 1.2 จดั ต้ังและฝึกอบรม ชุดรกั ษาความปลอดภัย หมบู่ า้ น เพ่ือดแู ลอย่างเนื่อง 1.3 การจดั ต้ังดา่ นตรวจและการส่มุ เขา้ พืน้ ที่ เพ่อื รว่ มการตรวจคน้ 1.4 การดาเนินการประเมินหมู่บ้าน/ชุมชนเข้มแข็ง เอาชนะยาเสพติดท้ัง 2 ด้าน โดยด้าน กระบวนการสร้างความเข้มแข็งหมู่บ้าน/ชุมชนจะให้หมู่บ้าน/ ชุมชน ประเมินตนเอง (Self-evaluation) โดยการประเมินสถานะหมบู่ า้ น/ชมุ ชน กาหนดใหด้ าเนนิ การปีละ2 ครงั้ ดังน้ี - ครง้ั ที่ 1 รอบ 6 เดอื นแรก (ตลุ าคม – มนี าคม ) - ครงั้ ที่ 2 รอบ 6 เดอื นหลงั (เมษายน –สงิ หาคม) 1.5 มกี ารนาผเู้ สพ/ผตู้ ิดยาเสพติด เข้ารับการบาบัดตามนโยบายของรัฐบาล (ค้นพบผู้เสพ/ ผู้ติดยาเสพติดต้องนาเข้าบาบัดรักษาทันที) แบบองค์รวม ทั้งทางร่างกายและจิตใจ (มหาดไทย/ สาธารณสุข) 1.6 มีการติดตามผลและให้ความช่วยเหลือผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด ท่ีผ่านการบาบัดฟ้ืนฟู เช่น การส่งเสริม และพัฒนาอาชีพ (มหาดไทย) 1.7 มกี ารประชาคมการ X-ray 100 เปอร์เซ็นต์ เพ่ือคน้ หาและตรวจสอบผู้ท่ีเกี่ยวข้องกับ ยาเสพติด อยา่ งน้อย 3 เดือน/คร้ัง (ชดุ ปฏิบัติการ) 21

1.8 กลุม่ หรอื องค์กรทป่ี ฏิบตั ิงานดา้ นยาเสพตดิ ในชมุ ชนประชมุ รว่ มกัน อย่างน้อยเดอื นละ 1 ครง้ั (มหาดไทย) 1.9 การจัดประชุมของภาคีเครือข่ายในการดูแลชุมชนให้ยั่งยืน เพื่อประเมินผลการ ดาเนนิ งานอยา่ งนอ้ ยเดอื นละ 1 ครงั้ ในหลากหลายช่องทางการสอื่ สาร (ชดุ ปฏิบตั กิ าร) 1.10 การปรับปรุงภูมิทัศน์ติดตั้งกล้องวงจรปิดในจุดเสี่ยงและติดไฟส่องสว่างในที่มืด (ชุดปฏบิ ัตกิ าร) 2. กำรระวงั ปอ้ งกนั ชมุ ชนกลบั สสู่ ภำพเดมิ 2.1 จัดกิจกรรมเสริมเชิงป้องกันยาเสพติดตามความเหมาะสมของผู้เข้าร่วมกิจกรรม เช่น ความสนใจ อายุ เพศ การศกึ ษา ฯลฯ โดยให้มีการดาเนิน กิจกรรมอย่างสม่าเสมอ ต่อเนื่อง อาทิ การ ให้ความรดู้ ้านยาเสพติด ลานกีฬา ต้านยาเสพตดิ กจิ กรรมวาดรูป (ตารวจ/มหาดไทย/ป.ป.ส.) 2.2 ขจดั พื้นที่ท่ีเอือ้ ตอ่ การเสพและค้ายาเสพติด เช่น แหลง่ ม่วั สมุ ตา่ งๆ ในชมุ ชน (ตารวจ/ มหาดไทย) 2.3 ควบคุมดูแลไม่ให้มีแหล่งม่ัวสุมในพ้ืนท่ี/จัดกิจกรรมเชิงป้องกันยาเสพติด อย่างน้อย เดอื นละ 1 ครงั้ (มหาดไทย/ป.ป.ส.) 2.4 ขจดั ผูม้ ีอทิ ธใิ นพ้ืนท่ี (ตารวจ/มหาดไทย) 2.5 การสมุ่ ตรวจสถานที่ท่องเที่ยว สถานบันเทงิ ยามคา่ คนื อยา่ งตอ่ เนื่อง (ตารวจ) 2.6 การออกตรวจพื้นท่ีโดยตารวจสายตรวจและ ชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้านอย่าง สม่าเสมอ (ตารวจ/มหาดไทย) 2.7 สรา้ งพ้นื ที่ปลอดภยั ในหมู่บ้าน/โรงเรียน/สถานประกอบการ (มหาดไทย/ป.ป.ส.) 2.8 มีการจัดต้ังกองทุนเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหายาเสพติด เช่น กองทุนแม่ของแผ่นดิน กองทนุ หมูบ่ า้ น/ชุมชนทีน่ าผลประโยชน์ มาใชแ้ ก้ไขปญั หา ยาเสพติด ฯลฯ 2.9 จดั ชุดหาข่าวในชมุ ชน (ชดุ ปฏิบตั ิการ) 2.10 จดั ทาแผนพัฒนาหมบู่ า้ น ชุมชน (มหาดไทย) 2.11 ร่วมจัดทาโครงการป้องกันปราบปราม ในสถานศึกษา D.A.R.E/โครงการปักกลดใน หมบู่ ้านชุมชน (ตารวจ/มหาดไทย) 2.12 บาบัดฟ้ืนฟูในระบบสมัครใจบาบัด โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน CBTX (มหาดไทย/ สาธารณสุข) 2.13 ตรวจสอบ คัดเลือก สถานประกอบการขนาดใหญ่ เพอื่ เปน็ โรงงานสขี าว / นคิ ม อตุ สาหกรรมร่วมใจต้านภัยยาเสพตดิ โดยทา MOU รว่ มกนั (มหาดไทย/ป.ป.ส.) 2.14 ลดปจั จัยเสยี่ งบงั คับใช้กฎหมาย (มหาดไทย) 2.15 ประชาสัมพนั ธ์ใหส้ งั คมเกิดกระแสการรบั รู้ ตระหนักและมีส่วนรว่ มในการ ป้องกันยาเสพติดมีสโลแกน No New Face Nerdid (วงการน้ีไม่ต้องการคนหน้าใหม่) ซึ่งใช้สื่อวีดิทัศน์ และ Infographic ในการสร้างแรงบันดาลใจ และเผยแพร่ผ่าน โซเชียลมีเดีย, สื่อต่าง ๆ ที่เข้าถึงได้ งา่ ย, สถานศกึ ษา, สถานประกอบการ (ป.ป.ส.) 22

2.16 ช่วยเหลือกลุ่มเสี่ยง เช่น เด็ก, เยาวชน ด้วยการส่งเสริมให้ศึกษาต่อฝึกอาชีพจัดหา งานตามความถนัดของแตล่ ะคน (มหาดไทย/ป.ป.ส.) 3. ชดุ ปฏบิ ตั ิกำรและเจ้ำหน้ำที่หนว่ ยงำนท่ีเกี่ยวขอ้ ง ต้องมกี ารตรวจเยี่ยม, เชค็ ขอ้ มูล ทง้ั ทางลบั และปกติ , ปิดลอ้ มตรวจคน้ , วางสายข่าวและ รว่ มทางานกับ ชมุ ชนอย่างตอ่ เน่อื ง 4. ชมุ ชนในกำรรับช่วงต่อให้ดำเนนิ กำรดงั นี้ 4.1 จดั ชดุ ชรบ.หมูบ่ ้านเพ่อื ออกตรวจตรา ดแู ลความปลอดภยั ภายในหมบู่ ้าน 4.2 ร่วมตงั้ จุดตรวจจดุ สกดั เป็นประจา 4.3 จัดชุดหาข่าว-เฝา้ ระวัง ในหมู่บ้านและพ้ืนทข่ี า้ งเคียงอย่างตอ่ เนอ่ื ง 4.4 ร่วมกันกาหนดมาตรการทางสงั คมร่วมกัน กาหนดบทลงโทษหากมีการฝ่าฝืน และการ มอบรางวัลหากมกี ารทาความดเี พ่อื ชุมชน 5. กำรติดตำมและดูแลกันภำยในชุมชน ใช้หลักกำรพ่ีดูแลน้อง น้องฟังพี่ ปัญหาในชุมชน ต้องแก้ดว้ ยคนในชมุ ชน เริ่มจากกลุ่มเล็ก ในคุ้มน้ันๆ แต่งต้ังให้มีการติดตามดูแลคอยติดตามสอดส่อง พฤตกิ รรม แล้วรายงานต่อคณะกรรมการ เป็นประจา โดยคณะกรรมการหมู่บ้านและคณะกรรมการ คุ้มต้องออกตรวจเย่ียมผู้หลงผิด ผู้เสพ กดดันผู้ค้า เป็นประจา อย่างน้อยเดือนละ 1-2 คร้ัง จัดเป็น ตารางการทางานให้เรยี บรอ้ ย 6. กำรร่วมมือของภำคีเครือขำ่ ย มีการจัดตั้งกลุ่มภาคีเครือข่ายร่วมกัน, มีช่องทางในการติดต่อสื่อสาร, ประชุม และติดตาม ผลในการทางานเป็นประจา โดยกาหนดเป็นแผนงานให้ชัดเจน ตลอดจนสนับสนุนงบประมาณตาม ความเหมาะสม 7. กำรส่งมอบพืน้ ที่ 7.1 การสรุปบทเรยี นและการสง่ มอบพนื้ ท่ีให้กับชมุ ชน 7.2 การจดั เกบ็ ขอ้ มลู และส่งมอบข้อมลู ท่ีเกีย่ วข้องทั้งหมด ขอ้ มูลการดาเนินงานตลอดระยะเวลา อีก 1 ชดุ ใหเ้ กบ็ ไว้ ทีช่ ุมชน ชมุ ชนสามารถ ตรวจสอบและนาข้อมลู มาใช้ได้ดาเนนิ การต่อจากชุดปฏบิ ัตไิ ดเ้ ลย อาทิ - ประวัติบุคคลทเ่ี กย่ี วขอ้ งและการตรวจปสั สาวะ - ข้อมูลการดาเนนิ การกจิ กรรมตา่ ง ๆ - การนดั หมายและการติดตาม - คาส่ังตา่ ง เอกสารทเ่ี ก่ียวขอ้ งและข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ 7.3 จัดพิธีส่งมอบพื้นที่เพื่อความภูมิใจของชุมชนและประกาศเป็นชุมชนเข้มแข็ง หรือ ชมุ ชนตัวอย่างตอ่ ไป ประชาสมั พันธ/์ เสนอข่าวทางบวก สร้างอัตลักษณ์วิถีและแนวความคิดท่ีดีเพื่อ ความภาคภูมิใจของสงั คม ชุมชน ให้ทุกคนมีสว่ นรว่ มรับผิดชอบ ในหม่บู ้านชมุ ชนของตนเอง 7.4 ในระดบั อาเภอ ใหน้ ายอาเภอ ออกคาสงั่ แต่งตง้ั คณะทางานเพ่ือดารงความยั่งยืน โดย ประประกอบทกุ ฝา่ ย เพอ่ื เป็นทป่ี รกึ ษา รว่ มทางาน สอดสง่ ดูแล และตดิ ตามประเมินผล 23

8. กำรติดตำมประเมนิ ผล ขั้นตอนการประเมินผลและติดตาม แนวทางปฎิบัติ 8.1 ให้ทาการประเมินผลตามแบบ แบบประเมินหมู่บ้าน/ชุมชนต้านยาเสพติดทาการประเมิน เปน็ ประจาตามกรอบ 8.2 จานวนครัวเรอื นปลอดยาเสพติด ในหม่บู า้ น/ชมุ ชน เพม่ิ ขึน้ 8.3 จานวนปัญหาการแพร่ระบาดยาเสพตดิ ปละผูเ้ สพรายใหม่ลดลง 8.4 อาชญากรรมในหมบู่ ้าน/ชมุ ชน ลดลง 8.5 มผี ลการทาลายเครือข่ายการคา้ ยาเสพติดในหม่บู ้าน/ชุมชน 8.6 ผู้นาหมู่บ้าน/ชุมชน ได้รับการเสริมสร้างความเข้มแข็งเพ่ือแก้ไขปัญหายาเสพติดได้ ด้วยตัวเอง 8.7 จานวนผูเ้ สพที่สมคั รใจเข้ารับการบาบัดเพิม่ ขึ้น 8.8 ผู้ใช้/ผู้เสพยาเสพติดได้รบั การดูแลโดยชุมชน 8.9 เครอ่ื งมอื ประเมนิ สถานะในหมบู่ า้ น/ชมุ ชนุ จากสภาพปัญหายาเสพติด 8.10 สถติ ผิ ลการบันทึกคดียาเสพตดิ จากระบบ Crimes ของสานกั งานตารวจแหง่ ชาติ 8.11 การรายงานผลการปฏิบัติแต่ละข้ันตอนเป็นไปตามคาสั่ง ศอ.ปส.ตร.สานักงาน ตารวจแหง่ ชาติ 8.12 กาหนดช่องทางตดิ ตอ่ ประสานงาน มศี ูนย์กลางติดตอ่ ประสานงานอย่างชัดเจน และ จัดทาชอ่ งทางตดิ ตอ่ เช่น กลุม่ ไลนเ์ ฟสบุ๊ค พร้อมนัดพบปะหรือประชมุ กันอย่างตอ่ เน่อื ง มเี วทใี นการ เสนอและแสดงออก 8.13 รางวัลและการสนบั สนนุ สง่ เสริมความดคี วามชอบ พิจารณากฎเกณท์และมีการมอบรางวลั ให้ผู้ทางาน ผู้สนบั สนนุ บุคคลดเี ดน่ และ จติ อาสา ทงั้ ภาครัฐเอกเชน เพอื่ ส่งเสริมใหก้ าลังผู้ปฏบิ ตั ิงาน อยา่ งยตุ ิธรรม โปรง่ ใส 24

ผนวก      ทงั อ ู รง าน าน ทงั ป้ า าน าน ตร อบ 27 กระบวนกำรสรำ้ งชุมชนเขม้ แข็งปลอดยำเสพติดอยำ่ งยง่ั ยนื ในระดบั ชดุ ปฎบิ ัติกำร ร 25

1. ข้นั ตอนท่ี 1 (ขน้ั เตรยี มกำร) 1.ประชุมวางแผน สบื สภาพชุมชน 2.การพบปะผ้นู าชมุ ชน 3.พธิ เี ปดิ และการประชาคม แต่งต้ังชดุ ปฏิบัติการ *การรว่ มลงนามในบนั ทกึ ขอ้ ตกลง(MOU) *การจัดเตรีมเอกสาร, คาส่ัง, ป้าย, ธง, แบ่งคุ้ม และอุปกรณท์ จ่ี าเป็นในการทางาน 2. ข้ันตอนที่ 2 (ขนั้ ปฏบิ ัตกิ ำร) 1.การเข้าพน้ื ท่ี 2.การประชาสมั พันธ์ 3.การออกตารางเย่ยี ม 4.การเอกซเรย์ 100% ปฏบิ ตั ิการ พบประชาชน 8. กระบวนการสร้างชุมชน 7.กิจกรรมและชมุ ชน 6.ชมุ ชนบาบดั 5.การคัดกรอง, เข้มแข็ง บาบัดฟื้นฟู ( CBTx) การรบั รองและ การมอบบัตรพลเมือง CBT สขี าวฯ 3. ข้ันตอนที่ 3 (กำรส่งตอ่ ควำมยั่งยืน) 1.การส่งต่อพน้ื ที่ 2. การรักษาสภาพ 3.การตดิ ตาม การเฝา้ ระวงั ประเมนิ ผล 26

สรุป กระบวนการสร้างชมุ ชนเข้มแข็งอย่างยืน ระยะเวลา 3 เดอื น ผปู้ ฎบิ ัติ ไ  ชมุ ชน ้ปู ฎบตั ประกอบ ้ 1.ตาร / ญกรใะบวนกาไร  ี 3 กลุ 1.ประชาชนที่ ฝา ปกครอง/ ้นู าชุ ชน 2. -ประชาค - ประชา ั พนั ธ์ - แ ง าค า ร ือ - กี่ ข้อ ง น งานที่ ก่ี ข้อง 3. อกซ์ ร ์พืนท่ี - ะ างปัญ า 2. กี่ ข้องกบั า - าตรการลงโทษ -การขา น นบั นนุ - แน ทางป้ องกนั - ี า พต รักษา - ใ ้โอกา - บาบั 3.กลุ ่ี ง ต้อง ป็นการทางานแบบบรู ณาการ คั รใ - ชีทางออก - ชุ ปฏบตั การต้อง ร กนั พฒั นา - ปลกู คั ซีน พกั แร ในพืนที่ ชุ ชน - ปรับ ปลี่ นแน ค - แู ลตน อง - อบราง ลั ค า า ร็ - ร้างชุ ชน ข้ แข็ง แ น/โครงงานประ า นั แ น/โครงงานปสรัะ า ปั า ์ แ น/โครงงานประ า ือน รุป ลการทางาน หลักกำร เน้นเยยี วยำ รักษำ สะสำง พฒั นำ ฟน้ื ฟู 27

ตัวอย่างคาสงั่ แต่งต้งั คณะกรรมการค้มุ คำส่ัง คณะกรรมกำรหมบู่ ้ำนหัวหำด ท่ี 1/2564 เร่ือง แตง่ ต้งั คณะกรรมกำรคุ้ม ดว้ ยปญั หายาเสพตดิ และอาชญากรรม ในสงั คมปจั จุบนั ................................................................... เพอ่ื เป็นการป้องกนั ให้หมบู่ ้านมีความสงบสุข..................................... คณะกรรมการคุ้มมีหน้าท่ี สอดส่องดแู ล คดั กรองบุคคลตามครวั เรือน................................ 1. คมุ้ สงิ ห์โตคาราม นายเยีย สุพลงั เป็น ประธานคุม้ นายสายชล สพุ ลงั เปน็ กรรมการ นางสาวสาเรงิ ศิลประสพ เปน็ กรรมการ นางสาวสายฝน ช่มุ ช่ืน เปน็ กรรมการ พนั ตารวจโท พีรศักด์ิ เจริญพันธ์ เปน็ ทป่ี รกึ ษา ครวั เรอื นประกอบ ด้วย บ้านเลขที่ 1, 2, 2/1, 2/2, 2/3, 24, 2/5, 4, 4/1, 2. คุ้มเสอื สบดั เลบ็ .......................... 3. ค้มุ จงอางผยอง ......................... 4. คมุ้ พริ าบคาบข่าว...................... 5. คุม้ กระทงิ เปลี่ยว ....................... ทั้งนี้ ตงั้ แต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2564 เปน็ ต้นไป ลงช่ือ นาง ( ปราณี สบื ฤกษ์ ) ผู้ใหญ่บา้ น/ ประธานกรรมการหมู่บ้าน 28

29


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook