Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2คู่มือการเลี้ยงนกกระทาบางปะกง

2คู่มือการเลี้ยงนกกระทาบางปะกง

Description: 2คู่มือการเลี้ยงนกกระทาบางปะกง

Search

Read the Text Version

คู่มือ การเลีย้ งนกกระทาบางปะกง โดย สานกกันก นาันก ุส์สกว์ส กรมปุ์สกว์ส

คมู่ ือการเลยี้ งนกกระทาบางปะกง กลมุ่ วิจัยและพฒั นาสตั ว์ปกี สานักพฒั นาพันธุ์สตั ว์ กรมปศุสตั ว์ นกกระทาบางปะกง พัฒนามาจากนกกระทาญี่ปุ่น (Japanese Quail ; Coturnix coturnix japonica ) ท่ีมีผู้นาเข้ามาจากประเทศญ่ีปุ่นเมื่อกว่า 50 ปี ท่ีแล้ว ระยะแรกท่ีนามาเลี้ยงมีปัญหาเรื่องสภาพอากาศท่ีแตกต่าง ทาให้อัตราการตายสูงมาก และกรมปศุสัตว์ได้พัฒนา และปรับสภาพการเลี้ยงให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของ ประเทศไทย โดยดาเนนิ การทศ่ี นู ยว์ ิจยั และบารงุ พันธุ์สัตว์จันทบุรี และนครสวรรค์ โดยทั่วไปนิยมเลี้ยงเป็นการค้า เพื่อบริโภคเน้ือและไข่ หลายประเทศทั่วโลก โดยเฉพาะประเทศจีนและญี่ปุ่น ในหลายประเทศได้พัฒนารูปแบบ การเลย้ี งและการแปรรูปผลิตภัณฑ์ท้ังเน้ือและไข่เพ่ือให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด ในอดีตวัตถุประสงค์ ของการเลยี้ งนกกระทาญี่ปนุ่ กค็ ือ เลี้ยงเป็นสตั ว์เล้ียงเพ่อื เป็นงานอดิเรกและเพื่อฟังเสียงร้อง มีหลักฐานบันทึกไว้ว่า ชาวญ่ีปุ่นได้นานกกระทามาเล้ียงเป็นสัตว์เลี้ยงต้ังแต่ช่วงศตวรรษที่ 12 ในยุคสมัยท่ียังมีการปกครองโดยระบบ จักรพรรดิ เม่อื ชาวญ่ปี นุ่ เดินทางไปตามสถานท่ีต่าง ๆ ก็ได้นา นกกระทาติดตัวไปด้วยจึงทาให้นกกระทาแพร่หลาย ไปหลายประเทศโดยเฉพาะประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ประเทศจีน เกาหลี และไต้หวัน จากน้ันนก กระทาไดถ้ ูกนาเขา้ ไปในประเทศสหรฐั อเมริกาเพื่อใชใ้ นงานวจิ ัยและทดลองหลังสงครามโลกครงั้ ท่สี องเสร็จสิน้ แล้ว ลกั ษณะประจาพันธุ์ ทั้งเพศผู้ เพศเมีย มีขนสีน้าตาลเทา ปากสีเหลืองปนดา แข้งขาวถึงเหลือง เพศเมีย เมือ่ อายุ 42 วนั น้าหนักตวั เฉล่ีย 108 กรัม อายเุ มื่อใหไ้ ขฟ่ องแรก 45 วนั น้าหนักไข่เฉล่ียฟองละ 8.1 กรัม น้าหนัก แรกเกิด 6.8 กรัม ข้อดีของการเลีย้ งนกกระทา เหตผุ ลบางประการท่ีทาใหน้ กกระทาได้รับความสนใจและนยิ มเล้ยี งกันมาในหลายประเทศ ได้แก่ 1. โรงเรือนสาหรับเล้ียงนกกระทาไม่จาเป็นจะต้องออกแบบมาโดยเฉพาะ เพียงมีห้องว่างพอที่จะกันแดด ลม ฝน และศตั รตู ่าง ๆ ไดก้ ็สามารถเล้ียงนกกระทาได้แลว้ 2. นกกระทาต้องการพนื้ ทีก่ ารเล้ียงนอ้ ยจงึ ทาใหต้ น้ ทุนการเลีย้ งต่อตวั ตา่ 3. นกกระทาสามารถเล้ียงและจาหน่ายเป็นนกกระทาเนื้อได้เม่ืออายุประมาณ 5 สัปดาห์ และนกกระทาตัวเมียจะ เริ่มวางไข่เมื่ออายุประมาณ 7 สปั ดาห์ ดังนนั้ การเลีย้ งนกกระทาจงึ สามารถคนื ทุนได้เรว็ กวา่ การเลี้ยงไกม่ าก 4. นกกระทามีความต้านทางโรคมากกว่าไก่ ดังนั้น การเลี้ยงนกกระทาจึงไม่จาเป็นจะต้องใช้วัคซีนป้องกันโรค ยา ถา่ ยพยาธิ จึงงา่ ยตอ่ การเลี้ยงดแู ละการจดั การ

5. เนื่องจากนกกระทามขี นาดเลก็ จงึ กนิ อาหารน้อยสง่ ผลใหต้ ้นทุนในการเลย้ี งดนู ้อยลงดว้ ย ดังนั้น ฟาร์มเลี้ยงนกกระทาจึงสามารถทาได้แม้กระท่ังเกษตรกรผู้น้ันจะมีต้นทุนน้อย มีทักษะในการเลี้ยงดูไม่มาก นกั และสามารถคนื ทุนไดเ้ รว็ โรงเรือนเล้ียงนกกระทา โรงเรือนสาหรับเล้ียงนกกระทาน้ัน ควรออกแบบให้สะดวกต่อการปฏิบัติงานและการรักษาความสะอาด ปลอดภัยจากศัตรู และส่ิงรบกวนต่าง ๆ ท้ังน้ีเน่ืองจากนกกระทาเป็นสัตว์ท่ีมีความรู้สึกไวต่อสิ่งรบกวน เช่น แสง หรือเสียงมาก เมื่อมีเสียงผิดปกติมารบกวนนกกระทาจึงมักจะตกใจง่ายๆ ภายในโรงเรือนจะต้องมีการระบาย อากาศท่ีดี เนื่องจากนกกระทากินอาหารท่ีมีโปรตีนสูงจึงขับถ่ายไนโตรเจนออกทางปัสสาวะมาก ดังนั้น ถ้าการ ระบายอากาศไมด่ พี อกจ็ ะทาให้มแี อมโมเนยี สะสมมากจะเปน็ อันตรายตอ่ บุเยื่อนยั นต์ าได้ รปู แบบของโรงเรือนจะต้องเป็นแบบท่ีสร้างงา่ ย ลงทนุ น้อย ซ่งึ จะสร้างแบบเพงิ แหงน หรือแบบหน้าจ่ัวเช่นเดียวกับ โรงเรือนไก่ก็ได้ แต่จะต้องให้อากาศถ่ายได้สะดวก ถ้าจะเล้ียงแบบกรงที่วางซ้อนกันหลายช้ัน โรงเรือนจะต้องมี ความสูงพอสมควร สว่ นขนาดของโรงเรือนจะขึ้นอยู่กบั จานวนนกท่จี ะเลย้ี ง อุปกรณ์ทจ่ี าเปน็ ในการเลย้ี งนกกระทา 1. กรงสาหรับลูกนก ขนาดกรงกกข้ึนอยู่กับจานวน ลูกนก ขนาดกว้าง 1 เมตร ยาว 1.50 เมตร สูง 0.5 เมตร สาหรับกกลูกนกอายุ 1-20 วัน ได้ประมาณ 250 – 300 ตัว ด้านกว้างกรงควรจะทึบ ท้ัง 4 ด้าน พ้ืนกรงใช้ ลวดตาขา่ ย สี่เหล่ยี ม ½ x ½ ซ.ม. 2. เคร่ืองกก การเลีย้ งนกกระทาสามารถทาได้ 2 รปู แบบ ได้แก่ การเลย้ี งบนพ้ืนที่ปทู บั ดว้ ยวัสดุรองพ้ืน เช่น แกลบ (เปลือกข้าว) หรือเปลือกถ่ัว หนาประมาณ 2.5 เซนติเมตร ในช่วงแรกของการกกจะต้องใช้ประสอบป่าน หรือ กระดาษผิวด้านปูรองพ้ืน ล้อมรอบด้วยแผงกันกกซ่ึงอาจจะทาด้วยไม้ไผ่สาน ตาข่าย หรือสังกะสีให้มีความสูง ประมาณ 20 เซนติเมตร ล้อมรอบกกเอาไว้ เน่ืองจากลูกนกกระทาแรกเกิดจะไม่สามารถผลิตความร้อนเพื่อรักษา อุณหภูมิร่างกายได้ ดังนั้นจึงจาเป็นจะต้องได้รับความอบอุ่นจากเคร่ืองกก ซึ่งอาจจะใช้หลอดไฟหรืออาจจะใช้ เครื่องกกแก๊สก็ได้ ติดตั้งไว้ตรงส่วนกลางของวงล้อมกก วงล้อมกกท่ีมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 90 เซนตเิ มตรสามารถกกลกู นกได้ 150 ตัว และไม่ควรกกลูกนกกระทาในกกเดียวกันเกิน 300 ตัว ถ้าหากใช้หลอดไฟ ในการกกจะต้องคานวณจานวนวัตต์ท่ีใช้ โดยประมาณให้ใช้หลอดไฟ 1 วัตต์/ลูกนก 1 ตัว ในช่วงสัปดาห์แรก จะต้องมกี ารกกตลอด 24 ช่ัวโมง สัปดาห์ท่ี 2 จะทาการกกเฉพาะตอนกลางคืนและสัปดาห์ท่ี 3 ก็ไม่จาเป็นจะต้อง กก แต่ถา้ เป็นชว่ งฤดหู นาวก็อาจจะกกลกู นกจนกระทั่งอายุ 3 สัปดาห์ก็ได้ กรงกก สาหรับลูกนกซึ่งเพ่ิงฟักออกจาก ไข่ใหม่ ๆ ต้องการความอบอุ่นเช่นเดียวกับลูกไก่ ซึ่งจาเป็นต้องให้ความอบอุ่นแก่ลูกนก การให้ความอบอุ่นอาจจะ ใช้หลอดไฟชนดิ เผาไส้หรือเครื่องกกแก๊สก็ได้

3. อปุ กรณ์ใหอ้ าหาร สาหรบั ลูกนกควรใชถ้ าดอาหารแบนๆให้มีขอบสูงข้ึนมาประมาณ 1 ซ.ม. มีตาข่าย 1 x 1 ซ. ม. ปิดด้านบน เพ่ือป้องกันลูกนกเข่ียออกจากถาด หรืออาจจะใช้รางอาหารสาหรับให้ลูกไก่ก็ได้ ในช่วง 3 วันแรก ควรจะโรยอาหารลงบนพนื้ ที่ปดู ้วยกระดาษหรอื กระสอบปา่ นเพื่อให้นกไดร้ ้จู กั การกนิ อาหารไดเ้ ร็วข้นึ 4. อุปกรณ์ให้น้า สาหรับลูกนกให้ใช้อุปกรณ์ให้น้าลูกไก่แบบขวดคว่าขนาดเล็ก และใส่ก้อนกรวดเล็กๆ ไว้ในจานน้า ด้วยเพ่ือป้องกันไม่ให้ลูกนกตกน้า ส่วนนกใหญ่ หรือลูกนกอายุเกิน 2-3 สัปดาห์แล้ว ใช้อุปกรณ์การให้น้าลูกไก่แบบ ขวดควา่ ไม่ตอ้ งใสก่ ้อนกรวดหากให้น้าภายในกรง แต่ถ้าใหน้ า้ ภายนอกกรงก็ใช้รางน้าแขวนไว้ด้านนอกกรงเช่นเดียวกับ รางอาหาร หรอื จะใชข้ นั น้ากไ็ ด้ 5. เคร่ืองตัดปากนก เม่อื ลูกนกมีอายุประมาณ 30 วนั กอ่ นทจ่ี ะแยกไปเล้ียงในกรงนกใหญ่ ควรจะตัดปากเสียก่อน เพ่ือเป็นการป้องกันไม่ให้นกจิกก้นกัน ซึ่งเป็นสาเหตุให้นกตายได้ วิธีการตัดปากนกกระทาทาเช่นเดียวกับการตัด ปากไก่ การกกและการเลย้ี งดูลูกนก การเล้ียงนกกระทาสามารถทาได้ 2 รูปแบบ ได้แก่ การเล้ียงบนพ้ืนที่ปูทับด้วยวัสดุรองพื้น เช่น แกลบ (เปลือกข้าว) หรือเปลือกถั่ว หนาประมาณ 2.5 เซนติเมตร ในช่วงแรกของการกกจะต้องใช้กระสอบป่าน หรือ กระดาษผิวด้านปูรองพ้ืน ล้อมรอบด้วยแผงกั้นกกซ่ึงอาจจะทาด้วยไม้ไผ่สาน ตาข่าย หรือสังกะสีให้มีความสูง ประมาณ 20 เซนตเิ มตร ลอ้ มรอบกกเอาไว้ เน่ืองจากลูกนกกระทาแรกเกิดจะไม่สามารถผลิตความร้อนเพื่อรักษาอุณหภูมิร่างกายได้ ดังน้ันจึงจาเป็นจะต้อง ไดร้ บั ความอบอุน่ จากเครือ่ งกก ซ่ึงอาจจะใชห้ ลอดไฟหรืออาจจะใช้เคร่ืองกกแก๊สก็ได้ ติดต้ังไว้ตรงส่วนกลางของวง ล้อมกก วงล้อมกกที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 90 เซนติเมตรสามารถกกลูกนกได้ 150 ตัว และไม่ควรกก ลูกนกกระทาในกกเดียวกันเกนิ 300 ตวั ถา้ หากใช้หลอดไฟในการกกจะต้องคานวณจานวนวัตต์ที่ใช้ โดยประมาณ ให้ใช้หลอดไฟ 1 วัตต์/ลูกนก 1 ตัว ในช่วงสัปดาห์แรกจะต้องมีการกกตลอด 24 ชั่วโมง สัปดาห์ท่ี 2 จะทาการกก เฉพาะตอนกลางคืนและสัปดาห์ที่ 3 ก็ไม่จาเป็นจะต้องกก แต่ถ้าเป็นช่วงฤดูหนาวก็อาจจะกกลูกนกจนกระทั่งอายุ 3 สัปดาห์ก็ได้ กรงกก สาหรับลูกนกซึ่งเพิ่งฟักออกจากไข่ใหม่ ๆ ต้องการความอบอุ่นเช่นเดียวกับลูกไก่ ซ่ึง จาเป็นตอ้ งใหค้ วามอบอุน่ แกล่ กู นก การให้ความอบอนุ่ อาจจะใชห้ ลอดไฟชนดิ เผาไสห้ รือเคร่อื งกกแกส๊ ก็ได้ ขนาดของกรงกกลูกนก ขนาดกว้าง 90 เซนติเมตร ยาว 1.50 เมตร สูง 40-50 เซนติเมตร ใช้กกลูกนกอายุ 1-20 วนั ได้ประมาณ 250-300 ตวั ดา้ นข้างของกรงควรจะปดิ ทึบ ดา้ นบนทาเป็นฝาบุด้วยลวดตาข่ายยกเปิดปิดได้ ส่วน พ้ืนกรงใช้ลวดตาขา่ ยสเ่ี หลยี่ มขนาด 1 เซนติเมตร การให้น้า ใช้น้าสะอาดใส่ในอุปกรณ์การให้น้าแบบขวด และใส่ก้อนกรวดเล็กๆ ลงในจากน้าด้วย ในระยะ 3-7 วัน แรกควรละลายพวกปฏิชีวนะผสมในน้าให้ลกู นกกิน จะช่วยให้นกเจริญเตบิ โตโตเรว็ และแขง็ แรง

การให้อาหาร ในช่วงท่ีลูกนกยังเล็กอยู่อาจจะโปรยอาหารลงบนกระดาษเพ่ือให้นกได้รู้จักการกินอาหารได้เร็วขึ้น ไม่ควรโปรยอาหารหรือวางรางอาหารไว้บริเวณใต้เคร่ืองกก หรือหลอดไฟ เพราะนกจะนอนทับอาหารไว้ทาให้นก ตวั อน่ื กนิ อาหารไมไ่ ด้ เมอ่ื นกโตขนึ้ อาจใช้รางอาหารเลก็ ๆ ใส่อาหารให้ลูกนกกินเช่นการให้อาหารลูกไก่เล็กก็ได้ น้า จะต้องมีให้ลูกนกได้กินตลอดเวลา เมื่อลูกนกอายุได้ 15 วัน ก็ย้ายไปเล้ียงในกรงนกรุ่นหรือกรงเล้ียงนกใหญ่ได้ ท้ังน้ี เ พ ร า ะ ว่ า ลู ก น ก ใ น ร ะ ย ะ น้ี มี ค ว า ม แ ข็ ง แ ร ง พ อ ที่ จ ะ เ ห ยี ย บ พื้ น ก ร ง ล ว ด ต า ข่ า ย ไ ด้ แ ล ะ มี ข น ข้ึ น เ ต็ ม ตั ว แ ล้ ว การคดั แยกเพศ การคัดเพศนกกระทาสามารถทาได้เม่ือนกมีอายุประมาณ 3 สัปดาห์ เราจะใช้วิธีการสังเกตจากลักษณะ ภายนอกของนกไดอ้ ย่างชัดเจนน้นั กค็ อื สีขน นกตวั ผ้จู ะมีขนหนา้ อกและบรเิ วณใตค้ อสีเหลืองน้าตาลปนขาว หรือสี นา้ ตาลปนแดง และขนบริเวณแกม้ กม็ สี ีน้าตาลแกมแดงเช่นกนั ซง่ึ ชาวบา้ นผ้รู บู้ างรายเรียกขนบริเวณแก้มนี้ว่าเครา อายุ 30 -40 วัน จะส่งเสียงร้อง ส่วนนกตัวเมียสีขนบริเวณคอไม่ค่อยเข้ม หรืออาจมีสีน้าตาลปนเทาและมีลายดา ปนขาว เมอื่ ได้นาการคัดแยกเพศไดเ้ รียบรอ้ ยแลว้ นกตวั ผู้กน็ าไปเลีย้ งเปน็ นกเน้ือขาย ส่วนนกตัวเมียก็นาไปทาการ ตัดปากและเลย้ี งเปน็ นกกระทาไข่ขายต่อไป การเล้ยี งนกกระทาเนอื้ นกกระทาเนอื้ กค็ ือ นกกระทาตวั ผู้ท่ไี ด้จากคัดแยกเพศออกจากนกตัวเมียในช่วงอายุ 3 สัปดาห์ถึง 1 เดือน หรือเป็นนกท่ีเหลือจากการคัดเลือกไว้ทาพันธ์ุ หรืออาจเป็นนกกระทาตัวเมียท่ีคัดออกจากนกไข่แล้ว นกกระทา เหล่าน้ีเราจะนามาเล้ียงให้เกิดการสมบูรณ์และให้เนื้อมากขึ้น เพื่อจะได้นาไปขายเป็นนกเนื้อต่อไป การให้น้าและ อาหารจะต้องให้นกได้กินน้าและอาหารอย่างเต็มท่ีตามความต้องการ โดยจะให้อาหารวันละ 2-3 ครั้ง และให้น้า ใหม่วันละ 2 คร้ัง (เช้า-เย็น) อัตราการเจริญเติบโต การกินอาหารและประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารของนก กระทาเนอื้ ดังแสดงในตารางท่ี 1 นกกระทาเนื้อสามารถจับขายได้เมื่ออายุประมาณ 5 สัปดาห์ โดยอาจจะขายในรูปของนกเป็นหรือนกกระทา ชาแหละกไ็ ด้ ตารางท่ี 1 แสดงน้าหนักตวั การกนิ อาหารและอตั ราการเปลี่ยนอาหารของนกกระทาเนื้อ อายุ (สปั ดาห์) นา้ หนกั ตัว (กรมั ) อาหารกนิ สะสม (กรัม/ตวั ) อตั ราการเปลี่ยนอาหาร 1 28 30 1.1 2 55 85 1.5 3 85 170 2.0 4 120 300 2.5 5 155 450 2.9 ท่ีมา : Prapakaran (2003) หนา้ 73

การเลีย้ งนกกระทาไข่ การเลยี้ งนกกระทาไขเ่ ป็นการค้าในปัจจุบนั นิยมเลี้ยงแบบขับกรงและวางกรงซ้อนกัน 4-5 ช้ัน แต่ละช้ันจะ ห่างกันประมาณ 10 เซนติเมตร ช่องว่างระหว่างชั้นหรือด้านบนของพ้ืนหลังกรงก็จะใช้แผ่นสังกะสีแผ่นเรียบ รองรับมูลนก การเล้ียงแบบขังกรงน้ีในกรงแต่ละกรงจะต้องใช้ในอัตรา 5 ตัว/ตารางฟุต หรือ 180 ตาราง เซนติเมตร/ตัว การเล้ียงดูนกในกระทาไข่จะแตกต่างไปจากเลี้ยงดูนกกระทาในระยะอื่นๆ ดังนี้ การให้น้า พื้นท่ีอปุ กรณใ์ ห้น้าจะต้องไม่ต่ากว่า 0.8 เซนติเมตร/ตัว อุปกรณ์ให้น้าอาจจะใช้รางน้า ถ้วย ขัน ท่อพีวีซี ผ่าครึง่ หรือภาชนะอื่นๆ ใส่นา้ ใหก้ ินด้านนอกกรง จะต้องมนี า้ ใหน้ กไดก้ ินตลอดเวลา ถ้าขาดน้าแล้วจะทาให้นกเกิด อาการเครียด และอาจจะทาให้เกิดผลเสียต่อการไข่ของนกกระทาได้ น้าควรจะเปลี่ยนวันละคร้ังหรือค่อยสังเกต งา่ ยๆ คือ อย่าให้นา้ มีกลน่ิ เหม็นเปรยี้ วเหมน็ บดู ได้ การให้อาหาร พ้ืนที่อุปกรณ์ให้อาหารสาหรับนกกระทาจะต้องไม่ต่ากว่า 1.6 เซนติเมตร/ตัว มักจะใช้รางอาหาร แบบให้อาหารสาหรับลูกไก่ใส่อาหารให้กิน การให้อาหารควรให้วันละ 3 เวลา คือ เช้า เที่ยง และเย็น เพราะนก กระทากนิ อาหารทั้งวนั ท้งั คนื การใหอ้ าหารนคี้ วรใส่อาหารประมาณครึ่งรางเพอื่ ชว่ ยลดการสูญเสียอาหารเนื่องจาก ถูกคุ้ยเข่ีย เม่ือนกอายุครบ 35 วัน ควรเปลี่ยนอาหารโดยให้อาหารที่มีโปรตีนประมาณ 20% การเปล่ียนอาหาร สาหรบั นกในระยะให้ไขน่ ี้ ไม่ควรเปลีย่ นกะทันหันเพราะจะทาให้กระทบกระเทือนต่อการให้ไข่ได้ การให้แสงสว่าง การให้แสงสว่างเพิ่มในช่วงกลางคืนจะช่วยให้นกกระทาไข่ได้ดีขึ้น ควรให้ความยาวแสงประมาณ 16 ชั่วโมง/วัน เน่ืองจากแสงสว่างจะช่วยกระตุ้นการทางานของต่อมใต้สมองให้สร้างฮอร์โมนไปกระตุ้นการทางานของรังไข่ นก กระทาจะเร่มิ ใหไ้ ข่เมือ่ อายุประมาณ 7 สัปดาห์และนกจะมีน้าหนักตัวประมาณ 141-150 กรัม ฟองไข่จะมีน้าหนัก ประมาณ 10-12 กรัม นกกระทาจะให้ผลผลิตไข่สูงสุดประมาณ 80-85% เมื่ออายุประมาณ 12-24 สัปดาห์ หลังจากน้ันไข่จะลดลงเรื่อย ๆ ถ้ามีการเลี้ยงและการจัดการที่ดีนกกระทาบางตัวอาจจะให้ไข่มากกว่า 260-300 ฟอง/ปี การเก็บไข่นกกระทา นกกระทาจะเร่ิมวางไข่ในช่วงค่าประมาณ 16.00-19.00 น. ดังน้ันการเก็บไข่จะเริ่ม เก็บได้ต้ังแต่เวลา 19.30-20.30 น. ก่อนที่จะปิดไฟในช่วงค่า และควรเก็บทุกวัน ถ้าเป็นไปได้ควรเก็บวันละ 3-4 ครั้ง แลว้ รบี นาไขท่ ี่ไดไ้ ปเกบ็ ไว้ในหอ้ งที่เย็น เพือ่ รักษาคณุ ภาพไข่กอ่ นท่ีจะได้นาส่งตลาด อาหารนกกระทา วัตถุดิบอาหารสาหรับนกกระทาเหมือนกับท่ีใช้ในอาหารไก่ แต่ขนาดของเม็ดอาหารจะต้องละเอียดกว่า โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วง 2 สัปดาห์แรก หลังจากน้ันก็ให้อาหารเม็ดบี้แตกสาหรับไก่ลูกไก่กระทงได้ นกกระทา ต้องการอาหารท่ีมีโปรตีนและโภชนะชนิดอ่ืนสูงกว่าไก่กระทง ท้ังนี้เน่ืองจากนกกระทามีอัตราการเจริญเติบโตสูง ก ว่ า ไ ก่ ก ร ะ ท ง ค่ า ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร โ ภ ช น ะ ส า ห รั บ น ก ก ร ะ ท า ญ่ี ปุ่ น แ ส ด ง ใ น ต า ร า ง ที่ 2

ตารางท่ี 2 แสดงคา่ ความต้องการโภชนะของนกกระทาญ่ีป่นุ (อาหารมีวัตถุแหง้ ประมาณ 90%) โภชนะ (%) แรกเกดิ -นกกระทารุ่น นกกระทาไข่-พอ่ แมพ่ ันธุ์ พลังงาน (kcal MEn/kg) 2,900 2,900 โปรตนี 24 20 อาร์จนิ นี 1.25 1.26 ไกลซีน+เซอรนี 1.15 1.17 ฮสี ติดนิ 0.36 0.42 ไอโซลวิ ซนี 0.98 0.90 ลวิ ซนี 1.69 1.42 ไลซนี 1.30 1.00 เมทไธโอนนี 0.50 0.45 เมทไธโอนนี +ซีสทนี 0.75 0.70 เฟนิลอลานีน 0.96 0.78 เฟนิลฯ+ไธโรซีน 1.80 1.40 ทรีโอนนี 1.02 0.74 ทรปิ โตเฟน 0.22 0.19 วาลนี 0.95 0.92 กรดลิโนเลอิก 1.00 1.00 แคลเซยี ม 0.80 2.50 คลอไรด์ 0.14 0.14 แมกนเี ซยี ม (มก.) 300 500 ฟอสฟอรัสใช้ประโยชน์ได้ 0.30 0.35 โปแตสเซียม 0.40 0.40 โซเดยี ม 0.15 0.15 ท่มี า : NRC (1994) หนา้ 45

หลกั ปฏบิ ตั เิ พือ่ ให้การให้อาหารนกกระทาญี่ปนุ่ มปี ระสิทธิภาพสงู สุด 1. นกกระทาสามารถกินอาหารปน่ แหง้ เมด็ บีแ้ ตก อาหารเปียกได้ แต่ปกติจะให้อาหารป่นแห้ง เนื่องจากต้นทุนใน การจัดการและการเตรียมอาหารต่า ที่สุด อ า ห า ร ป่ น เ ปี ย ก จ ะ เ พิ่ ม ก า ร จั ด ก า ร เ น่ื อ ง จ า ก จะตอ้ งผสมน้าในสัดส่วนที่พอเหมาะและจะต้องกะปริมาณอาหารท่ีให้นกกินหมดพอดีในแต่ละวัน ส่วนอาหารเม็ด บแ้ี ตกจะต้องเพิม่ ตน้ ทุนในการอัดเม็ดอาหารและบ้ีใหอ้ าหารอัดเม็ดนั้นแตกเพื่อให้มีขนาดเม็ดพอเหมาะสาหรับการ กินของนกกระทา 2. การผสมอาหารนกกระทาเล็กจะต้องบดวัตถุดิบอาหารให้ละเอียดเสียก่อน โดยเฉพาะอาหารสาหรับนกกระทา เล็ก 3. ควรให้อาหารทันทที ล่ี ูกนกมาถงึ 4. จะต้องมอี าหารและนา้ ใหน้ กกนิ ตลอดเวลา 5. ในช่วง 2-3 วันแรกของการกก จะต้องให้อาหารให้เต็มรางอาหารและควรโรยอาหารบางส่วนลงบนพ้ืนท่ีปูทับ ด้วยกระดาษด้วยเพ่ือให้ลูกนกได้ฝึกกินอาหารได้เร็วข้ึน หลังจากน้ันจะใช้รางอาหารท่ีปิดทับด้วยตาข่ายขนาด ประมาณ 1 เซนติเมตร เพื่อปอ้ งกันการคยุ้ เขี่ยของนก 6. รางอาหารสาหรับนกกระทาจะต้องออกแบบให้มีขนาดและรูปแบบท่ีเหมาะสมกับจานวนนกที่เล้ียงและขนาด ของนกแต่ละช่วงอายุ เพ่ือให้มีการสูญเสียอาหารน้อยที่สุด หลักในการออกแบบจะต้องป้องกันนกลงไปกินอาหาร ในรางและจะตอ้ งปอ้ งกนั การคุ้ยเขีย่ อาหารของนกใหม้ ากท่สี ุด 7. การกินอาหารของนกกระทาในช่วง 6 สัปดาห์แรกประมาณ 500 กรัม/ตัว หลังจากนั้นนกกระทาจะกินอาหาร ประมาณ 25 กรัม/ตวั /วัน 8. ในช่วงฤดูร้อนนกกระทาจะกินอาหารน้อยลง จึงควรเพ่ิมระดับโปรตีนและวิตามินในอาหารให้สูงขึ้นและควรให้ อาหารในช่วงท่ีมีอากาศเย็นเพื่อกระต้นุ ให้นกกนิ อาหารได้มากขึ้น คณุ ค่าทางโภชนาการของเน้ือนกและไขน่ กกระทา คณุ ค่าทางโภชนาการ เน้ือนกกระทา ไข่นกกระทา 1. โปรตีน 2. ไขมัน 23.93 10.42 3. คอเลสเตอรอล/100 กรมั 4. ไตรกลีเซอไรด์/100 กรมั 2.83 13.72 5. กรดไขมนั 53.36 335.86 1.61 12.54 กรดไขมันไม่อิ่มตัวมีมากกว่ากรด กรดไขมันอ่ิมตัวมากกกว่ากรดไขมัน ไขมันอม่ิ ตวั ไมอ่ ิ่มตัว

โรคและการปอ้ งกัน นกกระทามคี วามทนทานตอ่ โรคตดิ ต่อมากกว่าไก่ อัตราการตายในระยะกกอาจสูงถึง 20-25% ถ้าหากมีการจัดการ ไมถ่ ูกต้อง โดยเฉพาะเรื่องของการให้ความอบอุ่นในการกก การกกที่หนาแน่นเกินไป หรือการใช้อุปกรณ์ให้น้าและ อาหารไมเ่ หมาะสม ถ้ามกี ารจดั การและการเลี้ยงดูทถี่ กู ตอ้ งนกกระทาจะมอี ตั ราการตายต้ังแต่แรกเกิดจนถึงจับขาย เป็นนกเนื้อประมาณ 8-10% การจัดการป้องกันโรคติดต่อเหมือนกับการเล้ียงไก่ แต่การเลี้ยงนกกระทาไม่จาเป็น จะต้องทาวัคซนี เหมือนกับไกก่ ระทงและไกไ่ ข่ ----------------------------------------------