Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore best practice ปี64 ส่งเขต

best practice ปี64 ส่งเขต

Published by yoswadee tongjib, 2021-08-17 08:14:07

Description: best practice ปี64 ส่งเขต

Search

Read the Text Version

แบบฟอร์ม แนวปฏบิ ตั ทิ ดี่ ี (Best Practice) ของสถานศึกษาชว่ งสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ โรคตดิ ต่อเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ช่ือผลงาน YOSWADEE Model กับการจดั การเรยี นร้วู ชิ าโครงงานวทิ ยาศาสตรแ์ บบออนไลน์ในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) ชอ่ื เจา้ ของผลงาน นางยศวดี ศศธิ ร โรงเรยี น มหาวชริ าวธุ จงั หวดั สงขลา อาเภอ เมอื งสงขลา จังหวดั สงขลา 1. แนวคิด/ความเปน็ มา จากวิกฤตสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ ตอ่ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ในปัจจุบัน ส่งผลให้ การจัดการเรียนรู้ต้องปรับเปล่ียนจากการเรียนแบบ On-site เป็นการเรียนแบบ On-line ครูผู้สอนจึงต้อง ปรับเปลี่ยนวธิ ีการการจัดการเรียนรู้ของตนเอง เพื่อให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ไดอ้ ย่างต่อเน่ืองเป็นไปตามปกติ แม้ นกั เรยี นไมส่ ามารถมาโรงเรยี นได้ วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์เป็นวิชาท่ีเน้นการจัดการเรียนรู้โดยการลงมือทา (Learning by Doing) แต่ การจัดการเรียนรู้ลักษณะนี้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ค่อนข้างจัดการเรียนรู้ได้ยาก สืบเน่ืองจากปญั หาการจัดการเรยี นรู้ในปกี ารศึกษา 2559 – 2562 น้ัน ข้าพเจ้าจึงได้ พฒั นารูปแบบการเรียนรู้ YOSWADEE Model ขึ้นในปีการศึกษา 2563 เพ่ือใชแ้ ก้ปัญหาในการเรียนของนกั เรียน พบว่ารูปแบบการเรียนรู้ YOSWADEE Model ทาให้นักเรียนเกิดทักษะกระบวนการคิดขั้นสูง สามารถเช่ือมโยง เร่ืองที่ได้เรียนรู้ไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจาวันได้ และนักเรียนมีความกล้าแสดงออกในการเข้าร่วมการแข่งขัน โครงงานวิทยาศาสตรก์ บั หนว่ ยงานภายนอก ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ข้าพเจ้าได้นารูปแบบ การเรียนรู้ YOSWADEE Mode มาปรับเปล่ียนจากการเรียนแบบ On-site เป็นการเรียนแบบ On-line มาใช้ แก้ปญั หาในการจัดการเรียนการสอนให้กบั นกั เรยี นในปกี ารศึกษา 2564 2. วตั ถปุ ระสงค์/เป้าหมาย 1. เพ่ือพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ให้แก่นักเรียนโครงการ SMA โดยใช้ รูปแบบการเรียนรู้ YOSWADEE Model 2. เพอ่ื กระตุ้นใหน้ กั เรยี นโครงการ SMA ไดน้ าความรทู้ เ่ี รยี นในห้องเรียนมาใชใ้ นการทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ 3. เพ่ือส่งเสริมให้นักเรียนโครงการ SMA มีความมั่นใจในการนาเสนอโครงงานวทิ ยาศาสตร์ทั้งการนาเสนอเป็น ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ 4. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนโครงการ SMA เข้าร่วมการแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์กับหน่วยงานภายนอก ใน ระดบั เขตพน้ื ท่ี ระดับภาค ระดบั ชาติ และระดบั นานาชาติ

3. กระบวนการและขนั้ ตอนการดาเนนิ การ (วิธปี ฏบิ ัติทเี่ ปน็ เลศิ ) 3.1 การออกแบบผลงาน/นวตั กรรม การจดั การเรียนรู้วิชาโครงงานวทิ ยาศาสตรโ์ ดยใชร้ ปู แบบการเรียนรู้ YOSWADEE Model มี 8 ข้นั ตอน ดังนี้ 1. Y : Youth learning in science project 2. O : Open-minded 3. S : Shared idea 4. W : Work check 5. A : Active learning by doing 6. D : Development 7. E : Evaluation 8. E : Extension 3.2 การดาเนินงานตามกจิ กรรม (ตามวงจร ADLI) 1) การวางแนวปฏบิ ัติ (Approach) ครูผู้สอนวชิ าโครงงานวิทยาศาสตร์รับทราบนโยบายของโรงเรียนและกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรยี นมหาวชริ าวุธ จังหวดั สงขลา 2) การดาเนนิ การ (Deployment) 1. หัวหน้ากลุ่มสาระประชุมปรึกษาหารือครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อ รับทราบยุทธศาสตร์และเป้าประสงค์ของโรงเรียนและกลุ่มสาระเก่ียวกับการจัดการเรียนรู้และกิจกรรม วทิ ยาศาสตร์ท่ีสง่ เสรมิ ศักยภาพของผ้เู รียน

2. ผู้รับผิดชอบรบั ทราบนโยบายของโรงเรียนและกล่มุ สาระฯ และได้รับมอบหมายให้สอนวชิ าโครงงาน วิทยาศาสตร์ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ซ่ึงเป็นกิจกรรมวิทยาศาสตร์ท่ีส่งเสริมให้ นกั เรียนไดแ้ สวงหาความร้ดู ้วยตนเอง โดยอาศยั วธิ ีการทางวิทยาศาสตร์ 3. ครูผู้สอนนารูปแบบการเรียนรู้ YOSWADEE Model มาใช้ในการจัดการเรียนรู้วิชาโครงงาน วิทยาศาสตร์ ในระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 และระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 สปั ดาห์ละ 2 ช่ัวโมง 4. เมื่อสอนทฤษฎีโครงงานจบ ครูผู้สอนให้นักเรียนเสนอหัวข้อโครงงาน และจัดทาเค้าโครงของ โครงงานวทิ ยาศาสตร์เสนอครูทีป่ รึกษา 5. ครผู ู้สอนและนกั เรยี นสารวจ จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ สารเคมี และนกั เรียนดาเนนิ จัดทาโครงงาน 6. นักเรียนนาเสนอผลการจัดทาโครงงาน และครูผู้สอนให้คาแนะนาเก่ียวกับรูปแบบการนาเสนอของ นกั เรยี น การปรบั ปรงุ และเพิ่มเตมิ การทดลองของนักเรยี น เพ่อื ให้โครงงานของนักเรียนสมบูรณม์ ากข้ึน 3) การทบทวนและปรับปรุง (Learning) 1. ครูผู้สอนทบทวนและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้ YOSWADEE Model ใหเ้ หมาะสมกับสถานการณก์ ารเปล่ยี นแปลงของโลก และบริบทของนกั เรยี น 2. ครูผู้สอนที่รับผิดชอบโครงการการพัฒนาโครงงานวิทยาศาสตร์จัดทารายงานการนาเสนอโครงงาน กบั หน่วยงานภายนอกของนักเรียนโครงการ SMA นาเสนอต่อผ้บู ริหาร 4) การบูรณาการ (Integration) 1. ครูผู้สอนวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์จัดนิทรรศการให้ความรู้เกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วยตัวอย่างรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ท่ีถูกต้อง บอร์ดนิทรรศการ เอกสารสาหรับการศึกษาค้นคว้า บทคัดย่อ และโครงงานวิทยาศาสตร์ที่ได้รับรางวัลระดับภาคใต้ ระดับประเทศ เพ่ือให้เกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู้ ระหว่างครูผสู้ อนในกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี และนักเรียนท่ีเรียนวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ 2. ครูผู้สอนวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์จัดค่ายโครงงานวิทยาศาสตร์เพื่อให้คุณครูโรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลาให้ความรู้เกี่ยวกับการแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ในระดับเขตพ้ืนที่ ระดับภาค ระดับประเทศและ ระดบั นานาชาติ 3. นักเรียนเข้าร่วมแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ภายในโรงเรียน เพ่ือคัดเลือกเป็นตัวแทนนักเรียน โรงเรยี นมหาวชริ าวุธ จงั หวัดสงขลาเข้ารว่ มแข่งขนั โครงงานวิทยาศาสตรก์ บั หน่วยงานภายนอก 4. ผลการดาเนินงาน 1. การจดั การเรียนรแู้ บบออนไลนว์ ชิ าโครงงานวิทยาศาสตรโ์ ดยใชร้ ูปแบบการเรียนรู้ YOSWADEE Model มี ประสิทธิภาพดี ทาใหน้ ักเรียนมคี วามสนใจและชอบเรยี นวิชาโครงงานวิทยาศาสตรเ์ พิ่มข้ึน 2. นกั เรยี นไดน้ าความรทู้ เ่ี รยี นในหอ้ งเรยี นมาใชใ้ นการทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ 3. นักเรยี นมคี วามม่ันใจในการนาเสนอโครงงานวทิ ยาศาสตรท์ ้ังการนาเสนอเปน็ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (อยู่ระหว่างดาเนินการ) 4. นกั เรยี นเขา้ ร่วมการแข่งขนั โครงงานวทิ ยาศาสตรก์ บั หน่วยงานภายนอก ในระดับเขตพ้นื ที่ ระดับภาค ระดบั ชาติ และระดบั นานาชาติ (อยรู่ ะหว่างดาเนนิ การ)

5. ปจั จยั ความสาเร็จ หมวด 1 การนาองค์กร ผู้บริหารช้ีแจงวิสัยทศั น์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ค่านิยม ให้แก่ครูโรงเรียนมหาวชริ าวุธ จังหวัดสงขลา และเน้น ให้โรงเรียนเป็นส่วนหน่ึงของชุมชน และชุมชนเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียน ดังนั้นครูผู้สอนจึงเน้นให้นักเรียนโครงการ SMA ทาโครงงานท่เี กย่ี วขอ้ งกับชมุ ชน และสามารถก่อให้เกดิ ประโยชนไ์ ดจ้ รงิ แกช่ ุมชน หมวด 2 กลยุทธ์ หัวหน้ากลุ่มสาระประชุมปรึกษาหารือครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อรับทราบ ยุทธศาสตร์และเป้าประสงค์ของโรงเรียนและกลุ่มสาระเกี่ยวกับการจัดการเรียน รู้และกิจกรรมวิทยาศาสตร์ท่ี ส่งเสริมศักยภาพของผู้เรียน ครูผู้สอนจึงนารูปแบบการเรียนรู้ YOSWADEE Model มาใช้ในการจัดการเรียนรู้วิชา โครงงานวิทยาศาสตร์ ให้กับนักเรียนโครงการ SMA โดยเน้นใหน้ กั เรยี นได้รับประสบการณ์จริงจากการลงมือปฏิบตั ิ และฝกึ ฝนทกั ษะทสี่ าคญั ในศตวรรษที่ 21 โดยเฉพาะทกั ษะ 4Cs คอื การคิดแบบมวี ิจารณญาณ (Critical thinking) การสื่อสาร(Communication) การทางานร่วมกัน (Collaboration) และการสร้างสรรค์ (Creativity) และเน้นให้ นกั เรยี นมคี ณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงคต์ ามหลกั ปรชั ญาโรงเรยี นมหาวชริ าวธุ จงั หวดั สงขลา หมวด 3 นกั เรียนและผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสยี การนารูปแบบการเรียนรู้ YOSWADEE Model มาใช้ในการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์วิชาโครงงาน วิทยาศาสตร์ของครูผู้สอน จะเน้นการถาม-ตอบ เพื่อให้นักเรียนได้แสดงออกซ่ึงความคิดเห็นของตนเอง โดย ครูผู้สอนจะไม่มีการระบุวา่ ความคดิ น้ันถูกหรอื ผิด ทาให้นักเรียนมคี วามกล้าแสดงออก กล้าคิด กล้าทาเพิ่มขึ้น และ มคี วามมั่นใจในการนาเสนอผลงานโครงงานวิทยาศาสตร์ของกล่มุ ตนเองเพิ่มข้นึ หมวด 4 การวดั การวิเคราะหแ์ ละการจัดการเรียนรู้ ครูผู้สอนจัดทาปฏิทินการแขง่ ขัน เพื่อแจ้งให้นักเรยี นโครงการ SMA ได้เตรียมความพร้อมในการลงมือจัดทา โครงงานวิทยาศาสตร์ เพื่อสมัครเข้าร่วมแข่งขันในรายการต่าง ๆ ท้ังในระดับโรงเรียน ระดับเขตพื้นที่ ระดับภาค ระดบั ประเทศและระดบั นานาชาติ เม่ือสิ้นปีการศึกษา ครูผู้สอนโครงงานวิทยาศาสตร์จะรวบรวมข้อมูลสารสนเทศเบื้องต้น และจัดทาเป็น รูปเล่มรายงานโครงการพัฒนาโครงงานวิทยาศาสตร์ (การนาเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์กับหน่วยงานภายนอก) เพ่ือสรุปผลการจัดทาโครงงานวิทยาศาสตรแ์ ละการเข้าร่วมการแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์กับหนว่ ยงานภายนอก ของนักเรยี นโครงการ SMA หมวด 5 บคุ ลากร ในการจัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์ของนักเรียนโครงการ SMA ในแต่ละระดับช้ัน จะมีครูผู้สอนอย่างน้อย 1 ท่านเปน็ ครทู ป่ี รกึ ษา คอยช้ีแนะเก่ียวกับการออกแบบการทดลอง การสรปุ ผลการทดลองและการจัดรปู แบบรูปเล่ม ของโครงงานวิทยาศาสตร์ และมีเจ้าหน้าท่ีห้องปฏิบัติการคอยแนะนาและให้ความช่วยเหลือการใช้เครื่องมือ อปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ในห้องปฏิบตั ิการ ทาให้นักเรียนโครงการ SMA โรงเรียนมหาวชริ าวุธ จังหวดั สงขลา จัดทาโครงงาน วิทยาศาสตร์ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ หมวด 6 การปฏบิ ตั ิงาน ในการจัดการเรียนรู้วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้ YOSWADEE Model ครูผู้สอนได้ ดาเนนิ การดังน้ี

1. รับทราบนโยบายของโรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลาและกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี 2. ครูผู้สอนจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้โครงงานวิทยาศาสตร์และปฏิทินการแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ ตลอดปกี ารศกึ ษา 3. ครูผู้สอนใช้รูปแบบการเรียนรู้ YOSWADEE Model ในการจัดการเรียนรู้วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ โดย เริ่มจากการสอนทฤษฎีโครงงานวิทยาศาสตร์และให้นักเรียนลงมือปฏิบัติจริงในหัวข้อโครงงานวิทยาศาสตร์ที่กลุ่ม ตนเองสนใจ 4. ครูมีการประเมินนักเรยี นทุกคร้ังที่สอน และให้คาชี้แนะแก่นักเรียนเก่ียวกับการออกแบบการทดลอง การ สรุปผลการทดลองและการจัดทารายงานโครงงานวทิ ยาศาสตร์ 5. ครผู สู้ อนพานกั เรียนเข้าร่วมการแขง่ ขันโครงงานวิทยาศาสตรใ์ นรายการแขง่ ขันตา่ ง ๆ 6. นักเรยี นนาความรู้ทไ่ี ดจ้ ากการทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ลงส่ชู มุ ชน 6. บทเรยี นท่ีได้รับ การจดั การเรยี นร้วู ิชาโครงงานวิทยาศาสตรโ์ ดยใชร้ ปู แบบการเรยี นรู้ YOSWADEE Model มีประสิทธภิ าพ ดี ทาให้นักเรียนชอบเรียนวชิ าโครงงานวิทยาศาสตร์เพ่ิมข้ึน และได้รับการพฒั นาทักษะต่าง ๆ ที่สาคัญในศตวรรษ ท่ี 21 7. ภาคผนวก (ภาพประกอบ/อื่นๆ ทเ่ี กี่ยวข้อง) 7.1 การจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้ YOSWADEE Model มี 8 ขัน้ ตอน ดงั นี้ 1. ข้นั การเรียนรู้ของเยาวชนในโครงงานวิทยาศาสตร์ (Youth learning in science project : Y)

2. ขั้นเปดิ ใจสกู่ ารเรียนรู้โครงงานวทิ ยาศาสตร์ (Open-minded : O) 3. ขน้ั แลกเปล่ยี นเรียนรู้ (Shared idea : S) 3.1 การแลกเปลย่ี นเรียนร้ขู องนักเรียนเร่อื ง ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรข์ ั้นพ้นื ฐานผา่ น Coggle

3.2 การแลกเปลยี่ นเรียนรู้ของนกั เรยี นเร่อื ง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขน้ั บรู ณาการผา่ น Google jamboard 4. ขนั้ ตรวจสอบความพร้อม (Work check : W) (อยู่ระหว่างดาเนนิ การ) 5. ขั้นเรียนรู้เชิงรกุ จากการลงมอื ทา (Active learning by doing : A) 5.1 การเรยี นรจู้ ากการลงมอื ทาของนกั เรยี นเรอื่ ง การวเิ คราะห์โครงงาน ผ่าน Padlet

5.2 การเรียนรจู้ ากการลงมอื ทาของนักเรยี นใน Google classroom 6. ขัน้ พฒั นาผลงาน (Development : D) (อยรู่ ะหว่างดาเนนิ การ) 7. ขัน้ ประเมนิ ผล (Evaluation : E) นกั เรยี นประเมนิ ผลการจดั การเรยี นรแู้ บบออนไลนว์ ชิ าโครงงานวทิ ยาศาสตร์ 8. ขนั้ ขยายความรู้ (Extension : E) (อยู่ระหวา่ งดาเนินการ)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook