Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน้าที่พลเมือง ม.6

หน้าที่พลเมือง ม.6

Published by monlada jadom, 2021-10-08 09:44:04

Description: หน้าที่พลเมือง ม.6

Search

Read the Text Version

หนา้ ทพ่ี ลเมือง วฒั นธรรม และการดาํ เนินชีวิตในสงั คม (ส33102) : รายวชิ าสงั คมศกึ ษาฯ 21 ครูปวณิ เกษวงศร์ อต , ครูเทพประทาน พ่งึ ศาสตร์ Sociology Auguste Comte สังคมวิทยา (Sociology) เปนสาขาหนึ่งของวิชาสังคมศาสตร และเปนการศึกษาแบบแผนของความสัมพันธของมนุษยในสังคม อยางเปนระบบ “มนุษยกับสังคม” บิดาแหงวิชาสังคมวิทยา คือ ออกุส คอมท (Auguste Comte) Aristotle: Man is by nature a social animal สงั คม (Society) คือ การท่ีมนุษย์ตง้ั แต่ 2 คนข้ึนไป มาอยู่รวมกันในอาณาเขตเดียวกนั เป็นเวลานาน พอสมควร มรี ูปแบบวฒั นธรรมเป็นของตนเอง วฒั นธรรม (Culture) เป็นวถิ ขี องมนุษย์ (Style of Life) ทเ่ี กิดจากการเรียนรูแ้ ละถ่ายทอด และเป็นทุกสง่ิ ทุก อยา่ งทม่ี นุษยส์ รา้ งข้นึ (แบบแผนความคดิ ความเชือ่ อุดมคติ ค่านยิ มของคนในสงั คม) ลกั ษณะสาํ คญั ของวฒั นธรรม เป็นส่งิ ทม่ี นุษยส์ รา้ งข้นึ เป็นสง่ิ ท่เี ปลย่ี นแปลงได้ เป็นส่งิ ท่เี กิดจากการเรยี นรูแ้ ละถ่ายทอด(มรดกทางสงั คม) เราเรยี กว่ากระบวนการขดั เกลาทางสงั คม เป็นเอกลกั ษณท์ างสงั คม คอื แตล่ ะพ้นื ท่มี วี ฒั นธรรมทแ่ี ตกตา่ งกนั

หน้าทพ่ี ลเมือง วฒั นธรรม และการดาํ เนินชีวิตในสงั คม : รายวิชาสงั คมศกึ ษาฯ ครูปวิณ เกษวงศร์ อต 22 ประเภทของวฒั นธรรม 1. วตั ถธุ รรม – วฒั นธรรมทางวตั ถทุ ่จี บั ตอ้ งได้ 2. เนตธิ รรม – วฒั นธรรมทางกฎหมาย กฎเกณฑ์ กฎระเบยี บ 3. คติธรรม – วฒั นธรรมทางศีลธรรมและจติ ใจ เชน่ ความกตญั �ู 4. สหธรรม – วฒั นธรรมทางสงั คม เชน่ มารยาทในสงั คม โครงสรา้ งทางสงั คม ระบบความสมั พนั ธข์ องคนในสงั คม องคป์ ระกอบของโครงสรา้ งทางสงั คม 1. กล่มุ สงั คม – การรวมตวั ของคนตง้ั แต่ 2 คน โดยมวี ตั ถปุ ระสงคร์ ่วมกนั และมคี วามสมั พนั ธซ์ ่งึ กนั และกนั รูปแบบของกล่มุ สงั คม 1.1. กลุ่มปฐมภูมิ – กลุ่มทม่ี คี วามสมั พนั ธใ์ กลช้ ดิ เชน่ พ่อแม่ลกู กลุ่มเพอ่ื น 1.2. กลุ่มทตุ ิยภูมิ – กลมุ่ ท่มี คี วามสมั พนั ธท์ างการ เชน่ นายจา้ งลูกจา้ ง ผอู้ าํ นวยการกบั เลขานุการ 2. สถาบนั ทางสงั คม – รูปแบบพฤติกรรมของสมาชิกในสงั คม เพอ่ื สนองความตอ้ งการร่วมกนั ในดา้ นต่างๆ และเพอื่ การคงอยู่ของสงั คมส่วนร่วม สถาบนั หน้าทส่ี ําคญั ครอบครวั 1) ผลติ สมาชิกใหม่ใหส้ งั คม 2) อบรมขดั เกลาสมาชกิ ศาสนา 1) เป็นท่ยี ดึ เหน่ียวจิตใจใหส้ มาชกิ 2) สรา้ งความสามคั คีในสงั คม การศกึ ษา 1) ถา่ ยทอดความรู้ และวฒั นธรรมใหส้ มาชกิ การเมอื งการปกครอง 1) สรา้ งกฎเกณฑใ์ หก้ บั สงั คม 2) รกั ษาความสงบในสงั คม เศรษฐกจิ 1) ผลติ สนิ คา้ และบรกิ ารใหส้ งั คม นนั ทนาการ 1) เสรมิ สรา้ งสขุ ภาพกายและสุขภาพจติ สอ่ื สารมวลชน 1) ใหข้ อ้ มูลข่าวสารกบั สงั คม 2) ถ่ายทอดความรูแ้ ละวฒั นธรรมใหส้ มาชิก 3. การจดั ระเบยี บทางสงั คม – การควบคมุ สมาชิกใหเ้ป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ย แบง่ เป็น 3.1. สถานภาพและบทบาท – ตาํ แหน่งในสงั คม มี 2 แบบ 3.1.1. สถานภาพติดตวั มาแตก่ าํ เนดิ เชน่ เพศ สผี วิ อายุ เช้อื ชาติความเป็นญาติ 3.1.2. สถานภาพไดม้ าโดยความสามารถ เชน่ การศกึ ษา อาชีพ การสมรส 3.2. ค่านยิ ม – ส่งิ ท่สี งั คมยกย่องว่าดแี ละควรปฏบิ ตั ิ เชน่ ความกตญั �ู การเคารพผอู้ าวุโส 3.3. บรรทดั ฐานทางสงั คม – มาตรฐานการปฏบิ ตั ติ นในสงั คม

หน้าท่พี ลเมือง วฒั นธรรม และการดําเนินชีวติ ในสงั คม : รายวิชาสงั คมศกึ ษาฯ ครูปวิณ เกษวงศร์ อต 23 วถิ ปี ระชาหรือวิถชี าวบา้ น จารีตหรือกฎศีลธรรม กฎหมาย ความหมาย แนวปฏบิ ตั ทิ ่ที าํ แนวปฏบิ ตั ทิ ่เี กี่ยวขอ้ ง ขอ้ บงั คบั ของรฐั ดว้ ยความเคยชนิ กบั จริยธรรม และศีลธรรม เพราะปฏบิ ตั ิกนั มานาน บทลงโทษ นินทา ดูถกู เหยยี ดหยาม ประณาม มบี ทลงโทษชดั เจน รมุ ประชาทณั ฑ์ การรบั ประทานอาหาร ความกตญั �ูตอ่ พอ่ แม่ ขบั รถจกั รยานยนต์ ตวั อยา่ ง ดว้ ยชอ้ น ซอ้ ม มสุ ลมิ ไม่ทานเน้ือหมู ตอ้ งสวมหมวกนริ ภยั การแตง่ กายสุภาพไปวดั 4. การขดั เกลาทางสงั คม – การสอน 4.1. ทางตรง – การขดั เกลาแบบเป็นทางการ เช่น การสอนหรือการบอกตรงๆ 4.2. ทางออ้ ม – การขดั เกลาแบบไม่เป็นทางการ เชน่ การเรยี นรูจ้ ากส่อื จากสง่ิ รอบตวั หรือประสบการณต์ รง การเปลยี่ นแปลงและปญั หาทางสงั คมไทย 1. การเปล่ยี นแปลงทางสงั คม – เปลย่ี นแปลงโครงสรา้ งและความสมั พนั ธข์ องคนในสงั คม เช่น การเปลย่ี นแปลง โครงสรา้ งประชากร การเปลย่ี นแปลงสถานะภาพและบทบาท 2. การเปลย่ี นแปลงทางวฒั นธรรม – เปล่ยี นแปลงรูปแบบส่ิงท่มี นุษยส์ รา้ ง เช่น การเปล่ยี นแปลงความรู้ ความเช่ือ ประเพณี ลกั ษณะสงั คมไทย สงั คมชนบท - ประกอบอาชีพเกษตรกรรม - เป็นครอบครวั ขยาย - ความสมั พนั ธใ์ นสงั คมมคี วามใกลช้ ดิ (ความสมั พนั ธแ์ บบปฐมภมู )ิ สงั คมเมอื ง - ประกอบอาชีพหลากหลายทง้ั การคา้ และบรกิ าร - เป็นครอบครวั เด่ยี ว - ความสมั พนั ธใ์ นสงั คมเป็นลกั ษณะทางการ (ความสมั พนั ธแ์ บบทตุ ิยภูม)ิ ปญั หาสงั คม – ปญั หาท่ีคนในสงั คมไม่ปรารถนา และตอ้ งการใหแ้ กไ้ ขเพอ่ื กลบั สู่สภาวะปกติ ปญั หาสงั คมท่ีสาํ คญั ใน ไทย เช่น ความยากจน ยาเสพตดิ อาชญากรรม ทุจรติ คอรร์ ปั ชนั สง่ิ แวดลอ้ ม

หนา้ ทพี่ ลเมือง วฒั นธรรม และการดาํ เนินชีวิตในสงั คม : รายวิชาสงั คมศึกษาฯ ครูปวิณ เกษวงศร์ อต 24 ใบงาน Sociology 1. สงั คม (Society) หมายถงึ ........................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 2. ลกั ษณะสาํ คญั ของวฒั นธรรม ประกอบไปดว้ ยอะไรบา้ ง .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 3. ประเภทของวฒั นธรรม จงอธิบาย .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 4. กล่มุ สงั คม คอื อะไร มกี รี่ ูปแบบ อะไรบา้ ง .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 5. สถานภาพ คอื อะไร มกี ่รี ูปแบบ อะไรบา้ ง .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 6. จงอธบิ ายความหมายของ วถิ ีประชา (Folkways)........................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... จารตี (Morals)................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... กฎหมาย (Laws)................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... .......................................ผูต้ รวจ ........../................../2563

หนา้ ทพ่ี ลเมือง วฒั นธรรม และการดาํ เนินชีวิตในสงั คม : รายวิชาสงั คมศึกษาฯ ครูปวณิ เกษวงศร์ อต 25 Political Sciences ความรูเ้ บ้อื งตน้ เกยี่ วกบั รฐั รฐั – ชุมชนทางการเมอื ง มอี งคป์ ระกอบ 4 ประการ 1. ดนิ แดน 2. ประชากร 3. รฐั บาล 4. อาํ นาจอธิปไตย – ความเป็นเอกราช **** รูปแบบของรฐั 1. รฐั เด่ยี ว – รฐั ทม่ี รี ฐั บาลชดุ เดยี วปกครองประเทศ เช่น ไทย ฝรงั่ เศส องั กฤษ ญ่ีปุ่น กมั พชู า 2. รฐั รวม – (สหพนั ธรฐั หรือรฐั สหพนั ธ)์ รฐั ท่ีมรี ฐั บาลมากกว่า 1 ชุดปกครอง เช่น สหรฐั อเมริกา ออสเตรเลยี รสั เซยี อนิ เดยี มาเลเซยี ซง่ึ ประกอบไปดว้ ย 1. รฐั บาลกลาง – ทาํ หนา้ ทส่ี าํ คญั เพยี ง 3 เร่ือง คอื การต่างประเทศ การคลงั การทหาร 2. รฐั บาลทอ้ งถน่ิ – ทาํ หนา้ ท่เี กีย่ วขอ้ งกบั ทอ้ งถน่ิ เช่น การศกึ ษา สาธารณูปโภค สาธารณสุข ลกั ษณะการปกครองของรฐั 1. ราชอาณาจกั ร – รฐั ทม่ี พี ระมหากษตั รยิ เ์ ป็นประมขุ เช่น ไทย กมั พชู า ญี่ปุ่น นอรเ์ วย์ สเปน 2. สาธารณรฐั – รฐั ท่มี ปี ระธานาธิบดเี ป็นประมขุ เชน่ สหรฐั อเมรกิ า ฝรงั่ เศส รสั เซยี อนิ เดยี ระบอบการปกครองของโลก 1. ระบอบประชาธิปไตย มาจากภาษากรีกวา่ Demokratia แปลว่า อาํ นาจของประชาชน เกดิ ข้นึ ครง้ั แรกทน่ี ครรฐั เอเธนส์ ของกรกี ประชาธิปไตย แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ 1. ประชาธิปไตยทางตรง ประชาชนทุกคนมสี ่วนร่วมและเขา้ ร่วม 2. ประชาธปิ ไตยทางออ้ ม มกี ารเลอื กตง้ั ผแู้ ทนเขา้ ไปทาํ หนา้ ท่แี ทนประชาชน อบั ราฮมั ลนิ คอลน์ ประธานาธบิ ดีคนท่ี 16 ของสหรฐั อเมริกา เป็นผูใ้ หค้ วามหมายของประชาธิปไตย ซ่งึ เป็น ความหมายทใ่ี ชแ้ พร่หลายในปจั จบุ นั วา่ ประชาธิปไตยเป็นการปกครอง “ของประชาชน โดยประชาชน และเพอื่ ประชาชน”

หนา้ ท่พี ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดาํ เนินชีวิตในสงั คม : รายวชิ าสงั คมศกึ ษาฯ ครูปวณิ เกษวงศร์ อต 26 Democracy is the government of the people, by the people, and for the people หลกั พ้นื ฐานของการปกครอง 4. หลกั สทิ ธิเสรภี าพ 1. หลกั อาํ นาจอธิปไตยเป็นของประชาชน 5. หลกั เหตผุ ล 2. หลกั เสมอภาค 6. หลกั เสยี งขา้ งมาก 3. หลกั นติ ิธรรม ระบบการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย แบ่งได้ 3 ระบบ ดงั น้ี รฐั สภา ประธานาธบิ ดี ก่งึ ประธานาธิบดี กึง่ รฐั สภา ประมขุ กษตั รยิ ์ ประธานาธิบดี ประธานาธบิ ดี ผูบ้ รหิ ารประเทศ นายกรฐั มนตรี ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี และนายกรฐั มนตรี การอภปิ รายไม่ไวว้ างใจ สภาผูแ้ ทนราษฎรสามารถ สภาผแู้ ทนราษฎรไมส่ ามารถ สภาผแู้ ทนราษฎรสามารถเปิด เปิดอภปิ รายไม่ไวว้ างใจ เปิดอภปิ รายไมไ่ วว้ างใจ อภปิ รายไมไ่ วว้ างใจนายกรฐั มนตรไี ด้ ประธานาธิบดไี ด้ นายกรฐั มนตรไี ด้ แตไ่ มส่ ามารถเปิดอภปิ รายไม่ไวว้ างใจ ประธานาธบิ ดไี ด้ การยบุ สภาผูแ้ ทนราษฎร นายกรฐั มนตรีสามารถยบุ ประธานาธิบดไี มส่ ามารถยุบ ประธานาธบิ ดเี ป็นผูย้ ุบสภา สภาผแู้ ทนราษฎรสามารถได้ สภาผแู้ ทนราษฎรสามารถได้ ผแู้ ทนราษฎร ตวั อยา่ ง ไทย กมั พูชา ญี่ป่นุ นอรเ์ วย์ สหรฐั อเมริกา ฟิลปิ ปินส์ ฝรงั่ เศส รสั เซยี ไตห้ วนั สเปน สหราชอาณาจกั ร อนิ โดนเี ซยี 2. ระบอบเผดจ็ การ เป็นการปกครองทบ่ี คุ คลหรอื คณะบุคคลยดึ ครองทางการเมอื ง โดยใชอ้ าํ นาจควบคมุ ประชาชนอยา่ งเด็ดขาด 1. อาํ นาจนิยม  จาํ กดั สทิ ธิเสรีภาพประชาชนเฉพาะดา้ นการเมอื งเทา่ นน้ั เช่น เผดจ็ การทหาร สมบรู ณาญาสทิ ธริ าชย์ 2. เบด็ เสร็จนยิ ม  จาํ กดั สทิ ธิเสรภี าพประชาชนในทุกดา้ น ทง้ั ดา้ นการเมอื ง เศรษฐกิจ และสงั คม เชน่  ฟาสซสิ ตแ์ ละนาซี  คอมมวิ นสิ ต์

หน้าที่พลเมือง วฒั นธรรม และการดําเนินชีวติ ในสงั คม : รายวชิ าสงั คมศกึ ษาฯ ครูปวิณ เกษวงศร์ อต 27 ปจั จุบนั การปกครองแบบเบด็ เสรจ็ นยิ มมกั จะหมายถงึ คอมมวิ นิสต์ เพราะการปกครองแบบฟาสซสิ ตแ์ ละนาซสี ้นิ สดุ ไปตง้ั แตห่ ลงั สงครามโลกครง้ั ท่ี 2 ซง่ึ ประเทศท่ปี กครองดว้ ยระบอบคอมมวิ นิสตใ์ นปจั จุบนั ประกอบไปดว้ ย จนี เกาหลเี หนือ ลาว เวยี ดนาม และควิ บา คารล์ มารก์ ซ์ เจา้ ของแนวคดิ คอมมิวนิสต์ วลาดมิ รี ์ อยุ ยานอฟ เลนิน ทําใหร้ สั เซยี เป็น สงั คมนิยมคอมมิวนิสต์ ประเทศแรกของโลก ค.ศ.1917 การเมอื งการปกครองตามรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2560 ประเทศไทยใชร้ ฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2560 ถือเป็นฉบบั ท่ี 20 ของประเทศไทยโดย คณะกรรมการร่างรฐั ธรรมนูญ รฐั ธรรมนูญฉบบั น้ี พระบาทสมเด็จพระวชริ เกลา้ เจา้ อยู่หวั ทรงลงพระปรมาภไิ ธยเมอื่ วนั ท่ี 6 เมษายน พ.ศ. 2560 ณ พระท่นี งั่ อนนั ตสมาคม พระราชวงั ดุสติ มพี ลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี เป็นผรู้ บั สนองพระราชโองการ (มี 16 หมวด 279 มาตรา) มกี ารลงประชามตใิ นเดอื นสงิ หาคม 2559 ซง่ึ ผมู้ าใชส้ ทิ ธริ อ้ ย ละ 61.35 เหน็ ชอบ

หนา้ ทพี่ ลเมือง วฒั นธรรม และการดําเนินชีวิตในสงั คม : รายวชิ าสงั คมศึกษาฯ ครูปวิณ เกษวงศร์ อต 28 ฐานะและพระราชอาํ นาจของพระมหากษตั ริยไ์ ทย ในปี พ.ศ. 2475 ประเทศไทยไดม้ กี ารเปลย่ี นแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (กษตั ริยม์ ี อาํ นาจสิทธิขาด) มาเป็นระบบกษตั ริยภ์ ายใตร้ ฐั ธรรมนูญ พระมหากษตั ริย์ ทรงเป็นสญั ลกั ษณ์ของชาติ อยู่ในฐานะอนั เป็นเคารพสกั การะ นอกจากน้ียงั ทรงเป็นจอมทพั ไทย และอคั รศาสนูปถมั ภก พระมหากษตั ริยท์ รงใชอ้ าํ นาจอธิปไตย กล่าวคือ อาํ นาจนิติบญั ญตั ิผ่าน รฐั สภา คือการลงพระปรมาภิไธย รบั รองออกกฎหมายต่างๆ อาํ นาจบริหารผ่าน คณะรฐั มนตรี คือการมีพระบรมราชโองการรบั รองการกระทาํ เก่ียวกบั ราชการแผ่นดนิ อาํ นาจตุลาการผ่าน ศาล คือผู้ พพิ ากษามอี าํ นาจตดั สนิ คดตี า่ งๆ ในนามพระมหากษตั ริย์ ตามกฎหมายในพระปรมาภไิ ธย “อาํ นาจอธปิ ไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษตั ริยผ์ ูท้ รงเป็นประมุขทรงใชอ้ าํ นาจนนั้ ทางรฐั สภา คณะรฐั มนตรี และศาล ตามบทบญั ญตั แิ หง่ รฐั ธรรมนูญ” หมวด 2 พระมหากษตั รยิ ์ (มาตรา 6 - 24) - มาตรา 6 องคพ์ ระมหากษตั ริยท์ รงดาํ รงอยู่ในฐานะอนั เป็นทเ่ี คารพสกั การะผูใ้ ดจะละเมดิ มไิ ด้ ผูใ้ ดจะกลา่ วหา หรือฟ้องรอ้ งพระมหากษตั ริยใ์ นทางใด ๆ มไิ ด้ - มาตรา 7 พระมหากษตั ริยท์ รงเป็นพทุ ธมามกะ และทรงเป็นอคั รศาสนูปถมั ภก - มาตรา 8 พระมหากษตั รยิ ท์ รงดาํ รงตาํ แหน่งจอมทพั ไทย - มาตรา 9 พระมหากษตั ริยท์ รงไวซ้ ่ึงพระราชอาํ นาจท่ีจะสถาปนาและถอดถอนฐานนั ดรศกั ด์ิและพระราชทาน และเรยี กคืนเครือ่ งราชอสิ รยิ าภรณ์ - มาตรา 10 พระมหากษตั ริยท์ รงเลือกและทรงแต่งตง้ั ผูท้ รงคุณวุฒิเป็นประธานองคมนตรีคนหนึ่งและ องคมนตรีอ่ืนอกี ไม่เกินสบิ แปดคนประกอบเป็นคณะองคมนตรี คณะองคมนตรีมีหนา้ ท่ีถวายความเห็นต่อ พระมหากษตั รยิ ใ์ นพระราชกรณียกิจทง้ั ปวงท่ีพระมหากษตั ริยท์ รงปรึกษา และมีหนา้ ท่ีอน่ื ตามท่ีบญั ญตั ิไวใ้ น รฐั ธรรมนูญ - มาตรา 15 การแตง่ ตง้ั และการใหข้ า้ ราชการในพระองคพ์ น้ จากตาํ แหน่ง ใหเ้ป็นไปตามพระราชอธั ยาศยั การจดั ระเบยี บราชการและการบริหารงานบุคคลของราชการในพระองค์ ใหเ้ป็นไปตามพระราชอธั ยาศยั ตามท่ีบญั ญตั ิ ไวใ้ นพระราชกฤษฎกี า

หน้าทพ่ี ลเมือง วฒั นธรรม และการดําเนินชีวติ ในสงั คม : รายวชิ าสงั คมศกึ ษาฯ ครูปวิณ เกษวงศร์ อต 29 1. รฐั สภา - ประธานสภาผแู้ ทนราษฎรเป็นประธานรฐั สภา ประธานวฒุ สิ ภาเป็นรองประธานรฐั สภา นายชวน หลกี ภยั นายพรเพชร วชิ ิตชลชยั ประธานรฐั สภา ประธานวุฒสิ ภา / รองประธานรฐั สภา 1.1. สภาผแู้ ทนราษฎร จาํ นวน 500 คน  แบ่งเขตเลอื กตง้ั 350 คน  บญั ชรี ายช่ือของพรรคการเมอื ง จาํ นวน 150 คน คุณสมบตั ทิ ่สี าํ คญั  มสี ญั ชาติไทยโดยการกาํ เนิด  มอี ายุไมต่ าํ่ กวา่ 25 ปี นบั ถงึ วนั เลอื กตง้ั  เป็นสมาชกิ พรรคการเมอื งใดพรรคการเมอื งหน่ึงแตเ่ พยี งพรรคการเมอื งเดยี วเป็นเวลาติดต่อกนั ไม่นอ้ ยกว่า 90 วนั นบั ถงึ วนั เลอื กตงั้  วาระละ 4 ปี นบั ตงั้ แต่วนั เลอื กตงั้ 1.2 วุฒิสภา จาํ นวน 200 คน มาจากการสรรหา แต่ในช่วง 5 ปีแรกของการประกาศใชร้ ฐั ธรรมนูญใหม้ ีวุฒิสภาจํานวน 250 คน ซง่ึ พระมหากษตั รยิ ท์ รงแตง่ ตง้ั ตามทค่ี ณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ (คสช.) ถวายคาํ แนะนาํ คณุ สมบตั ิท่สี าํ คญั  มสี ญั ชาติไทยโดยการกาํ เนิด  มอี ายุไม่ตาํ่ กว่า 40 ปี ในวนั สมคั รรบั เลอื กตง้ั  มคี วามรู้ ความเชย่ี วชาญ และประสบการณ์ หรอื ทาํ งานในดา้ นทส่ี มคั รไม่นอ้ ยกวา่ 10 ปี  วาระละ 5 ปี นบั ตงั้ แต่วนั เลอื กตง้ั 2. คณะรฐั มนตรี – ประกอบดว้ ยนายกรฐั มนตรี 1 คน และคณะรฐั มนตรอี กี ไมเ่ กนิ 35 คน คณุ สมบตั ทิ ส่ี าํ คญั พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา  มสี ญั ชาติไทยโดยการกาํ เนิด นายกรฐั มนตรี คนท่ี 29  มอี ายไุ มต่ าํ่ กว่า 35 ปี  สาํ เร็จการศกึ ษาไม่ตาํ่ กว่าระดบั ปริญญาตรหี รือเทยี บเท่า  นายกรฐั มนตรจี ะดาํ รงตาํ แหน่งรวมกนั แลว้ เกิน 8 ปีมไิ ด้

หน้าท่ีพลเมือง วฒั นธรรม และการดาํ เนินชีวิตในสงั คม : รายวชิ าสงั คมศึกษาฯ ครูปวณิ เกษวงศร์ อต 30 มาตรา 95 บุคคลผูม้ คี ณุ สมบตั ิดงั ตอ่ ไปน้เี ป็นผมู้ สี ทิ ธิเลอื กตงั้ - สญั ชาติไทย หรือแปลงสญั ชาติมาแลว้ ไม่นอ้ ยกว่า 5 ปี - อายุไม่ตาํ่ กว่า 18 ปี ในวนั เลอื กตงั้ - มชี อ่ื อยูใ่ นทะเบยี นบา้ นในเขตเลอื กตงั้ ไมน่ อ้ ยกวา่ 90 วนั มาตรา 96 บคุ คลผูม้ ลี กั ษณะดงั ต่อไปน้ใี นวนั เลอื กตงั้ เป็นบคุ คลตอ้ งหา้ มมใิ หใ้ ชส้ ทิ ธเิ ลอื กตง้ั - ภกิ ษุ สามเณร นกั พรต หรือนกั บวช - ถูกคุมขงั โดยหมายของศาล - วกิ ลจริต หรอื จติ ฟนั่ เฟือน - ถกู เพกิ ถอนสทิ ธเิ ลอื กตง้ั 3. ศาล – แบ่งเป็น 4 ประเภท 3.1. ศาลยตุ ิธรรม – พพิ ากษาคดที วั่ ไป ประกอบดว้ ย ศาลชนั้ ตน้ ศาลอทุ ธรณ์ ศาลฎกี า 3.2. ศาลปกครอง – พพิ ากษาคดรี ะหวา่ งเจา้ หนา้ ท่รี ฐั กบั เอกชน หรือเจา้ หนา้ ทร่ี ฐั กบั หน่วยงานของรฐั 3.3. ศาลรฐั ธรรมนูญ – พพิ ากษาคดที ่เี ก่ยี วกบั ขอ้ กฎหมายรฐั ธรรมนูญ 3.4. ศาลทหาร – พพิ ากษาคดอี าญาทหาร 4. องคก์ รอสิ ระตามรฐั ธรรมนูญ คณะกรรมการการเลือกต้งั หรือย่อว่า กกต. (ECT) เป็นองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจกั รไทย มหี นา้ ท่ีหลกั เป็นผูค้ วบคุมและดาํ เนินการจดั หรือ จดั ใหม้ กี ารเลอื กตง้ั หรือการ สรรหาสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาทอ้ งถ่ินและผูบ้ ริหารทอ้ งถ่ิน แลว้ แต่ กรณี รวมทงั้ การออกเสยี งประชามติ ใหเ้ป็นไปโดยสุจริตและเท่ยี งธรรม ผูต้ รวจการแผ่นดิน (เดิมเรียกว่า ผูต้ รวจการแผ่นดินของรฐั สภา) คือ บุคคลท่ีพระมหากษตั ริยท์ รง แตง่ ตง้ั ตามคาํ แนะนําของวฒุ ิสภาจากผซู้ ่งึ เป็นท่ียอมรบั นบั ถือของประชาชน ตาํ แหน่งผตู้ รวจการแผ่นดิน มแี นวคิดมาจากประเทศแถบสแกนดิเนเวยี ท่ปี กครองดว้ ยระบอบกษตั ริย์ มตี าํ แหน่งท่ีเรียกว่า \"ออมบุด สแมน\" (Ombudsman) เพื่อทาํ หนา้ ท่ดี ูแลปดั เป่าเร่ืองทุกขร์ อ้ นของประชาชนแทน ในประเทศไทยเริ่มมกี ารจดั ตงั้ ครง้ั แรกในปี พ.ศ. 2542 โดยใชช้ ่ือว่า \"ผูต้ รวจการแผ่นดินของรฐั สภา\" ทาํ หนา้ ท่ีสาํ คญั คือ แสวงหาขอ้ เท็จจริงเม่อื เหน็ ว่ามีผูไ้ ดร้ บั ความเดอื ดรอ้ นหรือความไม่เป็นธรรมอนั เน่ืองมาจากการปฏิบตั ิหนา้ ท่ขี องหน่วยงานหรือเจา้ หนา้ ท่ี ของรฐั เพอ่ื เสนอแนะต่อหน่วยงานของรฐั ท่เี กีย่ วขอ้ งเพ่ือ ขจดั หรือระงบั ความเดอื ดรอ้ นหรือไม่เป็นธรรม คณะกรรมการป้ องกนั และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) เป็นคณะบุคคลซ่ึงประกอบดว้ ย ประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิอ่ืนอีก 8 คน ซ่ึงพระมหากษตั ริยท์ รงแต่งตง้ั ตาม

หน้าทพ่ี ลเมือง วฒั นธรรม และการดาํ เนินชีวติ ในสงั คม : รายวชิ าสงั คมศึกษาฯ ครูปวณิ เกษวงศร์ อต 31 คาํ แนะนาํ ของวฒุ ิสภา มหี นา้ ทห่ี ลกั คือ ดา้ นป้องกนั ดา้ นปราบปราม ดา้ นตรวจสอบ ดา้ นวชิ าการ ดา้ นการต่างประเทศ หรือผูด้ าํ รงตาํ แหน่งทางการเมือง ตุลาการศาลรฐั ธรรมนูญ ผูด้ าํ รงตาํ แหน่งในองคก์ รอิสระ เจา้ หนา้ ท่ขี องรฐั ย่นื บญั ชี แสดงทรพั ยส์ นิ และหน้ีสนิ ของตนเอง คู่สมรส และบุตรทย่ี งั ไม่บรรลนุ ติ ภิ าวะ สำนกั งานการตรวจเงินแผนดิน หรอื สตง. (OAG) เปนองคกรอสิ ระ อยูภายใตการกำกับดูแลของ คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน (คตง.) มีหนาที่ดำเนินการเกี่ยวกับ การบริหารงานบุคคล การงบประมาณ การปฏบิ ัตงิ าน และการดำเนินการอื่น ที่เกยี่ วกบั การตรวจเงินแผนดิน ตรวจสอบ การใชงบประมาณของรัฐบาล โดยมี ผวู า การตรวจเงนิ แผน ดิน (Auditor General) เปน หวั หนาสำนักงาน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ เปนองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ประกอบดว ยประธานกรรมการคนหนงึ่ และกรรมการอืน่ อีกสิบคน ซง่ึ พระมหากษตั ริยทรงแตงตั้งตาม คำแนะนำของวุฒิสภา จากผูซึ่งมีความรูหรือประสบการณดานการคุมครองสิทธิเสรีภาพของ ประชาชนเปนท่ีประจักษ ทง้ั น้ี โดยตองคำนึงถงึ การมีสวนรวมของผูแทนจากองคการเอกชนดานสิทธิมนุษยชนดวย สทิ ธมิ นุษยชน - ศกั ดศ์ิ รคี วามเป็นมนุษย์ สทิ ธิ เสรภี าพ และความเสมอภาคของบคุ คล องคก์ รส่งเสริมสทิ ธิมนุษยชนระดบั สากล 1. องคก์ ารสหประชาชาติ จดั ตง้ั ข้ึนเพอื่ คุม้ ครองและส่งเสริมสนั ติภาพ โดยเป็นหน่วยงานท่ีประกาศใชป้ ฏญิ ญา สากลว่าดว้ ยสทิ ธมิ นุษยชน ซง่ึ เป็นหลกั การคมุ้ ครองสทิ ธิมนุษย์ องคก์ ารสหประชาชาติ เกิดข้ึนจากประธานาธิบดแี ฟรงกลนิ ด.ี โรสเวลต์ ของอเมริกา และ วนิ สตนั เชอรช์ ิลล์ นายกฯองั กฤษ ร่วมลงนามในกฎบตั ร แอตแลนติก ในปี 1941 เพื่อเป็นแนวทางปฏิบตั ิของ ฝ่ายสมั พนั ธมติ รเมอ่ื สงครามโลกครง้ั ท่ี 2 ส้นิ สุดลง  สถาปนาอยา่ งเป็นทางการเมอื่ วนั ท่ี 24 ตลุ าคม ค.ศ. 1945 ถอื เป็นวนั สหประชาชาติ เพราะสมาชิกใหส้ ตั ยาบนั และกฎบตั รมผี ลบงั คบั ใชโ้ ดยสมบูรณ์ มสี าํ นกั งานใหญต่ ง้ั อยูท่ ่ี นครนิวยอรก์ สหรฐั อเมริกา  สมชั ชาใหญ่ ทป่ี ระชุมใหญข่ องสมาชกิ ปจั จบุ นั มสี มาชกิ 193 ประเทศ  คณะมนตรีความมนั่ คงแห่งสหประชาชาติ ดูแลดา้ นความมนั่ คงและตดั สนิ ขอ้ พิพาทระหว่างประเทศสมาชิก มสี มาชิกถาวร 5 ประเทศ คือ สหรฐั ฯ องั กฤษ ฝรงั่ เศส จีน รสั เซยี และสมาชิกหมนุ เวยี น 10 ประเทศ  คณะมนตรีเศรษฐกจิ และสงั คม ทาํ หนา้ ท่ดี ูแลในเรอ่ื งของเศรษฐกิจ สงั คม และวฒั นธรรม รวมทงั้ เร่ืองของ สทิ ธมิ นุษยชน  ศาลโลกหรือศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ทาํ หนา้ ทพ่ี จิ ารณา ตดั สนิ คดพี พิ าทระหว่างประเทศสมาชิก ตง้ั อยูท่ ่ี กรงุ เฮก ประเทศเนเธอแลนด์  สาํ นกั งานเลขาธกิ าร ทาํ หนา้ ทบ่ี ริหารงานของสหประชาชาติ มผี ูบ้ ริหารสูงสุดคือ เลขาธิการสหประชาชาติ

หน้าที่พลเมือง วฒั นธรรม และการดําเนินชีวติ ในสงั คม : รายวชิ าสงั คมศึกษาฯ ครูปวณิ เกษวงศร์ อต 32 รายนามเลขาธกิ ารองคก์ ารสหประชาชาติ  นายทรกิ เว ลี ชาวนอรเวย์  นายดคั๊ ฮมั มารโ์ ชลด์ ชาวสวเี ดน (ประสบอบุ ตั เิ หตเุ ครอ่ื งบนิ ตกในแอฟริกา)  นายอูถนั่ ชาวพม่า (ชาวเอเชยี คนแรก)  นายเคริ ท์ วลั ดไ์ ฮม์ ชาวออสเตรยี  นายฮาเวยี เปเรซ เดอเควลยาร์ ชาวเปรู  นายบทู รอส บูทรอส-กาลี ชาวอยี ปิ ต์ นายองั ตอนีอู กูแตรชึ ชาวโปรตุเกส  นายโคฟี อนั นาน ชาวกานา เลขาธกิ ารองคก์ ารสหประชาชาตคิ นปจั จบุ นั  นายบนั คีมนุ ชาวเกาหลใี ต้ ปฏิญญาสากลวา่ ดว้ ยสทิ ธิมนุษยชน 1 มกราคม 2560  ประกาศใชว้ นั ท่ี 10 ธนั วาคม พ.ศ. 2491 โดยสมชั ชาใหญ่แหง่ สหประชาชาติ  มจี าํ นวน 30 ขอ้ สาระสาํ คญั ประกอบดว้ ย 4 ส่วน คือ 1. หลกั การสาํ คญั ของสทิ ธมิ นุษยชน (ขอ้ ท่ี 1 - 2) 2. สทิ ธิของพลเมอื งและสทิ ธิทางการเมอื ง (ขอ้ 3 - 21) 3. สทิ ธทิ างเศรษฐกิจ สงั คม และวฒั นธรรม (ขอ้ ท่ี 22 - 27) 4. หนา้ ทข่ี องบคุ คล สงั คม และรฐั (ขอ้ ท่ี 28 - 30) ปญั หาการละเมดิ สทิ ธมิ นุษยชน  การฆ่าลา้ งเผา่ พนั ธุ์  การละเมดิ สทิ ธิเดก็ และเยาชน  การละเมดิ สทิ ธสิ ตรี  การละเมดิ สทิ ธแิ รงงานขา้ มชาติ  การเลอื กปฏบิ ตั ติ อ่ ผพู้ กิ าร

หน้าทพ่ี ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดาํ เนินชีวิตในสงั คม : รายวชิ าสงั คมศึกษาฯ ครูปวิณ เกษวงศร์ อต 33 ใบงาน Political Sciences 1. รฐั (State) หมายถงึ ประกอบไปดว้ ย........................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. รูปแบบประชาธปิ ไตย มี 3 รูปแบบ อะไรบา้ ง จงอธบิ าย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. การท่พี ระมหากษตั ริยไ์ ทยทรงอปุ ถมั ภท์ กุ ศาสนา ตรงกบั บทบญั ญตั หิ มวดใด มาตราใด ของรฐั ธรรมนูญ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. ศาล แบง่ เป็นกปี่ ระเภท อะไรบา้ ง จงอธบิ าย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. องคก์ รอสิ ระตามรฐั ธรรมนูญใด ทาํ หนา้ ท่ใี นการตรวจสอบบญั ชีทรพั ยส์ นิ และหน้สี นิ ของเจา้ หนา้ ท่รี ฐั ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… .......................................ผูต้ รวจ ........../................../2563

หนา้ ท่ีพลเมือง วฒั นธรรม และการดําเนินชีวติ ในสงั คม : รายวชิ าสงั คมศึกษาฯ ครูปวณิ เกษวงศร์ อต 34 Law กฎหมาย คือ ขอ้ บงั คบั ของรฐั ผูใ้ ดฝ่ าฝืนจะตอ้ งไดร้ บั โทษตามกฎหมาย ลกั ษณะสาํ คญั ของกฎหมาย ประชาชนทุกคนตอ้ งปฏบิ ตั ติ าม จะอา้ งว่าไมร่ ูก้ ฎหมายไมไ่ ด้ 1. เป็นขอ้ บงั คบั ของรฐั มาจากผูม้ อี าํ นาจสูงสดุ ในรฐั ผูฝ้ ่าฝืนตอ้ งไดร้ บั โทษ เป็นลกั ษณะสาํ คญั ทส่ี ุดของกฎหมาย 2. มาจากรฏั ฐาธปิ ตั ย์ ใชไ้ ดเ้ ร่อื ยๆ จนกวา่ จะมกี ารออกกฎหมายใหมม่ ายกเลกิ 3. มสี ภาพบงั คบั บงั คบั ใชก้ บั ประชาชนทกุ คน ทุกสถานท่ี 4. ใชไ้ ดเ้ สมอไป 5. ใชไ้ ดเ้ ป็นการทวั่ ไป ระบบกฎหมาย 1. กฎหมายลายลกั ษณ์อกั ษร (Civil Law) – ระบบประมวลกฎหมาย คือ กฎหมายท่ตี คี วามตามตวั บทกฎหมาย ของประเทศนนั้ ๆ เช่น กลุ่มประเทศในทวปี ยุโรป ญีป่ ่นุ จีน ไทย เกาหลใี ต้ เมก็ ซโิ ก บราซลิ 2. กฎหมายไม่เป็นลายลกั ษณ์อกั ษร (Common Law) – กฎหมายจารีตประเพณี คือ กฎหมายท่ีตดั สนิ โดยใช้ จารตี และคาํ ตดั สนิ ศาลเก่าของประเทศนน้ั ๆ เชน่ องั กฤษ อเมรกิ า แคนนาดา ออสเตรเลยี นิวซแี ลนด์ กฎหมายทส่ี าํ คญั รฐั ธรรมนูญ เป็นกฎหมายสูงสดุ พรบ.ประกอบรฐั ธรรมนูญ ตราข้นึ โดยรฐั สภา คณะรฐั มนตรี ตราข้นึ พระราชบญั ญตั ิ ในสถานการณฉ์ ุกเฉิน พระราชกาํ หนด ตราข้นึ โดยคณะรฐั มนตรี พระราชกฤษฎกี า กฎกระทรวง คาํ สงั่ รฐั มนตรี กฎหมายทอ้ งถ่นิ กฎหมายท่บี งั คบั ใชใ้ น องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ

หน้าท่ีพลเมอื ง วฒั นธรรม และการดําเนินชีวิตในสงั คม : รายวชิ าสงั คมศึกษาฯ ครูปวณิ เกษวงศร์ อต 35 กฎหมายแบง่ ตามความสมั พนั ธ์ o กฎหมายมหาชน เป็นกฎหมายท่เี ป็นความสมั พนั ธร์ ะหว่างรฐั กบั ประชาชน ในฐานะรฐั เหนือกวา่ เพอื่ คุม้ ครองความสงบสขุ เรยี บรอ้ ยของบา้ นเมอื ง o กฎหมายเอกชน เป็นกฎหมายท่เี ป็นความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเอกชนกบั เอกชน o กฎหมายระหวา่ งประเทศ เป็นกฎหมายท่เี ป็นความสมั พนั ธร์ ะหว่างรฐั กบั รฐั หรือองคก์ รระหวา่ งประเทศ o กฎหมายจะมผี ลบงั คบั ใชเ้มอื่ ประกาศใน “ราชกจิ จานุเบกษา” แลว้ วิวฒั นาการกฎหมายในไทย กฎหมายไทยไดร้ บั อทิ ธิพลมาจากกฎหมายพระมนูธรรมศาสตร์ หรือ มานวธรรมศาสตร์ รชั กาลที่ 1 ทรงชาํ ระและตรากฎหมายตรา 3 ดวง รชั กาลที่ 5 ทรงปรบั ปรงุ ระบบกฎหมายและการศาลใหท้ นั สมยั ผมู้ บี ทบาทสาํ คญั คอื สมเดจ็ ฯ พระองคเ์ จา้ รพพี ฒั นศกั ด์ิ กรมหลวงราชบุรดี ิเรกฤทธ์ิ “พระบดิ าแหง่ กฎหมายไทย” กฎหมายฉบบั แรกของไทยทม่ี คี วามเป็นตะวนั ตก “กฎหมายลกั ษณะอาญา ร.ศ.127” กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ กฎหมายว่าดว้ ยบุคคล • บคุ คล มี 2 ประเภท คือ o บุคคลธรรมดา : เริ่มตน้ เป็น มนุษย์ธรรมดา มีลมหายใจ ส้ินสุดสภาพ เมื่อตายหรือศาลสงั่ (สทิ ธิของบคุ คลเริ่มตน้ ตงั้ แต่อยู่ในครรภม์ ารดา) o นิตบิ ุคคล : เป็นบคุ คลสมมติ จดั ตงั้ ข้นึ ตามกฎหมาย เรมิ่ ตน้ เมอ่ื จดทะเบยี น ส้นิ สภาพเมอ่ื เลกิ กจิ การ หรือลม้ ละลาย  นติ บิ ุคคลตามกฎหมายเอกชน ไดแ้ ก่ บริษทั หา้ งรา้ น หา้ งหนุ้ ส่วนจาํ กดั ต่างๆ  นิติบุคคลตามกฎหมายมหาชน ไดแ้ ก่ หน่วยงานราชการ กระทรวง กรม มหาวทิ ยาลยั • การบรรลนุ ิติภาวะ เมอื่ อายุครบ 20 ปี หรอื แตง่ งานเมอ่ื อายุครบ 17 ปีโดยไดร้ บั การยนิ ยอม • กฎหมายจาํ กดั ความสามารถบุคคล o ผูเ้ยาว์ มผี ูป้ กครอง หรอื ผแู้ ทนโดยชอบธรรม ดูแล o ผไู้ รค้ วามสามารถ (คนวกิ ลจริตถาวร) ผอู้ นุบาล ดูแล ไม่สามารถทาํ นติ ิกรรมได้ o ผเู้สมือนไรค้ วามสามารถ (จติ ฟนั่ เฟือน ติดเหลา้ การพนนั ) มผี ูพ้ ทิ กั ษด์ ูแล สามารถทาํ นติ กิ รรมไดบ้ า้ ง ***การเป็นผไู้ รค้ วามสามารถหรือผเู้สมอื นไรค้ วามสามารถ ตอ้ งใหศ้ าลสงั่ เท่านั้น***

หนา้ ทพี่ ลเมือง วฒั นธรรม และการดําเนินชีวติ ในสงั คม : รายวชิ าสงั คมศึกษาฯ ครูปวณิ เกษวงศร์ อต 36 นิตกิ รรม • นิติกรรม : เป็นการกระทาํ ทถ่ี กู ตอ้ งตามกฎหมาย สมคั รใจ มเี จตนาใหเ้กิดผลทางกฎหมาย • นิติกรรมหากทาํ ฝ่ายเดยี วเรยี กวา่ “นิติกรรม” หากทาํ ตงั้ แตส่ องคนขนั้ ไปเรยี กวา่ “สญั ญา” • ความบกพร่องของนติ กิ รรม o โมฆกรรม ถอื วา่ ไม่มผี ลอะไรเลย เพราะผดิ กฎหมาย o โมฆยี กรรม กระทาํ โดยบคุ คลทก่ี ฎหมายจาํ กดั ความสามารถ เกิดจากการขมขู่ ฉอ้ ฉล ถอื ว่ามผี ลโดย สมบูรณ์จนกว่าจะโดนบอกลา้ ง จะเป็น โมฆะ แตถ่ า้ ใหส้ ตั ยาบนั ก็สมบรู ณ์ กฎหมายเกย่ี วกบั ทรพั ย์ • ทรพั ย์ หมายถงึ วตั ถทุ ม่ี รี ูปร่าง สามารถจบั ตอ้ งได้ และมรี าคา • ทรพั ยส์ นิ หมายถงึ ทรพั ยแ์ ละวตั ถทุ ่ไี ม่มรี ูปร่างแต่มรี าคา แบ่งเป็น o สงั หารมิ ทรพั ย์ : เป็นทรพั ยท์ ่เี คลอ่ื นทไ่ี ด้ o อสงั หาริมทรพั ย์ : เป็นทรพั ยท์ ่เี คลอ่ื นทไ่ี มไ่ ด้ หรอื ติดอยู่กบั ท่ดี นิ o อสงั หารมิ ทรพั ยป์ ระเภทพเิ ศษ : เรอื กาํ ปนั่ เรอื กลไฟ เรือยนต์ สตั วพ์ าหนะ อากาศยาน กฎหมายครอบครวั • การหมน้ั เป็นการทาํ สญั ญาว่าจะทาํ การสมรส ตอ้ งมอี ายคุ รบ 17 ปีข้นึ ไป o เกิดสนิ สอด ฝ่ายชายมอบใหพ้ ่อแม่ฝ่ายหญงิ และมอบของหมน้ั ใหแ้ ก่ฝ่ายหญิง o หากเกิดผดิ สญั ญาหมน้ั ฝ่ายชายเรยี กสนิ สอดคนื ไดเ้สมอ แต่ของหมน้ั ตอ้ งดูวา่ ใครผดิ สญั ญา o ไม่สามารถฟ้องศาล บงั คบั ใหม้ กี ารสมรสได้ • การสมรส จะตอ้ งมอี ายคุ รบ 17 ปีข้นึ ไป o การสมรสจะสมบรู ณ์เมอื่ มกี ารจดทะเบยี นสมรสแลว้ เทา่ นน้ั o หา้ มคนวกิ ลจรติ คนไรค้ วามสามารถ ญาตสิ บื สายโลหติ รวมทง้ั ผูร้ บั บตุ รบุญธรรมและ บตุ รบุญธรรม ผมู้ คี ู่สมรสแลว้ สมรสกนั (หญิงหมา้ ยจะสมรสใหม่ไดเ้ม่อื ผ่านไปแลว้ ไม่นอ้ ยกว่า 310 วนั ) o สนิ สว่ นตวั : ฝ่ายใดฝ่ายหนงึ่ ไดม้ าก่อนการสมรส เชน่ เคร่ืองใชส้ ่วนตวั ของหมน้ั หรอื มรดก o สนิ สมรส : เป็นสง่ิ ทไ่ี ดม้ าระหว่างการสมรส ดอกผลสนิ สว่ นตวั ถา้ หยา่ ตอ้ งแบง่ ครึง่ • บตุ ร o บุตรในสมรส เปน ลูกทีพ่ อแมจดทะเบยี นสมรส และยอมรับเปน บตุ ร ชอบดว้ ยกฎหมาย o บุตรนอกสมรส เปนลูกท่ีพอ แมไมจดทะเบียนสมรส แตพ อจดทะเบียนรับรองบตุ ร o บตุ รบญุ ธรรม มฐี านะเทาบตุ รชอบดวยกฎหมาย ผูรับบตุ รบุญธรรมตอ งมอี ายุตั้งแต 25 ปข้ึนไป และมีอายุมากกวาบุตรบุญธรรมอยา งต่ำ 15 ป o บุตรนอกกฎหมาย เปนลูกท่พี อแมไมจ ดทะเบียนสมรส และพอไมจดทะเบยี นรบั รองบตุ ร o มารดามสี ทิ ธิ์ในตวั บตุ รเสมอ....!!!!

หน้าทพ่ี ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดาํ เนินชีวิตในสงั คม : รายวิชาสงั คมศกึ ษาฯ ครูปวิณ เกษวงศร์ อต 37 • การหยา่ มี 2 แบบ o จดทะเบยี นหยา่ o ฟ้องหยา่ ดว้ ยสาเหตุหลายอย่าง เช่น  เล้ยี งดูยกยอ่ งผูอ้ ่นื เยย่ี งสามหี รือภรรยา (เป็นช)ู้  ทาํ รา้ ย ทรมานร่างกายจติ ใจ  จงใจทอดท้งิ ฝ่ายหน่ึงเกินกวา่ 1 ปี  สมคั รใจแยกกนั อยู่ เพราะอยู่ดว้ ยกนั ไมไ่ ด้ เกินกวา่ 3 ปี  วกิ ลจรติ เกนิ กวา่ 3 ปี  มสี ภาพร่างกายไม่สามารถร่วมประเวณีไดต้ ลอดกาล • มรดก o มรดก = ทรพั ยส์ นิ + สทิ ธิ + หน้ีสนิ o ทายาท 2 แบบ  ทายาทตามพนิ ยั กรรม  ทายาทตามสายโลหติ 6 ลาํ ดบั ไดแ้ ก่ 1.ผูส้ บื สนั ดาน (ลูก หลาน เหลน ลอ่ื ) 2. บิดามารดา 3.พ่นี ้องรว่ มบิดามารดาเดยี วกนั 4.พน่ี อ้ งร่วมบิดามารดาอย่างใดอย่างหน่ึง 5.ปู่ยา่ ตายาย 6.ลงุ ป้ าน้าอา o คู่สมรส มสี ทิ ธิไดร้ บั มรดกเสมอ (ตอ้ งจดทะเบยี นเทา่ นน้ั ) จดั เป็นทายาทโดยธรรมลาํ ดบั พเิ ศษ o ถา้ ผตู้ ายไม่มที ายาท ใหท้ รพั ยส์ มบตั ติ กเป็นของแผน่ ดนิ o พนิ ยั กรรมทาํ ไดต้ ง้ั แตอ่ ายุ 15 ปี และหา้ มไมใ่ หผ้ เู้ยาว์ คนไรค้ วามสามารถ เป็นพยาน พนิ ยั กรรม : การแสดงเจตนาในการยกทรพั ยส์ นิ หรอื เร่อื งตา่ งๆของผตู้ าย • สญั ญาประเภทตา่ งๆ o สญั ญาซ้อื ขาย เป็นตกลงโอนกรรมมสทิ ธทิ นั ทเี มอื่ ตกลงซ้อื ขายกนั ตอ้ งทาํ เป็นหนงั สอื และจด ทะเบยี นตอ่ หนา้ เจา้ หนา้ ทเ่ี ทา่ นนั้ o สญั ญาเชา่ ทรพั ย์  เชา่ ทรพั ยส์ นิ ชวั่ คราว กรรมสทิ ธ์ิยงั เป็นของผใู้ หเ้ช่าเสมอ  เช่าอสงั หารมิ ทรพั ย์ ตามกฎหมายหา้ มเชา่ เกนิ 30 ปี o สญั ญาเชา่ ซ้อื เป็นสญั ญาวา่ จะจา่ ยค่าเช่า และเมอื่ จ่ายครบจะกลายเป็นเจา้ ของทรพั ยน์ นั้ ๆ o สญั ญาขายฝาก เป็นสญั ญาซ้อื ขายแบบหนึง่ ผขู้ ายอาจไถ่คืนทรพั ยส์ นิ นนั้ ได้ แต่ตอ้ งมรี ะยะเวลา o สญั ญากูย้ มื การกูเ้ งนิ มากกวา่ 2,000 บาท ตอ้ งทาํ สญั ญา ดอกเบ้ยี รอ้ ยละไมเ่ กนิ 15 ตอ่ ปี o สญั ญาจาํ นาํ เป็นการนาํ สงั หาริมทรพั ย์ ไปประกนั การชาํ ระหน้ี

หน้าท่พี ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดาํ เนินชีวิตในสงั คม : รายวิชาสงั คมศกึ ษาฯ ครูปวณิ เกษวงศร์ อต 38 o สญั ญาจาํ นอง เป็นการนาํ อสงั หารมิ ทรพั ย์ ไปประกนั การชาํ ระหน้ี และมกี ารจดทะเบยี นตอ่ เจา้ หนา้ ท่ี • กฎหมายทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา o ลขิ สิทธ์ิ ไม่ตอ้ งจดทะเบยี น (งานศิลปวฒั นธรรม วรรณกรรม) คุม้ ครองตลอดชีวติ ผูค้ ิดผลงานและ ส้นิ สดุ 50 ปีหลงั เจา้ ของผลงานเสยี ชวี ติ หากมกี ารละเมดิ ลขิ สิทธ์ิ ถอื ว่าเป็นความผดิ ทย่ี อมความได้ มคี วามผดิ ทงั้ แพ่งและอาญา o สทิ ธบิ ตั ร ตอ้ งจดทะเบยี น (งานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย)ี มอี ายุ 20 ปีนบั แตว่ นั ขออนุญาต o อนุสิทธิบตั ร (ส่ิงของประดิษฐไ์ ม่สูงมาก) มีอายุคุม้ ครอง 6 ปีนบั แต่วนั ขออนุญาต การละเมิด สทิ ธบิ ตั ร เป็นความผดิ อาญายอมความไม่ได้ o เครอื่ งหมายการคา้ Trade Mark • กฎหมายภาษอี ากร o ภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดา เก็บจากบุคคลธรรมดาท่ีมีรายไดต้ ่อปีตงั้ แต่ 150,001 บาทข้ึนไป โดยเสยี ภาษปี ีละครง้ั ภายในเดอื นมนี าคมของทุกปี o ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ ุคคล โดยเกบ็ กาํ ไรสุทธิของผเู้สยี ภาษี 30% o ภาษมี ูลค่าเพม่ิ (VAT) เก็บจากการขายสนิ คา้ และบริการ ปจั จบุ นั เกบ็ VAT 7% o อากรแสตมป์ จดั เก็บจาการทาํ ตราสาร เช่น สญั ญาเชา่ ทด่ี นิ สญั ญาเงนิ กู้ • กฎหมายรบั ราชการทหาร o ชายท่มี สี ญั ชาติไทย มหี นา้ ท่ตี อ้ งรบั ราชการทหารตามกฎหมาย o ชายทม่ี สี ญั ชาติไทยเมอื่ อายยุ า่ งเขา้ ปีท่ี 18 ในปี พ.ศ. ใด ตอ้ งไปข้นึ บญั ชที หารกองเกินภายใน พ.ศ.นน้ั o ทหารกองเกินเมอ่ื อายุ ยา่ งเขา้ ปีท่ี 21 ตอ้ งไปรบั หมายเรียกตรวจเลอื กเขา้ เป็นทหารกองประจาํ การ o บุคคลท่ไี ดร้ บั การยก ไม่ตอ้ งรบั ราชการทหารกองประจาํ การ ไดแ้ ก่ พระภิกษุท่ีมสี มณศกั ด์ิท่ีเป็น เปรยี ญ และนกั บวชในพทุ ธศาสนาแหง่ นกิ ายญวนหรอื จีนท่มี สี มณศกั ด์ิ คนพกิ ารซ่งึ ไม่สามารถเป็น ทหารได้ คนในบางทอ้ งทก่ี ระทรวงกลาโหมประกาศวา่ ไม่มคี ุณวุฒิจะเป็นทหารได้ กฎหมายอาญา • ลกั ษณะสาํ คญั o เป็นกฎหมายมหาชน o ตีความเคร่งครดั o ไม่มผี ลยอ้ นหลงั ยกเวน้ เป็นประโยชนต์ อ่ จาํ เลย o ไมม่ คี วามผดิ หรอื ไม่มโี ทษ หากไมม่ กี ฎหมายระบุไว้

หน้าทีพ่ ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดําเนินชีวิตในสงั คม : รายวิชาสงั คมศกึ ษาฯ ครูปวิณ เกษวงศร์ อต 39 • ความผิดอาญา o ความผดิ ยอมความไมไ่ ด้ หรอื ความผดิ ตอ่ แผน่ ดนิ เป็นคดอี ฉุ กรรจ์ ถา้ เจา้ ทกุ ขไ์ ม่เอาเรือ่ ง ตาํ รวจ หรอื แผ่นดนิ ตอ้ งดาํ เนนิ คดี o ความผดิ ยอมความได้ หากเจา้ ทกุ ขไ์ ม่เอาเรือ่ งกย็ อมความกนั ได้ o ความผดิ ลหุโทษ เป็นความผดิ เลก็ นอ้ ย ปรบั ไม่เกิน 10,000 บาท หรอื จาํ คกุ ไม่เกนิ 1 เดอื น จดั เป็น ความผดิ ยอมความไมไ่ ด้ • ขนั้ ตอนการกระทาํ ผดิ อาญา : คิด ตกลงใจ (2 ขนั้ แรกยงั ไม่มคี วามผดิ ) เตรยี มการ ลงมอื กระทาํ และขน้ั กระทาํ การสาํ เร็จ • การกระทาํ o กระทาํ โดยเจตนา : ตง้ั ใจทาํ รูว้ ่าทาํ มจี ุดประสงคท์ แ่ี นน่ อน o กระทาํ โดยไม่เจตนา : รูต้ วั วา่ ทาํ อะไร แตไ่ ม่คิดว่าจะเป็นอย่างน้ี o กระทาํ โดยประมาท : ทาํ โดยปราศจากความระมดั ระวงั ทงั้ ทค่ี วรระวงั • โทษ (สภาพบงั คบั ) ทางอาญา 5 สถาน o ประหารชีวติ o จาํ คุก : ขงั ผูก้ ระทาํ ความผดิ ไวท้ ่เี รอื นจาํ o กกั ขงั : กกั ตวั ผกู้ ระทาํ ความผดิ ไวใ้ นสถานกกั ขงั ทก่ี าํ หนด (แต่ไมใ่ ชเ่ รอื นจาํ ) o ปรบั : ผกู้ ระทาํ ผดิ จา่ ยเงนิ ใหแ้ กร่ ฐั o ริบทรพั ย์ : รบิ ของกลางในคดี • ผูก้ ระทาํ ผดิ ในคดอี าญา o ตวั การ เป็นผลู้ งมอื ทาํ ความผดิ นนั้ ๆ o ผใู้ ช้ เป็นผใู้ ชใ้ หท้ าํ ความผดิ หากทาํ สาํ เรจ็ รบั โทษเท่าตวั การ ถา้ ไมส่ าํ เร็จรบั โทษ 1 ใน 3 ของตวั การ o ผสู้ นบั สนุน สนบั สนุนทาํ ความผดิ รบั โทษ 2 ใน 3 ของตวั การ • การรบั โทษ o ไม่ผดิ และไมต่ อ้ งรบั โทษ เป็นการป้องกนั ตวั โดยชอบดว้ ยกฎหมาย o ผดิ แต่ไมต่ อ้ งรบั โทษ เช่น เด็กอายตุ าํ่ กว่า 10 ปีทาํ ผดิ หรอื กระทาํ เพราะจาํ เป็นเพอ่ื ป้องกนั ตวั o ผดิ แตไ่ ดร้ บั การลดโทษ เช่น ทาํ ผดิ เพราะบนั ดาลโทสะ • ความผดิ เก่ยี วกบั ทรพั ย์ o ลกั ทรพั ยข์ โมยสง่ิ ของ (เอาไม่บอก) o วงิ่ ราวทรพั ย์ ฉกฉวยเอาซง่ึ หนา้ (เอาซง่ึ หนา้ ) o ชิงทรพั ย์ ขโมยของโดนการใชก้ าํ ลงั ทาํ รา้ ย ข่มขู่ในทนั ที หรอื ใชอ้ าวุธ (ทาํ รา้ ยแลว้ เอา)

หน้าทีพ่ ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดําเนินชีวิตในสงั คม : รายวชิ าสงั คมศึกษาฯ ครูปวณิ เกษวงศร์ อต 40 o ปลน้ ทรพั ย์ ร่วมกนั ขโมยตง้ั แต่ 3 คนข้นึ ไป (3 คนร่วมกนั เอา) o รีดเอาทรพั ย์ ขวู่ ่าจะนาํ เอาความลบั มาเปิดเผย (ไมใ่ หเ้อาจะแฉ) o ฉอ้ โกงทรพั ย์ หลอกลวงใหเ้ชื่อ (หลอกจะเอา) o ยกั ยอกทรพั ย์ เบยี ดบงั เอาทรพั ยส์ นิ ของผูอ้ น่ื (แอบเอา) o กรรโชกทรพั ย์ ข่มขู่ หรือ ขม่ ขนื ใจ (ขูจ่ ะเอา) • กระบวนการยตุ ธิ รรม o อยา่ งแรกสุดตอ้ งพจิ ารณาวา่ เป็นคดแี พ่งหรอื คดอี าญา o บคุ คลในคดอี าญา  ตาํ รวจ หรือ เจา้ พนกั งานสอบสวน เจา้ พนกั งานสบื สวน • สบื สวน แสวงหาขอ้ เทจ็ จริงหรอื พยานหลกั ฐาน • สอบสวนรวบรวมพยานหลกั ฐานตามความผดิ ท่ไี ดม้ กี ารกล่าวหา  เจา้ พนกั งานฝ่ายปกครอง กรณีทท่ี อ้ งทน่ี นั้ ไม่มเี จา้ หนา้ ท่ตี าํ รวจ สามารถแจง้ ความกบั เจา้ พนกั งานฝ่ายปกครอง หรอื ขา้ ราชการของกระทรวงมหาดไทย  เจา้ หนา้ ทร่ี าชทณั ฑ์ เก่ียวขอ้ งกบั การคุมตวั นกั โทษในเรอื นจาํ  เจา้ พนกั งานคุมประพฤติ สอดส่อง ทาํ รายงาน ผถู้ ูกคมุ ความประพฤติ o บุคคลในคดแี พ่ง  พนกั งานบงั คบั คดี ทาํ หนา้ ท่ี ยดึ ทรพั ยส์ นิ ของลูกหน้มี าชาํ ระใหเ้จา้ หน้ี  พนกั งานพทิ กั ษท์ รพั ย์ รบั ผดิ ชอบเกย่ี วกบั คดที ่ลี ม้ ละลาย o อยั การ หรือ ทนายของแผ่นดนิ มที ง้ั คดอี าญาและคดแี พง่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook