Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สัปดาห์ที่ 2 ระบบสุริยะจักรวาล

สัปดาห์ที่ 2 ระบบสุริยะจักรวาล

Description: สัปดาห์ที่ 2 ระบบสุริยะจักรวาล

Search

Read the Text Version

แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลงั เรียน

วิทยาศาสตร์ ( Science) มาจากรากศัพท์ภาษาละตินว่า “Scientia” ซ่ึงแปลว่าความรู้หรือความรู้ เกีย่ วกบั ธรรมชาตแิ ละปรากฏการณ์ธรรมชาติต่อมามนษุ ย์ได้ค้นพบส่ิงต่าง ๆ มากขึ้น และยงั สามารถใชเ้ หตุผล ทั้งด้านความรู้ วิชาการกระบวนวิธีการหาความรู้ และการปรับปรุงความรู้ไปอธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ให้ ถูกตอ้ งมากย่ิงขึ้น ทาใหค้ วามหมายของวิทยาศาสตร์เปลี่ยนไปจากเดิม ซ่ึงอาจกล่าวไดว้ ่าวิทยาศาสตรห์ มายถึง ความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ (Science Knowledge) และกระบวนการในการแสวงหาความรู้(Scientific Method) เทคโนโลยี ( Technology ) มาจากรากศัพทภ์ าษากรีกว่า “Technologia” ซึ่งหมายถึง การกระทา อย่างมีระบบ แต่ความหมายของเทคโนโลยีในปัจจุบันหมายถึง ส่ิงท่ีเกิดจากการนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ สรา้ งสรรค์ ดัดแปลง และประดิษฐส์ ง่ิ ต่าง ๆ เพื่อใหเ้ กดิ ประโยชน์และสนองความต้องการของมนุษย์ กล่าวโดยสรุปได้ว่า ตัวความรู้คือวิทยาศาสตร์ แต่การนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ สร้างสรรคส์ งิ่ ประดษิ ฐต์ า่ ง ๆ เช่น การต่อเรือ เครอ่ื งบนิ ยานอวกาศ ดาวเทียม เป็นต้น เพอ่ื สนองความตอ้ งการ ของมนษุ ย์เรยี กวา่ เทคโนโลยี วิดีโอ เกีย่ วกบั วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี โครงงานวิทยาศาสตร์ ความหมายของโครงงานวทิ ยาศาสตร์ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ หมายถงึ การศกึ ษาเพอื่ พบข้อความรู้ ใหม่ ส่ิงประดิษฐ์ใหม่ ๆทางวิทยาศาสตร์ด้วยตัวของผู้เรียนเอง โดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการแก้ปัญหา โดยมคี รูอาจารย์และผู้เชี่ยวชาญเป็นผูใ้ ห้คาปรกึ ษา ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์ 1. โครงงานประเภทการทดลอง เปน็ โครงงานท่ีมีการสารวจรวบรวมข้อมูล แลว้ นามาจาแนกเป็น หมวดหมู่ นาเสนอใน แบบตา่ ง ๆ เพ่ือใหเ้ ห็นลักษณะ หรอื เป็นโครงงานที่มีการออกแบบการทดลองเพ่ือศึกษา ผลของตัวแปรอิสระท่ีมีต่อตัวแปรตาม โดยควบคุมตัวแปรอื่น ๆ ที่จะมีผลต่อการทดลอง ความสัมพันธ์ของ เร่ืองที่ศกึ ษาได้ชัดเจนขึ้น 2. โครงงานประเภทการสารวจรวบรวมข้อมูล การศึกษาพฤติกรรมระหว่างมดกับหนอนชอน เปลือกต้นลองกองศึกษาความสว่างของแสงภายในห้องเรียนของโรงเรียนปัญญาวรคุณการสารวจความ หลากหลายของแมลงกลางคนื ในท้องที่อาเภอสีค้ิว จงั หวดั นครราชสมี าการสารวจหอยโข่งที่มีพยาธิแองจิโอสต รองไจรัส บรเิ วณแหล่งนา้ ชมุ ชน อ.เมือง จ.มหาสารคาม

3. โครงงานประเภทการสร้างสิ่งประดิษฐ์ เป็นโครงงานท่ีเก่ียวกับการประยุกต์ทฤษฎี หรือ หลักการทางวิทยาศาสตร์มาประดิษฐ์เครื่องมือเครื่องใช้ หรืออุปกรณ์เพื่อประโยชน์ใช้สอยต่าง ๆ อาจคิด ประดษิ ฐ์ของใหม่ หรือปรับปรุง ดดั แปลงของเดิมท่มี ีอยแู่ ลว้ ให้มปี ระสิทธภิ าพสูงขนึ้ ตัวอย่างโครงงานประเภทการสร้างส่ิงประดิษฐ์  Digital Counter  เคร่ืองขจดั คราบน้ามัน  เครื่องตรวจ (pH) ดนิ เพอื่ ปลูกผัก  เคร่ืองกาจดั ฝนุ่ ละอองในโรงงานโม่หนิ  กลอ่ งดักจับแมลงวนั ไฮเทค (จากพฤติกรรมการบินของแมลงวัน) 4. โครงงานประเภทการสร้างทฤษฎี เป็นโครงงานท่ีได้เสนอทฤษฎี หลักการ หรือแนวความคิด ใหม่ ๆ ซึ่งอาจอยใู่ นรูปของสูตร สมการ หรือคาอธิบายก็ได้ โดยผูเ้ สนอไดต้ ั้งกตกิ า หรอื ขอ้ ตกลงนัน้ หรืออาจใช้ กติกาและข้อตกลงเดิมมาอธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในแนวใหม่ อาจเสนอหลักการ แนวความคิด หรือ จินตนาการทีย่ ังไม่มใี ครคดิ มาก่อน อาจเปน็ การขัดแยง้ หรอื ขยายทฤษฎีเดิม แตจ่ ะต้องมีขอ้ มูลหรอื ทฤษฎีอื่นมา สนับสนุน อ้างอิง ตัวอย่างโครงงานประเภทการสรา้ งทฤษฎี เนอื่ งจากโครงงานประเภทน้ี ผทู้ าโครงงานจะต้องมีพน้ื ฐานความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์เปน็ อยา่ งดี และต้องทาการศึกษาค้นควา้ เรอ่ื งราวท่เี กีย่ วข้องเป็นอยา่ งมาก จนมคี วามรู้อยา่ งกวา้ งขวาง และลึกซึ้งในเรอ่ื งที่ เกยี่ วขอ้ ง ดังนั้นจึงยังไม่เคยมีผู้ทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ประเภทนี้สง่ เข้าประกวดกบั สมาคมวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยศี กึ ษาไทยเลย ตวั อย่างโครงงานตอ่ ไปนีจ้ ึงมิได้เปน็ โครงงานทนี่ กั เรียนระดับมธั ยมศกึ ษาเปน็ ผูท้ าไว้  ทฤษฎีสัมพนั ธภาพ (E = mc2)  การอธบิ ายอวกาศแนวใหม่  กาเนดิ ของทวปี และมหาสมุทร  การกาเนิดของแผ่นดินไหวในประเทศไทย  การอธบิ ายเร่ืองราวการดารงชีวติ ในอวกาศของมนษุ ย์ วิดโี อ เรือ่ งโครงงานวิทยาศาสตร์

วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ 1. การแก้ปัญหาด้วยวิธีการทางวิศวกรรม ( Engineering problem solving ) เป็นวิธีเหมาะกับการ แก้ปัญหาในการออกแบบผลิตภัณฑ์ สินค้า หรือเพื่อสร้างส่ิงใหม่หรือเพ่ือการแก้ปัญหาในเชิงวิศวกรรม หลักการแก้ปญั หาตามวิธีการทางวศิ วกรรม มขี ัน้ ตอนดังน้ี 1. วเิ คราะหป์ ัญหา กาหนดรายละเอียดปญั หาใหช้ ัดเจนเป็นข้อๆ กาหนดความ ตอ้ งการและข้อจากัดในการ แก้ปญั หาเปน็ ขอ้ ๆวเิ คราะห์ข้อมูลว่ามขี ้อมลู ใดท่ีมอี ยู่แลว้ และใช้ได้อะไรคือสง่ิ ท่ยี งั ไมร่ ูแ้ ละต้องการรู้ 2. สร้างแบบจาลองวธิ ีการแก้ปัญหา ( Define model ) อาจเป็นแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ หรอื บางกรณี ตอ้ งสร้างแบบจาลองยอ่ ส่วนจากของจรงิ คิดค้นหาสูตรสมการทีจ่ ะใช้แกป้ ัญหา เก็บข้อมลู ท่ีตอ้ งใชแ้ กป้ ัญหา 3. คานวณหาคาตอบโดยใช้แบบจาลอง วิธี และสมการ ในข้อ 2 ตรวจสอบผลลัพธ์ท่ีได้ว่าถูกต้องเหมาะสม หรือไม่ 4. ผลลัพธ์หรือคาตอบท่ีไดม้ เี หตผุ ลวา่ ถกู ต้องเหมาะสม จงึ นาไปปฏิบตั ิ 2. การแก้ปัญหาด้วยวิธีคิดแบบอริยสัจ พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตโต. 2537: 56-59) และสาโรช บัวศรี (สุวทิ ย์ มลู คา. 2551: 45-50; อ้างอิงจาก สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาต.ิ 2540: 201-202) ได้เสนอวธิ แี กป้ ัญหาตามหลกั อรยิ สัจส่ี ซง่ึ มีหลักการและสาระสาคญั สรปุ ได้ดังนี้ ขั้นที่ 1 ขัน้ ทกุ ข์ คือ สภาพปัญหา ความคบั ข้อง ความบบี คนั้ ทีช่ ีวติ หน้าท่ขี องบคุ คลทมี่ ีตอ่ ทุกข์ เทียบไดก้ บั การกาหนดปญั หา เขา้ ใจและกาหนดขอบเขตให้ชัด ข้ันท่ี 2 ขนั้ สมทุ ัย คือ เหตแุ ห่งทกุ ข์ หรือสาเหตขุ องปญั หาซึ่งต้องคน้ ให้พบแล้วทาหนา้ ที่กาจัดหรือละเสยี เทียบได้กับข้ันตัง้ สมมติฐาน ขนั้ ที่ 3 ขน้ั นโิ รธ คือ ความดบั ทกุ ข์ ความพน้ ทุกข์ ภาวะปราศจากปญั หาท่ีบคุ คลมีหนา้ ที่ทาให้เป็นจริง ทาให้ สาเร็จโดยจะต้องกาหนดไว้ว่าจดุ หมายท่ตี ้องการเลือกคืออะไร การท่ปี ฏิบัตอิ ยู่ทเ่ี พ่ืออะไร เปรยี บได้กับขน้ั กาหนดสมมติฐาน ขน้ั ท่ี 4 มรรค คือ ทางดับทุกข์ ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ หรอื วธิ แี ก้ปัญหาจาก การปฏิบัติส่ิงตา่ ง ๆ ด้วย ตนเอง แลว้ สรุปผลด้วย เปรยี บไดก้ บั ขั้นการรวบรวมข้อมูล วเิ คราะหข์ ้อมูลและการสรปุ ผล 3.การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ในปัจจุบันมนุษย์เราได้พัฒนาเทคโนโลยีต่าง ๆ ขึ้นมามากมาย แต่เทคโนโลยีหน่ึงที่ช่วยสร้างความสะดวกสบาย ช่วยแก้ปัญหาต่าง ๆ ให้กับมนุษย์ได้อย่างไม่มี ท่ีส้ินสุด และได้พัฒนามาอย่างก้าวกระโดดคือเทคโนโลยีสารสนเทศ การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ แก้ปญั หา เราต้องปรับข้ันตอนการทางานใหส้ อดคล้องกับกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศด้วย โดยมีขน้ั ตอน หลกั ดังนี้ 1. วเิ คราะห์และกาหนดรายละเอยี ดของปญั หา ศึกษาเพม่ิ เติม…คลิก 2.เลือกเคร่ืองมือและออกแบบข้นั ตอนวิธี 3.ดาเนนิ การแก้ปัญหา 4.ตรวจสอบและปรับปรงุ การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้นั้นข้ึนอยู่กับจินตนาการว่าเราจะประยุกต์ใช้ได้มากน้อยแค่ไหน อย่างไร ซึ่งส่วนใหญ่จะนามาใช้แก้ปัญหาในงานด้านต่าง ๆ เช่น ด้านการส่ือสารที่ต้องการความรวดเร็ว ,การ จัดการข้อมูลปริมาณมาก ๆ , การทางานซ้า ๆ , การเก็บรักษาข้อมูลแล้วนามาใช้ใหม่การคานวณที่ยุ่งยาก , ระบบอตั โนมตั

การคิดเป็น คิดเป็น หมายถึง การวิเคราะห์ปัญหา และการแสวงหาคาตอบหรือทางเลือกเพ่ือแก้ปัญหาหรือดับทุกข์ การคิดอย่างรอบคอบเพื่อแก้ไขปัญหา โดยอาศัยข้อมูลตนเอง ด้านสังคมและส่ิงแวดล้อมและด้านวิชาการ มา เปน็ องค์ประกอบในการคิดตดั สนิ ใจแกป้ ัญหา ความสาคัญของการ “คิดเป็น” คือ การสร้างสันติสุขให้เกิดกับโลก เพราะถ้าประชากรส่วนใหญ่ของ โลกยดึ หลกั การคิดด้วยกระบวนการคิดเป็น การมองปัญหาจึงมองอย่างเปน็ เหตเุ ป็นผลสมจริง ความขดั แย้งจะ ลดลงหรือไม่เกิดความขัดแย้งขึ้น เมื่อไม่มีความขัดแย้งเกิดขึ้น สังคมโลกก็ จะมีแต่ความสุข การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ เพ่ือให้คนคดิ เปน็ การคิดเป็น จึงเป็นกระบวนการท่ีจะทาให้มนุษย์กาหนดปรัชญาในการดารง ชีวิตของตนเองในแต่ละ ด้านว่า ตนเองเป็นใคร ควรทาอะไร ทาทาไม ทาอย่างไร ทาเพื่อใคร ซึ่งทั้งหมดต้องเป็นส่ิงท่ีตนเองต้องการ และนากระบวนการคิดเป็นนั้นไปสู่ปรัชญาท่ีกาหนดให้สาเร็จ และในท่ีสุดก็จะสามารถนาพาชีวิตไปถึง เปา้ หมายสงู สดุ คือ ความสุข ซึ่งเปน็ ปรชั ญาชน้ั สูงสดุ ในการดารงชวี ิตมนษุ ย์ท่จี ะทาให้สามารถดารงชีวิตอย่างมี คุณภาพได้ ความเชือ้ พ้ืนฐานเก่ยี วกับ \"การคดิ เป็น\" 1. มนุษยท์ กุ คนตอ้ งการความสุข ข้อตกลงเบือ้ งต้นของการ \"คิดเป็น\" คือ มนุษย์ทุกคนต้องการความสุข คือ เช่ือ ว่าคนเราจะมีความสุข เมื่อคนเราและสังคมสิ่งแวดล้อม ประสมกลมกลืนกันอย่างราบรืน่ ทั้งทางวตั ถุ กาย ใจ และมนุษย์จะไม่มีความสขุ เมื่อมีปญั หา ปัญหาเกิดข้ึนเมือ่ เกิดช่องว่างระหว่างสภาพการณ์และสิ่งท่ีเขามีอยู่จริง ปัญหาในช่วงชีวิตมนุษย์แต่ละคนเป็นเร่ืองสลับซับซ้อน และเกี่ยวโยงถึงปัจจัยตา่ ง ๆ การคิดทใี่ ชข้ อ้ มูล ประกอบการคดิ เพื่อแก้ไขปญั หา และเกิดความพึงพอใจ 2. การ คิดเป็น เป็นการคิดเพื่อแก้ปัญหา เนื่องจากการคิดมีจุดเริ่มท่ีตัวปัญหา และพิจารณาไตร่ตรองถึงข้อมูล 3 ประการ คือ ข้อมูลตนเอง ข้อมูลสังคมส่ิงแวดล้อม และข้อมูลทางวิชาการ ต่อจากนั้นก็ลงมือกระทาการ ถ้า หากกระทาการ ทาให้ปัญหาและไม่พอใจหายไป กระบวนการคิดจะยุติลง แต่ถ้าหากบุคคลยังรู้สึกไม่พอใจ ปัญหายังคงมีอยู่ ก็จะเริ่มกระบวนการคิดอีกคร้ัง 3. การใช้ข้อมูล 3 ประเภท พร้อมกันประกอบการแก้ปัญหา ตามแนวคิดเรื่องการคิดเป็น บุคคลที่จะถือว่าเป็น คนคิดเป็น จะต้องเป็นบุคคลที่ใช้ข้อมูล 3 ประเภทไปพร้อม กันประกอบการตัดสินใจแก่ปญั หา การคิดท่ีอาศัย ข้อมูลประเภทใดประเภทหน่งึ หรือสองประเภท ยังไม่ถือว่า บุคคลนั้นเป็นคนคิดเป็นได้สมบูรณ์แบบ ข้อมูล 3 ประเภท ได้แก่ 1) ข้อมูลตนเอง 2) ข้อมูลสังคมส่ิงแวดล้อม 3) ขอ้ มลู วชิ าการ 1. ข้อมูลตนเอง (Information of self) ข้อมูลประเภทตนเอง ถูกกาหนดขึ้นเพราะอิทธิพลทางศาสนา ปรัชญา และจิตวิทยา โดยเฉพาะ พระพุทธศาสนา ซ่ึงได้สั่งสอนให้บุคคลพิจารณาและเฝ้ามองตนเอง และ แก้ไขทุกข์ด้วยตนเอง มีอิทธิพลต่อการ กาหนดข้อมูลประเภทน้ี การ \"คิดเป็น\" ซ่ึงมีจุดมุ่งหมายต้องการให้ บุคคลใช้ข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับตนเอง ได้แก่ ข้อมูลในเร่ืองสถานภาพทางเศรษฐกิจ สถานภาพทางสังคม สุขภาพอนามัย ระดับการศึกษา ความรู้ ความถนัด ทักษะ วัย เพศ และอื่น ๆ ซ่ึงข้อมูลประเภทนี้ต้องการให้ พิจารณาจุดอ่อน จุดแข็ง ข้อดี ข้อเสียของตนเองอย่าง จริงจังก่อนการตัดสินใจกระทาส่ิงใด ข้อมูลสังคมและ สิ่งแวดล้อม (Information on Society and Environment) ธรรมชาติมนุษย์เป็นสัตว์สังคมไม่ได้อยู่ตาม ลาพัง ข้อมูลประเภทน้ีจึงถูกกาหนดข้ึนเพ่ือให้บุคคลใช้ความ นึกคิด คานึงถึงส่ิงที่อยู่นอกกาย คานึงถึงผู้อ่ืน ชุมชน ตลอดจนสภาพแวดล้อมสังคมส่วนรวม หากบุคคลใช้ข้อ ประเภทตนเองอย่างเดียวก็จะเป็นคนเห็นแก่ ตัว และเปน็ คนใจแคบ ดังนนั้ อิทธิพลของสงั คมและส่งิ แวดล้อม จึงมผี ลกระทบต่อมนุษย์เสมอ สิง่ แวดลอ้ มของ มนุษย์ประกอบด้วยปัจจัยที่แตกต่างกัน แต่ก็ส่งผลกระทบชีวิตมนุษย์ทุก คน และในทางกลับกัน การกระทา ของมนุษย์ก็ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมของตัวมนุษย์ด้วย ข้อมูลสังคมสิ่งแวดล้อม อาจ แยกได้เป็นข้อมูลสังคมและ จิตใจ เช่น พฤติกรรมของมนุษย์ในการอยู่ในสังคมด้วยความถูกต้อง เหมาะสม และ ข้อมูลกายภาพ เช่น

ภูมอิ ากาศ ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตน้ ขอ้ มูลวชิ าการ (Technical or Book Knowledge) ในความหมาย ของการคิดเป็น หมายถึง ข้อมูลและความรู้อันมหาศาลท่ีมนุษย์เราได้สะสมรวบรวมไว้เป็น เนื้อหาวิชาต่าง ๆ เป็นหลักสูตร เป็นศาสตร์ แนวคิดเร่ืองการคิดเป็น ตระหนักว่า บุคคลนั้นถึงแม้ว่าจะเข้าใจตนเอง เข้าใจสังคม ส่ิงแวดล้อมเป็นอย่างดีก็ตาม แต่ถ้าขาดข้อมูลทาวิชาการไป อาจจะเสียเปรียบผู้อื่นในการดารงชีวิตและ การ แก้ปัญหา เพราะว่าในปัจจุบันน้ีโลกได้เปล่ียนแปลงไปอย่างรวดเร็ว มนุษย์และสังคมถูกเปลี่ยนเพราะความ เจริญก้าวหน้าทางวิชาการ ดังนั้นมนุษย์จาเป็นท่ีจะต้องได้รับความรแู้ ละข้อมูลทางวิชาการ มาใช้ประกอบการ ตัดสนิ ใจเพื่อใหไ้ ดค้ าตอบท่ีดที สี่ ุดในการดารงชวี ิต จากความเชอ่ื พืน้ ฐาน เรือ่ งการใชข้ ้อมูล 3 ประเภทพร้อมกัน มาวิเคราะห์และหาหนทางแก้ปัญหา และเพื่อป้องกันไม่ให้บุคคลใช้ข้อมูลพิจารณาปัญหาจากจุดยืนหรือมิติ เดียว เสรีและอานาจการตัดสินใจกาหนดชะตาชีวิตตนเอง ความเช่ือพ้ืนฐานข้อนี้มาจากคาสั่งสอนของพุทธ ศาสตร์โดยตรง และปรัชญาการศึกษาสานักมนุษยนิยม คือพุทธศาสนา สอนว่า ปัญหาหรือความทุกข์ของ มนุษย์ เกิดข้ึนตามกระบวนการแห่งเหตุผล และทุกข์หรือปัญหาของมนุษย์เป็นส่ิงที่แก้ไขได้ พร้อมทั้งได้ให้ วธิ แี ก้ไขด้วย อรยิ สจั 4 กล่าวโดยสรุป ความเชื่อพ้ืนฐานของการ \"คิดเป็น\" มาจากธรรมชาติของมนุษย์ท่ีว่าส่ิงท่ีเป็นยอด ปรารถนา คือ ความสุข และมนุษย์เราจะมีความสุขท่ีสุดเม่ือตนเอง และสังคม ส่ิงแวดล้อม กลมกลืนกันอย่าง ราบร่นื ท้ังด้านวตั ถุ กาย และใจ การทม่ี นษุ ย์เรากระทาไดย้ ากน้ัน แต่อาจทาให้ตนเอง และสิ่งแวดล้อมประสม กลมกลนื กนั ไดเ้ ท่าทีแ่ ต่ ละคน หรอื กลุ่มคนจะสามารถทาได้ โดยกระทาดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ปรับปรงุ ตัวเองให้เข้ากับสังคมสง่ิ แวดลอ้ ม 2. ปรับสังคมและสิ่งแวดล้อมใหเ้ ขา้ กบั ตวั เรา 3. ปรับปรุงท้ังตวั เราและสงั คมส่ิงแวดลอ้ ม ท้งั สองด้านใหป้ ระสมกลมกลนื กัน 4. หลกี สังคมและสง่ิ แวดล้อมหนึ่ง ไปส่สู ังคมสิ่งแวดล้อมหนงึ่ ทเ่ี หมาะสมกบั ตน บุคคลท่ีจะสามารถดาเนินการข้อใดข้อหนึ่ง หรือหลายข้อเพ่ือตนเองและสังคมสิง่ แวดล้อมประสมกลมกลนื กัน เพื่อ ตนเองจะได้มีความสุขน้ัน บุคคลผู้น้ันต้อง \"คิดเป็น\" เพราะการคิดเป็นการทาให้บุคคลสามารถแก้ไข ปญั หาได้ บคุ คลที่มีแต่ความจายอ่ มไม่สามารถดาเนนิ การตามข้อใดขอ้ หน่ึงใน 4 ขอ้ ได้ คนทท่ี าเช่นน้ไี ดต้ ้องเป็น ผู้ท่ีมี ความสามารถคิดแก้ปัญหา สามารถรู้จักตนเองอย่างถ่องแท้ และรู้จักธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในสังคม น้นั การจัด กิจกรรมการเรียนการสอน จะสามารถชว่ ยพฒั นาการคิดเป็นให้เกดิ ขน้ึ ได้ โดยครูควรเปดิ โอกาสให้ ผู้เรียนได้คิด ตัดสินใจ และลงมือปฏิบัติจริงในกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งจะให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ และเกิด กระบวนการคิด โดยการ คิดน้ันควรส่งเสริมการใช้เหตุผล หลักคุณธรรมเป็นสาคัญ เพ่ือให้รู้ว่าเขาเป็นใคร ทาอะไร จะทาอย่างไร ทาเพื่อ อะไร จะได้ผลอย่างไร ซ่ึงการดาเนินการดังกล่าวครูสามารถนากระบวนการ \"คิดเป็น\" ซ่ึงเป็นกระบวนการคิดที่มี การรวบรวมข้อมูลด้านต่าง ๆ ให้ครบก่อนการตัดสินใจ จึงน่าจะเป็น กระบวนการคิดทเ่ี หมาะสมกับการดารงชวี ติ ใน ยคุ ขา่ วสารข้อมูลได้เป็นอย่างดี ขั้นตอนการคิดการแก้ปญั หาแบบคนคดิ เปน็ กระบวนการคิดเป็น แบ่งเปน็ 6 ขน้ั ตอน 1. ขั้นตอนที่ 1 ขัน้ ระบุปญั หาทีก่ าลังเผชญิ อยู่ 2. ข้นั ตอนที่ 2 ทาการศึกษารวบรวมขอ้ มลู เกย่ี วกบั ปัญหาท่ีกาลังเผชญิ อยู่ โดยแบ่งออกเปน็ 3 ประเภท 1. ขอ้ มลู ตนเอง 2. ข้อมูลทางสังคม 3. ขอ้ มลู ทางสงั คม 4. ข้อมูลวิชาการ

3. ขน้ั ตอนท่ี 3 การสงั เคราะห์ขอ้ มลู 3 ดา้ น มีความสุข 4. ขน้ั ตอนที่ 4 การตดั สินใจ 5. ขน้ั ตอนที่ 5 ปฏิบัตติ ามสิง่ ท่ีได้คิดและตัดสนิ ใจ 6. ข้นั ตอนท่ี 6 การประเมินผล แผนภมู แิ สดงการกระบวนการคิดเปน็ ข้นั ที่ 1 ปัญหา ขนั้ ที่ 2 ศกึ ษา / รวบรวมข้อมลู ข้อมูลตนเอง ขอ้ มูลสงั คม ขอ้ มูลวิชาการ ขน้ั ที่ 3 สังคม กรอบแห่งคุณธรรม ตนเอง วชิ าการ พอใจ ขนั้ ที่ 4 ตัดสนิ ใจ ไม่พอใจ ขัน้ ท่ี 5 ส่กู ารปฏิบตั ิ ทีม่ า http://mediathailand.blogspot.com/2012/05/blog-post_4135.htm

ระบบสรุ ยิ ะจกั รวาล คือระบบดาวที่โลกเราเป็นส่วนหน่ึง อยู่ในกาแล็กซีทางช้างเผือก มีดาวเคราะห์และดาวบริวารโคจร โดยรอบ เอื้อต่อการดารงชีวิต นักดาราศาสตร์ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันศึกษาดาราศาสตร์ กลุ่มดาวต่าง ๆ เพ่ือ ค้นหาคาตอบเกี่ยวกับสิ่งแวดลอ้ ม และสิง่ มีชวี ติ บนดาวดวงอนื่ ระบบสุริยะ คืออะไร ระบบสุริยะ มีขนาดใหญ่เมื่อเทียบกับโลกที่เราอยู่ โดยมีดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางวง โคจรของดาวเคราะห์ดวงใหญ่อีก 8 ดวง รวมถึงดาวบริวารต่างๆ มีการศึกษาทฤษฎีการกาเนิดระบบสุริยะไว้ ดงั น้ี Pierre Simon Laplace ได้เสนอทฤษฎีจุดกาเนิดของระบบสุริยะ ไว้เม่ือปี ค.ศ.1796 กล่าวว่า ในระบบสุริยะ จะมมี วลของก๊าซรูปรา่ งเปน็ จานแบนๆ ขนาดมหึมาหมนุ รอบตัวเองอยู่ ในขณะท่ีหมนุ รอบตัวเองนั้นจะเกิดการ หดตัวลง เพราะแรงดึงดูดของมวลก๊าซ ซึ่งจะทาให้อัตราการหมุนรอบตัวเอง มีความเร็วสูงข้ึนเพื่อรักษา โมเมนตัมเชิงมุม (Angular Momentum) ในท่ีสุด เมื่อความเร็ว มีอัตราสูงข้ึน จนกระท่ังแรงหนีศูนย์กลางที่ ขอบของกลุ่มก๊าซมีมากกว่าแรงดึงดูด ก็จะทาให้เกิดมีวงแหวนของกลุ่มก๊าซแยกตัวออกไปจากศูนย์กลางของ กลุ่มก๊าซเดิม และเม่ือเกิดการหดตัวอีกก็จะมีวงแหวนของกลุ่มก๊าซเพ่ิมขึ้นต่อไปเรื่อยๆ วงแหวนท่ีแยกตัวไป จากศนู ยก์ ลางของวงแหวนแตล่ ะวงจะมีความกวา้ งไม่เทา่ กัน ตรงบริเวณท่มี ีความหนาแน่นมากทส่ี ุดของวง จะ คอยดึงวตั ถทุ ัง้ หมดในวงแหวน มารวมกนั แล้วกลัน่ ตวั เป็นดาวเคราะห์ (อา้ งองิ rmutphysics)

ระบบสุรยิ ะ ประกอบด้วยอะไรบ้าง ระบบสุรยิ ะ (Solar System) มีจดุ ศูนยก์ ลางคือดวงอาทิตย์ที่ มวี งโคจรของดาวเคราะห์ 8 ดวงอยู่เปน็ ดาวบรวิ าร ได้แก่ 1. ดาวพธุ ( Mercury ) ดาวพุธปน็ ดาวเคราะหท์ ่ีเล็กที่สุดในระบบสุรยิ ะ อยูใ่ กล้ดวงอาทติ ย์มากทส่ี ดุ 2. ดาวศุกร์ ( Venus ) ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์ท่ีสว่างที่สุด เป็นลาดับที่ 3 รองจากดวงอาทิตย์ อยู่ห่างจาก ดวงอาทติ ยเ์ ปน็ ลาดบั ที่ 2 3. โลก ( Earth ) โลกเป็นดาวเคราะห์ดวงเดียวในระบบสุริยะที่มีสภาวะแวดล้อมเอื้ออานวยต่อการดารงชีวิต ของสิ่งมชี ีวิต อยู่หา่ งจากดวงอาทิตยเ์ ปน็ ลาดับท่ี 3 4. ดาวองั คาร ( Mars ) ดาวอังคารดาวเคราะห์ลาดบั ที่ 4 เป็นดาวเคราะห์ที่เลก็ ท่ีสดุ เป็นลาดบั ที่ 2 ของระบบ สุรยิ ะ 5. ดาวพฤหัสบดี ( Jupiter )ดาวพฤหัสบดีเป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลาดับท่ี 5 และเป็น ดาวเคราะห์ท่ีมีขนาดใหญ่ทีส่ ุดในระบบสุริยะ 6. ดาวเสาร์ ( Saturn ) ดาวเสารเ์ ป็นดาวเคราะห์ทอี่ ย่ถู ดั จากดาวพฤหสั บดี เปน็ ดาวเคราะหด์ วงที่ 6 จากดวง อาทติ ย์ และเปน็ ดาวเคราะหด์ วงเดียวทีม่ วี งแหวนอกี ดว้ ย 7. ดาวยูเรนัส (Uranus) ดาวยูเรนัสเป็นดาวเคราะห์ท่ีอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลาดับท่ี 7 เป็นดาวเคราะห์ แก๊ส เตม็ ไปดว้ ยแอมโมเนยี และมีเทน 8. ดาวเนปจูน (Neptune)ดาวเนปจูนเป็นดาวเคราะห์ในระบบสุริยะลาดับสุดท้ายท่ีอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ ลักษณะมีผิวสนี ้าเงนิ ปจั จบุ นั ถูกจัดวา่ เป็นดาวเคราะหแ์ คระ ข้อถกเถียงเร่ืองดาวพลูโต ถูกถอดออกจากระบบสุริยะ ดาวพลูโตเคยเป็นดาวบริวารลาดับที่ 9 ของ ระบบสุริยะ แต่เม่ือวันท่ี 24 สิงหาคม พ.ศ. 2549 สมาพันธ์ดาราศาสตร์สากล หรือไอเอยู (International Astronomical Union’s : IAU) ได้โหวตดาวพลูโตออกจากระบบสรุ ิยะ และระบุว่าพลูโตมีคุณสมบตั ิในเกณฑ์ “ดาวเคราะหแ์ คระ” เท่าน้ัน

ระบบสุริยะ ประกอบด้วยดาวเคราะห์วงใน และดาวเคราะห์วงนอกท่ีรายล้อมดวงอาทิตย์ด้วยวงโคจรท่ีวัดได้ ด้วยระยะทางปีแสง หรือระยะเวลาท่ีแสงเดินทางได้ใน 1 ปี ส่วนการกาหนดระยะทางวงโคจรว่าดาวเคราะห์ ดวงใดจะเป็นวงในหรือวงนอก ขึ้นอยู่กับระยะเวลาเดินทางของแสงจากดวงอาทิตย์ที่มาถึงดาวดวงนั้น ใน ระยะเวลา 1 ชัว่ โมง (Light Hours) ภาพแสดงระยะทางเฉลย่ี ของดาวเคราะห์ชั้นนอก จากดวงอาทิตย์ โดยท่ี Light Hours หมายถึง ระยะเวลาท่ี แสง เดินทางจากดวงอาทิตย์ มาถึงดาวเคราะห์น้ัน (หน่วยเป็นช่ัวโมง) และ Astronomical Units หมายถึง ระยะทาง ในหนว่ ยดาราศาสตร์ (AU) ดาวเคราะห์ในระบบสุรยิ ะแบง่ ออกเปน็ กลมุ่ ต่างๆ ไดด้ งั นี้ 1. แบง่ ตามกายภาพ  ดาวเคราะห์ช้ันใน (Inner or Terrestrial Planets): จะเป็นกลุ่มดาวเคราะห์ ท่ีอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์ มากกว่าอีกกลุ่ม เป็นดาวเคราะห์ทเี่ ยน็ ตัวแลว้ มากกว่า ทาให้มีผวิ นอกเปน็ ของแข็ง เหมือนผวิ โลกของ เรา จึงเรียกว่า Terrestrial Planets (หมายถึง \"บนพื้นโลก\") ได้แก่ ดาวพุธ (Mercury), ดาวศุกร์ (Venus), โลก (Earth) และดาวอังคาร (Mars) ซึ่งจะใช้แถบของ ดาวเคราะห์น้อย (Asteroid Belt) เป็นแนวแบง่  ดาวเคราะห์ช้ันนอก (Outer or Jovian Planets): จะเป็นกลุ่มดาวเคราะห์ ที่อยู่ไกลดวงอาทิตย์ มากกว่าอีกกลุ่ม เป็นดาวเคราะห์ท่ีเพิ่งเย็นตัว ทาให้มีผิวนอก ปกคลุมด้วยก๊าซ เป็นส่วนใหญ่ เหมือน พื้นผิวของดาวพฤหัสบดี ทาให้มีช่ือเรียกว่า Jovian Planets (Jovian มาจากคาว่า Jupiter-like หมายถึง คล้ายดาวพฤหัสบดี) ได้แก่ ดาวพฤหัสบดี (Jupiter), ดาวเสาร์ (Saturn), ดาวยูเรนัส (Uranus), ดาวเนปจนู (Neptune) และดาวพลูโต (Pluto) 2. แบง่ ตามวงโคจร  ดาวเคราะห์วงใน (Interior planets) หมายถึงดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าโลก ได้แก่ ดาวพุธ และดาวศกุ ร์

 ดาวเคราะห์วงนอก (Superior planets) หมายถึง ดาวเคราะห์ท่ีอยู่ถัดจากโลกออกไป ได้แก่ ดาว อังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนสั ดาวเนปจูน และดาวพลูโต 3. แบ่งตามพ้นื ผิว  ดาวเคราะห์ก้อนหิน ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร ท้ัง 4 ดวงนี้มีพื้นผิวแข็งเป็นหิน มี ชั้นบรรยากาศบางๆ หอ่ หุม้ ยกเว้นดาวพธุ ที่อยใู่ กล้ดวงอาทติ ยท์ ส่ี ุดไมม่ บี รรยากาศ  ดาวเคราะห์ก๊าซ ได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน จะเป็นก๊าซท่ัวท้ังดวง อาจมีแกนหินขนาดเล็ก อยู่ภายใน พ้ืนผิวจึงเป็นบรรยากาศที่ปกคลุมด้วยก๊าซมีเทน แอมโมเนีย ไฮโดรเจน และฮีเลยี ม ระบบสุรยิ ะอยใู่ นกาแล็กซีใด ระบบสรุ ิยะจัดอยูใ่ นกาแลก็ ซีทางชา้ งเผือก (Milky Way) มาจากภาษาละติน Via Lactea แปลวา่ ทาง น้านม กาแล็กซีทางช้างเผือกน้ีประกอบด้วยฝุ่นและกลุ่มแก๊สทาให้มองเห็นเป็นแถบสีขาวจางๆ พาดผ่าน ฟากฟา้ ในยามคา่ คืน จากการศึกษาของนักดาราศาสตร์พบว่ากาแล็กซีทางช้างเผือก เป็นกาแล็กซีแบบกังหันมีคาน มีดาว ฤกษอ์ ยู่อย่างนอ้ ย 200,000 ล้านดวง และมีเส้นผา่ นศูนยก์ ลางประมาณ 100,000 ปแี สง และมีความหนาเฉล่ีย 1,000 ปแี สง ดวงอาทิตย์ของเราก็โคจรอยู่ในกาแล็กซีทางช้างเผือกเช่นกัน โดยใช้เวลา 225 ล้านปีในการโคจร ครบรอบกาแล็กซี โดยใช้อัตราเร็ว 220 กิโลเมตรตอ่ วนิ าที ทม่ี า : rmutphysics.com, https://www.stkc.go.th , http://nso.narit.or.th, http://thaiastro.nectec.or.th

ใบงานที่ 1 ชอ่ื – นามสกลุ .................................................................................. ระดับชั้น......................................... กศน.ตาบลหาดเจา้ สาราญ วนั /เดอื น/ป.ี ....................................................... คาอธิบาย : ให้นักศกึ ษาเขยี นชอื่ ส่วนประกอบของระบบสุรยิ ะให้ถูกต้องตามหมายเลขที่กาหนด โลก ดาวพุธ ดาวพลูโต ดวงอาทิตย์ ดาวศุกร์ ดาวพฤหัสบดี ดาวอังคาร ดาวเสาร์ ดาวเคราะหน์ อ้ ย ดาวเนปจูน ดาวยเู รนัส หมายเลข 1 ........................................................ หมายเลข 6 ........................................................ หมายเลข 2 ........................................................ หมายเลข 7 ........................................................ หมายเลข 3 ........................................................ หมายเลข 8 ........................................................ หมายเลข 4 ........................................................ หมายเลข 9 ........................................................ หมายเลข 5 ........................................................ หมายเลข 10 ........................................................

ใบงานท่ี 2 ตาแหน่งการโคจรของดาวเคราะห์ พธุ พฤหสั บดี ศกุ ร์ เเนนปปจนูจนู เสาร์ ยเู รนสั องั คาร โลก ดวงอาทิตย์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook