Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 1กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของระบบไหลเวียนเลือด

บทที่ 1กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของระบบไหลเวียนเลือด

Published by renatia028, 2021-02-15 13:04:57

Description: บทที่ 1กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของระบบไหลเวียนเลือด

Search

Read the Text Version

บทที่ 1 กายวภิ าคศาสตรแ์ ละสรรี วิทยาของระบบไหลเวียนเลอื ด วตั ถุประสงค์ 1. อธบิ ายโครงสรา้ ง และหนา้ ที่ของหวั ใจได้ 2. อธิบายโครงสร้าง และหน้าที่ ของหลอดเลอื ดได้ 3. สามารถจาแนกระบบไหลเวยี นเลือดในรา่ งกายได้ 4. อธบิ ายโครงสรา้ ง และหนา้ ท่ขี องเลือด นาเหลอื งและอวัยวะในระบบนาเหลอื งได้ ความสาคัญของระบบไหลเวียนเลอื ด 1. นาสารท่สี าคญั ตา่ งๆ ใหเ้ ซลล์ ใช้ในกจิ กรรมตา่ งๆ 2. รบั ของเสียออกจากเซลล์ และนาออกจากร่างกาย เช่น การขับเหงอื่ การหายใจ และการขับ นาปัสสาวะ เปน็ ต้น 3. การบบี ตัวของกล้ามเนอื หวั ใจ เพือ่ ดันเลอื ดดีเขา้ สู่หลอดเลอื ดแดงสง่ ไปทเี่ ซลล์ เพ่อื แลกเปลีย่ นสารอาหาร ก๊าซ และของเสียท่ผี นงั เส้นเลือดฝอย 4. เลือดเสยี จะถกู นากลบั เข้าสูห่ วั ใจทางเส้นเลอื ดดา เป็นเลือดทม่ี อี อกซิเจนต่า จะถกู นาไปฟอก ทีป่ อดเพ่ือรับออกซเิ จนเปลีย่ นเปน็ เลือดแดงแลว้ นาเขา้ สู่หวั ใจ เพ่ือหมนุ เวียนกลบั ไปยงั สว่ นตา่ งๆของ รา่ งกายตอ่ ไป หวั ใจ ประกอบดว้ ยกล้ามเนือหัวใจ มีรปู รา่ งเปน็ รูปกรวยมีชอ่ งว่างอย่ภู ายใน มีตาแหน่งอยู่ในชอ่ ง อก เรียกวา่ mediastinum หัวใจถกู หุ้มด้วยเยื่อหมุ้ หัวใจเรียกว่า pericardium ซ่ึงแบ่งเป็น 2 ชันคอื fibrous และ serous pericardium โดย serous pericardium ประกอบด้วย 2 ชนั บาง ๆ และจะมี ของเหลวแทรกอย่เู รยี กวา่ pericardial fluid ทาหนา้ ทใ่ี นการหล่อล่ืน และป้องกนั การเสียดสีระหว่าง เยอ่ื หุ้มหวั ใจ และเนอื เยอ่ื หัวใจ ลกั ษณะทางจลุ กายวิภาคของหัวใจ ผนังหวั ใจ มี 3 ชนั คือ 1. ชันในสุด (Endocardium) เปน็ ชันเนอื เย่ือที่บอุ ยดู่ ้านในของหวั ใจทุกหอ้ ง และส่วน ลนิ หวั ใจ 2. ชนั กล้ามเนอื หวั ใจ (Myocardium) 3. ชันนอกสุด (Epicardium) เปน็ ชันท่ีมีเสน้ เลอื ดทมี่ าหลอ่ เลยี งหวั ใจ หอ้ งหวั ใจ แบง่ เปน็ 4 ห้อง ไดแ้ ก่ 1. ห้องขวาบน รับเลือดจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย 2. ห้องขวาลา่ ง รบั เลือดจากหอ้ งขวาบนเพือ่ ส่งไปฟอกทปี่ อด 3. หอ้ งซา้ ยบน รบั เลอื ดทผี่ า่ นการฟอกจากปอด

4. หอ้ งซา้ ยล่าง สง่ เลือดไปเลียงส่วนต่าง ๆของรา่ งกาย ลิ้นหวั ใจ ควบคุมการไหลของเลือดใหผ้ า่ นหวั ใจ ประกอบด้วย 1. Aterioventricular valves กันระหว่างหัวใจหอ้ งบน และห้องล่าง เช่น tricuspid valves และ bicuspid valves 2. Semi lunar valves คอื ลนิ หวั ใจท่อี ยทู่ ท่ี างเปดิ ของหัวใจหอ้ งลา่ งดา้ นซ้ายและขวา เชน่ aortic valves และ pulmonary valves ภาพที่ 1 แสดงpericardium และกล้ามเนือหวั ใจ ที่มา : http://dedyaskpe.blogspot.com/2012/11/cara-pencegahan.html ภาพท่ี 2 แสดงห้องหัวใจและลินหวั ใจ ทมี่ า : https://bit.ly/2BVHRgD

เซลลก์ ลา้ มเนอ้ื หวั ใจ แตล่ ะเซลลจ์ ะเรยี งตอ่ กนั เป็นรยางค์ กลา้ มเนอื หวั ใจทางานอยา่ งอตั โนมตั โิ ดยจดุ ท่ีมีการ ทางานอย่างอตั โนมตั ิไดเ้ อง คือ 1. SA node หรือ Sino-atrial node เปน็ กลมุ่ ของเซลล์ทอ่ี ยบู่ นผนังหวั ใจของหวั ใจหอ้ งบน ขวาใกลก้ ับทางออกของsuperior vena cava เปน็ primary pacemaker ซ่ึงสามารถสร้างกระแส ประสาทในภาวะปกติไดป้ ระมาณ 70-80 ครงั ตอ่ นาที 2. AV node หรือ Atrio ventricular node พบได้ท่บี รเิ วณระหว่างหัวใจหอ้ งบนซ้าย และหัวใจ ห้องล่างขวาภายในผนังกันห้องหัวใจ (atrial septum) หรืออยู่ถัดลงมาจาก SA node เป็น secondary pacemaker มีความเรว็ ในการสร้างกระแสประสาทรองจาก SA node คือ 40-60 ครังตอ่ นาที ภาพที่ 3 แสดงเซลล์กล้ามเนอื หวั ใจ ท่ีมา: https://ghr.nlm.nih.gov/condition/sick-sinus-syndrome ระบบเสน้ เลือดทีเ่ ลยี้ งหัวใจ ระบบเสน้ เลอื ดท่ไี ปหลอ่ เลียงส่วนของกลา้ มเนือหวั ใจโดยตรง จะแตกแขนงออกมาจาก Aorta แยกซา้ ยขวา เป็น 2 เสน้ คือ 1. Right coronary arteries เลียงห้องหวั ใจดา้ นขวา 2. Left main coronary arteries ซึง่ แตกแขนงออกเปน็ 2.1 Left anterior descending coronary artery เลยี งหัวใจหอ้ งล่างทงั ซา้ ยและขวา 2.2 Circumflex coronary เลยี งผนังของหัวใจห้องบนและหอ้ งล่าง เลอื ดท่ีเลียงหวั ใจจะไหลกลบั ทางหลอดเลือดฝอยและรวมกลายเป็น cardiac vein ทอด ขนานมากบั เสน้ เลือดแดง เส้นเลือดดารวมตวั กนั เปน็ coronary sinus และกลบั เขา้ สู่หวั ใจหอ้ งบนขวา ระบบการไหลเวียนของเลอื ดในรา่ งกาย 1. การไหลเวียนของเลือดผา่ นปอด (pulmonary circulation) เป็นระบบทน่ี าเลอื ดดาไป ฟอกที่ปอด และนาเลือดแดงจากปอด หมุนเวยี นกลบั เขา้ ส่หู วั ใจ 2. การไหลเวยี นของเลือดไปเลยี งร่างกายส่วนตา่ งๆ (systemic circulation) เป็นการ

ไหลเวยี นของเลือดแดง ออกจากหวั ใจไปส่วนต่างๆ ของรา่ งกายตามระบบเส้นเลอื ดแดง และรบั เลอื ด จากระบบเสน้ เลือดดากลับเขา้ หวั ใจ ภาพที่ 4 แสดงเส้นเลอื ดเลยี งหวั ใจ ที่มา: https://bit.ly/2KZQVEA หลอดเลือดเป็นทอ่ นาเลอื ดที่หวั ใจสูบฉดี เลือดไปใหเ้ ซลล์และเนอื เยอ่ื ทว่ั ร่างกายและนาเลอื ด ทีเ่ ซลลแ์ ละเนือเยอ่ื ทวั่ ร่างกายใช้แลว้ กลบั สู่หัวใจ หลอดเลอื ดในรา่ งกายแบ่งเป็น 3 ชนดิ คอื 1. หลอดเลอื ดแดง (Artery) เป็นหลอดเลือดทนี่ าเลือดออกจากหัวใจเป็นเลอื ดท่ีมีปรมิ าณ ออกซเิ จนสงู หลอดเลอื ดแดงมผี นังท่หี นาเพราะต้องรบั กับความดนั เลือดทผ่ี า่ นเข้าจากการท่หี วั ใจบีบตวั 2. หลอดเลือดฝอย(Capillary) เปน็ หลอดเลือดทม่ี ีขนาดเล็กมีผนังบางเพยี งชนั เดยี วทาใหม้ ี การซมึ ผา่ นของสารตา่ งๆโดยการกรองและการแพรเ่ ป็นไปโดยง่าย มีการเรียงตัวเป็นร่างแหอยู่ ใน เนือเยอื่ มหี น้าทใี่ นการแลกเปลี่ยนอาหารออกซเิ จนและของเสยี ระหวา่ งเลอื ดกับเซลล์และเนือเยื่อ ตา่ งๆ 3. หลอดเลอื ดดา(vein) เป็นหลอดเลอื ดที่นาเลือดกลบั สหู่ วั ใจมีปรมิ าณออกซิเจนตา่ หลอด เลอื ดดามีโครงสร้างผนังคล้ายหลอดเลือดแดงแต่ผนังชนั กลางไมใ่ หญ่และยืดหยุน่ เท่าหลอดเลอื ดแดง หลอดเลือดดาส่วนใหญจ่ ะมลี นิ ชว่ ยให้เลอื ดไหลกลบั ส่หู ัวใจได้ทางเดยี วไม่เกิดการย้อนกลบั ผนังของหลอดเลอื ดแบ่งเปน็ 3 ชนั คือ 1. tunica intima เป็นผนังชนั ในสุด 2. tunica media เป็นผนังชนั กลางประกอบดว้ ยกล้ามเนือเรียบเรยี งตัวเป็นวงกลมและมี เสน้ ใยอลี าสตกิ 3. tunica externa เปน็ ผนงั ชนั นอกประกอบพนื ชนั ของเนือเย่อื เก่ยี วพันมีเส้นใยคอลลา เจนและเสน้ ใยอิลาสตกิ มเี ส้นประสาทและหลอดเลือดเลก็ ๆ มาหลอ่ เลียง

ภาพที่ 5 แสดงชันของผนังหลอดเลอื ด ที่มา: https://www.pinterest.com/pin/397090892129855821/?lp=true ระบบหลอดเลือดแดง Aorta เปน็ หลอดเลอื ดแดงใหญ่ทอี่ อกจากหวั ใจเรียกวา่ แบ่งเป็น 3 สว่ นคือ 1. Ascending aorta เป็นส่วนของเอออร์ตาทวี่ ่ิงขนึ ดา้ นบน มีแขนงไปเลียงหัวใจคอื left coronary artery และ right coronary artery 2. Arch of aorta เปน็ สว่ นของเอออร์ตาท่ี โคง้ ไปทางดา้ นซ้ายแตกแขนงเปน็ 3 เสน้ คอื 2.1 brachiocephalic trunk เป็นแขนงแรกด้านขวาสุดทอ่ ท่วั ไปทางดา้ นขวาและแตก แขนงออกเปน็ right common carotid artery และ right subclavian artery 2.2 left common carotid artery เป็นแขนงกลางนาเลือดไปเลยี งบรเิ วณคอและ ศรี ษะดา้ นซา้ ย 2.3 left subclavian artery เป็นแขนงซา้ ยสดุ นาเลอื ดไปเลียงบรเิ วณรักแร้ซ้าย Common carotid artery จะถอดตัวขนึ ไปบริเวณคอและศรี ษะโดยแยกเปน็ 2 แขนงคอื External carotid artery จะไปเลียงบริเวณใบหนา้ หนงั ศรี ษะ กระดูกขากรรไกรบน กล้ามเนอื ใน การเคียวและ ในจมกู Internal carotid artery ถ้าตัวเข้าภายในกะโหลกเพอ่ื ไปเลยี งสมอง 3. descending aorta จะว่ิงลงทางด้านล่างเข้าสู่ช่องอก Subclavian artery แบง่ เป็น 3 ส่วน 1. vertebral artery ไปเลยี งสมองบางส่วนและไขสันหลงั 2. Internal carotid artery เลยี งกลา้ มเนืออกและหน้าท้อง, thyrocervical trunk เลยี งบรเิ วณคอ กล่องเสยี งสมคั ร, Costocervical trunk บริเวณกลา้ มเนอื คอชนั ลึก 3. Axillary artery ผ่านบริเวณรกั แร้

ภาพที่ 6 แสดงเสน้ เลือด Aorta ทีม่ า: https://en.wikipedia.org/wiki/Common_carotid_artery Axillary artery ต่อมาจาก subclavian artery และเขา้ สู่บรเิ วณตน้ แขนเรยี กวา่ brachial artery จากนัน แตค่ ะแนนปลายเปน็ 2 เส้นคอื 1. radial artery อยูท่ างด้านหน้ากระดูก radius 2. ulnar artery อยู่ทางดา้ นกระดูก ulna เสน้ เลอื ดทังสองนจี ะผ่านเข้าไปในบรเิ วณฝา่ มอื เช่อื มกนั เปน็ palmar arch เพือ่ เลยี งบรเิ วณ ฝ่ามือและนวิ มอื ภาพท่ี 7 แสดง Axillary artery ทมี่ า: Credit:https://slideplayer.com/slide/6365856/

Descending aorta 1. thoracic aorta เลียงบริเวณชอ่ งอก กล้ามเนือซโ่ี ครง ปอด หลอดอาหารและกระบงั ลม 2. abdominal aorta เลยี งบรเิ วณชอ่ งทอ้ ง และพ่อตัวลงมาจนถงึ ระดับกระดกู สนั หลงั L4 เข้าสู่สว่ นกลาง 2 ขา้ งซา้ ยและขวาเรยี กวา่ common iliac artery Abdominal aorta แบ่งเปน็ 2 กล่มุ 1. แขนงเด่ียว 1.1 Celiac trunk แตกแขนงเป็น 3 เส้น ไปเลยี งทางเดินอาหารสว่ นต้น 1.2 Superior mesenteric artery เลยี งทางเดนิ อาหารสว่ นกลาง 1.3 Inferior mesenteric artery เลียงทางเดนิ อาหารส่วนปลาย 2. แขนงคู่ 2.1 renal artery ไปเลยี งไต 2.2 gonadal artery เลยี งรงั ไขแ่ ละอณั ฑะ Common iliac artery แตกแขนงเป็น 2 เส้น 1. internal iliac artery เลียงอวยั วะในอุ้งเชิงกราน 2. external iliac artery ผา่ นไปทางด้านหนา้ ต้นขา กลายเปน็ femoral artery ภาพที่ 8 แสดง Abdominal aorta ทม่ี า: Credit: https://www.pinterest.com/pin/365002744773945330/?lp=true เสน้ เลือดทมี่ าเลยี งขา 1. Femoral artery ซง่ึ ทอดตวั อยู่ในกล้ามเนอื ต้นขา ทอดตวั ไปยังแอง่ ขอ้ พบั เขา่ 2. Popliteal artery อย่ใู นขอ้ พับเข่า และแยกเปน็ 2 แขนงเพือ่ ไปเลยี งบรเิ วณขา 3. Posterior tibial artery เลยี งบริเวณดา้ นหลังของขา และแยก เปน็ peroneal artery อยดู่ า้ นขา้ งกระดกู fibula สว่ นปลายของ posterior tibial artery ทอดตัวไปหลังตาตุ่มด้านในไป เลยี งฝา่ เทา้

4. anterior tibial artery มาดา้ นหน้าของขา จนถึงตาต่มุ ด้านในกลายเปน็ dorsalis pedis artery เลียงบริเวณหลังเท้า หลอดเลอื ดดา หลอดเลอื ดดาเปน็ หลอดเลือดที่นาเลอื ดจากหลอดเลอื ดฝอยกลบั เข้าสู่หวั ใจ โดยเร่ิมจาก หลอดเลือดดาฝอย ( Venules) หลอดเลือดดาขนาดเลก็ และใหญต่ ามลาดบั ลกั ษณะท่ัวไปผนงั หลอด เลอื ดดาคล้ายผนงั ของหลอดเลอื ดแดง แต่บางกว่า มี Elastic tissue และกล้ามเนือเรียบน้อยกว่า ทังนีเพราะความดันในหลอดเลอื ดดาน้อยกว่า ทผี่ นงั ด้านในของหลอดเลอื ดดาขนาดใหญ่และขนาด กลางจะมลี ินอยูเ่ ปน็ ระยะๆ เพอ่ื ป้องกนั การไหลย้อนกลับของเลือดดา สว่ นผนังหลอดเลือดดาฝอยจะ ไมม่ ลี ินกนั หลอดเลือดดาท่ีขาของสามารถแบง่ ออกเปน็ 3 ระบบคือ 1. หลอดเลือดดาชันตนื (superficial system) สามารถแบง่ ออกไดเ้ ปน็ 2 ส่วนคอื 1.1 Greater saphenous vein (GTH) เป็นหลอดเลอื ดดาท่ียาว เรมิ่ จากบริเวณด้าน ในของเท้า ผา่ นทางด้านหนา้ ของ medial malleolus แลว้ ขนึ ไปสูข่ าและสนิ สดุ บริเวณด้าน medial ของขาและต่อรวมเข้าสู่ femoral veins 1.2 Lesser saphenous vein (LSV) จะขนึ มาจากดา้ นนอกของเท้า ผ่านดา้ นหลังของ lateral malleolus และขึนมาบริเวณกลางนอ่ งและต่อเข้าสูห่ ลอดเลอื ดดาใหญ่ 2. หลอดเลือดดาชนั ลึก (deep system) เปน็ หลอดเลือดดาท่อี ย่ชู ิดกบั หลอดเลือดแดง ในแต่ละเส้นขอ งหลอดเลือดแดงจะมี หลอดเลอื ดดาประกบ 2 คู่ โดยมชี ื่อเรยี กเหมือนกบั หลอดเลอื ดแดงท่วี ่ิงคู่ ได้แก่ common femoral vein, femoral vein, deep femoral vein, popliteal vein, anterior tibial vein, posterior tibial vein, peronial vein ในหลอดเลอื ดดาแต่ละเส้นเลือดจะสามารถไหลยอ้ นกลับจากบรเิ วณข้อหรือเท้า เข้าสู่ หัวใจได้ (ในทิศทางท่ตี า้ นกบั แรงโนม้ ถ่วงของโลก) เนื่องจากหลอดเลอื ดดาเหล่านจี ะมลี นิ ทห่ี ลอดเลอื ด ดาคอยเปดิ ปดิ อยู่ตลอดเวลา นอกจากนียงั มปี ัจจัยเสริมคอื การบีบตัวของหลอดเลอื ดแดง และการบบี ตัวของกล้ามเนือทเ่ี ท้าและน่อง ถ้าร่างกายมคี วามผิดปกติทาให้ลินไม่สามารถทางานได้ตามปกติก็จะ ทาให้มีเลือดไหลยอ้ นกลบั ลงมาท่ีขาได้ โดยลนิ ของหลอดเลอื ดดามีความสาคญั มากในการปอ้ งกนั ไม่ให้ เลอื ดไหลผดิ ปกติ ลินของหลอดเลอื ดดามลี กั ษณะเป็น semilunar และเปน็ bicuspid ปกติลินเหลา่ นี จะทนต่อความดนั เลอื ดไหลย้อนกลบั ได้ ลินเหล่านีจะทาหน้าที่บังคับทิศทางให้เลือดดาไหลจาก superficial system ไหลไปทาง deep system (ไหลจากเทา้ ขนึ มาทีต่ ้นขาและหวั ใจตามลาดบั ) 3. หลอดเลอื ดดาชันเชื่อมต่อ (Perforator veins) เป็นหลอดเลือดดาที่เช่ือมระหว่าง deep และ superficial systems คือทาหน้าทน่ี าเลือดจาก superficial เขา้ สู่ deep system

ภาพท่ี 9 แสดงหลอดเลือดดา ทีม่ า: https://www.myveins.co.uk/radiofrequency_perforator_stylet_treatment.htm การไหลเวียนเลอื ดในรา่ งกาย (Blood circulation) 1. การไหลเวยี นเลือดผ่านปอด (pulmonary circulatory system) เริม่ จากเลือดใน ส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกาย ไหลกลับสู่หัวใจห้องบนขวา เข้าสหู่ อ้ งลา่ งขวาเข้าสู่ pulmonary artery เพ่ือ เขา้ สูป่ อด เพื่อรบั ออกซเิ จนจากปอดและถ่ายคารบ์ อนไดออกไซด์ จากนันเลือดท่ีฟอกท่ีปอดแล้วจะ กลับเขา้ สู่หัวใจห้องบนซ้ายทาง Pulmonary vein 2. การไหลเวยี นเลอื ดในรา่ งกาย (Systemic circulatory system) เลือดจากหัวใจหอ้ ง บนซา้ ย ไหลเข้าสู่หวั ใจหอ้ งลา่ งซ้าย และสูบฉีดออกจากหวั ใจห้องล่างซ้ายไปสู่ Aorta เพ่ือไปเลียง ร่างกายสว่ นตา่ ง ๆ ภาพที่ 10 แสดง Blood circulation ทีม่ า: http://shessaybcti.riverbendrestoration.us/cardio-vascular-system.html

ระบบไหลเวียนเลือดทารกในครรภ์ (Fetal circulation) เปน็ การไหลเวียนเลอื ดของทารกขณะอยใู่ นครรภ์ โดยจะมีการทางานต่างไปจากทารกหลงั คลอด เน่อื งจากขณะอยใู่ นครรภ์อวยั วะในร่างกายยังทางานไม่เต็มที่ จึงมีรกทาหน้าท่ีแลกเปลย่ี นสารอาหารและ กาซระหวา่ งแม่กับลกู โดยมีสายสะดือ (Umbilical cord) เปน็ อวัยวะเช่ือมระหว่างลูกกบั แม่ สะดือของทารกประกอบดว้ ยหลอดเลอื ด 3 เส้นคือหลอดเลอื ดแดง 2 เสน้ และหลอดเลือด ดา 1 เส้นซงึ่ จะมกี ารแตกแขนงเปน็ หลอดเลือดฝอยเขา้ สูภ่ ายในรก โดยหลอดเลอื ดฝอยเหล่านีจะย่ืน เข้าไปในแอ่งเลอื ดของแม่จึงทาใหเ้ ลือดของแม่กับลูกไม่ผสมกันโดยตรงแต่จะมีการแลกเปล่ียน สารอาหารโดยผ่านทางผนงั ของเลือดหลอดเลือดฝอย umbilical arteries จะนาเลอื ดทม่ี ปี ริมาณออกซเิ จนน้อยและของเสียไปทีร่ กเพ่ือเปลี่ยนให้ เป็นเลอื ดท่ีมอี อกซเิ จนและมสี ารอาหารมาก จากนันจะถกู ส่งออกจากรกทาง umbilical vein ซึ่งจะ แตกแขนงออกเป็น 2 เส้นคือ porta sinus และ ductus venosus เลอื ดใน umbilical vein จะผ่าน เข้าสู่ IVC เลอื ดของทารกในครรภท์ ี่มาจากการเลยี งร่างกายส่วนล่างเปน็ เลือดทมี่ อี อกซเิ จนต่าผ่านมา ทาง IVC ซง่ึ จะเข้ามาผสมกบั เลอื ดท่ีมีออกซิเจนสูงซึง่ มปี รมิ าณมากกวา่ ท่ีมาจากรก สว่ นเลือดที่กลับ จากรา่ งกายส่วนบน มีเสน้ ทางเหมือนกับทารกหลังคลอดโดยผ่านทาง SVC เขา้ ส่หู ้องบนขวา การไหลเวยี นของเลือดผา่ นหัวใจของทารกในครรภ์ เกอื บทังหมดท่มี าจากห้องบนขวาจะสง่ ไป หอ้ งบนซา้ ยโดยผา่ นทางรเู ปิด foramen ovalea และจะมีเลือดเพียงเลก็ น้อยทีผ่ า่ นจากห้องบนขวา เข้าสู่หอ้ งล่างขวาเพือ่ ไปที่ปอด แต่ปอดของทารกยังไม่ทางานเลือดจึงถูกส่งจาก pulmonary trunk เขา้ สู่ arch of aorta ผา่ นทาง ductus arteriosus เพ่อื เขา้ สู่ระบบไหลเวียนตอ่ ไป เม่ือทารกคลอดออกมาแล้วอวยั วะต่างๆจะเริ่มทางานดงั นันอวยั วะพิเศษที่อยใู่ นขณะ ตงั ครรภ์จะมีการเปล่ียนแปลงตัวเองไปดงั นี 1. umblibical artery เปลี่ยนเปน็ lateral umbilical ligament 2. umbilical vein เปลยี่ นเปน็ round ligament 3. duc tus venosus เปลี่ยนเปน็ ligamentum venosum 4. foramen ovalae เปลยี่ นเป็นfossa ovalis 5. ductus arteriosus เปล่ยี นเปน็ ligamentum arteriosum ภาพท่ี 11 แสดง Fetal circulation ที่มา: https://www.chop.edu/conditions-diseases/blood-circulation-fetus-and-newborn

เลอื ดและสว่ นประกอบของเลอื ด เลือดเปน็ เนอื เย่อื เกี่ยวพนั ชนิดของเหลวประกอบด้วย 2 ส่วนคอื 1. เมด็ เลือด โดยประมาณ 45% ของเลือดประกอบด้วยเม็ดเลอื ดแดง เมด็ เลือดขาวและ เกลด็ เลือด 2. นาเลอื ดหรอื พลาสมาชินสว่ นของของเหลวมีประมาณ 55% ของเลือดประกอบด้วย โปรตนี สารอาหารวติ ามนิ ฮอรโ์ มนและเกลือแร่ เม็ดเลอื ดแดง (Red Blood Cell) เม็ดเลือดแดงมีลกั ษณะรูปรา่ งกลมตรงกลางเว้าเขา้ หากนั เม็ดเลือดแดงท่ีโตเต็มท่ีจะไม่มี นวิ เคลยี ส มอี ายุประมาณ 120 วัน มีส่วนประกอบสาคญั คอื ฮโี มโกลบินทาหน้าที่จับออกซิเจนเพ่ือ ขนส่งไปยงั เซลลต์ ่างๆ เม็ดเลอื ดแดงสร้างมาจากไขกระดูก ถกู ทาลายท่ีตัดนาไขกระดูก เมด็ เลือดขาว (White Blood Cell) มีขนาดใหญ่กว่าเม็ดเลอื ดแดง มีนวิ เคลียสแต่ไมม่ ีฮโี มโกลบนิ ในคนปกติมีประมาณ 5000 ถงึ 9000 เซลลต์ อ่ ลกู บาศกม์ ิลลเิ มตร แต่ในภาวะท่ีมีการเปลี่ยนแปลงเชน่ มีการติดเชือปริมาณของเมด็ เลือดขาวจะเพิ่มสงู มากขนึ เม็ดเลือดขาวถกู สร้างขนึ มาจากไขกระดกู ต่อมนาเหลืองนาและตอ่ มไทมัส อายุไมแ่ น่นอนขึนอยกู่ ับชนดิ ของเมด็ เลือดขาว เมด็ เลือดขาวแบง่ เปน็ 2 ชนิด 1. เม็ดเลอื ดขาวที่มีแกรนลู เรียกวา่ granulocyte แบง่ เปน็ 3 ชนดิ คือ 1.1 Neutrophil เปน็ เมด็ เลือดขาวท่ีมีจานวนมากที่สุดทาหน้าท่ีในการทาลายเชือ แบคทเี รีย 1.2Eosinophil มีความจาเพาะต่อการสู้กับหนอนปรสิตสิ่งแปลกปลอมท่ีมากับระบบย่อย อาหารและผิวหนงั 1.3Basophil เป็นเมด็ เลือดขาวทีม่ ีจานวนน้อยทาหน้าที่เก่ียวกับปฏิกิริยาการตอบสนองต่อ การอกั เสบ 2. เมด็ เลือดขาวชนิดที่ไม่มีแกรนูลเรยี กวา่ agranulocyte แบ่งเป็น 2 ชนดิ คอื 2.1 Lymphocyte ทาหน้าที่ กบั การตอบสนองในระบบภมู คิ ุ้มกัน 2.2 Monocyte เปน็ เม็ดเลอื ดขาวทม่ี ีขนาดใหญ่ท่ีสดุ สามารถออกจากกระแสเลอื ดเข้าสู่ เนือเยื่อไปเป็น macrophage เกลด็ เลือด (Platelets) สรา้ งขนึ ในไขกระดกู แดงจากเซลล์ Megakaryocyte และถูกทาลายที่ม้าม ในคนปกติมี ประมาณ 20,000 ถึง 30,000 ต่อลูกบาศก์มลิ ลิเมตรมีหน้าท่ีในกระบวนการแขง็ ตัวของเลือดเมื่อหลอด เลอื ดถูกทาลายเกล็ดเลอื ดจะรวมตัวกนั เปน็ ก้อนและอดุ ตรงบริเวณที่หลอดเลอื ดถูกทาลายเพ่ือป้องกันไม่ให้ เลอื ดไหลออกภายนอก พลาสมา ( Plasma) เปน็ สว่ นประกอบของเลอื ดทนี่ อกเหนอื จากเม็ดเลือดมีลักษณะเป็นนาหรือของเหลวมีสี เหลืองใสมีฤทธิ์เปน็ ดา่ งเล็กน้อยมีสว่ นประกอบทส่ี าคญั ไดแ้ ก่

1. นา 90-93% 2. โปรตีน 6-8% ประกอบดว้ ย albumin globulin fibrinogen 3. สารอาหารตา่ งๆ 4. เกลอื แร่ 5. ฮอรโ์ มนจากต่อมไรท้ ่อ 6. ของเสียท่ีเกดิ จากกระบวนการเผาผลาญอาหาร เชน่ กรดแลคติก ยรู กิ ยเู รีย และ แอมโมเนยี 7. ภูมิคุ้มกันโรค หมูเ่ ลือด (Blood group) ระบบหมูเ่ ลือดท่ีสาคญั คอื ระบบ ABO ซงึ่ พิจารณาจากสารท่ีทาให้ตกตะกอนที่เรียกว่า Agglutinogen ของเม็ดเลือดแดง ในร่างกายมี Agglutinogen 2 ชนิดคือ A กับ B คนที่มี Agglutinogen Aจะมีหมู่ เลอื ดเปน็ หมู่ A คนทีม่ ี Agglutinogen B จะมีหมู่เลือดเป็นหมู่ B คนท่ีมี Agglutinogen AB จะมีหมเู่ ลอื ดเปน็ AB แตถ่ า้ ไม่มี Agglutinogen AB จะมีหมูเ่ ลือดเป็น O การให้ เลอื ดจงึ ตอ้ งระมดั ระวังเรอ่ื งของหมเู่ ลือดถ้ามีการให้เลอื ดผดิ จะทาใหเ้ กดิ การตกตะกอนของเลือดซง่ึ จะ เกิดการรอยและสิวอุดตนั ตามเสน้ เลอื ดฝอยต่างๆไดท้ าใหเ้ กดิ ไตวายและเสียชวี ติ ต่อมา ภาพที่ 12 แสดงหมู่เลือด ทีม่ า: https://en.wikipedia.org/wiki/Blood_type ระบบนา้ เหลือง (Lymphatic system) ประกอบดว้ ย น้าเหลือง(Lymph) นาเหลืองเกดิ จากพลาสมาและของเหลวจากเนือเยอ่ื ตา่ งๆทเ่ี คล่อื นออกจากหลอดเลอื ดฝอย กลบั เขา้ ส่หู ลอดนาเหลอื งฝอยแล้วไหลเวยี นอยูใ่ นหลอดนาเหลอื งมลี กั ษณะใสสว่ นประกอบคล้ายพ ลาสม่า แตม่ ีโปรตีนจานวนนอ้ ยกวา่ ซ่ึงส่วนใหญเ่ ป็นอลั บูมนิ หลอดนา้ เหลือง (Lymphatic vessel) เปน็ ท่อทนี่ านาเหลอื งกบั เข้าสรู่ ะบบหวั ใจและหลอดเลือดโดยเรม่ิ ต้นตังแต่หลอดนาเหลอื ง

ฝอยซึง่ มขี นาดเลก็ หนังบางอยู่ใกล้กบั หลอดเลอื ดฝอยมลี กั ษณะเปน็ ทอ่ ปลายปดิ ยนื่ เข้าไปในชอ่ งว่าง ระหว่างเนือเยื่อของเนือเยอ่ื ตา่ งๆภายในรา่ งกายและรวมเข้าเป็นหลอดนาเหลืองทใ่ี หญข่ ึนไปยงั หลอด นาเหลืองใหญ่ทางดา้ นขวาซ่ึงนานาเหลอื งเข้าจากทางด้านขวาของศีรษะและคอแขนขาและส่วน ดา้ นขวากบั หลอดนาเหลืองใหญด่ า้ นซ้ายซ่ึงนานาเหลืองจากบริเวณดา้ นลา่ งของรา่ งกายแขนซา้ ยและ ด้านซา้ ยของศรี ษะและคอเขา้ สู่ระบบหัวใจและหลอดเลือดโดยในระหวา่ งการเดินทางของนาเหลือง จะตอ้ งผ่านต่อมนาเหลืองในหลอดนาเหลอื งจะมลี นิ เหมือนในหลอดเลอื ดดาเพือ่ ป้องกนั ไม่ใหน้ าเหลอื ง ไหลยอ้ นกลับได้ ตอ่ มน้าเหลอื ง (Lymphatic node) ต่อมนาเหลืองประกอบด้วยเซลล์นาเหลอื งหรือลิมโฟไซตจ์ านวนมากหนา้ ทสี่ าคัญของต่อม นาเหลืองคือผลติ เซลล์นาเหลือง ต่อมนาเหลืองจากหลอดนาเหลืองเพ่ือกาจัดส่ิงแปลกปลอม สร้าง ภมู คิ ุ้มกันของร่างกาย ต่อมนาเหลอื งในรา่ งกาย 1. ตอ่ มทอนซลิ (Tonsil gland) มีหนา้ ท่ปี ้องกันและกาจดั สงิ่ แปลกปลอมทผี่ า่ นมาทาง ระบบทางเดินอาหารและระบบทางเดนิ หายใจ มอี ยู่ 3 ตาแหน่งคือ palatine tonsil, lingual tonsil, pharyngeal tonsil 2. ม้าม (Spleen) มา้ มเปน็ ต่อมนาเหลืองขนาดใหญท่ ่สี ุดอยบู่ รเิ วณชายโครงซา้ ยใตก้ ระ บงั ลมมีหน้าทีค่ อื 1. ผลิตเมด็ เลือดขาวและสร้างเซลล์เม็ดเลือดแดง 2. ทาลายเม็ดเลือดแดงท่หี มดอายุ 3. สรา้ งภูมิคุ้มกันและทาลายเชอื โรค 4. เป็นแหลง่ สารองเลอื ด 3. ตอ่ มไทมัส (Thymus) อยูใ่ กล้หลอดเลอื ดใหญ่ของหวั ใจมี 2 กลีบติดกันเจรญิ เตบิ โตในช่วงทารกและเดก็ จะ มีขนาดเล็กลงเม่อื โตขึนมีหน้าทใี่ นการสรา้ งภมู ิค้มุ กนั รา่ งกายโดยการสรา้ งเมด็ เลอื ดขาว ภาพที่ 13 แสดง Lymphatic node ทีม่ า: https://www.healthdirect.gov.au/lymph-nodes

เอกสารอา้ งอิง กนกพรรณ วงศ์ประเสริฐ และคณะ. (2555). สาระสาคัญกายวิภาคศาสตรข์ องมนุษย์เล่ม 2 . ฉบบั พมิ พค์ รังที่ 2. กรงุ เทพฯ : พมิ พ์สวย. กนกพรรณ วงศป์ ระเสรฐิ และคณะ. (2556). คมู่ ือปฏบิ ตั กิ ารกายวภิ าคศาสตร์พ้นื ฐาน. ฉบับพมิ พ์ครัง ท่ี 3. กรุงเทพฯ : พมิ พ์สวย. เกล็ดแกว้ ด่านววิ ฒั น.์ (2557). มหกายวภิ าคศาสตร์พืน้ ฐาน. พิมพ์ครงั ที่ 2. กรุงเทพฯ : ไอกรุ๊ปเพรส. วไิ ล ชนิ ธเนศ และคณะ. (2560). กายวิภาคศาสตรข์ องมนุษย.์ พิมพ์ครังท่ี 16. กรุงเทพฯ : สามลดา. N. Anthony Moore, William A. Roy. (2010). Rapid review gross and developmental anatomy. Philadelphia. Rod Seeley.(2011). Seeley's Anatomy & Physiology . McGraw-Hill.