แผนการจัดการเรียนรู้มุง่ เนน้ สมรรถนะ วิชา วสั ดุงานชา่ งอตุ สาหกรรม (๒๐๑๐๐-๑๐๐๒) หลักสตู รประกาศนียบตั รวิชาชพี พทุ ธศักราช ๒๕๖๒ ประเภทวิชา อตุ สาหกรรม หน่วยที่ ๖ วัสดสุ ังเคราะห์ นายโสฬส เกษวิริยะการณ์ ตาแหน่ง ครู ชานาญการพิเศษ แผนกวชิ าเทคนคิ พืน้ ฐาน วิทยาลัยเทคนิคชมุ พร สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 6 ชอ่ื วิชา วัสดุงานช่างอุตสาหกรรม เวลาเรยี นรวม 36 ช่ัวโมง ช่ือหน่วย วัสดุสังเคราะห์ สอนครั้งที่ 11 – 12 ชื่อเรื่อง วสั ดสุ ังเคราะห์ จานวน 4 ช่ัวโมง หวั ข้อเร่ือง 1. ความหมายของวัสดสุ งั เคราะห์ 2. ชนิดของวสั ดุสังเคราะห์ สาระสาคัญ การนาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้งานในทุก ๆ ด้านของมนุษย์ส่งผลให้ทรัพยากรท่ีเคยมีอยู่จานวนมากมาย กลับลดจานวนน้อยลงไม่เพียงพอต่อความต้องการในการนามาแปรรูป หรือใช้ประโยชน์ มนุษย์จึงได้คิดค้นวัสดุท่ี เกิดจากกระบวนการทางสารเคมีให้กลายเป็นวัสดุสังเคราะห์ ได้แก่ ใยสังเคราะห์ ยางสังเคราะห์ โฟม พลาสติก และอีกหลากหลายชนิด เพื่อนามาใช้ทดแทนวสั ดุธรรมชาติที่มปี ริมาณไม่เพียงพอหรือคุณภาพท่ีไม่เหมาะสมในยุค ปัจจุบัน สมรรถนะหลกั (สมรรถนะประจาหนว่ ย) แสดงความรูเ้ กย่ี วกับวัสดุสังเคราะห์ สมรรถนะย่อย (สมรรถนะการเรยี นร)ู้ สมรรถนะท่ัวไป (ทฤษฎี) 1. แสดงความรเู้ กยี่ วกบั ความหมายของวสั ดสุ ังเคราะห์ 2. แสดงความรู้เกีย่ วกับชนิดของวสั ดุสังเคราะห์ สมรรถนะทีพ่ ึงประสงค์ (ทฤษฎี) 1. บอกความหมายของวัสดุสังเคราะห์ได้ถูกต้อง 2. อธบิ ายชนดิ ของวสั ดสุ งั เคราะห์ได้ถูกตอ้ ง เนื้อหาสาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของวัสดสุ ังเคราะห์ วัสดุสังเคราะห์ หมายถึง วัสดุที่เกิดจากการนาแร่ธาตุ และสารเคมีมาผ่านขบวนการทางวิทยาศาสตร์โดย การทาปฏิกริ ยิ าทางเคมี เพอ่ื ใหเ้ กดิ เป็นวัสดุขึ้น ซง่ึ วสั ดุทไี่ ด้จากการสงั เคราะห์จะมีคณุ สมบตั เิ ฉพาะตวั เช่น น้าหนัก เบา มีความแข็งแรงสูงคงทนต่อการกัดกร่อน คงทนต่ออุณหภูมิ คงทนต่อสารเคมี และนามาใช้ในอุตสาหกรรมทุก แขนง 2. ชนดิ ของวัสดสุ ังเคราะห์ 2.1 พลาสตกิ (Plastic) พลาสตกิ เป็นวัสดุทีม่ นุษยค์ ดิ คน้ และประดษิ ฐข์ นึ้ เพ่ือชว่ ยใหก้ ารดาเนนิ ชวี ติ สะดวกสบายยงิ่ ข้นึ โดยการนาวตั ถุดบิ
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 6 ช่ือวิชา วสั ดุงานช่างอตุ สาหกรรม เวลาเรียนรวม 36 ชั่วโมง ช่อื หน่วย วัสดสุ ังเคราะห์ สอนคร้ังที่ 11 – 12 ชือ่ เร่ือง วัสดสุ งั เคราะห์ จานวน 4 ชั่วโมง ทไี่ ดจ้ ากธรรมชาติ เช่น น้ามนั ปิโตรเลียม มาแยกเป็นสารประกอบบรสิ ุทธิห์ ลายชนดิ ซ่งึ สว่ นใหญเ่ ป็นสารประกอบ ระหว่างคาร์บอน (ถา่ น) กับก๊าซ ไฮโดรเจน เม่ือนาเอาสารประกอบแต่ละชนิดมาทาปฏิกริ ยิ าให้มลี ักษณะต่อ ๆ กัน เป็นเสน้ ก็จะได้วสั ดุที่มีสมบตั ิเป็น พลาสตกิ 2.1.1 ประเภทของพลาสติก พลาสตกิ แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท คอื 2.1.1.1 เทอร์โมพลาสติก (Thermoplastic) หมายถึง พลาสติกที่จะอ่อนตัวและหลอมเหลว ได้เม่ือไดร้ บั ความร้อนและจะแข็งตวั เม่อื ทาให้เยน็ ลง พลาสติกท่ีแขง็ ตัวแลว้ สามารถนามาหลอมซ้าใหม่ได้ด้วยความ ร้อน เทอร์โมพลาสติกจึงเป็นวัสดุท่ีมีสมบัติเหมาะสมสาหรับการข้ึนรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ด้วยเทคนิคพื้นฐาน เช่น การฉีด การอัดรีด หรือการป่ันเป็นเส้นใย คุณสมบัติของเทอร์โมพลาสติกที่นามาหลอมใหม่และขึน้ รูปซ้าได้นี้ ทาให้เกิดประโยชน์จากการใช้วัสดุเศษหรือของเสียจากการผลิต โดยการนาเศษพลาสติกหรือของเสียมาบ ดและ ผสมใชก้ ับเรซนิ ใหมก่ ส็ ามารถนากลบั มาใชไ้ ด้อีกครงั้ (1) โพลีเอทิลีน (Polyethilene - PE) เป็นพลาสติกที่ผลิตขึ้นมาจากสารต้ังต้นเอทิลีน (ผลผลิตจากปิโตรเลียม) มี 2 ชนิด คือ ชนิดความหนาแน่นสูง (HDPE) และชนิดความหนาแน่นต่า (LDPE) ชนิด ความหนาแนน่ สูงจะหนาแนน่ กว่าและแข็งกว่าชนิดความหนาแน่นตา่ โพลีเอทลิ ีนชนิดความหนาแน่นต่าใช้เปน็ วัสดุ ฉนวนสาหรบั เครือ่ งมืออุปกรณ์ทางทหารท่ีสาคญั เช่น เรดาร์ เปน็ ตน้ (2) โพลีไวนิลคลอไรด์ (Polyvinyl Chloride - PVC) เป็นพลาสติกท่ีสามารถแปร เปล่ียน สมบัติได้ โดยการเติมสารเคมีปรุงแต่งต่าง ๆ เช่น การปรับปรุงพลาสติก (plasticizer modifier) และฟิลเลอร์ (fillers) เป็นต้น พีวีซีมีน้าหนักเบา ทนทานและกันน้า โพลีไวนิลคลอไรด์ เป็นสินค้าท่ีมีคุณค่ามากในอุตสาหกรรม เคมี มากกว่า 50% ของโพลีไวนิลคลอไรด์ท่ีผลิตได้ทั่วโลกถูกใช้ในอุตสาหกรรมก่อสร้าง เป็นส่วนหนึ่งของตัวอาคาร ทง้ั นเี้ พราะพอลไิ วนิลคลอไรด์มรี าคาถูก คงทนและงา่ ยต่อการขนึ้ รูป (3) โพลีโพรพิลีน (Polypropylene -PP) มีลักษณะเป็นของแข็งไม่มีสี มีท้ังโปร่งใสและ โปร่งแสง มีความหนาแน่นค่อนข้างต่า คุณสมบัติของโพลีโพรพิลีนมีความทนต่อกรด เบส และสารเคมีต่าง ๆ มี ความทนทานต่อการขีดข่วน คงตัวไม่เสียรูปง่าย เป็นฉนวนกันไฟฟ้าท่ีดีแม้ท่ีอุณหภูมิสูง ทนทานต่อสารเคมี มี ความต้านทานการซึมผ่านของไอน้าและก๊าซได้ดี ผสมสีได้ง่าย ผลิตภัณฑ์จากโพลีโพรพิลีน ได้แก่ กล่องเครื่องมือ กระเป๋า ปกแฟ้มเอกสาร กล่องและตลับเครื่องสาอาง เครอ่ื งใช้ในครัวเรือน กล่องบรรจอุ าหาร อุปกรณ์ของรถยนต์ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ วัสดุบรรจุภัณฑ์ในอุตสาหกรรม อุปกรณ์ทางการแพทย์ ขวดใส่สารเคมี กระป๋อง นา้ มนั เครื่อง กระสอบข้าว ถุงบรรจปุ ุ๋ย (4) โพลีเอทิลีน เทเรฟทาเลท (Polyethylene Terephthalate - PET) หรือที่เรียกกัน โดยย่อว่า “เพท” (PET) โพลีเอทิลีน เทเรฟทาเลท ผลิตขึ้นจากปฏิกิริยาเคมีระหว่าง เอทิลีนไกลคอลกับไดเมทิล เทเรฟทาเลต พลาสติกเพทแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มท่ีมีเน้ือใส (A-PET) และกลุ่มที่เป็นผลึกสีขาว (C-PET) เพทที่ มีน้าหนักโมเลกุลสูงจะมีความเหนียว ทนทาน และมีความยืดหยุ่นต่อแรงกระทบกระแทก จึงไม่แตกเมื่อถูกแรง กดดัน
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 6 ช่อื วิชา วสั ดุงานช่างอุตสาหกรรม เวลาเรยี นรวม 36 ชั่วโมง ชื่อหน่วย วัสดสุ ังเคราะห์ สอนครั้งท่ี 11 – 12 ชือ่ เรอื่ ง วัสดสุ ังเคราะห์ จานวน 4 ช่ัวโมง (5) อะครีโลไนไทรล์ บิวทาดิอีน สไตรีน (Acrylonitrile butadiene styrene - ABS) ได้มา จากการทาปฏิกิริยาของโมโนเมอร์ 3 ชนิด คือ สไตรีน (styrene) อะคริโล ไนไตรล์ (acrylonitrile) และโพลิบิวทาไดอีน (polybutadiene) ซ่ึงโมโนเมอร์ทั้ง 3 ชนิดส่งผลต่อคุณสมบัติของพลาสติกเอบีเอส โดยอะคริไลไนโตรล์ช่วยให้ทน ความร้อน และสารเคมีบิวทาไดอีน ช่วยให้มีความทนทานต่อแรงกระทบกระแทก ส่วนสไตรนี ช่วยให้เน้ือพลาสติกมี พื้นผิวเป็นมันเงาสวยงาม และสามารถตัดแต่งรูปทรงได้ง่าย ผู้ผลิตพลาสติกเอบีเอสจึงสามารถปรับเปลี่ยนสัดส่วน ของโมโนเมอร์ทั้ง 3 ชนิดเพ่ือให้พลาสติกเอบีเอสท่ีผลิตมีคุณสมบัติตามท่ีต้องการ เอบีเอสเป็นพลาสติกที่มีความ สมดุลท้ังในเร่ืองความแข็งและความเหนียว สามารถคงสภาพรูปร่างได้ดี ทาให้มีคุณสมบัติทนทานต่อแรงกระแทกได้ ดี และยังทนต่อแรงเสียดสี ความร้อน สารเคมีได้ดกี ว่าพลาสติกธรรมดาทั่วไป มชี ว่ งอุณหภมู ทิ สี่ ามารถใชง้ านไดก้ วา้ ง น่ันคือ -20 °C ถงึ 80 °C (6) โพลีเมทิลเมทาคริเลท (PMMA) รู้จักกันในชื่อของอะครีลิค เป็นโพลิเมอร์ที่ได้จาก ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม สามารถผลิตได้จากมอนอเมอร์หลายชนิด อะคลีลิคเป็นพลาสติกท่ีมีโครงสร้างเส้นสายเป็น แบบอะแทกติก (Atactic) คือ โมเลกุลมีกิ่งหรือแขนงไม่แน่นอนส้ันบ้างยาวบ้าง มีความโปร่งใสมาก (แสงผ่านได้ ประมาณร้อยละ 92) ทนทานต่อสภาพดินฟ้าอากาศ ทนทานต่อสารเคมีหลายประเภทยกเว้นตัวทาละลายบางชนิด เช่น คลอโรฟอร์ม ใส่สีได้ตามความต้องการ มีจุดอ่อนตัวต่า มีความเหนียวคงรูปดีมากและทนทานต่อการขีดข่วน เปน็ ฉนวน ไฟฟ้า ไมด่ ูดความช้นื (7) โพลีเอไมด์ (Polyamide - PA) หรอื ที่รู้จักกันในเครือ่ งหมายการค้าว่า ไนลอน (Nylon) เป็นพลาสติกที่ได้จากการกระบวนการโพลิเมอรไ์ รเซชนั (polymerization) ของเอไมด์ (amide) และกรดอินทรีย์ มีการ เพิ่มสารแต่งเติม (filler & additives) ประเภท กราไฟต์ และโมลิบเดน่ัมไดซัลไฟต์ (graphite & molibdenum disulphite) ทาให้เพ่ิมสมบัติให้ดีย่ิงข้ึน ไนลอนถกู พัฒนาข้ึนเพื่อใช้ทดแทนเสน้ ใยจากธรรมชาติ เช่น ใยไหม เป็นต้น สมบัติของไนลอน เมื่อเป็นฟิล์มมีลักษณะโปร่งใส แต่เมื่อนามาหล่อ (cast nylon) จะทึบแสงมีสีขาว ไม่มีกลิ่น ไม่มี รส และไม่เป็นอันตราย ทนต่ออุณหภูมิสูงได้ดี แข็งแรง เหนียว ต้านทานแรงดึง และแรงฉีกขาดได้ดี ทนต่อการกัด กร่อนและการเสียดสี ไม่เสียรูปทรงง่าย เหมาะสาหรับงานรับแรงมาก ๆ ยืดหยุ่นได้ (flexible) และทนการบิดพับ งอได้ดี ป้องกันการซึมผ่านของไขมันได้ดีมาก ป้องกันการซึมผ่านของออกซิเจนและกล่ินต่าง ๆ ได้ดี ป้องกันการซึม ผ่านของความชืน้ ไดน้ อ้ ย และดูดซับความชื้นจากสิง่ แวดลอ้ มได้ 2.1.1.2 วัสดุเทอร์โมเซตติง (Thermosetting Plastic) โพลิเมอร์ ประเภทนี้จะมีโครงสร้างเป็น แบบร่างแห ซ่ึงจะหลอมเหลวได้ในขั้นตอนการขึ้นรูปคร้ังแรกเท่าน้ัน ซึ่งในขั้นตอนน้ีจะมีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นทาให้ เกดิ พันธะเชอ่ื มโยงระหวา่ งโมเลกลุ ทาใหโ้ พลิเมอรม์ ีรปู ร่างทถี่ าวร ไม่สามารถหลอมเหลวไดอ้ กี เม่อื ได้รบั ความร้อน และหากได้รับความร้อนสูงเกินไป จะทาให้พันธะระหว่างอะตอมในโมเลกุลแตกออก ได้สารที่ไม่มีสมบัติ ของความเปน็ โพลเิ มอรต์ อ่ ไป (1) เมลามีนฟอร์มาลดีไฮด์ (Melamine Formaldehyde) เป็นพลาสติกชนิดหน่ึงมีสาร ฟอร์มาลดีไฮด์เป็นส่วนประกอบหรือท่ีรู้จักกันคือ ฟอร์มาลีน เมลามีนคุณภาพดีจะนาไปทาเม็ดพลาสติกเรียกว่า เม็ดเลซินเมลามีน ส่วนเศษท่ีเหลือหรือเมลามีนที่คุณภาพเลวจะนากลับไปทาของใช้ ซึ่งเมลามีนคุณภาพเลวน้ี ขบวนการไม่สมบรู ณจ์ งึ มรี าคาถูก และเกิดอนพุ นั ธข์ องเมลามนี ขึ้นหลายชนิด เรียกว่า เมลามีนอนั นาล็อก เมลามีน
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 6 ชอื่ วิชา วัสดุงานช่างอตุ สาหกรรม เวลาเรยี นรวม 36 ชั่วโมง ช่อื หน่วย วัสดุสังเคราะห์ สอนคร้ังท่ี 11 – 12 ชอ่ื เรอ่ื ง วัสดุสงั เคราะห์ จานวน 4 ชั่วโมง สว่ นใหญจ่ ะถกู นามาผลิต พลาสติก จานเมลามนี ถงุ พลาสติก พลาสตกิ สาหรับห่ออาหาร นอกจากนี้เมลามนี ยัง อยูใ่ นอุตสาหกรรมเม็ดสเี ปน็ หมึกพิมพ์สี ทาน้ายาดับเพลงิ คุณภาพดี นา้ ยาทาความสะอาด และปยุ๋ เพราะโครงสรา้ ง ของเมลามนี มีไนโตรเจนเป็นส่วนประกอบทค่ี ่อนข้างสูง (2) ฟีนอลฟอร์มาดีไฮต์ (Phenol-Formaldehyde) หรือเรียกอีกอย่างว่า เบกกาไลต์ เป็น พลาสติกประเภทเทอร์โมเซ็ตชนิดแรก มีสีน้าตาลคล้ายขนมปัง มีความแข็งและอยู่ตัว เรซินชนิดน้ี มีท้ังที่เป็น ของเหลวใสเหมาะสาหรับหล่อในพิมพ์ และแบบที่เป็นผงสาหรับการขนึ้ รูปด้วยแม่พิมพ์ ซ่ึงชนิดหลังนี้มีสีน้าตาลดา เพียงอย่างเดียว สมบัติของเรซินชนิดน้ีจะมีเน้ือแข็งคงตัว แต่เปราะ ทนทานต่อการผุกร่อน เป็นฉนวนไฟฟ้า ทน ความร้อนได้สูง (260 องศาเซลเซียส) (3) โพลิเอสเตอร์ (Polyester) คือเส้นใยชนิดหน่ึงที่มนุษย์สร้างข้ึนเป็นสาร ประกอบโพลี เมอร์ ท่ีมีส่วนผสมอย่างน้อย 85% ต่อน้าหนักของไดไฮดริกแอลกอฮอล์ (Dihydric Alcohol) และกรดเทอเร พทาลิก (Terephthalic Acid) เม่ือรวมสารเคมีดังกล่าวในกระบวนการผลิต (Polymer repeat unit) ประมาณ 80 - 100 หน่วย จึงจะได้โพลิเอสเตอร์ท่ีทาเป็นเส้นใยได้ โพลิเอสเตอร์ที่ได้จากการผลิตในชั้นต้นจะผ่านออกมา เป็นเส้น แล้วถูกตัดเป็นชิ้นเล็ก ๆ เมื่อต้องการทาเป็นเส้นใยก็จะต้องนาไปหลอมเหลว เส้นใยท่ีกดออกมากระทบ อากาศก็จะแข็งตัว จากนั้นก็นาไปดึงยืดเพื่อให้เส้นใยมีความเหนียวแข็งแรง โพลีเอสเตอร์มีคุณสมบัติทนทานดูแล รักษางา่ ย และคืนรปู ง่ายไมว่ ่าจะแห้งหรือเปียก ยืดหยุ่นดี ไมย่ บั งา่ ย ยอ้ มสตี ิดยาก ดดู ซมึ (4) ความชื้น ได้ต่า คงรปู คงขนาดดี ขณะเปน็ ของเหลว ซักได้ท้ังซักเปียกและซักแห้ง ซัก ง่าย แห้งเรว็ ไวตอ่ ความร้อน ไม่ต้องรดี ทนต่อการขดั สีได้ดี เมอ่ื เปือ้ นไขมันซักออกยาก มีความเหนยี วทนทาน ผ้า ที่ทอจากใยส้ัน เน้ือผ้า คงสภาพรูปร่างได้ดี โพลิเมอร์ท่ีนามาใช้งานได้หลากหลาย เช่น ใช้ทาพลาสติกสาหรับเคลือบ ผวิ ขวดนา้ เส้นใย ฟลิ ม์ และยาง เป็นต้น (5) อีพ็อกซี (epoxy- EP) เกิดจากปฏิกิริยาของเรซินกับตัวทาให้แข็ง (hardener) เป็น พลาสติกแบบโพลิเมอร์เทอร์โมเซตติงท่ีข้ึนรูปจากปฏิกิริยาระหว่างอีพอกไซด์เรซินกับพอลีอมีนอีพ็อกซ่ี มี หลากหลายคุณประโยชน์ใช้สอยในการทางานท่ัวไป มีการใช้งานที่กว้างขวาง รวมถึงการใช้เป็นวัสดุพลาสติก เสริมแรงด้วยไฟเบอร์ และใช้เป็นวัสดุประสาน อีพ็อกซ่ีเป็นโคโพลิเมอร์ ท่ีเกิดจากสารเคมีที่แตกต่างกันสองสิ่ง เรียกว่า เรซิน ใช้เคลือบผิวของอุปกรณ์ภายในบ้านเรือน และท่อเก็บก๊าซ ใช้ในการเชื่อมส่วนประกอบโลหะ แก้ว และเซรามิก ใช้ในการหล่ออุปกรณ์ที่ทาจากโลหะและเคลือบผิวอุปกรณ์ ใช้ใส่ในส่วนประกอบของอุปกรณ์ไฟฟ้า เส้นใยของท่อ และท่อความดัน ใช้เคลือบผิวของพ้ืนและผนัง ใช้เป็นวัสดุของแผ่นกาบังนิวตรอน ซีเมนต์ และปูน ขาว ใช้เคลือบผวิ ถนนเพอ่ื กันลื่น ใชท้ าโฟมแขง็ ใชเ้ ป็นสารในการทาสขี องแก้ว (6) โพลียูรีเทน (Polyurethane (PU)) ผลิตจากปฏิกิริยาของโพลีออล กับไดไอโซไซยา เนตหรือโพลีเมอริก ไอโซไซยาเนต โดยมีตัวเร่งปฏิกิริยาที่เหมาะสม โพลียูรีเทนส่วนใหญ่ไม่สามารถหลอมเหลว และขึ้นรูปใหม่ได้ ทาการผลิตขึ้นเพื่อใช้ทดแทนยางธรรมชาติ และใช้ในการผลิตกระดาษ การผลิตก๊าซ มัสตาร์ด ผ้าที่มีความทนทาน เคลือบผิวเครื่องบิน เคลือบโลหะ ไม้ และอิฐ เพื่อป้องกันการกัดกร่อนและ สารเคมี ผลิตโฟมยืดหยุ่น โฟมแข็ง สารเคลือบป้องกันสารเคมี กาว สารผนึก และอีลาสโตเมอร์
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 6 ชอื่ วิชา วัสดุงานช่างอตุ สาหกรรม เวลาเรยี นรวม 36 ชั่วโมง ชื่อหน่วย วัสดุสังเคราะห์ สอนคร้ังที่ 11 – 12 ชื่อเร่ือง วัสดุสังเคราะห์ จานวน 4 ชั่วโมง 2.2 เส้นใยสังเคราะห์ เกิดจากปฏิกิริยารวมตัวระหว่างมอนอเมอร์ 2 ชนิด หรือเกิดจากการนาเส้นใย ธรรมชาติซึ่งเป็นพอลิเมอร์ชนิดหน่ึงมาแปรรูปเป็นพอลิเมอร์อีกชนิดหน่ึง ท่ีมีสมบัติต่างจากเดิม เส้นใยสังเคราะห์ ประกอบด้วยโมเลกุลท่ีมกี ารเรยี งตวั คอ่ นขา้ งเปน็ ระเบยี บ และโมเลกลุ ส่วนใหญต่ ้องเรยี งตัวตามแนวแกนของเส้นใย โดยท่ัวไปความยาวของเส้นใยต้องไม่น้อยกว่า 100 เท่าของเส้นผ่าศูนย์กลางของเส้นใยน้ัน เส้นใยสังเคราะห์บาง ชนิดมีสมบัติดีกว่าเส้นใยธรรมชาติ เช่น มีความทนทานต่อจุลินทรีย์ เช้ือรา แบคทีเรีย ไม่ยับง่าย ไม่ดูดน้าทนทาน ต่อสารเคมี ซึกง่าย แห้งเร็ว ตัวอย่างเส้นใยที่นามาใช้ประโยชน์อย่างแพร่หลาย เช่น ไนลอน และโอรอน โพลีเอ สเตอร์ เปน็ ตน้ 2.3 ยางสังเคราะห์ gป็นพอลิเมอร์อีกชนิดหน่ึง เกิดจากมอนอเมอร์ท่ีเรียกว่า ไอโซปรีน จานวน 1,500- 150,000 หนว่ ย มารวมตัวกนั ทางเคมีเป็นพอลิไอโซปรนี ยางมโี ครงสรา้ งโมเลกุลขดมว้ นเปน็ วงและบดิ เป็นเกลียว รูปร่างไม่แน่นอน มีแรงดึงดูดระหว่างโซ่ของพอลิเมอร์สูง จึงทาให้ยางมีความยืดหยุ่นและต้านทานต่อแรงดึง สูง เป็นฉนวนไฟฟ้าที่ดี ทนต่อการขัดถู ทนน้า น้ามันพืชและสัตว์ ไม่ทนต่อน้ามันเบนซินและตัวทาละลาย อนิ ทรีย์ ท่ีอุณหภูมิต่าจะแข็งและเปราะแต่จะอ่อนตัวและเหนียว ทนความร้อน ด้วยเหตุน้ียางธรรมชาติจึงมีสมบัติ บางประการที่เป็นขอ้ จากดั ทาให้มีการปรบั ปรงุ ยางธรรมชาติให้มีสมบัติท่ีดขี ้ึน โดยนายางมาคลุกกบั กามะถันและ ให้ความรอ้ นควบคู่กันไป จะทาให้ได้ยางท่ีมีความคงตัวท่ีอุณหภูมิต่าง ๆ เพ่ิมขึ้น ทนต่อความรอ้ น แสง และตัวทา ละลายไดด้ ี 2.4 โฟม หมายถึง พลาสติกที่ฟูหรือขยายตัว ทาให้เกิดโพรงแก๊สข้ึนในเน้ือพลาสติก ซึ่งพลาสติกมีอยู่ มากมายหลายประเภท หากผ่านกระบวนการท่ีใช้สารขยายตัว (Blowing Agent) ก็จะทาให้พลาสตกิ นั้นกลายเป็น โฟม โดยเรียกกันทั่วไปว่าโฟมพลาสติก (Foam Plastic) โฟมจะสามารถแบ่งออกเป็น 3 ชนดิ ตามวัสดุท่ีใช้ในการ ผลิตโฟม คอื พอลิสไตรีน (Polystyrene) พอลิเอทิลนี (Polyethylene) และ โพลียรู เิ ทนโฟม (Polyurethane) 2.4.1 โฟมพอลิสไตรีน (expandable polystyrene - EPS) คือ พอลิสไตรีน (polystyrene) ท่ีผลิต ออกมาเปน็ โฟม โดยท่ีมกี ารเติมสารพองตัว (blowing agent) อัดขนึ้ รูปด้วยความรอ้ นเป็นรูปถ้วย ถาด จาน และใช้ เป็นวัสดุป้องกันการกระแทก (cushioning) โครงสร้างวัสดุเป็นเซลล์ปิด น้าหนักเบามาก มีสมบัติท่ีป้องกันการ กระแทกได้เป็นอย่างดี ไม่ดูดซับความช้ืน แต่มีขีดจากัดในการคืนรูป ทาให้ไม่เหมาะกับงานท่ีรับการกระแทกอย่าง รุนแรงหลาย ๆ ครั้ง ลักษณะก่ึงแข็งสามารถขึ้นรูปทรงท่ีซับซ้อนได้ตามแม่แบบเฉพาะ ตามรูปแบบของสินค้า แผ่น ส่ีเหลี่ยมมีขนาดความหนาต่าง ๆ และชิ้นเล็ก ๆ ในกรณีใช้งานมาก ๆ มีการนาโฟมพอลิสไตรีนมาใช้กับผลิตภัณฑ์ อาหาร ได้แก่ ใช้ทาช่องหนา้ ตา่ งของกล่องกระดาษ ใช้ห่อผัก ผลไม้สด และดอกไม้สด เนอื่ งจากความใสและยอมให้ ก๊าซซึมผ่านได้ง่าย ใช้ทาโฟมทั้งเป็นภาชนะบรรจุและแผ่นฉนวนกันความร้อน ใช้ทาถ้วย ถาด หรือแก้วน้าสาหรับ ใช้ครง้ั เดียว ใช้ทาถาดหลุมสาหรบั รองขนมปังกรอบ คุกก้ี (cookie) ช็อกโกแลต (chocolate) และอ่ืน ๆ ก่อนบรรจุใส่ กล่อง 2.4.2 โฟมพอลิเอทิลีน (Polyethylene – PE) ผลิตโดยใช้เม็ดพลาสติกประเภทพีอี (PE) เป็นส่วน ประกอบหลัก พีอโี ฟมท่มี ีเน้ือนุ่มบางและเบามีความยดื หยนุ่ สูงป้องกันการเสียหายของสินค้าจากการกระแทก รอย ขีดข่วน ป้องกันหน้าของผิวงานไม่ให้เกิดริ้วรอยต่าง ๆ ระหว่างขนส่งสินค้า ป้องกันการเสียดสี ถ้ามีความหนา มาก ๆ จะปอ้ งกนั การกระแทกได้ดกี วา่ เพราะว่าไมแ่ ตกหกั งา่ ย
แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 6 ชอื่ วิชา วสั ดุงานชา่ งอตุ สาหกรรม เวลาเรยี นรวม 36 ชั่วโมง ชอ่ื หน่วย วสั ดสุ ังเคราะห์ สอนครั้งท่ี 11 – 12 ช่ือเรื่อง วสั ดุสงั เคราะห์ จานวน 4 ช่ัวโมง 2.4.3 โพลียูริเทนโฟม (Polyurethane – PU) ฉนวนกันความร้อนโพลี่ยูรเิ ทนโฟมหรอื ฉนวนกันร้อน คือ เทคโนโลยีการฉีดฉนวนหรือโฟมกันความร้อนลงบนผิววัสดุ สารที่ใช้ฉีดเป็นฉนวนท่ีมีช่ือว่า โพลียูรีเทนโฟม ( Polyurethane Foam ) หรือโฟมกันความร้อน ซ่ึงเป็นฉนวนท่ีกันความร้อนได้ดีมากท่ีสุดเม่ือเปรียบเทียบกับ คุณสมบัตโิ ดยรวมกับฉนวนชนดิ อ่ืน ๆ 2.5 กระเบ้ืองยาง (Asphalt) เป็นวัสดุปูพ้ืนชนิดหนึ่งที่ได้มาจากผลิตภัณฑ์โพลิเมอร์ ซึ่งมีความยืดหยุ่น พอสมควร ดว้ ยคุณสมบตั ิพเิ ศษของผลิตภัณฑโ์ พลิเมอร์ คือเพม่ิ แรงหนืด ทาใหป้ อ้ งกนั ปญั หาการล่ืนเม่ือพืน้ เปียกน้า ได้เปน็ อยา่ งดี เหมาะเป็นอยา่ งย่ิงในการใชใ้ นบรเิ วณทมี่ กี ารสัญจรตลอดเวลา กิจกรรมการเรยี นการสอน ในการจดั การเรียนการสอนรายวิชาวัสดุงานช่างอตุ สาหกรรม ไดก้ าหนดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ ผู้เรยี นเกดิ การเรยี นรูโ้ ดยใชว้ ธิ กี ารจดั การเรยี นรู้แบบบรรยาย มขี ัน้ ตอนในการดาเนินกิจกรรมการเรยี นการสอน ดังนี้ กจิ กรรมการเรยี นการสอน (สอนครั้งที่ 11 ) เวลา ๒ ช่วั โมง/สัปดาห์ การนาเข้าส่บู ทเรยี น 1. ครเู ช็คชื่อ และตรวจอุปกรณ์การเรยี น 2. ครูกาหนดจุดประสงค์การเรยี นรูท้ ี่ชัดเจน และครูแจ้งจุดประสงคป์ ระจาหนว่ ยการเรยี นร้แู ละสาระ ท่สี าคัญให้นักเรยี นทราบ 3. ครตู ั้งคาถาม ถามนกั เรียนในเรอื่ งความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับความหมายของของวสั ดุสังเคราะห์ ขนั้ เตรียมการ 1. ครูกาหนดจุดประสงคก์ ารเรียนร้ทู ี่ชดั เจน 2. ครูเตรียมเน้ือหาเหมาะสมกับเวลาและการสอนในแตล่ ะครัง้ 3. ครูเตรยี มส่อื บทเรยี นออนไลน์ วิชาวสั ดุงานช่างอุตสาหกรรม เพ่ือประกอบการอธบิ ายเนื้อหา เกี่ยวกับวัสดุสังเคราะห์ 4. ช่องทางเข้าสสู่ อ่ื บทเรยี นออนไลน์ เว็บไซตว์ ชิ าวสั ดงุ านช่างอตุ สาหกรรม 5. QR-CODE เพื่อส่ือบทเรยี นออนไลน์ วชิ าวัสดงุ านช่างอุตสาหกรรม
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 6 ชือ่ วิชา วสั ดุงานช่างอตุ สาหกรรม เวลาเรยี นรวม 36 ชั่วโมง ชอื่ หน่วย วสั ดุสังเคราะห์ สอนคร้ังท่ี 11 – 12 ชอื่ เรอื่ ง วัสดสุ ังเคราะห์ จานวน 4 ชั่วโมง การดาเนนิ การสอน 1. นักเรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน เรื่อง วสั ดุสังเคราะห์ 2. ครเู ฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เรือ่ ง วัสดุสังเคราะห์ 3. ครอู ธิบายความหมายของวสั ดุสงั เคราะห์ 4. นักเรียนฟงั ครอู ธบิ ายและซกั ถามเมื่อไม่เข้าใจ หรือมีข้อสงสยั 5. ครอู ธบิ ายเกีย่ วกับชนดิ ของวัสดสุ งั เคราะห์ 6. นกั เรยี นฟังครูอธิบายและซักถามเม่ือไมเ่ ขา้ ใจ หรอื มีข้อสงสยั 7. ครูมอบหมายแบบฝึกหัด เร่ืองการจาแนกความหมายและชนิดของวัสดุสังเคราะห์แบบฝึกหัด (Liveworksheet) 8. ครมู อบหมายใบงาน เรอ่ื งประเภทของพลาสติก 9. นกั เรียนสามารถศกึ ษาค้นควา้ เพิ่มเติมไดจ้ าก สอ่ื บทเรียนออนไลน์ วิชาวัสดงุ านชา่ งอุตสาหกรรม ข้นั สรุปผลการเรียน ๑. ครสู รุปเนื้อหาท่เี รยี นมาให้นักเรียนทาความเข้าใจอีกครัง้ ๒. ครตู ้งั คาถามให้นักเรียนไดค้ ิดทบทวนและตอบคาถาม ๓. ครูเปิดโอกาสใหน้ กั เรยี นซกั ถาม กิจกรรมการเรยี นการสอน (สอนครั้งท่ี 12 ) เวลา ๒ ช่ัวโมง/สัปดาห์ การนาเขา้ สบู่ ทเรียน 1. ครูเช็คชอ่ื และตรวจอปุ กรณ์การเรยี น 2. ครกู าหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ทช่ี ดั เจน และครแู จ้งจุดประสงคป์ ระจาหน่วยการเรียนรู้และ สาระที่สาคญั ให้นกั เรียนทราบ 3. ครตู ง้ั คาถาม ถามนักเรยี นในเร่ืองความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับชนดิ ของวสั ดสุ งั เคราะห์ ขน้ั เตรยี มการ 1. ครกู าหนดจดุ ประสงค์การเรียนร้ทู ีช่ ดั เจน 2. ครเู ตรียมเนื้อหาเหมาะสมกับเวลาและการสอนในแตล่ ะครัง้ 3. ครเู ตรยี มสือ่ บทเรียนออนไลน์ วชิ าวสั ดงุ านช่างอตุ สาหกรรม เพ่ือประกอบการอธิบายเนื้อหา เกีย่ วกบั วสั ดุกอ่ สรา้ ง 4. ชอ่ งทางเขา้ สู่สอ่ื บทเรยี นออนไลน์ เวบ็ ไซตว์ ชิ าวัสดงุ านชา่ งอุตสาหกรรม 5. QR-CODE เพื่อสอ่ื บทเรยี นออนไลน์ วิชาวสั ดงุ านช่างอตุ สาหกรรม
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 6 ชื่อเร่อื ง ช่ือวิชา วสั ดุงานชา่ งอุตสาหกรรม เวลาเรียนรวม 36 ชั่วโมง ชื่อหน่วย วัสดสุ ังเคราะห์ สอนคร้ังที่ 11 – 12 วัสดุสังเคราะห์ จานวน 4 ช่ัวโมง การดาเนนิ การสอน 1. ครูอธบิ ายเกีย่ วกับวัสดกุ ่อสร้างทีด่ ี และประเภทของวสั ดกุ ่อสรา้ ง 2. นกั เรยี นฟังครูอธิบายและซกั ถามเม่ือไม่เข้าใจ 3.ครูอธิบายเพิ่มเตมิ ในส่วนทน่ี ักเรียนไมเ่ ขา้ ใจ หรอื มีข้อสงสัย 4. นกั เรยี นสามารถศึกษาค้นคว้าเพ่ิมเตมิ ได้จาก ส่อื บทเรยี นออนไลน์ วิชาวสั ดุงานช่างอุตสาหกรรม 5. ครมู อบหมายใบงาน เรอื่ งชนิดของโฟม 6. นักเรียนทาแบบทดสอบหลงั เรยี น เรอื่ งวสั ดุสังเคราะห์ ข้ันสรุปผลการเรียน ๑. ครูตรวจแบบทดสอบหลังเรียน และเฉลยคาตอบ ๒. ครูสรุปเน้ือหาท่ีเรียนมาให้นักเรียนทาความเข้าใจอีกครง้ั ๓. ครูตัง้ คาถามให้นักเรยี นไดค้ ดิ ทบทวนและตอบคาถาม ๔. ครูเปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นซกั ถาม สื่อการสอน เอกสารประกอบการเรียน วิชาวัสดงุ านชา่ งอุสาหกรรม รหสั วชิ า 20100-1002 โสฬส เกษวิรยิ ะการณ์ ส่ือบทเรียนออนไลน์ วชิ าวัสดุงานช่างอตุ สาหกรรม เพ่ือประกอบการอธิบายเนื้อหาเก่ยี วกับวสั ดงุ านช่าง อตุ สาหกรรม ส่ือแบบฝึกหัด-ใบงาน Liveworksheet วชิ าวสั ดงุ านช่างอุสาหกรรม หน่วยที่ 6 สื่อนาเสนอโปรแกรม PowerPoint วิชาวัสดงุ านช่างอุสาหกรรม หนว่ ยที่ 6 งานท่ีมอบหมาย/กิจกรรม 1. แบบฝึกหัด (Liveworksheet) หน่วยท่ี 6 เร่อื งวสั ดุสงั เคราะห์ 2. ใบงาน เรือ่ งประเภทของพลาสติก และใบงาน เรือ่ งชนิดของโฟม
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 6 ชือ่ เรอื่ ง ชื่อวิชา วัสดุงานช่างอตุ สาหกรรม เวลาเรียนรวม 36 ช่ัวโมง ชอื่ หน่วย วสั ดสุ ังเคราะห์ สอนคร้ังที่ 11 – 12 วสั ดุสังเคราะห์ จานวน 4 ช่ัวโมง การวดั และประเมนิ ผล วัดผล/ประเมนิ ผล วธิ กี าร เครอื่ งมือ เกณฑ์ ๑. สมรรถนะท่ี - ทาแบบฝึกหดั - ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 7๐ พงึ ประสงค์ - ทาใบงานหน่วยท่ี 6 - แบบฝึกหัด (Liveworksheet) หนว่ ยท่ี 6 - ผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๘๐ ๒. คุณลกั ษณะ - ประเมนิ คณุ ลักษณะ - ใบงานหนว่ ยท่ี 6 อนั พงึ ประสงค์ อนั พึงประสงค์ - แบบประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์
แผนการจัดการเรียนร้มู ่งุ เนน้ สมรรถนะ วิชา วัสดงุ านชา่ งอุตสาหกรรม (๒๐๑๐๐-๑๐๐๒) หลกั สตู รประกาศนียบัตรวิชาชพี พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ ประเภทวิชา อตุ สาหกรรม นายโสฬส เกษวิริยะการณ์ ตาแหน่ง ครู ชานาญการพิเศษ แผนกวชิ าเทคนคิ พืน้ ฐาน วทิ ยาลัยเทคนิคชุมพร สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: