Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศาสตร์พระราชา

ศาสตร์พระราชา

Published by chadatan673, 2022-05-30 08:38:15

Description: ศาสตร์พระราชา

Search

Read the Text Version

“วนั ที่ ๒ ก.พ. ของทุกปถี ือเป็นวัน นกั ประดิษฐ์” ๑๐๐

๓.๓.๒ พระราชกรณยี กิจด้านวิศวกรรมการสือ่ สาร พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรม นาถบพิตร ทรงสนพระราชหฤทัยการสื่อสารด้วยวิทยุอย่างจรงิ จัง ใน พ.ศ. ๒๕๑๑ พระองค์ทรงมดี �ำรใิ ห้มีการพฒั นาด้านระบบวทิ ยุ สอ่ื สารอยา่ งจรงิ จงั ตอ่ เนอ่ื งและมปี ระสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ขน้ึ กลา่ วคอื สามารถรับส่งได้ไกลยิ่งขึ้นดังจะเห็นได้จากการท่ีพระองค์ทรงใช้ เครอ่ื งมอื สอื่ สารพกตดิ พระองคเ์ พอ่ื ประกอบพระราชกรณยี กจิ ตา่ งๆ อยเู่ สมอ นอกจากนพี้ ระองคไ์ ดท้ รงพระราชทานพระบรมราชานญุ าต ใหน้ ำ� ระบบสอื่ สารแบบถา่ ยทอดสญั ญาณหรอื Repeater ซง่ึ เชอื่ มตอ่ ทางวงจรทางไกลขององค์การโทรศัพท์ฯ ให้มูลนิธิแพทย์อาสาฯ (พอ.สว.) น�ำไปใช้เพื่อช่วยเหลือรักษาพยาบาลแก่ผู้เจ็บป่วยใน ท้องถ่นิ หา่ งไกล “…การสอ่ื สารทพี่ ึงประสงคน์ ้ัน จะต้องมปี ระสทิ ธภิ าพเตม็ เป่ยี ม รวดเร็ว ทันเหตุการณ์อยู่ตลอดเวลา จึงจ�ำเป็นที่จะต้องพยายามศึกษา ค้นคว้าวิทยาการและเทคโนโลยีอันก้าวหน้าให้ลึกซึ้งและกว้างขวาง และรู้จักพิจารณาน�ำส่วนที่ดีมีประโยชน์แท้มาใช้ด้วยความริเริ่มและ ความเฉลียวฉลาด เพ่ือให้งานท่ีท�ำพัฒนาอย่างเต็มที่ และอ�ำนวย ประโยชนส์ รา้ งเสรมิ เสถยี รภาพของบา้ นเมอื งไดอ้ ยา่ งสมบรู ณแ์ ทจ้ รงิ …” พระบรมราโชวาท เพอื่ เชญิ ลงพมิ พใ์ นหนังสือที่ระลึกครบรอบ ๖๐ ปี ของกรมการทหารสอื่ สาร กองทัพบก ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๒๗ ๑๐๑

๓.๓.๓ พระราชกรณียกจิ ดา้ นการพลังงาน พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรม นาถบพิตร ทรงทราบดีวา่ ประเทศไทยยังตอ้ งอาศยั เช้อื เพลิงและ พลงั งานจากตา่ งประเทศอยอู่ ยา่ งมาก จงึ ทรงเรม่ิ ศกึ ษาเรอ่ื งพลงั งาน ทดแทนไว้เป็นการล่วงหน้าหลายเร่ืองครอบคลุมในทุกด้าน ทั้ง พลังงานน�ำ้ แสงอาทิตย์ ลม หรอื แม้กระท่งั เชื้อเพลิงชีวภาพ ๑๐๒

ดงั พระราชด�ำรัสที่พระราชทานแก่คณะบุคคลต่าง ๆ ท่ีเข้าเฝ้า ถวายชัยมงคล ในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลา ดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิตฯ เม่ือวันท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๔๘ ความวา่ “..ถ้านำ�้ มันเช้อื เพลงิ หมดแล้ว ก็ใชเ้ ช้ือเพลงิ อย่างอน่ื ได้ มแี ตต่ อ้ งขยนั หาวธิ ที ท่ี ำ� ใหเ้ ชอ้ื เพลงิ เกดิ ใหมเ่ ชอ้ื เพลงิ ทเี่ รยี กวา่ น้ำ� มันน้ันมันจะหมดภายในไม่กปี่ ีหรือไมก่ ส่ี บิ ปกี ็หมด ถา้ ไม่ไดท้ �ำเชอ้ื เพลิงทดแทนเรากเ็ ดือดรอ้ น...” ๑๐๓

๓.๓.๔ พระราชกรณียกิจดา้ นวิศวกรรมการตอ่ เรอื ในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพติ ร ประพาสยโุ รปใน พ.ศ. ๒๕๐๓ นน้ั พระองค์ ได้ทอดพระเนตรกิจการต่อเรือของประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะ การต่อเรือยนตร์ ักษาฝั่งท่ีประเทศเยอรมนี และได้มพี ระราชด�ำรวิ า่ กองทัพเรือไทยน่าจะต่อเรือประเภทนี้ไว้ใช้ในราชการเองบ้างเพ่ือ ประโยชน์ในการรักษาความมั่นคงของประเทศ เม่ือเสด็จฯ กลับ จากการประพาสยุโรปครั้งนั้นแล้วได้มีพระราชปรารภเรื่องการ ตอ่ เรือยนตร์ กั ษาฝั่งกบั รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงกลาโหม หลงั จาก นั้นกระทรวงกลาโหมก็ได้มอบหมายให้กรมอู่ทหารเรือของกอง ทพั เรือเปน็ ผู้ด�ำเนนิ การตอ่ เรือดังกลา่ ว โดยเร่ิมจากเรอื ต. ๙๑ ใน พ.ศ. ๒๕๑๐ เปน็ ลำ� แรก เรือล�ำน้ีนายทหารที่ส�ำเร็จการศึกษาจากต่างประเทศเป็น ผู้ออกแบบ พระบาทสมเด็จพระมหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรม นาถบพิตร ได้มีพระมหากรุณาธิคุณพระราชทานความช่วยเหลือ ประการตา่ ง ๆ เช่น ทรงสัง่ เอกสารวชิ าการต่อเรอื จากตา่ งประเทศ มาใหศ้ ึกษา ทรงติดต่อกับสถาบันวิจยั และทดลองแบบเรือแห่งชาติ ของอังกฤษให้ช่วยทดสอบแบบใหจ้ นเป็นทพี่ อใจ ได้เสด็จฯ ไปเป็น ประธานในพิธีวางกระดูกงูเรือและเมื่อมีการต่อเรือเสร็จแล้วก็ได้ เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรการทดสอบเรือด้วยพระองค์เอง อีกทั้ง ได้พระราชทานข้อคิดเห็นในการแก้ไขข้อบกพร่องทางเทคนิคของ เรือจนกระทั่งเรือสามารถใช้งานได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ๑๐๔

๓.๓.๕ พระราชกรณยี กจิ ดา้ นการคมนาคมและการขนสง่ โครงการตามพระราชด�ำริส่วนที่เกี่ยวข้องกับการ คมนาคมและขนสง่ สว่ นใหญ่จะเปน็ โครงการสรา้ งถนนหนทางใน ท้องถ่ินชนบทซงึ่ เริ่มต้ังแตป่ ี พ.ศ. ๒๕๒๑ เปน็ ตน้ มา ลักษณะของ ถนนในโครงการตามพระราชด�ำริอาจแบ่งตามประเภทของการให้ บรกิ ารไดเ้ ปน็ ๔ อยา่ ง คือ ๑) ถนนท่ีปรบั ปรงุ จากเส้นทางเดิมทมี่ อี ยแู่ ลว้ เพือ่ กระตุ้น ให้เกิดการขยายตลาดผลผลิตทางการเกษตรและหัตถกรรมของ หมบู่ ้าน หรอื ชุมชนในบรเิ วณทีเ่ กีย่ วข้อง ๒) ถนนสร้างใหม่ ซ่ึงช่วยให้มกี ารน�ำทรัพยากรในท้องถ่นิ ท่เี กีย่ วข้องออกมาใช้ประโยชน์ ๑๐๕

๓) ถนนที่สร้างเพ่ือรับการจราจรท่เี พ่มิ ขนึ้ เพราะการ ขยายตวั ของเศรษฐกจิ ประชากร และกิจกรรมในชนบท ๔) ถนนทีเ่ ช่ือมต่อชมุ ชนที่พัฒนาไปบ้างแล้วเข้ากบั ชุมชน ทยี่ งั ไมไ่ ด้พัฒนาเทา่ ทค่ี วร “…การสรา้ งสรรคค์ วามกา้ วหนา้ นน้ั ตอ้ งเรม่ิ ทก่ี ารศกึ ษา ของเดมิ กอ่ น เมอื่ ทราบชดั ถงึ สว่ นดสี ว่ นเสยี แลว้ จงึ รกั ษาสว่ นทดี่ ี ท่ีเจริญ ท่ีมอี ยู่ ให้คงไว้แลว้ พยายามสรา้ งและเสรมิ ใหม้ นั่ คงและ สมบรู ณย์ ง่ิ ขนึ้ ไป ดว้ ยหลกั วชิ าและความคดิ พจิ ารณาอนั ประกอบ ดว้ ยเหตผุ ลความรอบคอบ ตามความเหมาะสม ตามกำ� ลงั ความ สามารถ และกำ� ลงั เศรษฐกจิ ของเรา…” พระบรมราโชวาท ในพิธพี ระราชทานปรญิ ญาบตั ร แก่ผ้สู �ำเร็จ การศกึ ษาจากมหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ประจำ� ปกี ารศกึ ษา ๒๕๒๕ ณ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปตั ตานี ๑๕ กนั ยายน ๒๕๒๖ ๑๐๖

๓.๔ ตวั อยา่ งโครงการพระราชด�ำริ ในพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร มหาภมู ิพลอดลุ ยเดช รัชกาลที่ ๙ โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริเป็นโครงการท่ี พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ไดพ้ ระราชทานแกป่ ระชาชนชาวไทย โดยพระองคท์ รงยำ้� เสมอและ ให้ความส�ำคัญกับเรื่องน้�ำมากท่ีสุด หลักคิดของพระองค์มีอยู่ว่า ต้องมนี ำ�้ ทงั้ น้ำ� เพื่อใช้ในการบรโิ ภคและน้�ำเพ่อื ใชใ้ นการเพาะปลูก ดงั นน้ั กวา่ ครง่ึ ของโครงการพระราชดำ� ริ ๔,๐๐๐ กวา่ โครงการ จงึ เปน็ โครงการท่ีเกี่ยวเน่ืองกับน้�ำท้ังสิ้น เพื่อศึกษาพระราชกรณียกิจ และสานต่อปณิธานของ พระบาทสมเด็จพระมหาภูมพิ ลอดุลย เดชมหาราช บรมนาถบพิตร ที่ทรงงานหนักอุทิศพระวรกาย ๑๐๗

ช่วยเหลือราษฎร ให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีข้ึนตลอดรัชสมัยของ พระองค์เพอ่ื รำ� ลกึ ถงึ พระมหากรณุ าธคิ ณุ อนั หาทส่ี ดุ มไิ ด้ผเู้ รยี บเรยี ง ขอยกตัวอย่าง ๕ โครงการพัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ เกยี่ วกับพระอจั ฉริยภาพดา้ นนำ�้ และดิน ดงั นี้ ๓.๔.๑ โครงการแก้มลิง โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลท่ี ๙ โครงการแกม้ ลิง เปน็ แนวคิดในพระราชดำ� ริของพระบาท สมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เพ่ือ แก้ปัญหาอุทกภัยโดยพระองค์ทรงตระหนักถึงความรุนแรงของ อุทกภัยที่เกิดข้ึนในกรุงเทพมหานคร เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๘ จึงมี พระราชดำ� ริ \"โครงการแกม้ ลงิ \" ข้นึ เม่ือวันท่ี ๑๔ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๓๘ โดยให้จัดหาสถานที่เก็บกักน�้ำตามจุดต่าง ๆ ใน กรุงเทพมหานคร เพอื่ รองรับนำ้� ฝนไว้ช่ัวคราวเมอ่ื ถงึ เวลาทค่ี ลอง พอจะระบายน้�ำได้จึงค่อยระบายน้�ำจากส่วนท่ีกักเก็บไว้ออกไปจึง สามารถลดปญั หาน้�ำท่วมได้ โครงการแกม้ ลงิ มี ๓ ขนาด คือ ๑๐๘

๑) แก้มลิงขนาดใหญ่ คอื สระน�้ำหรอื บงึ ขนาดใหญท่ ี่ รวบรวมนำ้� ฝนจากพ้นื ทบ่ี รเิ วณนน้ั ๆ โดยจะกกั เกบ็ ไว้เปน็ ระยะ เวลาหน่ึงก่อนทีจ่ ะระบายลงสู่ล�ำน้ำ� เชน่ เพอ่ื การชลประทาน เพ่อื การประมง เปน็ ต้น ๒) แกม้ ลงิ ขนาดกลาง เปน็ พน้ื ที่ชะลอน้ำ� ที่มีขนาดเล็ก กวา่ ก่อสรา้ งในระดับลุม่ น�ำ้ มกั เปน็ พื้นท่ีธรรมชาติ เช่น หนอง บึง คลอง เป็นตน้ ๓) แก้มลงิ ขนาดเล็ก คือแกม้ ลงิ ทมี่ ขี นาดเลก็ กวา่ อาจ เป็นพื้นทส่ี าธารณะ สนามเด็กเลน่ ลานจอดรถ หรือสนามในบา้ น ซึง่ ตอ่ เขา้ กบั ระบบระบายนำ�้ หรอื คลอง แนวคิดของโครงการแก้มลิง เกิดจากการท่ีพระบาท สมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มี พระราชดำ� ริถึงลิงท่ีอมกล้วยไว้ในกระพุง้ แก้มได้คราวละมาก ๆ จึง มีพระราชกระแสอธบิ ายว่า \"ลิงโดยทั่วไปถ้าเราสง่ กล้วยให้ ลิงจะรบี ปอกเปลือก เอาเขา้ ปากเคยี้ ว แลว้ น�ำไปเกบ็ ไว้ทีแ่ ก้มกอ่ น ลิงจะท�ำอยา่ งนี้ จนกลว้ ยหมดหวีหรอื เต็มกระพุ้งแก้ม จากนั้นจะค่อยๆ นำ� ออกมาเคี้ยวและกลนื กินภายหลัง \" ๑๐๙

๓.๔.๒ โครงการศึกษาวิธีการฟื้นฟูที่ดินเส่ือมโทรมเขาชะงุ้ม อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ โครงการศึกษาวิธีการฟนื้ ฟทู ีด่ ินเสอื่ มโทรมเขาชะงมุ้ อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� ริ ตำ� บลเขาชะงมุ้ อ�ำเภอโพธาราม จงั หวัด ราชบุรี เดิมพ้ืนท่โี ครงการเปน็ ฟาร์มปศสุ ัตว์และปลกู พืชไร่ มีการ ใช้ดินอยา่ งผิดวิธีท�ำให้หน้าดินเสียหาย ดินขาดความอดุ มสมบรู ณ์ เกดิ ความแหง้ แล้งไมส่ ามารถปลูกพชื ได้ ๑๑๐

พระบาทสมเด็จพระมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรม นาถบพิตร ไดเ้ สดจ็ พระราชด�ำเนินทอดพระเนตรโครงการศึกษา วิธีการฟื้นฟูที่ดินเส่ือมโทรมเขาชะงุ้มฯ คร้ังแรกเมื่อวันที่ ๒๖ พฤศจกิ ายน๒๕๒๙ ไดม้ พี ระราชดำ� ริ“ใหด้ ำ� เนนิ การศกึ ษาวิธกี าร ปรบั ปรงุ ดนิ เสอ่ื มโทรม ใหส้ ามารถใชป้ ระโยชนใ์ นการเพาะปลกู ได้ โดยการทดสอบวางแผนและจัดระบบปลูกพืชท่ีเหมาะสมกับ สภาพพน้ื ท่ีในลักษณะศนู ยศ์ ึกษาการพัฒนาขนาดยอ่ ม” โครงการเขาชะงมุ้ จงึ นบั เปน็ พน้ื ทโ่ี ครงการแหง่ แรกๆทเี่ ปน็ โครงการพัฒนาป่าตามแนวพระราชด�ำริ โดยใช้ทฤษฎีปลูกป่า ไม่ให้เข้าไปท�ำลายป่าตามปณิธานแห่งองค์พระมหากษัตริย์ที่ทรง พระมหากรณุ าธิคุณฟ้ืนฟเู กย่ี วกบั การปลกู ปา่ และฟื้นฟูสภาพปา่ โดยไมเ่ ข้าไปทำ� ลายป่า ๑๑๑

๓.๔.๓ เขื่อนขุนด่านปราการชล เขอ่ื นขนุ ดา่ นปราการชลชอ่ื เดมิ เรยี กวา่ เขอื่ นคลองทา่ ดา่ น ตั้งอยู่ที่บ้านท่าด่าน ต�ำบลหินตั้ง อ�ำเภอเมืองนครนายก จังหวัด นครนายก สรา้ งขน้ึ ตามแนวพระบาทสมเดจ็ พระมหาภมู พิ ลอดลุ ย เดชมหาราช บรมนาถบพิตร เพื่อเก็บกักน�้ำในช่วงหน้าฝนไว้ใน หนา้ แลง้ และควบคุมไม่ให้เกิดน�ำ้ ท่วมบ้านเรือนราษฎร ไร่นา และ พื้นท่กี ารเกษตรในหนา้ ฝนโดยสรา้ งครอบฝายท่าด่านเดมิ ปจั จบุ ัน เป็นเขื่อนคอนกรีตบดอัดที่มีความยาวที่สุดในโลกมีความยาวรวม ๒,๗๒๐ เมตร ความสงู (สงู สุด) 93 เมตร รบั น�ำ้ ที่ไหลจากอุทยาน แหง่ ชาตเิ ขาใหญผ่ ่านนำ้� ตกเหวนรกลงสอู่ า่ งเกบ็ น้ำ� มีความจุ 224 ลา้ น ลบ.ม.โดยทำ� ใหม้ นี ำ้� ในการทำ� เกษตรกรรม การอปุ โภคบรโิ ภค แกป้ ัญหาดินเปร้ยี ว เปน็ แหล่งเพาะพันธุป์ ลาและบรรเทาอุทกภัย เปน็ แหล่งท่องเท่ยี วแห่งใหม่ของจงั หวดั นครนายก ๑๑๒

๓.๔.๔ โครงการบรหิ ารจดั การนำ�้ คลองลดั โพธิ์ คลองลดั โพธ์ิ เปน็ ชอื่ คลองเดมิ บรเิ วณตำ� บลทรง คนอง อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เดิมมี ลกั ษณะตน้ื เขนิ ตอ่ มาไดจ้ ดั สรา้ งเปน็ โครงการตามแนวพระ ราชด�ำริ เป็นการบริหารจัดการน้�ำเพื่อแก้ปัญหาน้�ำท่วม กรุงเทพมหานคร โดยยึดหลักการ \"เบี่ยงน้�ำ\" และ เป็นคลองท่ีพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพติ ร มีกระแสพระราชดำ� รัสถงึ เมอื่ วนั ที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ วา่ เป็นสถานท่ตี วั อย่าง ของการบริหารจัดการน�้ำท่ีต้องการความรู้เรื่องเกี่ยวกับ เวลาน�ำ้ ขึ้นน�้ำลง ๑๑๓

๓.๔.๕ โครงการแกล้งดินและหญ้าแฝก ประเทศไทย เปน็ เมืองเกษตรประชากรสว่ นใหญด่ �ำรงชพี ด้วยการท�ำเกษตรกรรมพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระราชทานแนวทางโครงการอัน เนื่องมาจากพระราชด�ำริ ในการแก้ไขสภาพดินท่ีเป็นปัญหาดิน เปน็ กรดหรอื ดินเปร้ยี วในโครงการ “แกล้งดิน” และทรงแกป้ ญั หา ดินเส่อื มโทรมและฟ้ืนฟสู ภาพดนิ ในโครงการ “หญา้ แฝก” เมอ่ื ครั้งท่ีพระองค์ เสดจ็ พระราชดำ� เนินแปรพระราชฐาน ท่พี ระตำ� หนักทกั ษณิ ราชนิเวศน์ จังหวดั นราธวิ าส พระองค์ได้มี พระราชด�ำริแก้ไขปัญหาดินพรุให้กลับมาเป็นดินท่ีมีความอุดม สมบูรณ์โดยใช้กรรมวิธีการ \"แกลง้ ดนิ ใหเ้ ปรยี้ ว\" ดว้ ยการท�ำให้ดิน แหง้ และเปยี กสลับกันเพื่อเร่งปฏิกิริยาทางเคมขี องดนิ ซ่ึงจะไป ๑๑๔

กระตนุ้ ใหส้ ารไพไรทท์ ำ� ปฏกิ ริ ยิ ากบั ออกซเิ จนในอากาศ ปลดปลอ่ ย กรดก�ำมะถันออกมาท�ำให้ดินเป็นกรดจัดจนกลายเป็นดินเปรี้ยว ต่อจากนั้นก็เร่งท�ำการปรับปรุงด้วยการควบคุมระดับน้�ำใต้ดิน ใหอ้ ย่เู หนือช้นั ดนิ เลนท่มี ีสารไพไรท์อยู่ เป็นการปอ้ งกนั การเกดิ กรดก�ำมะถันและช�ำระล้างดินเปรี้ยวให้คลายลงท�ำให้พืชสามารถ เจริญเตบิ โตได้ “ใหใ้ ชห้ ญา้ แฝกในการพฒั นาปรบั ปรงุ บำ� รงุ ดนิ ฟน้ื ฟดู นิ ใหม้ คี วามอดุ มสมบรู ณ์ และแกป้ ญั หาดนิ เสอ่ื มโทรมดำ� เนนิ การ ขยายพนั ธ์ุ ทำ� ใหม้ กี ลา้ หญา้ แฝกเพยี งพอดว้ ย ทส่ี ำ� คญั ตอ้ งไมล่ มื หนา้ ทขี่ องหญา้ แฝกในการอนรุ กั ษด์ นิ และนำ�้ และเพอ่ื การรกั ษาดนิ ใหท้ กุ หนว่ ยงานและหนว่ ยงานราชการทมี่ ศี กั ยภาพในการขยายพนั ธ์ุ ให้ความร่วมมือกับกรมพัฒนาท่ีดินในการผลิตกล้าหญ้าแฝก และแจกจา่ ยกลมุ่ เปา้ หมายทต่ี อ้ งการใหเ้ พยี งพอ” พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี ๙ ณ ศาลาเรงิ วงั ไกลกงั วล อ�ำเภอหัวหิน จงั หวัดประจวบคีรีขันธ์ วนั ที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๖ ๑๑๕

บทสรปุ โครงการพระราชดำ� รใิ นพระบาทสมเดจ็ พระหาภมู พิ ล อดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร แหง่ บรมราชจกั รวี งศ์ คอื พระอจั ฉรยิ ภาพ อันมากล้นเหลือคณานับท่ีพระองค์ทรงศึกษาค้นคว้าและ ตรากตรำ� เพอื่ พสกนิกรตลอดระยะเวลาทรงครองราชย์ ๗๐ ปี พระองค์ท่านไม่เคยย่อท้อต่ออุปสรรคนานัปการในระหว่าง ทรงงาน ทรงเสดจ็ ไปทุกพนื้ ท่ขี องประเทศและในการทรงงาน พสกนิกรจะเห็นอยู่เป็นประจ�ำว่า พระบาทสมเด็จพระมหา ภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร จะมอี ุปกรณ์ส่วน พระองคท์ ีส่ �ำคญั เช่น ๑. แผนท่ี พสกนิกรจะเห็นภาพจนชินตาที่ทรงถอื แผนท่ีในระหว่างทรงงานทุกแห่งท่ัวประเทศ โดยแผนท่ี กรมแผนทก่ี ารทหารเป็นผรู้ วบรวมจดั ท�ำขน้ึ ทูลเกลา้ ฯถวาย ๒. กล้องถ่ายรูป ทรงใช้ถ่ายรูปส่วนพระองค์เพ่ือ ประกอบการทรงงาน โดยพระองค์ยังโปรดการถ่ายรูป อริ ิยาบถตา่ ง ๆ ของราษฎรเปน็ อยา่ งมาก ๓. วิทยสุ อ่ื สาร กรมชลประทานได้ทูลเกล้าฯ ถวาย วิทยุส่ือสารแด่พระองค์ท่าน โดยใช้คล่ืนความถี่ของ กรมชลประทาน ๑๑๖

๔. เข็มทิศ เขม็ ทศิ น้ีบอกขอ้ มูลกว้างๆ บอกทิศตา่ ง ๆ ทั้ง ๔ ทิศ คือ เหนอื ใต้ ออก และตก ว่าอยู่ตรงไหนระหวา่ งทที่ รงยืน อยู่ ซง่ึ พระองคใ์ ช้ดทู ิศเพือ่ ประกอบกบั การใช้แผนท่ี ๕. ดินสอ ดินสอท่ีพระองค์ใช้เป็นดินสอธรรมดาท่ใี ช้กนั อยู่ท่วั ไป ปลายดา้ มเป็นยางลบ ๖. บาร์รอมิเตอร์ ตดิ ไว้ทรี่ ถยนต์พระท่ีนั่ง ตดิ ไว้เพอื่ เป็น ตวั วดั ความกดดนั ของอากาศ ความสงู จากระดบั นำ�้ ทะเลขณะทรง ขับรถไปในถิน่ ทุรกันดารหรือใหท้ ราบวา่ อยสู่ ูงแค่ไหน โครงการพระราชดำ� รใิ นพระบาทสมเดจ็ พระมหาภมู พิ ลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร พระองค์จะทรงเสาะแสวงหาพ้ืนท่ี สถานท่ใี หมๆ่ เพอ่ื นำ� มาพฒั นาให้เกิดประโยชน์ ส่งิ ที่พระองค์ทรง ท�ำเป็นแบบอย่างก็คือ การเป็นนักพัฒนาท�ำในสิ่งที่ราชการหรือ คนอืน่ ๆ เขาไมท่ ำ� หรอื เข้าไม่ถงึ หวังเพียงให้ราษฎรของพระองค์ อยู่ดีกนิ ดีตามควรแก่อัตภาพ ดังพระบรมราโชวาทพระราชทาน แก่ข้าราชการพลเรือน เนื่องในโอกาสวันข้าราชการพลเรือน ปีพุทธศักราช ๒๕๕๑ ณ พระต�ำหนักจิตรลดารโหฐาน วันท่ี ๓๑ มีนาคม พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ความว่า ๑๑๗

“..งานราชการ นน้ั คอื งานของแผน่ ดนิ ขา้ ราชการจงึ ตอ้ งสำ� เหนยี กตระหนกั อยตู่ ลอดเวลาถงึ ฐานะและหนา้ ทข่ี องตน แลว้ ตงั้ ใจปฏบิ ตั งิ านทกุ อยา่ งโดยเตม็ สตปิ ญั ญาความสามารถ ดว้ ยความสจุ รติ เทยี่ งตรง และดว้ ยความมสี ตยิ ง้ั คดิ รวู้ า่ สง่ิ ใดถกู สงิ่ ใดผดิ สง่ิ ใดควรกระทำ� สง่ิ ใดควรงดเวน้ เพอ่ื ใหง้ านทท่ี ำ� ปราศจากโทษเสยี หาย และบงั เกดิ ผลเปน็ ประโยชนท์ แี่ ท้ คอื ความเจรญิ มง่ั คงของประเทศชาตแิ ละประชาชน..” ๑๑๘

๔บทที่ โครงการที่ ชาวบ้าน/ชุมชน นำ� มาใช้แลว้ เห็นผลเปน็ ประโยชน์ต่อชุมชน/ ผลสำ� เรจ็ ของชวี ิตมคี วามสขุ ยงั่ ยืน

๔.๑ ความนำ� พระบาทสมเด็จพระมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถ บพิตร แห่งราชจักรีวงศ์ พระองค์ทรงมีอัจฉริยภาพอันมากล้นเหลือ คณานับ ทรงศึกษาค้นคว้าและตระหนักพระราชหฤทัยในเร่ืองการ บ�ำบัดทุกข์บ�ำรุงสุขดูแลราษฎรของพระองค์ พระราชกรณีกิจต่าง ๆ ตลอดจนการเสด็จเยี่ยมประชาชนในเกือบทุกพื้นที่และทุกภูมิภาค ของประเทศ เพื่อการกินดีอยู่ดีของประชาชน ด้วยพระอัจฉริยภาพ ของพระองค์ ทำ� ใหเ้ กิดโครงการที่พระองค์ไดพ้ ระราชดำ� รกิ ่อต้ังเอาไว้ กวา่ ๔,๐๐๐ โครงการ อาทิ โครงการเกย่ี วกบั ดนิ นำ้� ปา่ และวศิ วกรรม รวมท้ังโครงการท่ีพระองค์ได้พระราชด�ำริในการแก้ไขปัญหาการ ด�ำเนินชีวิตอย่างพอเพียงหรือพอมีพอกิน เน้นการพ่ึงพาตนเอง โดย ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่สามารถครอบคลุมภาค เกษตรกรรม อตุ สาหกรรม และพาณชิ ยกรรม ตลอดจนการดำ� เนนิ ชวี ติ ของพสกนกิ รทกุ กลมุ่ อาชพี ซงึ่ พระองคไ์ ดท้ รงทดลองจนเปน็ ทป่ี ระจกั ษ์ ว่า หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเปน็ ปรัชญาที่มคี วามเหมาะสม กับการด�ำเนินชีวิตของคนในสังคมปัจจุบันและอนาคต “การเป็นเสือน้ันไม่สำ� คัญ ส�ำคญั อยู่ท่เี รามเี ศรษฐกจิ แบบพอมีพอกิน แบบพอมพี อกินนนั้ หมายความวา่ อุม้ ชูตวั เองได้ ใหม้ ีพอเพยี งกับตัวเอง” พระราชดำ� รัสของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ล อดุลยเดช บรมนาถบพิตร ณ ศาลาดุสิดาลยั สวนจิตรลดา เมอ่ื ๔ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๐ ๑๒๐

๔.๒ ๙ ค�ำทีพ่ อ่ สอน พระบรมราโชวาท ในพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั รชั กาลที่ ๙ ตลอดระยะเวลาทรงครองราชย์๗๐ปีพระบาทสมเดจ็ พระ มหาภมู ิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงมีพระราชดำ� รัส และพระบรมราโชวาทกับบุคคลต่าง ๆ ในหลายโอกาส ค�ำสอน ของพระองคล์ กึ ซงึ้ และกนิ ใจเปรยี บดงั คำ� พอ่ สอนใหป้ วงชนชาวไทย มคี วามเพยี รและมแี รงผลกั ดนั ในการปรบั ปรงุ พฒั นาตนเองอยเู่ สมอ คำ� สอนของพระองคท์ า่ นจงึ เปน็ สงิ่ สำ� คญั ในการสรา้ งแรงบนั ดาลใจ เพื่อการพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของพสกนิกรได้ทุกยุคทุกสมัย ๑๒๑ 121

๔.๒.๑ ความเพียร “การสร้างสรรคต์ นเอง ต้องใช้เวลา ต้องใชค้ วามเพยี ร ความอดทน เสียสละ และไมย่ อ่ ทอ้ ในสิง่ ทด่ี งี าม เวลาข้างหนา้ จะเหน็ ผลแน่นอนในความอดทนของตนเอง” พระบรมราโชวาท พระราชทานแกน่ ักเรยี น นักศึกษา ครู และอาจารย์ ในโอกาสเขา้ เฝา้ ฯ วนั ที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๑๖ ๔.๒.๒ ความพอดี “การสรา้ งตัวสรา้ งฐานะน้ันจะตอ้ งถอื หลัก ค่อยเปน็ ค่อยไป ดว้ ยความรอบคอบ ระมดั ระวงั และความพอเหมาะพอดี ไม่ท�ำเกนิ ฐานะและกำ� ลัง” พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ วนั ที่ ๑๘ ธนั วาคม ๒๕๔๐ ๑๒๒

๔.๒.๓ ความรู้ตน “การรู้ตวั อยเู่ สมอจะท�ำใหเ้ ปน็ คนมีระเบียบ และคนทม่ี ีระเบยี บดแี ลว้ จะสามารถเล่าเรียน และทำ� การงานต่าง ๆ ไดโ้ ดยถูกตอ้ งรวดเร็ว” พระบรมราโชวาท พระราชทานลงพิมพใ์ นหนังสอื วนั เด็ก ประจำ� ปี ๒๕๒๑ ๔.๒.๔ คนเราจะต้องรับและจะต้องให้ “คนเราจะเอาแตไ่ ดไ้ มไ่ ด้ คนเราจะตอ้ งรบั และจะตอ้ งให้ เมื่อรับส่ิงของใดมา ก็จะต้องพยายามให้ ช่วยที่ไหนได้ก็ช่วย ดว้ ยจิตใจท่ีเผอ่ื แผ่โดยแท”้ พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่นักศกึ ษามหาวิทยาลัยขอนแก่น วนั ท่ี ๒๐ เมษายน ๒๕๒๑ ๑๒๓ 123

๔.๒.๕ อ่อนโยนแต่ไม่อ่อนแอ “รักษามารยาทอันดีงามส�ำหรับสุภาพชน รูจ้ กั สัมมาคารวะ มคี วามออ่ นโยนแตไ่ มอ่ อ่ นแอ พร้อมจะเสียสละประโยชน์ส่วนตวั เพ่ือส่วนรวม” พระบรมราโชวาท ในพธิ ีพระราชทานปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั วันที่ ๒๕ มถิ นุ ายน ๒๔๙๖ ๔.๒.๖ หนังสือเป็นออมสิน “หนังสือเปน็ การสะสมความรู้และทุกสงิ่ ทกุ อย่าง ทีม่ นุษยไ์ ดส้ ร้างมา เปน็ คลา้ ย ๆ ธนาคารความรู้ และเปน็ ออมสนิ เปน็ สง่ิ ทีจ่ ะท�ำใหม้ นุษย์ก้าวหนา้ ไดโ้ ดยแท”้ พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่คณะสมาชกิ ห้องสมดุ ทัว่ ประเทศ ในโอกาสทเี่ ข้าเฝ้าทูลละอองธลุ ีพระบาท วนั ท่ี ๒๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๑๔ ๑๒๔

๔.๒.๗ พูดจริงท�ำจริง “ผู้หนักแน่นในสจั จะพดู อยา่ งไร ทำ� อยา่ งนนั้ จึงไดร้ ับความส�ำเร็จ พร้อมทั้งความศรัทธาเช่ือถือ และความยกย่องสรรเสริญจากคนทุกฝ่าย” พระบรมราโชวาท ในพิธพี ระราชทานปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั วนั ท่ี ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๔๐ ๔.๒.๘ ความซื่อสัตย์ “ความซ่ือสัตย์สุจริตเป็นพื้นฐานของความดีทุกอย่าง เดก็ ๆจงึ ตอ้ งฝกึ ฝนอบรมใหเ้ กดิ มขี น้ึ ในตนเองเพอ่ื จกั ไดเ้ ตบิ โตขน้ึ เปน็ คนดีมปี ระโยชน์ และมชี ีวติ ทีส่ ะอาด ทเ่ี จริญมน่ั คง” พระบรมราโชวาท พระราชทานเพือ่ เชิญลงพิมพใ์ นหนังสือวันเด็ก ประจ�ำปี ๒๕๓๑ ๑๒๕ 125

๔.๒.๙ การเอาชนะใจตน “เราต้องกล้าและบากบั่นที่จะกระทำ� สง่ิ ท่ีเราทราบวา่ เปน็ ความดี เปน็ ความถูกต้อง และเปน็ ธรรม ถ้าเราร่วมกนั ทำ� เชน่ น้ี กจ็ ะช่วยค้�ำจุนสว่ นรวมไวม้ ใิ หเ้ สื่อมลงไป” พระราชดำ� รสั พระราชทานเพือ่ เชิญไปอา่ น ในพิธเี ปิดการประชุมยุวพุทธกิ สมาคมทัว่ ประเทศ คร้ังท่ี ๑๒ ทจี่ งั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา วันท่ี ๑๒ ธันวาคม ๒๕๓๑ ๔.๓. น้อมน�ำค�ำพ่อสอน สู่การปฏิบัติ “ฉันครองราชยส์ องปแี รก ฉันไมม่ ีผลงาน เพราะฉันยังไมร่ วู้ ่าราษฎรต้องการอะไร” ๑๒๖

คนไทยกวา่ ๖๗ ลา้ นคน โชคดที ไ่ี ดเ้ กดิ มาภายใตร้ ม่ พระบารมี ของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถ บพิตร จากพระราชปรารถเบื้องต้นได้แสดงให้เห็นว่าทรงเป็น องค์พระมหากษัตริย์ท่ีเอาพระราชหฤทัยใส่ต่อความทุกข์ยากของ ราษฎรในทุกมติ ิ สะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ วิธีการแหง่ ศาสตร์พระราชาใน การเขา้ ถึงแล้วจึงพัฒนา ทรงใหค้ วามสำ� คญั กับการทำ� ความเข้าใจ ว่าประชาชนต้องการอะไรก่อนที่จะทรงงาน ค�ำสอนของพระองค์ ทา่ นจงึ เปรยี บดงั ค�ำพอ่ สอน ท่ผี ูใ้ ดไดเ้ จริญรอยตามส่งิ ที่ทรงสอนไว้ นอกจากจะสรา้ งประโยชนส์ ขุ สว่ นตนแลว้ ยอ่ มมีส่วนชว่ ยเสรมิ สรา้ ง ประเทศชาตโิ ดยสว่ นรวมให้เจรญิ ยิ่งข้นึ ไป ๑๒๗ 127

“...จะท�ำงานในสาขาใดก็ตามต้องมาดูว่าท�ำงานนั้น กเ็ พอ่ื ใหป้ ระเทศชาตอิ ยยู่ งมคี วามมน่ั คงและความกา้ วหนา้ และ ประเทศน้นั ก็ประกอบด้วย ประชาชน ซึง่ ประชาชนแตล่ ะคนๆ ก็มีความปรารถนาทจ่ี ะมีความก้าวหน้า ความกา้ วหนา้ นนั้ จะ มาได้ก็ โดยท่ีแต่ละคนได้ท�ำงานเต็มท่ี และประชาชนท่ีอยู่ใน เมืองไทยน้ี บางทีก็ขาดความรู้ ขาดความสามารถ ขาดก�ำลัง ทงั้ ทางวชิ า ทง้ั ทางเงนิ ทจ่ี ะสรา้ งตวั เอง จงึ ตอ้ งใหเ้ ขาอาศยั ทาง ราชการที่จะมาอุ้มชูให้ก้าวหนา้ ได้ ฉะนนั้ ทางราชการมีหนา้ ท่ี อนั หนกั ทจ่ี ะจดั ใหบ้ า้ นเมอื งกา้ วหนา้ ถา้ ประชาชนไมม่ คี วามสขุ ไมม่ คี วามกา้ วหนา้ ประเทศก็จะอยไู่ มไ่ ด้...” พระราชดำ� รัส แกค่ ณะนกั ศกึ ษาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจกั ร เมื่อวนั ท่ี ๒๖ มกราคม ๒๕๑๖ ๑๒๘

๔.๓.๑ ตัวอย่างความส�ำเร็จ “๙ ตามรอยเท้าพ่อ สานต่อปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” จากแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทั้ง ๓ ระดับ ไดแ้ ก่ ระดบั พื้นฐาน ระดบั ก้าวหน้าแบบกลมุ่ และระดบั กา้ วหน้า แบบเครือขา่ ย มบี คุ คล กลุม่ และกล่มุ บุคคลทร่ี ว่ มมอื กบั หนว่ ยงาน ภายนอกเพอ่ื การสรา้ งเครอื ขา่ ยไดน้ อ้ มนำ� หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปเปน็ แนวทางปฏิบัติ จนประสบความสำ� เร็จทัง้ ๓ ระดบั ไดแ้ ก่ ๑) ศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชนตำ� บลเขาสามสบิ บา้ นคลองสบิ สาม เลขท่ี ๔๒๙ หมู่ ๓ ตำ� บลเขาสามสบิ อำ� เภอเขาฉกรรจ์ จงั หวดั สระแกว้ โดย จ่าสิบเอกไพทูล พ้นธาตุ ผู้ที่ได้น้อมน�ำหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง จากโครงการพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางปฏิบัติในการ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยการท�ำเกษตรผสมผสานและ เกษตรอินทรียชีวภาพ จนประสบความส�ำเร็จในระดับพ้ืนฐาน และได้น�ำความรู้ความช�ำนาญเหล่าน้ันมาเปิดเป็นศูนย์การเรียนรู้ ด้านการเกษตรให้แก่คนในชุมชนและท้องถิ่นใกล้เคียงรวมท้ังผู้ที่ สนใจท่วั ไป ๑๒๙ 129

๒) กลมุ่ ผ้าขาวมา้ ทอมือกโ่ี บราณ ชมุ ชนหนองโกวิทย์ ๑๐/๑ หมู่ ๗ ต�ำบลเขาฉกรรจ์ อำ� เภอ เขาฉกรรจ์ จงั หวดั สระแกว้ เป็นกลุ่มที่ร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐน้อมน�ำหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงไปเป็นแนวทางปฏิบัติ จนประสบความส�ำเรจ็ ระดบั กา้ วหน้าแบบเครือขา่ ย ๓) หมบู่ ้าน พรสวรรค์ หมู่ ๘ ต�ำบล เขาฉกรรจ์ อำ� เภอ เขาฉกรรจ์ จงั หวดั สระแกว้ เปน็ หมบู่ า้ นตวั อยา่ งที่ สมาชกิ ของชมุ ชน ประสบความสำ� เรจ็ สามารถมีรายได้พอเพียงในระดับพื้นฐาน โดย น้อมน�ำหลัก ๓ ห่วง ๒ เงื่อนไข มาเป็นแนวทางในการดำ� เนนิ ชีวิต “...เข้าใจ เขา้ ถงึ พฒั นา นัน่ คอื ก่อนจะท�ำอะไร ต้องมี ความเขา้ ใจเสยี กอ่ น เขา้ ใจภมู ปิ ระเทศ เขา้ ใจผคู้ นในหลากหลาย ปญั หา ท้งั ทางดา้ นกายภาพ ดา้ นจารตี ประเพณีและวัฒนธรรม เป็นต้น และระหว่างการด�ำเนินการนั้น จะต้องท�ำให้ผู้ที่เราจะ ไปทำ� งานกับเขาหรือท�ำงานให้เขานั้น “เขา้ ใจ” เราดว้ ย เพราะ ถ้าเราเข้าใจเขาแต่ฝ่ายเดียว โดยที่เขาไม่เข้าใจประโยชน์คงจะ ไมเ่ กิดขน้ึ ตามทีเ่ รามุ่งหวงั ไว้ ...” พระราชด�ำรัส พระราชทานแกค่ ณะผบู้ ริหารเร่งรัดพัฒนาชนบท ระดับผวู้ ่าราชการจงั หวดั ๑๓ มถิ นุ ายน มีนาคม ๒๕๑๒ ๑๓๐

๑. ตวั อย่างแนวคดิ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั พน้ื ฐาน ศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชนตำ� บลเขาสามสบิ เลขท่ี ๔๒๙ หมู่ ๓ ต�ำบลเขาสามสิบ อ�ำเภอเขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว ศนู ย์ฝกึ อาชีพชมุ ชนต�ำบลเขาสามสิบ บ้านคลองสิบสาม เลขท่ี๔๒๙หมู่๓ตำ� บลเขาสามสิบอำ� เภอเขาฉกรรจ์จงั หวดั สระแกว้ เกดิ จากแนวคดิ ของ จ.ส.อ. ไพทลู พ้นธาตุ อดีตขา้ ราชการทหาร ที่ได้น้อมน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจากโครงการพระ ราชด�ำริของ พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการด�ำเนินชีวิต หลังจากที่ได้ เกษยี ณอายุราชการแล้วไดเ้ ลอื กทำ� อาชีพเกษตรกรรม โดยทำ� การ เกษตรแบบผสมผสานและเกษตรอนิ ทรยี ชวี ภาพประกอบกบั ระหวา่ ง รบั ราชการทหาร จา่ ทลู ไดม้ โี อกาสไปชว่ ยงานราชการทหี่ นว่ ยพฒั นา เคลื่อนที่และได้มีโอกาสได้ศึกษาดูงานด้านเกษตรจนมีความรู้ ความช�ำนาญในเร่ืองการเกษตรเป็นอย่างดี ๑๓๑ 131

จดุ เรม่ิ ตน้ ของศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชนตำ� บลเขาสามสบิ สบื เนอ่ื ง จากหลังเกษียณอายรุ าชการ เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๔๕ จา่ ทลู ได้ยา้ ยครอบครวั มาอยู่หมู่บา้ นคลองสบิ สาม หมู่ ๓ ตำ� บลเขาสามสบิ อำ� เภอเขาฉกรรจ์ จงั หวดั สระแกว้ และไดร้ บั การแบง่ ที่ดินจากบดิ าคอื คุณพอ่ พัฒน์ พนั ธาตุ จำ� นวน ๙ ไร่ ๒ งาน จงึ มแี นวคดิ ทจี่ ะนอ้ มนำ� หลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี งจากโครงการพระราชดำ� รขิ องพระบาทสมเดจ็ พระมหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ รมาเป็นแนวทาง ปฏบิ ตั ริ วมทง้ั ไดน้ ำ� ความรคู้ วามชำ� นาญทไี่ ดศ้ กึ ษามาจากหนว่ ยงาน พัฒนาเคลื่อนที่ขณะรับราชการมาพัฒนาพื้นที่ ๙ ไร่ ๒ งาน จนประสบความสำ� เรจ็ จากพน้ื ท่ี ๙ ไร่ ๒ งาน ในวนั นนั้ ปจั จบุ นั มพี น้ื ที่ ทำ� การเกษตรท้ังหมด ๒๘ ไร่ โดยแบ่งพนื้ ท่อี อกเปน็ ๖ ส่วน ไดแ้ ก่ ส่วนท่ี ๑ ขุดบ่อเล้ียงปลาและเป็นแหล่งน�้ำไว้ใช้ท�ำการเกษตร ส่วนที่ ๒ ปลูกหวายตัดหน่อซ่ึงเป็นรายได้หลัก ส่วนที่๓ ปลูกข้าว ไวก้ นิ สว่ นที่ ๔ เลยี้ งสตั ว์ สว่ นที่ ๕ ปลกู พชื ผกั สวนครวั และสว่ นท่ี ๖ ปลูกไมย้ นื ตน้ และไมผ้ ลนานาชนิด ๑๓๒

ศนู ยฝ์ กึ อบรมชมุ ชนตำ� บลเขาสามสบิ เปดิ เปน็ แหลง่ เรยี นรู้ ใหก้ ับคนในชมุ ชน เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๕ โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์เพือ่ เปน็ แหลง่ การเรียนรู้และรวบรวมองค์ความรใู้ นด้านตา่ งๆของท้องถิ่น เป็นแหล่งศึกษาความรู้เก่ียวกับวิถีชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง เปน็ ศูนย์ถ่ายทอดความรู้ทางด้านการเกษตรปลอดสาร และเป็น ศนู ยส์ าธติ ด้านพลงั งานทดแทน ได้แก่ การผลติ เตาแกส๊ พลงั งาน ชวี มวลแกลบ เพ่ือให้ชาวบา้ นไดน้ ำ� ไปใช้ประโยชน์ในการหุงตม้ ใน ครัวเรือนแทนการใช้แก๊สหุงต้มทั่วไปตามท้องตลาด และยังเป็น การน�ำวัสดุเหลือใช้ของภาคการเกษตรอย่าง แกลบ ท่ีหาง่าย ราคาถกู มาใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ ๑๓๓ 133

นอกจากน้ันภายในศูนย์ฝึกอบรมชุมชนต�ำบลเขาสามสิบ ยังได้รับการสนับสนุนและส่งเสริมจากหน่วยงานภาครัฐหลาย หน่วยงาน ให้เป็นศูนยก์ ารเรียนรู้ดา้ นการเกษตร โดยแบ่งกจิ กรรม ออกเป็นฐานการเรียนรู้ต่าง ๆ อาทิ การปลูกผักปลอดสารพิษ แปลงสาธิตปลูกหวาย แปลงสาธิตไผ่หวาน ไผ่เล้ียง ไผ่ตง การ เลี้ยงปลา เลี้ยงกบ การเลี้ยงไก่งวง และการปลูกพืชไม้ผลตา่ ง ๆ เพ่ือให้คนในชุมชนรวมท้ังผู้ท่ีสนใจได้ศึกษาเรียนรู้และน�ำกลับไป ใชใ้ นชีวิตประจำ� วัน นอกจากลดคา่ ใชจ้ า่ ยในครัวเรอื นไดแ้ ล้ว ยัง ขายในส่วนที่เหลือท�ำให้มีรายได้ส�ำหรับเป็นค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เปน็ การสง่ เสรมิ คนในชุมชนให้สามารถพึง่ พาตนเองได้อยา่ งยงั่ ยนื ๑๓๔

“...ความเจริญของคนทัง้ หลาย ย่อมเกิดมาจาก ประพฤติชอบและการหาเล้ียงชพี ชอบ เปน็ สำ� คัญ ผ้ทู จ่ี ะสามารถประพฤติชอบและหาเลี้ยงชพี ชอบไดด้ ว้ ยน้ัน ยอ่ มจะมีทัง้ วชิ าความรู้ ท้งั หลักธรรมทางศาสนา เพราะสงิ่ แรกเปน็ ปจั จัยส�ำหรบั ใชก้ ระท�ำการท�ำงาน ส่ิงหลังเปน็ ปัจจัยส�ำหรบั ส่งเสริมความประพฤติ และการปฏิบัติงานใหช้ อบ คือให้ถกู ตอ้ งและเปน็ ธรรม...” พระราชดำ� รัส พระราชทานแกค่ รูโรงเรยี นราษฎร์สอนศาสนาอิสลาม ๔ จังหวดั ชายแดนภาคใต้ จงั หวดั ปตั ตานี ๒๔ สิงหาคม ๒๕๑๙ ๒.ตวั อยา่ งแนวคิด ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั กา้ วหนา้ แบบกลมุ่ กลมุ่ ผ้าขาวม้าทอมือกโ่ี บราณ ชมุ ชนบา้ น หนองโกวทิ ย๑์ ๐/๑ หมู่ ๗ ตำ� บลเขาฉกรรจ์ อำ� เภอ เขาฉกรรจ์ จังหวดั สระแกว้ ๑๓๕ 135

ชมุ ชนหนองโกวิทย์ เป็นหมูบ่ า้ นท่อี ดุ มไปดว้ ยขมุ ทรัพย์ ทางภมู ปิ ญั ญาเนอื่ งจากชาวบา้ น สว่ นใหญเ่ ปน็ คนใหมท่ ย่ี า้ ยภมู ลิ ำ� เนา มาจากหลายจงั หวดั ทางภาคอสี าน อาทิ จงั หวดั นครราชสมี า จงั หวดั ขอนแกน่ จงั หวดั อดุ รธานี และจงั หวดั เพชรบรู ณ์ การมาอยรู่ วมกนั ได้นำ� ความรแู้ ละภูมิปัญญาด่ังเดิมติดตัวมาด้วย จากแนวคิดของ นางสุวรรณะ ประไพ ผู้ใหญบ่ า้ นซ่ึงเปน็ ผูน้ �ำทีม่ ีวสิ ัยทศั น์และดว้ ย “อุดมการณ์รกั ถ่ินเกิด” ตอ้ งการปลกู ฝังใหค้ นรุ่นใหม่ทเ่ี ดินทางไป ท�ำงานต่างถิ่น เหน็ คุณค่าและสำ� นึกรกั บา้ นเกิด เห็นความสำ� คญั ของภมู ปิ ญั ญาชาวบา้ นและการสบื ทอด มคี วามภาคภมู ใิ จในความเปน็ ชมุ ชนแหง่ การดำ� รงวถิ ชี วี ติ ดว้ ยสงั คมเกษตรกรรมของ “บา้ นหนอง โกวทิ ย”์ ผู้ใหญ่ สวุ รรณะ ประไพ จึงไดน้ อ้ มนำ� หลักปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางในการพัฒนาชุมชนโดยน�ำ ภูมิปญั ญา “ผ้าขาวมา้ ทอมอื กโ่ี บราณ” ซงึ่ เป็นทนุ ทางวฒั นธรรม ของบรรพบุรุษท่ีสมาชิกของชุมชนรุ่นพ่อรุ่นแม่หรือรุ่นปู่ย่าตายาย ไดน้ ำ� ตดิ ตวั มาเปน็ พน้ื ฐานในการเลยี้ งดตู นเอง เพอื่ มงุ่ สกู่ ารดำ� เนนิ ชวี ติ แห่งความพอเพียงและน�ำองค์ความรู้จากภูมิปัญญา ประเพณี พธิ กี รรม และการมสี ว่ นรว่ มสมาชกิ ในชมุ ชนสรา้ งความเปน็ ทอ้ งถน่ิ เขม้ แขง็ จากภมู ปิ ญั ญาทมี่ อี ยใู่ นชมุ ชน ดงั พระราชดำ� รสั ของพระบาท สมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในพิธี พระราชทานปรญิ ญาบตั รของจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๓๐ ความว่า ๑๓๖

“...การจะพัฒนาทุกสิ่งทุกอย่างให้เจริญน้ัน จะต้องสร้างเสริมขึ้นจากพ้ืนฐานเดิมที่มีอยู่ก่อนทั้งสิ้น ถ้าพ้ืนฐานไม่ดีหรือคลอนแคลนบกพร่องแล้ว ที่จะเพิ่มเติมเสริมต่อให้เจริญขึ้นไปน้ันยากนักท่ีจะท�ำได้ จึงควรจะเข้าใจให้แจ้งชัดว่า นอกจากจะมุ่งสร้าง ความเจริญแล้ว ยังต้องพยายามรักษาพ้ืนฐานให้ม่ันคง ไม่บกพร่อง พร้อม ๆ กันไปด้วย ...” ความเปน็ มาของกลมุ่ ผา้ ขาวมา้ ทอมอื กโี่ บราณ ชมุ ชนบา้ น หนองโกวทิ ย์ เกดิ จากวฒั นธรรมการทอ่ ผา้ ขาวมา้ ใชเ้ องในครวั เรอื น และด้วยเทคนิคการทอมือกี่โบราณท�ำให้ผ้าขาวม้ามีความโดดเด่น และมเี อกลกั ษณแ์ ตกตา่ งจากทอ้ งถนิ่ อนื่ คณุ ลกั ษณะผา้ ขา้ วมา้ ทอมอื ของชุมชนหนองโกวิทย์ก็คือเทคนิคการทอด้วยกี่กระตุกท�ำให้ผ้า ขาวมา้ มีเนอ้ื หนาแนน่ มากย่ิงขน้ึ ๑๓๗ 137

เม่อื ใชแ้ ลว้ น�ำไปซักสไี ม่ตก เนื้อผ้าหนาจากการทอใชเ้ องในครวั เรอื นเมอื่ มผี สู้ นใจและจำ� หนา่ ยใหก้ บั คนในชมุ ชนใกลเ้ คยี งกท็ ำ� ให้ มียอดส่ังซื้อเข้ามา จึงได้พัฒนาจัดตั้งกลุ่มทอผ้าขึ้นโดยมุ่งเน้น ผลติ เพอ่ื การจำ� หนา่ ย ทำ� ใหผ้ า้ ทอหนองโกวทิ ยเ์ ขา้ สกู่ ระบวนการ พ่ึงพาตนเองอย่างยั่งยืน จากความเข้มแข็งและความสามัคคีของคนในชุมชนรวม ถึงการมีวิสัยทัศน์ของผู้ใหญ่ สุวรรณะ ประไพ ผู้น�ำชุมชนบ้าน หนองโกวทิ ย์ นอกจากกลมุ่ ทอผา้ ขาวมา้ แลว้ ยงั ดำ� เนนิ การขบั เคลอื่ น จัดต้ังกลุ่มต่าง ๆท่ีมีลักษณะเป็นธรรมชาติสอดคล้องกับวิถีชีวิต ชุมชน อย่างเช่น กลุ่มทอผ้าฝ้ายบ้านหนองโกวิทย์ กลุ่มปลูกผัก ปลอดสาร กลุ่มผ้เู ลี้ยงไส้เดอื น รวมทัง้ ส่งเสริมความสามารถของ บุคคลในชุมชนที่มีความรู้ความสามารถในการสร้างงานหัตถศิลป์ เช่น ผลิตภัณฑ์การสานแห ผลิตภัณฑ์สานสุ่ม ผลิตภัณฑ์สานไซ เพอื่ เปดิ โอกาสใหส้ มาชกิ ของกลมุ่ มสี ่วนร่วมในหลายลกั ษณะ การ ทำ� งานรว่ มกนั ของคนในชมุ ชนเนน้ การเคารพใหเ้ กยี รตริ ะหวา่ งกนั มกี ารจดั สรรผลประโยชนต์ ามบทบาทและสถานภาพของสมาชกิ กลมุ่ ๑๓๘

นอกจากนช้ี มุ ชนบา้ นหนองโกวทิ ย์ ยงั ไดพ้ ฒั นากลมุ่ อาชพี โดยมกี ารแลกเปลยี่ นเรยี นรกู้ บั ชมุ ชนและกลมุ่ อาชพี ตา่ ง ๆ เพอ่ื เปน็ การสรา้ งเครอื ขา่ ยระหวา่ งกนั ทงั้ แบบเปน็ ทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ มีการประสานงานระหว่างกัน รวมทั้งมีการอนุรักษ์ภูมิปัญญา เพอื่ รกั ษาซง่ึ ความรผู้ า่ นศนู ยเ์ รยี นรู้ หรอื “หอ้ งเรยี นชมุ ชนตน้ แบบ” โดยใชช้ ุมชนเปน็ วิทยากร ถ่ายทอดเรอื่ งราวตา่ ง ๆ ดังนี้ ๑.ถา่ ยทอดภาษาถ่ิน บทเพลง เรือ่ งเล่า และบรู ณาการ พิธีกรรมกับพระพุทธศาสนา เช่น ประเพณีบายศรีสู่ขวัญข้าว ๒. การถา่ ยทอดกรรมวิธีทอผา้ ขาวมา้ ๓. ถ่ายทอดอาหารพ้นื เมือง อาหารพื้นบา้ น และขนม ๔.การถ่ายทอดการจกั สาน เครือ่ งมือ เครอ่ื งใช้ในอดตี ๕.ถา่ ยทอดการท�ำนา การปลกู พืชแนวใหม่ ๖. การถ่ายทอดหมอยาพื้นบ้าน ๑๓๙ 139

ผลส�ำเรจ็ จากการประยุกตใ์ ช้ปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งของชุมชนบา้ นหนองโกวทิ ย์ กลมุ่ ผา้ ขาวมา้ ทอมอื กโี่ บราณ ชมุ ชนบา้ นหนองโกวทิ ย์ คอื ภมู ปิ ญั ญาทถี่ อื เปน็ ตน้ ทนุ ทางวฒั นธรรมของบรรพบรุ ษุ ในความเปน็ อตั ลกั ษณข์ องผา้ ทอมอื โบราณทช่ี มุ ชนบา้ นหนองโกวทิ ยไ์ ดอ้ นรุ กั ษ์ และสบื ทอดภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ เพอ่ื ความยงั่ ยนื ผา่ นหอ้ งเรยี นชมุ ชน ต้นแบบ ซึ่งด�ำเนินการโดยวิทยาลัยโพธิวิชชาลัย มหาวิทยาลัย ศรีนครรินทรวิโรฒ จงั หวดั สระแก้ว ผลส�ำเรจ็ จากการประยกุ ต์ใช้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของกลุ่มผ้าขาวม้าทอมือกี่โบราณ และกลมุ่ พฒั นาอาชีพต่าง ๆ ของชมุ ชนบ้านหนองโกวิทยโ์ ดยการ บริหารงานของ ผใู้ หญ่ สุวรรณะ ประไพ และการมีส่วนร่วมของ คนในชุมชนส่งผลให้ชุมชนบ้านหนองโกวิทย์ ต�ำบลเขาฉกรรจ์ อ�ำเภอ เขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว ได้รับคัดเลือกเป็นหมู่บ้าน เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนต้นแบบ ปี ๒๕๕๘ และยังได้รับรางวัล ต่าง ๆ มากมายจากการมสี ว่ นรว่ มกบั หนว่ ยงานต่าง ๆทง้ั ในระดบั ท้องถ่นิ และระดับจังหวัด ๑๔๐

๓.ตัวอยา่ งแนวคิด ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับก้าวหน้าแบบเครือขา่ ย หม่บู า้ นทอ่ งเทีย่ ววถิ ชี ุมชน บ้านพรสวรรค์ หมู่ ๘ ต�ำบลเขาฉกรรจ์ อ�ำเภอเขาฉกรรจ์ จงั หวัดสระแกว้ ๑๔๑ 141

ชุมชนบา้ นพรสวรรค์ เปน็ หมบู่ า้ นเล็ก ๆ ตง้ั อยู่ในต�ำบล เขาฉกรรจ์ อำ� เภอเขาฉกรรจ์ จงั หวัด สระแก้ว เป็นหมบู่ า้ นใหมท่ ค่ี น ในชุมชนส่วนใหญ่ย้ายถ่ินฐานมาจากหลายจังหวัดทางภาคอีสาน สมาชกิ ของชมุ ชนสว่ นใหญ่ มวี ถิ ชี วี ติ แบบคนอสี าน ประกอบอาชพี เกษตรกรรม มกี ารทอผ้า และทำ� เครื่องจักรสานไว้ใชใ้ นครวั เรือน ซง่ึ ส่ิงเหล่านเ้ี ป็นภูมิปญั ญาท้องถิ่นทสี่ บื ทอดกนั ยาวนาน ชาวบ้าน ใชช้ ีวิตเรยี บงา่ ยและ ยึดทางสายกลาง แบบพออยูพ่ อกิน มคี วาม พอประมาณ บนพ้นื ฐานของหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จึงท�ำใหช้ ุมชนบ้านพรสวรรคแ์ ห่งนเ้ี ปน็ “ชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจ พอเพยี ง” และเปน็ หมบู่ า้ นทอ่ งเทยี่ ววถิ ชี มุ ชน แหง่ หนง่ึ ของจงั หวดั สระแกว้ ๑๔๒

จากวิถกี ารใชช้ ีวติ แบบเรยี บงา่ ย โดยตัง้ อยบู่ นพนื้ ฐานทาง สายกลางที่น้อมน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ ใชข้ องคนในชมุ ชน ทำ� ใหบ้ า้ นพรสวรรคก์ ลายเปน็ หมบู่ า้ นทอ่ งเทย่ี ว วถิ ชี มุ ชนทไ่ี ดร้ บั ความสนใจจากชมุ ชน หนว่ ยงาน และองคก์ รตา่ ง ๆ ทั้งภายในจงั หวัดสระแกว้ และอ่ืน ๆ เดนิ ทางมาแลกเปลย่ี นเรียนรู้ ถือเป็นการสร้างเครือข่าย ในการน้อมน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพยี งไปเปน็ แนวทางปฏบิ ัติและทำ� ให้หมบู่ า้ นพรสวรรค์ ซ่งึ เปน็ หมู่บา้ นเลก็ ๆ ประสบความส�ำเร็จเป็น “ชุมชนตน้ แบบเศรษฐกจิ พอเพยี ง” โดยภายในหมบู่ า้ นจะแบง่ เปน็ ฐานการเรยี นรใู้ นดา้ นตา่ ง ๆ อยา่ งเปน็ ขน้ั ตอนเพอื่ ใหผ้ ทู้ เ่ี ดนิ ทางมาเยยี่ มชมไดน้ ำ� ไปปรบั ประยกุ ต์ ใชแ้ ละสามารถพงึ พาตนเองไดใ้ นระดบั ตา่ ง ๆบนพน้ื ฐานของปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ๑๔๓ 143

ฐานการเรยี นรู้วถิ ีชุมชนต้นแบบ เศรษฐกจิ พอเพียง ๑. กล่มุ เกษตรอินทรียว์ ิถพี อเพยี ง เป็นกลุ่มทน่ี �ำแนวคิด เกษตรทฤษฎใี หม่มาใช้ในการด�ำรงชีวิต ซ่งึ อยูบ่ นพนื้ ฐานของหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อาทิ กลุ่มปลูกพืชผัก ปลูกสมุนไพร กล่มุ เล้ียงสตั ว์ และกลมุ่ แปรรูปผลติ ภณั ฑ์ ๒. ศนู ยก์ ารเรียนรู้การทอผา้ เปน็ กลุม่ ที่มชี ื่อเสียงเปน็ ที่ ยอมรบั เนอื่ งจาก ผา้ ขาวมา้ ของชมุ ชนบา้ นพรสวรรค์ เปน็ ผลติ ภณั ฑ์ คณุ ภาพผ้าเน้ือหนาทอแน่นซกั นำ�้ สีไมต่ กเป็นสนิ ค้าโอทอประดบั ๔ ดาว และได้รับคัดสรรเป็นสินค้ามาตรฐานผลติ ภัณฑช์ มุ ชน (มผช.) จากอตุ สาหกรรมจงั หวดั สระแก้ว ๓. ศนู ย์เรยี นรู้ “บา้ นจักรสาน” อาทิ การสานจากไมไ้ ผ่ และต้นกก ซง่ึ ผลติ ภณั ฑ์จักรสานของชมุ ชนบ้านพรสวรรค์ ได้แก่ กระต๊ิบขา้ วเหนียวหลากหลายขนาด กระด้ง ตะกรา้ เส่อื และ จ่อ ส�ำหรับใส่หนอนไหม ๔.การเรียนรู้เก่ียวกับอาหารพ้ืนบ้าน เป็นการสาธิตการ ท�ำอาหารพน้ื บ้าน อาหารท้องถิ่น อาทิ นำ้� พริกปลารา้ น�้ำพรกิ นรก น�้ำพริกแมงดา น้�ำพริกกะปิผัด และสาธิตการท�ำหมูหวาน หมู สวรรค์ ฐานการเรียนรู้เกี่ยวกับอาหารพื้นบ้าน นอกจากดูการ สาธิตแล้ว ยังสามารถซื้อกลับไปทานหรือซ้ือไปเป็นของฝากได้ เนอ่ื งจากเปน็ ของดปี ระจ�ำต�ำบลเขาฉกรรจ์ จงั หวดั สระแกว้ ๑๔๔

๕. บรกิ ารโฮมสเตย์ พรอ้ มอาหารเช้าและอาหารประจำ� ถ่ิน ตามฤดูกาล ซึ่งวัตถุดบิ สามารถหาไดห้ รือปลกู ไว้ในท้องถน่ิ เชน่ แกงหน่อไม้ หมกหนอ่ ไม้ ๖. ร่วมประเพณบี ายศรีสขู่ วญั และการแสดงพืน้ บ้าน การบายศรีสู่ขวัญเป็นประเพณีส�ำคัญอย่างหน่ึงของชุมชนบ้าน พรสวรรค์ พธิ สี ขู่ วญั นเี้ ปน็ ไดท้ งั้ การแสดงความชน่ื ชมยนิ ดที ไ่ี ดจ้ ดั ไว้ ต้อนรับนักท่องเท่ียวและคณะท่ีมาศึกษาดูงาน การน้อมน�ำหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ของคนในชุมชนบ้าน พรสวรรค์ หมบู่ า้ นเลก็ ๆทส่ี ะทอ้ นความเปน็ นำ้� หนง่ึ ใจเดยี วมคี วาม เออ้ื เฟอ้ื เกอ้ื กลู ใหเ้ กยี รตแิ ละใหค้ วามสำ� คญั กบั สมาชกิ ทกุ คนไมเ่ ฉพาะ ผทู้ มี่ บี ทบาทหนา้ ทเี่ ทา่ นน้ั เหน็ ไดจ้ ากการทผี่ เู้ รยี บเรยี งไดส้ มั ภาษณ์ และสอบถามผู้น�ำชุมชนถึงความเป็นมาและแนวคิดท่ีท�ำให้บ้าน พรสวรรค์ ประสบความสำ� เรจ็ เปน็ หมบู่ า้ นทอ่ งเทยี่ วเรยี นรวู้ ถิ ชี มุ ชน ได้รับค�ำตอบจากผู้น�ำหรือผู้ท่ีมีบทบาทส�ำคัญเสมอว่า ทุกคนมี ส่วนร่วมในการเป็น “ชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง” และนั้น คอื สงิ่ ทที่ ำ� ใหบ้ า้ นพรสวรรคเ์ ปน็ หมบู่ า้ นทอ่ งเทยี่ ววถิ ชี มุ ชนทโ่ี ดดเดน่ ระดบั ก้าวหนา้ แบบเครือขา่ ย จากการท่ีผู้เรียบเรียงได้ไปเก็บข้อมูลและศึกษาดูงาน ตวั อยา่ งการนอ้ มนำ� หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ ของศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชนตำ� บลเขาสามสบิ อำ� เภอเขาสามสบิ จงั หวดั สระแก้ว กลุ่มผ้าทอมือก่ีโบราณ ชุมชนบ้านหนองโกวิทย์ ต�ำบล เขาฉกรรจ์ อำ� เภอเขาฉกรรจ์ จงั หวดั สระแกว้ และหมบู่ า้ นทอ่ งเทย่ี ว วถิ ีชมุ ชนบา้ นพรสวรรค์ ต�ำบลเขาฉกรรจ์ อำ� เภอเขาฉกรรจ์ ๑๔๕ 145

จังหวัดสระแก้ว สรุปได้ว่าความส�ำเร็จในการประยุกต์ใช้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของทั้ง 3 แหล่งเรียนรู้ นอกจาก เร่ืองของการพ่ึงตนเองและเร่ืองของความประหยัดแล้ว การช่วย เหลือเก้ือกูลซ่ึงกันและกันถือเป็นปัจจัยส�ำคัญ เพราะแท้จริงแล้ว เศรษฐกจิ พอเพยี งสามารถจำ� แนกไดเ้ ป็น 3 ระดบั ได้แก่ ๑. เศรษฐกิจพอเพียงระดับพืน้ ฐาน ที่เนน้ ความพอเพียง ในระดบั บคุ คลและครอบครัว เห็นได้จากความส�ำเรจ็ ของศูนย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชนต�ำบลเขาสามสิบ อ�ำเภอเขาสามสิบ จงั หวดั สระแกว้ ทไี่ ดน้ ำ� หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้ในระดบั บุคคลและ ครอบครวั โดย สบิ เอกไพทลู พน้ ธาตุ ไดท้ ำ� เกษตรผสมผสานและ เกษตรอินทรีชีวภาพจนประสบความส�ำเร็จในระดับครอบครัว และสามารถชว่ ยเหลอื เกอ้ื กูลซ่ึงกนั และกันโดยน�ำความรเู้ หลา่ นนั้ มาเปิดศูนย์เรียนรู้ด้านการเกษตรให้แก่คนในชุมชนและท้องถ่ิน ใกล้เคยี งรวมทงั้ ผู้ท่สี นใจทว่ั ไป ๒. เศรษฐกจิ พอเพยี งระดับกา้ วหนา้ แบบกลุม่ ที่เนน้ ความ พอเพยี งในระดบั กลมุ่ หรือองค์กร คอื เมื่อมคี วามพอเพียงในระดับ บุคคลและครอบครัวแล้วก็จะรวมพลังกันในรูปกลุ่ม เพื่อร่วมกัน ดำ� เนนิ งานในด้านตา่ ง ๆ ท้ังดา้ นการผลติ การตลาด ความเป็นอยู่ สวัสดิการ การศึกษา สังคมและศาสนา โดยได้รับความร่วมมือ จากหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ทั้งหน่วยราชการ มูลนิธิ และเอกชน เหน็ ไดจ้ ากความสำ� เรจ็ กลมุ่ ผา้ ทอมอื กโ่ี บราณ ชมุ ชนบา้ นหนองโกวทิ ย์ ตำ� บลเขาฉกรรจ์ อำ� เภอเขาฉกรรจ์ จงั หวดั สระแกว้ ทผี่ ใู้ หญ่ สวุ รรณะ ประไพ ได้น้อมน�ำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๑๔๖

มาเป็นแนวทางพัฒนาชมุ ชน โดยนำ� ภมู ิปญั ญาผ้าทอมือกี่โบราณ ซึ่งเป็นทุนทางวัฒนธรรมของชุมชนมาสร้างความเข้มแข็งให้กับ ท้องถน่ิ จากการมสี ว่ นรว่ มของกลุม่ สมาชกิ ๓. เศรษฐกจิ พอเพยี งระดบั กา้ วหนา้ แบบเครอื ขา่ ย เนน้ ความ พอเพยี งในระดบั เครอื ขา่ ย คอื เมอ่ื กลมุ่ หรอื องคก์ รมคี วามพอเพยี ง ในระดับท่ีตอ้ งการแลว้ ก็จะร่วมมือกับหนว่ ยงานภายนอกเปน็ การ สรา้ งเครอื ขา่ ยเพอื่ การขยายกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ซึ่งเป็นแนวคิด ท่ีชมุ ชนบ้านพรสวรรค์ ตำ� บลเขาฉกรรจ์ อำ� เภอเขาฉกรรจ์ จังหวัด สระแกว้ นำ� แนวคดิ ไปสูก่ ารปฏิบัตจิ นสามารถประสบความสำ� เรจ็ เป็น “ชมุ ชนตน้ แบบเศรษฐกจิ พอเพยี ง” และหมบู่ า้ นทอ่ งเทย่ี ววิถี ชุมชนแหง่ หนงึ่ ของจงั หวดั สระแกว้ “...สังคมใดก็ตาม ถ้ามีความเอ้ือเฟื้อเก้ือกูลกัน ด้วยความมุ่งดีมุงเจริญต่อกัน สังคมนั้นย่อม เต็มไปด้วย ไมตรีจิตมิตรภาพ มีความร่มเย็นเป็นสุข น่าอยู่...” พระราชด�ำรสั พระราชทานเพือ่ อญั เชญิ ลงพิมพ์ ในนิตยสารท่รี ะลกึ ครบ ๓๗ ปี ของสโมสรไลออนสแ์ ห่งกรงุ เทพฯ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ๓๑ มนี าคม ๒๕๓๘ ๑๔๗ 147

บทสรุป “ เราจะท้ิงประชาชนได้อย่างไร ในเม่อื ประชาชนยังไม่ทงิ้ เรา” จากขอ้ ความในพระราชนพิ นธ์ “เมอื่ ขา้ พเจา้ จากสยาม มาสู่สวิตเซอร์แลนด์” ของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพล อดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร เปน็ พระราชนพิ นธใ์ นรปู แบบ บนั ทกึ ประจ�ำวนั ตัง้ แตเ่ สดจ็ จากประเทศไทย เพ่ือไปทรงศึกษา ตอ่ ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ทีท่ รงพรรณนาความรู้สึกของ พระองค์ยามจากเมืองไทยด้วยความรักและห่วงใยพสกนิกร และตลอด ระยะเวลากวา่ ๗๐ ปี ตง้ั แตข่ น้ึ ครองราชยม์ โี ครงการ อันเน่ืองมาจากพระราชด�ำรเิ กดิ ข้ึนมากมายหลายพันโครงการ แสดงถึงพระอัจฉริยภาพของพระองค์ในทุก ๆ ด้าน ที่ได้ พระราชดำ� รกิ อ่ ต้งั เอาไว้ เพอ่ื แก้ปญั หาและเพื่อการกินดีอยูด่ ี ของประชาชนคนไทย ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน็ โครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดำ� ริเก่ียวกับทรัพยากรธรรมชาติ การ จัดการน�้ำ การฟื้นฟูสภาพป่า การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และ การสรา้ งอาชีพ และนบั ตัง้ แต่ไดร้ ับการสถาปนาเปน็ พระมหา กษตั รยิ ไ์ ทย พระองคท์ ่ี ๙ ในปี พ.ศ. ๒๔๘๙ จากวนั นน้ั ถงึ วนั น้ี วนั ทพ่ี ระองคเ์ สดจ็ สสู่ วรรคาลยั กระแสพระราช ดำ� รสั พระบรม ราโชวาทและคำ� สอนของพระองค์ เปรยี บดงั คำ� พอ่ สอนทค่ี นไทย ทุกคนได้บันทึกไว้ในความทรงจ�ำและยังก้าวตามร้อยเท้าพ่อ ด้วยการนอ้ มน�ำแนวคิดปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มาเป็น แนวทางปฏบิ ตั ิเพื่อความสขุ และความส�ำเร็จของชีวติ ๑๔๘

ทั้งในระดับพื้นฐาน ระดับก้าวหน้าแบบกลุ่ม และระดับ ก้าวหนา้ แบบเครือข่าย ดงั ตัวอย่างความสำ� เรจ็ ของศูนยฝ์ ึก อาชีพชุมชนต�ำบลเขาสามสบิ ที่ประสบความสำ� เร็จในระดับ พนื้ ฐาน กลมุ่ ผา้ ขาวมา้ ทอมอื กโ่ี บราณ ชมุ ชนบา้ นหนองโกวทิ ย์ ทป่ี ระสบความสำ� เรจ็ ในระดบั กา้ วหนา้ แบบกลมุ่ และหมบู่ า้ น ทอ่ งเทยี่ ววิถชี มุ ชนบา้ นพรสวรรค์ ซึง่ ประสบความสำ� เรจ็ ใน ระดับก้าวหน้าแบบเครอื ข่าย ๑๔๙ 149


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook