Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศาสตร์พระราชา

ศาสตร์พระราชา

Published by chadatan673, 2022-05-30 08:38:15

Description: ศาสตร์พระราชา

Search

Read the Text Version

๕บทที่ บทสรุป/บทวิเคราะห์

๕.๑ ความนำ� พระบาทสมเด็จพระมหาภมู ิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรม นาถบพิตร แหง่ ราชจักรีวงศ์ พระองค์ทรงเปน็ แบบอย่างในเรื่อง การทรงงานเพอ่ื พสกนกิ รชาวไทยอยา่ งไมท่ รงเหนด็ เหนอื่ ย ทรงเปน็ พระมหากษัตริย์พระองค์เดียวในโลกนี้ก็ว่าได้ท่ีทรงงานหนักเพ่ือ พสกนกิ รของพระองคด์ ว้ ยพระอจั ฉรยิ ภาพอนั มากลน้ เหลอื คณานบั ทที่ รงศกึ ษาคน้ ควา้ เพอื่ บำ� บดั ทกุ ขบ์ ำ� รงุ สขุ ดแู ลราษฎรของพระองค์ ให้สามารถด�ำเนินชีวิตอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความ ไม่ประมาท ค�ำนงึ ถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล การสร้าง ภูมิคุ้มกนั ในตวั เอง ตลอดจนใชค้ วามรู้และคณุ ธรรม เป็นพื้นฐาน ในการด�ำรงชีวิตได้อย่างพอเพียงหรือพอมีพอกิน เน้นการพึ่งพา ตนเองโดยยดึ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งทต่ี งั้ อยบู่ นรากฐาน ของวฒั นธรรมไทยเป็นแนวทางสร้างสมดุล ดังพระบรมราโชวาท ในพธิ พี ระราชทานปรญิ ญาบตั รของมหาวทิ ยาลยั มหดิ ล เมื่อวันท่ี ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๐ ความตอนหนึ่งวา่ “...สรรพส่ิงทั้งหลายดำ� รงอยู่พรอ้ มกับเจรญิ ยัง่ ยนื ไปได้ เพราะมคี วามสมดลุ ในตัวเอง อยา่ งชวี ติ มนุษยเ์ รานีด้ �ำรงอยไู่ ด้ เพราะมอี อกซเิ จน ไฮโดรเจน และคารบ์ อน อนั เปน็ สว่ นประกอบ สำ� คญั ของชวี ติ ไดส้ ดั สว่ นกนั เมอื่ ใด สว่ นประกอบอนั เปน็ แกน่ แกน ของชีวติ สว่ นใดส่วนหน่งึ บกพร่องขาดหายไปไมอ่ าจแกไ้ ขใหค้ ง คนื สมดุลไดเ้ มอื่ นั้น ชีวติ กเ็ สอ่ื มโทรมแตกดับ...” ๑๕๑ 151

๕.๒ เศรษฐกิจพอเพยี งพ้ืนฐานความสุขสว่ นบคุ คล ชีวิตมนุษย์กับการด�ำเนินชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข โดยธรรมชาตขิ องสงิ่ มชี วี ติ เมอื่ ตอ้ งการความอยรู่ อดกจ็ ะตอ้ งปรบั ตวั ใหเ้ หมาะสมกับธรรมชาตทิ เี่ ปลี่ยนแปลงไปของสังคมโลก ซึ่งความ ตอ้ งการของมนุษยจ์ ำ� แนกออกได้เป็น ๖ ประการ ไดแ้ ก่ ๑. ความตอ้ งการในการหาเลย้ี งชพี ของตนเองและครอบครวั ความตอ้ งการของมนษุ ยเ์ พอ่ื การดำ� รงชวี ติ กค็ อื ปจั จยั พน้ื ฐาน ไดแ้ ก่เครอื่ งนงุ่ หม่ ทอี่ ยอู่ าศยั ยารกั ษาโรคและตอ้ งการมที รพั ยส์ มบตั ิ มีอาชีพท่ีท�ำให้เกิดรายได้เพ่ือการด�ำรงอยู่ ดังนั้นมนุษย์จึงต้อง แสวงหาจากธรรมชาติโดยการปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ เม่ือผลผลิต มีมากขึ้นก็น�ำออกไปแลกเปลี่ยนจนพัฒนากลายเป็นการซ้ือขาย ระหว่างบุคคล ระหว่างหมู่บ้าน ระหว่างเมือง ระหว่างประเทศ และระหวา่ งประชาคมโลก ดังน้ัน การมีเศรษฐกิจที่ม่ันคงตั้งแต่ระดับครอบครัวคือ พื้นฐานส�ำคัญประการหน่ึงของความสุขส่วนบุคคลและต้องเป็น เศรษฐกิจท่ีไม่ท�ำลายพื้นฐานทางสังคม ไม่ท�ำลายวัฒนธรรม ที่ดีงามของสังคมมีความเอ้ือเฟื้อเผ่ือแผ่ปราศจากการเอารัดเอา เปรียบกันในสังคม ไมท่ ำ� ลายความสมดลุ ของสง่ิ แวดล้อม จะเหน็ ไดว้ า่ “ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” หรอื ทฤษฎี ๓ หว่ ง ๒ เงอ่ื นไข มีลักษณะเป็นภูมิปัญญาสากลไม่ล้าสมัยเป็นแนวทางท่ีเปิดกว้าง ให้เกิดการพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื ๑๕๒

เน่อื งจาก ๓ หว่ ง คอื ทางสายกลางที่ประกอบด้วยความ พอประมาณ ความมีเหตุผล และการมีภูมิคุ้มกันที่ดี เพราะเม่ือ บุคคลมีความพอประมาณในทุกสิ่งก็ไม่ท�ำให้เกิดการเบียดเบียน ทั้งต่อตนเองและผู้อื่น รวมทั้งการตัดสินใจเก่ียวกับระดับของ ความพอเพียงน้ันจะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผลและค�ำนึงถึงผลที่ คาดว่าจะเกิดข้ึนจากการกระท�ำนั้น ๆ อย่างรอบคอบ เพ่ือเป็น การสรา้ งภมู คิ มุ้ กนั ทด่ี ใี นตวั เอง ภายใตเ้ งอื่ นไขความรู้ และเงอื่ นไข คุณธรรม คือความรอบคอบที่จะน�ำความรู้เหล่าน้ันมาพิจารณา ให้เช่ือมโยงกันเพื่อประกอบการวางแผนในการหาเล้ียงชีพของ ตนเองและครอบครวั ใชส้ ตปิ ญั ญาในการดำ� เนนิ ชวี ติ มคี วามซอ่ื สตั ย์ สุจรติ มีความอดทนและตระหนักในคณุ ธรรม การปฏิบตั ติ ามหลัก ของเศรษฐกิจพอเพียงจึงสามารถสนองความต้องการพื้นฐาน โดยเนน้ ความพอเพยี ง ในระดบั บคุ คลและครอบครวั ความพอเพยี ง ในระดบั กลมุ่ หรอื องคก์ ร และเนน้ ความพอเพยี งในระดบั เครอื ขา่ ย การน้อมน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปเป็นแนวทาง ปฏบิ ตั แิ ละสามารถประสบความส�ำเร็จท้ังในระดับบุคคล องค์กร และระดบั เครือข่ายมีให้เห็นมากมาย ดังท่ีผู้เรียบเรียงได้น�ำเสนอ ตัวอย่างผู้ท่ีประสบความส�ำเร็จทั้ง ๓ ระดับไว้ในบทที่ผ่านมา ๒. ความตอ้ งการระบบการปกครอง เม่ือมนุษย์อยู่รวมกันเป็นสังคมและมีหลักแหล่งแน่นอน เพอื่ การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข จึงต้องจัดระบบการปกครองขน้ึ เพ่ือสวัสดิภาพของพลเมืองโดยอาศัยความร่วมมือร่วมใจเปิด โอกาสใหม้ ีการแสดงออกและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น มีการวาง กฎระเบียบเปน็ บรรทัดฐานทางสงั คมให้ถอื ปฏิบตั ิรว่ มกัน ซึ่งกา1ร53 ๑๕๓

ท่ีมนุษย์จะด�ำเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขจ�ำเป็นต้อง มีหลักการให้ยึดถือและปฏิบัติแต่เนื่องจากมนุษย์ทุกคนมีความ แตกต่างกันท้ังในด้านความคิดและมีปรัชญาในการด�ำเนินชีวิตท่ี ตา่ งกัน เมื่อปรัชญาคือรากฐานของความคิดและพฤติกรรมการ นอ้ มน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ มาปฏิบัติใช้จึงเป็นเครื่องมือส�ำคัญใน การวางแผนและการบรหิ ารจดั การในดา้ นตา่ ง ๆ เพราะหลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียงมุ่งเน้นการปฏิบัติที่ไม่ประมาทนั่นคือ เน้น ใหก้ ารดำ� เนนิ ชวี ติ บน “ทางสายกลาง” กค็ อื ความพอเหมาะพอดี ไม่น้อยเกนิ ไปไมม่ ากเกนิ ไป หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจึงให้ความส�ำคัญกับ การสร้างรากฐานทางเศรษฐกิจและสังคมให้เข้มแข็งรักษาความ สมดุลของทุนและทรัพยากรในมิติต่าง ๆ เน้นการพัฒนาอย่าง ค่อยเป็นค่อยไปเป็นขั้นเป็นตอนยึดปฏิบัติตามกรอบ ๓ ห่วง ๒ เงื่อนไข ที่ประกอบด้วย ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และ การมภี มู กิ นั ทด่ี ี สว่ น ๒ เงอื่ นไขไดแ้ ก่ ความรแู้ ละคณุ ธรรม เพอื่ ให้ การใช้ชีวิตและการอยู่ร่วมกันของคนในสังคมมีความแข็งแรงให้ เรารู้เท่าทันทุกความเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นและมีความพร้อมที่จะ ออกไปแข่งขันถือเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันท่ีดีช่วยให้คนในสังคม สามารถเตรียมตัวพร้อมรับกับผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงใน ด้านต่าง ๆทอ่ี าจเกิดข้ึนได้ตลอดเวลา ๑๕๔

๓. ความตอ้ งการจัดระบบระเบียบสังคม การอยู่ร่วมกันเป็นสังคมของมนุษย์และเพื่อให้เกิดความ สงบสขุ ทงั้ ในระดับบุคคล ครอบครัวและสังคมส่วนรวม จึงตอ้ งมี การจัดระบบระเบียบสังคมซึ่งเป็นกระบวนการทางสังคมท่ีคอย ควบคมุ ความประพฤตขิ องบคุ คลในสงั คมใหอ้ ยใู่ นระเบยี บกฎเกณฑ์ ท่ีสังคมก�ำหนดไว้ เริ่มต้นจากการสร้างกฎเกณฑ์ข้อบังคับต่าง ๆ การจัดระเบียบทางสังคมเป็นกระบวนการที่มีขอบเขตกว้างขวาง ส�ำหรับใช้เป็นบรรทัดฐานของสังคมซ่ึงจ�ำเป็นต้องสนับสนุนให้ สมาชิกของสังคม ปฏิบัติตามบรรทัดฐานเพ่ือก่อให้เกดิ ประโยชน์ อาทิ ท�ำให้การติดต่อสัมพันธ์กันทางสังคมเป็นไปอย่างเรียบร้อย ปราศจากความขดั แย้งระหวา่ งสมาชกิ ในสังคม และชว่ ยให้สงั คม ดำ� รงอยูอ่ ยา่ งสงบสุขและมั่นคง หลักของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการด�ำรง อยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ท้ังในการพัฒนาและบริหารประเทศ ใหด้ ำ� เนนิ ไปในทางสายกลางเมอื่ สมาชกิ ในสงั คมนอ้ มนำ� หลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางปฏิบัติสังคมนั้นๆก็จะมวี ถิ ี ชีวิตแบบเรียบง่ายมีเศรษฐกิจแบบพ้ืนฐานสามารถพ่ึงพาตนเอง ได้และมคี วามพอเพียงตอ่ อตั ภาพ ส่งผลให้สังคมมรี ะบบระเบียบ อยรู่ ว่ มกนั ไดอ้ ยา่ งสงบสขุ นอกจากนน้ั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ยังเป็นแนวคิดที่มีความทันสมัยและเป็นภูมิปัญญาสากลท่ี ได้รับการเชิดชูจากองค์การสหประชาชาติว่าเป็นปรัชญาที่มี ประโยชน์ตอ่ ประเทศไทยและนานาประเทศ อีกทั้งยังสนับสนุน ให้ประเทศสมาชกิ ยึดเปน็ แนวทางสู่การพัฒนาแบบยง่ั ยนื ๑๕๕ 155

๔. ความตอ้ งการในการแสวงหาความรู้และการศึกษา ในอดีตมนุษย์ต้องต่อสู้กับธรรมชาติเพื่อความอยู่รอด เมื่อสามารถเอาชนะภัยธรรมชาติ เอาชนะความอดอยากและ เอาชนะโรคภัยไข้เจ็บ โดยอาศัยประสบการณ์จากการต่อสู้และ เอาชนะภัยธรรมชาติจนสามารถอยู่กับธรรมชาติและดึงประโยชน์ จากธรรมชาตมิ าพฒั นาเพื่ออ�ำนวยความสะดวกและทำ� ใหม้ วี ถิ ชี วี ติ ดีขึ้น จากความต้องการแสวงหาความรู้และการศึกษาของมนษุ ย์ สอดคลอ้ งกบั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เมอ่ื มผี นู้ ำ� ไปปรบั ประยกุ ต์ ใชท้ ง้ั ในระดบั บคุ คลหรอื ครวั เรอื น ระดบั ชมุ ชน และระดบั เครอื ขา่ ย สามารถประสบความสำ� เรจ็ ก็จะท�ำให้เกดิ การถ่ายทอดองคค์ วามรู้ ผา่ นศนู ยก์ ารเรยี นรปู้ รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งตามแนวพระราช ดำ� ริฯ ทั้งในระดบั หม่บู ้าน ชุมชน และศูนยก์ ารเรยี นรู้ขององคก์ ร ต่าง ๆ ดงั ตัวอย่างทผี่ เู้ รยี บเรียงไดก้ ลา่ วมาแลว้ ๕. ความต้องการแสดงความรู้สึกนึกคิด มนษุ ยช์ อบแสดงความรู้สกึ นึกคิด เมอ่ื อยูใ่ นสังคมท่ีถือว่า เป็นสังคมเดียวกันย่อมมีความเป็นอยู่หรือมีวิถีการด�ำเนินชีวิตที่ คลา้ ยคลงึ กนั และในแตล่ ะสงั คมยอ่ มมกี ารประกอบอาชพี เลยี้ งตวั เอง เช่น ค้าขาย ท�ำนา ผลิตเคร่ืองมือเครื่องใช้ในการประกอบอาชีพ เพอื่ ใหส้ ามารถเลยี้ งตวั เองใหอ้ ยรู่ อดได้ แตใ่ นทางตรงกนั ขา้ มหากแต่ ละสังคมขาดความสมดุล การมองโลกมองชีวิตแบบแยกส่วนและ ใหค้ วามสำ� คญั กบั สว่ นใดสว่ นหนงึ่ มากเกนิ ไป กจ็ ะสง่ ผลใหก้ ารแสดง ความรู้สึกนึกคิดเป็นอิสระท�ำให้เกิดความไม่พอเพียงไม่พอดีและ ตกเปน็ ทาสของวัตถุ เศรษฐกจิ พอเพยี งเปน็ ปรัชญาท่ียดึ ทฤษฎี ๓ หว่ ง ๒ เงอื่ นไข ชแ้ี นวทางการด�ำรงอยแู่ ละใชช้ วี ิตให้ด�ำเนินไปใน ทางสายกลาง มคี วามพอเพียงสามารถอยู่ไดอ้ ย่างสมดลุ และยงั่ ยนื ๑๕๖

๖. ความต้องการท่พี ึ่งทางใจ มนุษย์ต้องการความม่ันคงทางจิตใจต้องการความสุข ความสำ� เรจ็ การดำ� เนนิ ชวี ติ ของมนษุ ยเ์ มอื่ ตอ้ งการมงุ่ ไปสเู่ ปา้ หมาย ใดก็จะด�ำเนินไปตามเงื่อนไข “หลักของเศรษฐกิจพอเพียง” เป็น ปรัชญาว่าด้วยหลักแห่งความรู้และหลักแห่งความจริงครอบคลุม ความรแู้ ละความจรงิ ในทกุ ศาสตรแ์ ละในทกุ สาขาความรขู้ องมนษุ ย์ การน้อมนำ� ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้กบั การด�ำเนนิ ชวี ติ จงึ ตอ้ ง ระเบดิ จากขา้ งใน คอื การเกดิ จติ สำ� นกึ มคี วามศรทั ธาเชอ่ื มน่ั เหน็ คณุ คา่ และนำ� ไปปฏบิ ตั ดิ ว้ ยตนเองเมอ่ื ประสบความสำ� เรจ็ กจ็ ะ เป็นสิ่งยึดเหนี่ยว เป็นที่พึ่งทางใจและขยายความรู้ความเชื่อม่ัน สง่ ต่อไปยงั สังคมสว่ นรวม ความต้องการทั้ง ๖ ประการคือพ้ืนฐานการด�ำเนินการ ชีวิตของมนุษย์ที่ได้พัฒนาเป็นล�ำดับ จนเกิดเป็นความต้องการที่ ซับซ้อนจนดูเสมือนว่าไม่มีส่ิงใดท่ีจะสามารถสนองความต้องการ ของมนษุ ยไ์ ดอ้ ยา่ งพอเพยี ง แตใ่ นความมงุ่ หวงั ความสขุ ในชวี ติ ของ มนษุ ย์นั้นคือการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยความสุข สงบ และสันติ การนอ้ มนำ� แนวปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ และการงานจากหวั ข้อ “เศรษฐกิจพอเพียงพ้นื ฐานความสุขสว่ น บคุ คล” สรปุ หลกั ปฏบิ ตั คิ อื ยดึ ทางสายกลาง มงุ่ เนน้ การพงึ่ พาตนเอง พออยพู่ อกนิ และพอเพยี ง เมอื่ ความสขุ สว่ นบคุ คลไดร้ บั การตอบสนอง กจ็ ะสง่ ตอ่ ความสขุ ไปยงั ครอบครวั ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ ตอ่ ไป ๑๕๗ 157

“..หลักการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระองค์ มคี วามหมายอยา่ งยง่ิ ตอ่ ชมุ ชนทกุ หนแหง่ ในยคุ โลกาภวิ ตั น์ ทีม่ กี ารเปลยี่ นแปลงต่าง ๆ เกดิ ขน้ึ อยา่ งรวดเร็ว ปรัชญา ดังกล่าวซึ่งเน้นแนวทาง “การเดินสายกลาง” มีความ สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาคนของสหประชาชาติ ท่ีเน้นการให้คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนาและการใช้ กระบวนการพัฒนาท่ียงั่ ยืนพระราชปณธิ านในการพฒั นา ประเทศของพระองคแ์ ละพระราชดำ� รทิ แี่ สดงถงึ พระวสิ ยั ทศั น์ อันชาญฉลาด ได้สร้างแรงบันดาลใจให้แก่พสกนิกรของ พระองคแ์ ละประชาชนทวั่ ทกุ แหง่ ...” ค�ำกลา่ วสดดุ ี ของนายโคฟี อานนั เลขาธกิ ารองค์การสหประชาชาติ เมือ่ ครัง้ ทลู เกล้าทลู กระหมอ่ มถวายรางวัลความส�ำเรจ็ สงู สดุ ดา้ นการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์ แดพ่ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัวภมู ิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ ๑๕๘

๕.๓ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง กับการพฒั นาประเทศ สำ� นกั งานคณะกรรมการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ท่ีได้น้อมนำ� “ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” มาเป็นแนวทางใน การพัฒนาประเทศในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติท้ัง ฉบบั ท่ี ๙ (พ.ศ.๒๕๔๕ – ๒๕๔๙) และตอ่ เน่อื งมาถงึ แผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี ๑๐ (พ.ศ.๒๕๕๐ – ๒๕๕๔) แผนพัฒนาฯ ฉบบั ที่ ๑๑ (พ.ศ.๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) และแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ไดน้ อ้ มนำ� หลกั “ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” มาเปน็ ปรชั ญานำ� ทางในการพฒั นาประเทศ เพอ่ื เสรมิ สรา้ งภมู คิ มุ้ กนั และ ช่วยให้สังคมไทยสามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างม่ันคงเกิดภูมิคุ้มกัน และมกี ารบรหิ ารจดั การความเสยี่ งอยา่ งเหมาะสม สง่ ผลใหก้ ารพฒั นา ประเทศสคู่ วามสมดลุ และยง่ั ยนื ภายใต้บริบทการเปล่ียนแปลงในกระแสโลกาภิวัตน์ท่ี ปรับเปลี่ยนเร็วและสลับซับซ้อนมากย่ิงขึ้นเป็นโลกไร้พรมแดน นอกจากนั้นการพัฒนาการส่ือสารด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ท�ำให้ สงั คมโลกมีความเชือ่ มโยงกันอยา่ งใกล้ชดิ มากขนึ้ ในขณะเดยี วกนั ประเทศไทยมคี วามเสย่ี งจากการเปลยี่ นแปลงโครงสรา้ งประชากร สสู่ งั คมสูงวัยมากขึ้น จ�ำนวนประชากรวยั แรงงานลดลงผสู้ งู อายุม แนวโนม้ อย่คู นเดียวสงู ขน้ึ รวมทง้ั ความแตกต่างของรายได้ ๑๕๙ 159

ระหว่างกลุ่มคนรวยท่ีสุดและกลุ่มคนจนท่ีสุดยังอยู่ในอัตราท่ีสูง เนอื่ งจากการกระจายโอกาสการพฒั นาไมท่ วั่ ถงึ และภายใตเ้ งอ่ื นไข และสภาพแวดล้อมด้านเศรษฐกิจ สงั คม ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ สง่ิ แวดลอ้ มทเี่ กดิ ขน้ึ เปน็ แรงกดดนั ใหป้ ระเทศไทยตอ้ งปรบั ตวั และ มกี ารบรหิ ารความเสยี่ งอยา่ งชาญฉลาดมากขน้ึ ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นา ทส่ี ำ� คัญในระยะแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ ๑๒ จ�ำเปน็ ตอ้ งมกี ารเตรยี ม ความพรอ้ มเพอ่ื วางรากฐานของประเทศในระยะยาวใหม้ งุ่ ตอ่ ยอด ผลสัมฤทธ์ิของแผนท่ีสอดคล้องเช่ือมโยงและรองรับการพัฒนา อยา่ งตอ่ เนอื่ ง โดยยดึ “ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” ทป่ี ระกอบ ดว้ ย ความพอประมาณ ความมเี หตมุ ผี ล มภี มู คิ มุ้ กนั ทด่ี ใี นตวั ภายใต้ เงอ่ื นไขของการตดั สนิ ใจและการดำ� เนนิ กจิ กรรมทตี่ อ้ งอาศยั เงอ่ื นไข ความรแู้ ละเงอื่ นไขคณุ ธรรม มาเปน็ แนวปฏบิ ตั ใิ นการพฒั นาประเทศ ดังนน้ั แนวคิดและทิศทางการพฒั นาประเทศอยา่ งยงั่ ยืน ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สงั คมแหง่ ชาติ เรมิ่ จากแผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี ๙ (พ.ศ.๒๕๔๕ – ๒๕๔๙) และตอ่ เนอื่ งมาจนถงึ แผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) จึงเป็นการสรา้ งภมู ิค้มุ กนั ให้เกิดขนึ้ ตั้งแตร่ ะดบั บคุ คล ครอบครัว ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ โดยหลกั การพฒั นาทส่ี ำ� คญั ในระยะ แผนพัฒนาฯ ได้แก่การพัฒนาแบบองค์รวมยึดคนเป็นศูนย์กลาง การพฒั นา วถิ กี ารพฒั นาอยบู่ นพน้ื ฐานดลุ ยภาพเชงิ พลวตั ทเ่ี ชอื่ มโยง ทกุ มติ อิ ยา่ งบรู ณาการ ทง้ั มติ ติ วั คนสังคมและวฒั นธรรม เศรษฐกจิ สิ่งแวดล้อมและการเมือง ขณะเดียวกันก็มุ่งเนน้ การเจรญิ เตบิ โต ทางเศรษฐกิจท่ีลดความเหล่ือมล�้ำและขับเคลื่อนการเจริญเติบโต จากการเพมิ่ ผลติ ภาพการผลติ บนฐานการใชภ้ มู ปิ ญั ญาและนวตั กรรม และมีดุลยภาพการพัฒนาระหวา่ งภายใน คอื “ความเข้มแขง็ ใน การพงึ่ พาตนเอง” เพือ่ สง่ ผลใหเ้ กิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน ๑๖๐

บทสรปุ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงน้ัน นิยามของค�ำว่า พอเพียงจะต้องประกอบด้วย ๓ ห่วง ๒ เงื่อนไข โดย ๓ ห่วง คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการมีภูมิคุ้มกัน ส่วน ๒ เง่ือนไข คือการตัดสินใจและด�ำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ใหอ้ ยูใ่ นระดับพอเพียงน้นั ตอ้ งอาศัยทั้งความรแู้ ละคุณธรรม เป็นพ้ืนฐาน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจึงเป็นเร่ืองของ กระบวนทศั นใ์ หมท่ เ่ี ปน็ ทง้ั แนวคดิ และแนวปฏบิ ตั โิ ดยมงุ่ พฒั นา คนในมิติท่ีลึกซ้ึง ให้สามารถด�ำรงตนอยู่บนทางสายกลาง ใชท้ รพั ยากรอยา่ งประหยดั ระมดั ระวงั และการกระทำ� ทกุ อยา่ ง ตอ้ งต้ังม่ันอยู่บนฐานความรู้ ใช้สติปัญญาในการคิดและแก้ไข ปัญหา ไม่หลงกระแสโลกาภิวัตน์ยึดติดวัตถุ ต้องรู้จักการให้ เมอ่ื รจู้ กั การใหค้ นในสงั คมกจ็ ะลดการแขง่ ขนั แยง่ ชงิ ความสงบสขุ ก็เกิดขึน้ ทั้งในสว่ นบุคคลและส่วนสงั คม หลกั ส�ำคญั ทีย่ ดึ เป็น แนวปฏิบัติคือ ท�ำอะไรท�ำให้พอประมาณ ท�ำอะไรให้ท�ำด้วย เหตผุ ล และทำ� อะไรใหม้ ภี มู คิ มุ้ กนั อยดู่ ว้ ย การประยกุ ตป์ รชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียงจึงต้องเริ่มจากตัวบุคคลเมื่อประสบผล สำ� เร็จแลว้ กจ็ ะสง่ ผลตอ่ ครอบครัว ชุมชน และสังคมส่วนรวม ตอ่ ไปโดยเร่ิมจากแนวคดิ ตอ่ ไปน้ี ๑. สามารถเป็นที่พ่ึงแห่งตนได้ท้ัง ๕ ด้าน ได้แก่ ด้าน จติ ใจ ด้านสงั คม ด้านเทคโนโลยี ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดลอ้ ม และดา้ นเศรษฐกจิ ๑๖๑ 161

๒. ไมฟ่ มุ่ เฟอื ย รจู้ กั ประหยัด อดออม ยึดค�ำว่า “พอ” คอื พอกนิ พอดี พอมี และพอใช้ ก็จะท�ำใหไ้ ม่เบยี ดเบยี นตนเอง และผู้อืน่ ๓. เรยี นร้แู ละพัฒนาตนเองอยู่เสมอ เพอ่ื เสริมสรา้ งความ เข้มแข็งและสามารถปรับตัวก้าวตามทันความเปล่ียนและการ พฒั นาทีเ่ กดิ ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ๔. ยึดทางสายกลางในการด�ำเนินชีวิต มีความสุขและ พอใจกบั ชวี ติ ทพ่ี อเพยี ง นอกจากนนั้ แนวคดิ ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ยังเป็นแนวคิดที่ตั้งอยู่บนความไม่ประมาท ด้วยการใช้ความรู้ และคุณธรรมเพื่อให้เกิดการพ่ึงพาตัวเองได้และเผ่ือแผ่ไปถึงสังคม เป็นหลักปฏบิ ัติท่สี ามารถนำ� ไปปรับใช้ไดท้ ัง้ ในชวี ติ การท�ำงานและ การดำ� รงชวี ติ จะเห็นไดว้ ่า ความพอเพียง คือ การดำ� เนนิ ชีวติ แบบ ทางสายกลาง โดยตั้งอยู่บนหลัก ๓ ห่วง ๒ เง่ือนไข คือ ความ พอประมาณ ความมเี หตผุ ล และการมภี มู คิ มุ้ กนั ทดี่ ี ภายใตเ้ งอ่ื นไข ความรู้และคุณธรรม เกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นแนวทางปฏิบัติหนึ่ง ของหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ทม่ี ผี นู้ อ้ มนำ� ไปเปน็ แนวทาง ปฏบิ ตั จิ นประสบความสำ� เรจ็ ดงั ทผี่ เู้ รยี บเรยี งไดก้ ลา่ วถงึ ในบทที่ ๔ มีขั้นตอนของการพัฒนา ดังน้ี ๑๖๒

ข้ันตอนที่ ๑ เป็นการผลิตแบบพึ่งตนเองด้วยวิธีง่าย ๆ ค่อยเป็นค่อยไปตามก�ำลังพอมีพอกินไม่อดอยากมีเหลือขาย ไม่ติดหนี้ มีเงินออม ขัน้ ตอนที่ ๒ เกษตรกรรวมพลงั กนั ในรปู กลมุ่ หรือสหกรณ์ รว่ มแรงในเรือ่ งของการผลิตการตลาดการเปน็ อยู่ สวัสดิการ การ ศึกษา สงั คม และศาสนา เชน่ ทำ� การเกษตร หตั ถกรรม แปรรปู อาหาร ต้งั ศนู ยก์ ารแพทยแ์ ผนไทย จัดการทอ่ งเที่ยวชุม เป็นตน้ ข้นั ตอนที่ ๓ รว่ มมอื กบั แหลง่ เงนิ ทนุ และพลงั งาน ตงั้ บรษิ ทั และบริหาร ต้ังบริการร้านสหกรณ์ ช่วยกันลงทุนช่วยกันพฒั นา คุณภาพชีวิตของประชาชนในชนบท รวมทั้งการส่งออก ซง่ึ มิใชท่ �ำ อาชีพดา้ นการเกษตรเพียงอย่างเดยี ว ๑๖๓ 163

ศาสตร์พระราชาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือการ พัฒนาท่ีย่ังยืน หัวใจส�ำคัญจึงอยู่ที่การพัฒนาตัวบุคคลให้สามาถ ด�ำรงชีวิตอยู่บนทางสายกลาง มีความพอเพียงในการใช้ชีวิต คิด ตดั สนิ ใจวางแผนทำ� สงิ่ ใดดว้ ยเหตแุ ละผลเพอื่ ปอ้ งกนั ความผดิ พลาด มคี วามรอบคอบ ระมดั ระวงั ซอื่ สตั ย์ สจุ รติ และขยนั อดทน เมอ่ื คน ในสงั คมมีความสุขมีความพอเพียง ก็สามารถส่งต่อความสุขและ ความพอเพยี งไปถึงคนในครอบครวั ตลอดจนสังคมส่วนรวม ดงั นน้ั ครอบครัวจะด�ำรงอยู่ได้องค์กรจะด�ำรงอยู่ได้และประเทศชาติจะ ด�ำรงอยู่ได้ จึงเกิดจากสายสัมพันธ์ของคนในครอบครัวในองค์กร และคนในชาตมิ คี วามรกั ความเมตตากรณุ า ไมเ่ บยี ดเบยี นทง้ั ตนเอง และผอู้ น่ื เศรษฐกิจพอเพียงจงึ ไมไ่ ด้เป็นเพยี งปรชั ญาชี้ถงึ แนวการ ดำ� รงอยู่และปฏิบตั ิตนของคนในชาติให้ใช้ชวี ติ อย่างมคี วามสขุ มี ภูมิต้านทานที่ดีและมีความพอเพียงในการด�ำเนินชีวิตท่ีตั้งอยู่บน รากฐานของวัฒนธรรมไทย เท่านั้น แต่ยังเป็นแนวพระราชด�ำริ ทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร พระราชทานแก่พสกนิกรชาวไทยให้ส�ำนึกรักและมีหน้าที่รักษา เอกลกั ษณค์ วามเปน็ ไทยใหม้ ั่นคงเหมาะสม ดังพระบรมราโชวาท พระราชทานแก่สมาคมนักเรียนไทยในประเทศญี่ปุ่น เม่ือ ๒๗ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๓๗ ทผี่ เู้ ขยี นจะขออญั เชญิ มาแสดงไว้ ณ ทน่ี ี้ ความวา่ ๑๖๔

“...ผู้ที่จะรักษาความเป็นไทยได้ม่ันคงที่สุด ดีและเหมาะสมท่ีสุด ไม่มีใครอื่นนอกจากคนไทย เพราะฉะนั้น ไม่ว่าจะอยู่ ณ แห่งใด คนมีหน้าท่ีต้องรักษาความเป็นไทยเสมอ...” 165

บรรณานกุ รม กาญจนา สายสริ ิพร. (๒๕๖๑). ๗๐ ค�ำสอนพระราชาทวยราษฎร ์ น้อมรำ� ลึก. กรุงเทพฯ : มลู นิธิ ดร.เทียม โชควฒั นา. กรรณกิ าร์ ภริ มยร์ ตั น.์ (๒๕๕๓). พฤตกิ รรมการดำ� เนนิ ชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งของนกั ศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ในเขตกรงุ เทพมหานคร. รายงานวจิ ยั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา. กลั ยา รกั หลวง และคณะ. (๒๕๕๒). มนษุ ยก์ ับการดำ� เนินชวี ติ . กลมุ่ วิชาศกึ ษาทัว่ ไป มหาวิทยาลัยราชภฎั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ภัมภ.์ อยุธยา : เทียนวัฒนาพร้นิ ท์ติง้ . -----------. (๒๕๕๙). กองบรรณาธิการ. นิตยสารธรรมลลี า ฉบบั ท่ี ๑๙๒ ธนั วาคม ๒๕๕๙. ณดา จนั ทรส์ ม. (๒๕๕๕.). การประยกุ ตป์ รัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในระดบั บุคคล. ศนู ยศ์ กึ ษาเศรษฐกจิ -พอเพียง สถาบนั บัณฑติ พฒั นบริหารศาสตร.์ กรงุ เทพฯ. ณรัชชอ์ ร ศรที อง. (๒๕๕๖). แนวคิด หลกั การ และการปฏบิ ัต ิ ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง . กรงุ เทพฯ : โอเดยี นสโตร.์ ๑๖๖

นราทิพย์ พุ่มทรพั ย.์ (๒๕๕๐). รายงานวจิ ยั โครงการวิจยั และ พัฒนากระบวนการปลกู ฝงั คณุ ธรรมจริยธรรม โดยอาศัย แนวทางพระบรมราโชวาทเรอ่ื งคุณธรรม ๔ ประการ เปน็ พืน้ ฐานในการเรยี นรูส้ วู่ ถิ ี “เศรษฐกิจพอเพียง ” สถาบันวจิ ยั ประชากรและสังคม มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล. บุษยา ม่นั ฤกษ.์ (๒๕๕๖). การนำ� หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ไปประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการของผู้บริหาร องค์การบริหารส่วนต�ำบลจังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์ : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. พรนิภา จันทร์น้อย. (๒๕๕๒). การด�ำเนินชีวิตกับเศรษฐกิจ พอเพียง. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยฟาร์อิสเทอร์น. ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒ ธันวาคม ๕๑ – พฤษภาคม ๕๒ ภสู ทิ ธ์ ขนั ตกิ ลุ . (๒๕๕๕). การประยกุ ตใ์ ชป้ รชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ในระดับบคุ คลและครวั เรือนของประชาชนในเขตดุสิต กรงุ เทพมหานคร. รายงานการวจิ ัย มหาวทิ ยาลัย ราชภัฏสวนสนุ นั ทา มณี อาภานนั ทกิ ลุ . (๒๕๖๑). วารสารสภาการพยาบาล.ปีที่ ๓๓ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๖๑. ๑๖๗ 167

มนู ลีลานวุ ัฒน์. (๒๕๖๑). ๗๐ คำ� สอนพระราชาทวยราษฎร์น้อม ร�ำลกึ ,กรุงเทพฯ : มูลนธิ ิ ดร.เทยี ม โชควฒั นา. รัฐพงศ์ บุญญานวุ ัตร. (๒๕๕๔). การนำ� แนวคดิ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาใชใ้ นการดำ� เนินชวี ติ ของประชาชนในชุมชน เขตดุสติ กรงุ เทพมหานคร. รายงานการวจิ ยั . มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนสุนนั ทา. วเิ ชียร กนั ตถาวร. (๒๕๖๑). ๗๐ คำ� สอนพระราชาทวยราษฎร์ น้อมรำ� ลกึ . กรุงเทพฯ : มลู นธิ ิ ดร.เทยี ม โชควฒั นา. สมบัติ คชสทิ ธิ์ และคณะ. (๒๕๕๐). ตามรอยเบอื้ งพระยุคลบาท. โครงการพฒั นาตำ� ราวิชาศกึ ษาทัว่ ไปมหาวิทยาลยั ราชภัฎ วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปภัมภ์.อยธุ ยา : เทยี นวัฒนาพรน้ิ ท์ตง้ิ . ศิรนิ า โชควฒั นา ปวโรฬารวทิ ยา. (๒๕๖๑) .๗๐ ค�ำสอนพระ ราชาทวยราษฎรน์ อ้ มร�ำลึก. กรุงเทพฯ : มูลนธิ ิ ดร.เทียม โชควัฒนา. อภิเศรษฐ ธรรมมโนมัย. (๒๕๖๑) .๗๐ ค�ำสอนพระราชาทวย ราษฎรน์ ้อมร�ำลกึ . กรุงเทพฯ : มลู นธิ ิ ดร.เทยี ม โชควฒั นา. อัฐวฒุ ิ ไสยสมบัต.ิ (๒๕๖๑). ๗๐ ค�ำสอนพระราชาทวยราษฎร ์ น้อมรำ� ลึก. กรุงเทพฯ : มูลนิธิ ดร.เทยี ม โชควฒั นา. ๑๖๘


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook