Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 11 การวัดและประเมินผลในศตวรรษที่ 21

บทที่ 11 การวัดและประเมินผลในศตวรรษที่ 21

Published by benjamas, 2020-07-16 03:47:43

Description: การวัดและประเมินผลในศตวรรษที่ 21

Search

Read the Text Version

- 213 - บทที่ 11 การวดั และประเมินผลการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 การเปลี่ยนแปลงในยุคศตวรรษที่ 21 ส่งผลต่อวิถีของคนในสังคมไทย ระบบการศึกษา จึงจาเป็นต้องพัฒนาเพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น เดิมมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีทักษะ เพี ยงอ่านออกเขียนได้ (Literacy) เท่าน้ัน แต่ในศตวรรษที่ 21 ต้องมุ่งเน้นให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้ การปฏิบัติ และการสร้างแรงบันดาลใจไปพร้อมกัน (นวพร ชลารักษ์, 2558) ดังนั้นผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 จะต้องมีการพัฒนาการเรียนรู้ให้เกิดทักษะที่จาเป็น โดยฝึก การเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติและแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยครูผู้สอนเป็นผู้ชี้แนะ (Coach) ที่ช่วยอานวยความสะดวก (Facilitator) ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ และประเมินผล การเรียนรตู้ ามสภาพจริง 1. กรอบแนวคดิ ทกั ษะการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 กรอบแนวคิดในการจัดการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 ที่แสดงผลลัพธ์ของนักเรียนและ ปัจจัยส่งเสริมสนับสนุนในการจัดการเรียนรู้เพื่อรองรับศตวรรษที่ 21 โดยเครือข่ายองค์กร ความร่วมมือเพื่อทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Partnership for 21st Century Skills) หรือ มีชือ่ ย่อวา่ เครือขา่ ย P21 ภาพที่ 11.1 แสดงกรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (21st Century Learning Framework) ที่มา: www.p21.org/storage/documents/P21_Framework_Definitions.pdf จากภาพที่ 11.1 เป็นการบูรณาการทักษะเข้ากับเน้ือหาการจัดการเรียนรู้ในด้าน วิชาการ โดยผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะเฉพาะด้าน ความชานาญการและความรอบรู้เท่าทัน

- 214 - ในด้านต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เพื่อให้ประสบความสาเร็จ ท้ังในด้านการทางานและการดาเนินชีวิต จึงเป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาทักษะแห่งอนาคตใหม่ สาหรับประเทศไทยการนาทักษะใน ศตวรรษที่ 21 ไปใช้กับผู้เรียนทุกคน ซึ่งจาเป็นต้องได้รับการพัฒนาให้มีความรู้ความเข้าใจ เนื้อหาหลักด้านวิชาการ การที่นักเรียนจะสามารถคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ หรือคิดอย่างมี วิจารณญาณและสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพน้ัน ต้องอาศัยบูรณาการของพื้นฐานความรู้ ดงั กล่าว ภายใต้บริบทการสอนความรู้วิชาหลัก ผู้เรียนต้องเรียนรู้ทักษะที่จาเป็นเพื่อให้ประสบ ความสาเร็จ ซึ่ง กรอบแนวคิดเพือ่ การเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 (วิจารณ์ พานชิ , 2555) มดี ังน้ี 1.1 สาระวิชาหลัก (Core Subjects) การรอบรู้สาระวิชามีความสาคัญและจาเป็น อย่างยิ่งต่อความสาเร็จของนักเรียน สาระวิชาหลักได้แก่ภาษาอังกฤษ การอ่าน ภาษาของโลก ศิลปะ คณิตศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ การปกครองและ ความเป็นพลเมืองที่ดี แต่ไม่เพียงพอสาหรับการเรียนรู้เพื่อมีชีวิตในโลกยุคศตวรรษที่ 21 โรงเรียนต้องส่งเสริมความเข้าใจเน้ือหาวิชาการให้อยู่ใน ระดับสูงด้วยการสอดแทรกทักษะ เพือ่ การดารงชีวติ ในศตวรรษที่ 21 ต่อไปนีเ้ ข้าในทกุ วิชาหลกั ประกอบด้วย 1.1.1 ความรู้เกีย่ วกบั โลก (Global Awareness) 1.1.2 ความรเู้ กีย่ วกบั การเงิน เศรษฐศาสตร์ ธรุ กิจ และการเปน็ ผู้ประกอบการ (Financial, Economics, Business and Entrepreneurial Literacy) 1.1.3 ความรู้ดา้ นการเป็นพลเมืองทีด่ ี (Civic Literacy) 1.1.4 ความรดู้ ้านสขุ ภาพ (Health Literacy) 1.1.5 ความรู้ดา้ นสิง่ แวดล้อม (Environmental Literacy) 1.2 ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม (Learning and Innovation Skills) จะเป็นตัวกาหนดความพร้อมของนักเรียนเข้าสู่โลกการทางานที่มีความซับซ้อนมากขึ้ น ในปัจจุบัน ได้แก่ 1.2.1 ความรเิ ริ่มสรา้ งสรรคแ์ ละนวัตกรรม 1.2.2 การคิดอย่างมวี ิจารณญาณและการแก้ปญั หา 1.2.3 การส่อื สารและการรว่ มมอื 1.3 ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี (Information Media and Technology Skills) เน่ืองด้วยในปัจจุบันมีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านทางสื่อและ เทคโนโลยีมากมาย ผู้เรียนจึงต้องมีความสามารถในการแสดงทักษะการคิดอย่างมี วิจารณญาณและปฏิบตั ิงานได้หลากหลาย โดยอาศัยความรู้ในหลายด้าน ดงั น้ี

- 215 - 1.3.1 ความรดู้ ้านสารสนเทศ 1.3.2 ความรเู้ กี่ยวกับสื่อ 1.3.3 ความรดู้ ้านเทคโนโลยี 1.4 ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ (Life and Career Skills) ในการดารงชีวิตและ ทางานในยุคปจั จุบันให้ประสบความสาเร็จ นักเรียนจะต้องพฒั นาทกั ษะชีวติ ทีส่ าคญั ดังต่อไปนี้ 1.4.1 ความยดื หยุ่นและการปรับตัว 1.4.2 การรเิ ริม่ สรา้ งสรรคแ์ ละเป็นตัวของตวั เอง 1.4.3 ทักษะสงั คมและสงั คมขา้ มวฒั นธรรม 1.4.4 การเปน็ ผู้ผลิต (Productivity) และความรับผดิ ชอบเชอ่ื ถือได้(Accountability) 1.4.5 ภาวะผู้นาและความรบั ผดิ ชอบ (Responsibility) 2. ทกั ษะเพือ่ การดารงชีวติ ในศตวรรษท่ี 21 (21st Century Skills) การศึกษาในศตวรรษที่ 21 ที่ผู้เรียนทุกคนต้องเรียนรู้และมีทักษะตลอดชีวิต เพือ่ การดารงชีวติ ในศตวรรษที่ 21 คือ 3R x 7C (วิจารณ์ พานชิ , 2555) ดังน้ี 2.1 3R ได้แก่ 2.1.1 อ่านออก (Reading) 2.1.2 เขียนได้ (W) Riting) 2.1.3 คิดเลขเป็น (A) Rithmetics 2.2 7C ได้แก่ 2.2.1 ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา (Critical Thinking & Problem Solving) 2.2.2 ทักษะด้านการสรา้ งสรรคแ์ ละนวัตกรรม (Creativity & Innovation) 2.2.3 ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-Cultural Understanding) 2.2.4 ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และภาวะผู้นา (Collaboration, Teamwork & Leadership) 2.2.5 ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information & Media literacy) 2.2.6 ทักษะด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing & ICT Literacy) 2.2.7 ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้ (Career & Learning Skills)

- 216 - 3. พัฒนาการของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จุดเริ่มต้นของการทดสอบนั้นมีความสัมพันธ์กับความรู้ทางจิตวิทยา โดยให้ ความสาคัญกับปัญหาของการทดสอบและความพยายามในการหาวิธีการแก้ปัญหาต่าง ๆ เพื่อได้ผลด้านความรู้ที่ถูกต้องและชัดเจนมากขึ้น (อิทธิพทั ธ์ สวุ ทนั พรกูล, 2557) การวัดและประเมินผลในประเทศไทยน้ันมีมาต้ังแต่ในสมัยโบราณและมีพัฒนาการ มาเร่ือย ๆ ในระบบการเรียนการสอนในอดีตน้ัน มีการสอบคร้ังสุดท้ายเพื่อประเมินว่าแต่ละ บุคคลน้ันมีคุณ ลักษณ ะหรือความสามารถตามที่ได้เรียนรู้มาหรือไม่ หรื อการสอบ เข้ารบั ราชการในสมัยก่อนที่จัดการสอบและผทู้ ีไ่ ด้คะแนนสูงสดุ ก็จะสอบผา่ นเข้าทางานราชการ จนเม่ือมีระบบการศึกษาที่มีการแบ่งการจัดการเรียนการสอนออกเป็นรายวิชา แล้วนาผลการ สอบของแต่ละวิชามาประเมินผลรวมกันว่าผ่านหรือครบถ้วนตามหลักสูตรหรือไม่ หรือสอบไล่ ตามที่กระท รวงศึกษ าธิการได้กาหนดขึ้นในช่วงป ลายปีการศึกษ า เพื่ อตัดสินผล การเรียนว่าผ่านหรือตกซ้าชั้นเรียน โดยมีการแบ่งการวัดและประเมินผลออกเป็น 2 ลักษณะ ได้แก่ ลักษณะของการประเมิน และระบบของการประเมิน ดงั น้ี 3.1 ลักษณะของการประเมินแบบย่อยและแบบรวม 3.1.1 การประเมินแบบย่อย เป็นการประเมินหน่วยการเรียนรู้ก่อนที่จะประเมิน รายวิชา มีระบบเกรดเข้ามาใช้ โดยเกรดแต่ละรายวิชานามาหาค่าเฉลี่ยรวม หรือเรียกว่า GPA (Grade Point Average) ผลการประเมินการสอบคือผ่านหรือไม่ผ่าน ขึ้นอยู่กับผลการเรียน เฉลี่ยรวมต้องผ่าน และผลการเรียนในทุกรายวิชาต้องผ่านท้ังหมด หากบางรายวิชาไม่ผ่าน กต็ ้องแก้ไขให้ผ่านจงึ จะครบตามหลกั สูตร 3.2 การประเมินแบบรวม เปน็ การประเมินโดยการนาคะแนนจากการสอบแต่ละ วิชามารวมกัน แล้วเทียบร้อยละจากคะแนนเตม็ รวมของทกุ วิชาทีเ่ รียน ซึ่งแตล่ ะวิชาคะแนนอาจ ไม่เท่ากัน แล้วประเมินการผ่านโดยเทียบกับร้อยละ 50 ถือว่าสอบผ่าน และคะแนน ในแต่ละวิชาสามารถนามาเฉลี่ยกับวิชาที่ไม่มีความถนัดได้ และรายงานผลการเรียนในรูปแบบ ร้อยละ และจัดอนั ดบั ของผเู้ รียนว่าแตล่ ะคนสอบได้ทีเ่ ท่าไร 3.2 วิธีการวดั และประเมิน การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในอดีตมีฐานความเชอ่ื ที่ว่า ผู้เรียนเหมือนกนั หมด เรียนรู้มาแบบเดียวกัน ตัวบ่งชี้ความรู้และการเรียนรู้ที่ดีและแม่นยาที่สุดคือคะแนนที่ได้จาก แบบสอบเท่านั้น เคร่ืองมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผลผเู้ รียน ส่วนใหญ่เป็นแบบสอบประเภท เลือกตอบ และแยกการประเมินออกจากการจัดการเรียนการสอน โดยมีสถานที่และวิธีเฉพาะ มุ่งเน้นการตัดสินแข่งขันมากกว่าการพัฒนาความก้าวหน้าของผู้เรียน แต่ในปัจจุบันวิธีการวัด

- 217 - และประเมินผลน้ันเปลี่ยนเป็นการประเมินตามสภาพจริง เน้นการพัฒนาด้วยการให้คาปรึกษา การชี้แนะ และให้ข้อมูลย้อนกลับ เพื่อให้ผู้เรียนทราบข้อบกพร่องของตน ส่งเสริมวิธีการค้นหา ความรู้ การแก้ปัญหา และการนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิต ทาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ทักษะ คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ ได้อย่างมคี ณุ ภาพ 3.3 ระบบการประเมิน การประเมินในยคุ อดีตกาหนดเกณฑร์ ้อยละ 50 ถือว่าสอบผา่ นเกณฑ์และสามารถ เลื่อนชั้นในระดับต่อไป แต่การให้ความสาคัญกับอันดับว่าได้ที่เท่าไรเป็นการเปรียบเทียบ ระหว่างบุคคล ผู้ปกครองส่วนใหญ่ต้องการทราบว่าได้ที่เท่าไร มากกว่าได้คะแนนเท่าไร ซึ่งในยุคต่อมาการประเมินได้เปลี่ยนจากระบบอิงกลุ่มเป็นระบบอิงเกณฑ์มากขึ้น และ เน้นความสาคัญที่คะแนนรายวิชาของแต่ละบุคคลมากขึ้น แสดงให้เห็นจุดเด่นและจุดที่ควร พฒั นาของผเู้ รียนเพือ่ สง่ เสริมพฒั นาการเรียนรู้ต่อไป 3.4 เปรียบเทยี บการวัดและประเมินผล ตามแนวคิดเดิมกับการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (อิทธิพัทธ์ สุวทนั พรกลู , 2557; อนวุ ัติ คณู แก้ว, 2558;ศศธิ ร บัวทอง, 2560) ควรมีลักษณะดงั น้ี ตารางท่ี 11.1 แสดงการเปรียบเทียบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามแนวคิดเดิมกับการ วัดและประเมินทกั ษะการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 ที่ การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามแนวคดิ เดิม ในศตวรรษท่ี 21 วิธีการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ 1 วดั และประเมินผลการเรียนรู้เปน็ วัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นกลุ่ม รายบคุ คล (Individuals) (Groups) 2 วดั เฉพาะความรเู้ รื่องส้ันๆ ไม่ต่อเนอ่ื ง -วดั ความรู้ทีส่ มั พันธ์กับบริบทที่อยู่รอบ ๆ เปน็ อิสระจากกนั -วัดความรู้ที่เชื่อมโยงกบั กระบวนการ -วดั ความรู้ใหมท่ ี่เชือ่ มโยงกับความรเู้ ดิม วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ (ต่อ) 3 วดั และประเมินทักษะโดยแยก วัดความสามารถด้านกระบวนการ วธิ ีการคิด ออกเป็นส่วน ๆ และการแสดงออก (Performance) รวมทั้งวดั คณุ ลักษณะเป็นแบบบรู ณาการ 4 ขอบเขตการประเมินเน้นรายวิชาเดียว การประเมนิ เน้นการบูรณาการขา้ มวิชา

- 218 - ที่ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามแนวคดิ เดิม ในศตวรรษท่ี 21 5 วัดและประเมินผลเพือ่ ตดั สินได้ – ตก วัดและประเมินผล ผ่าน – ไม่ผ่าน ในระดบั ใด ผา่ น – ไม่ผ่าน และพิจารณาจุดเด่น จดุ ทีค่ วรพฒั นา และ วินจิ ฉยั พืน้ ฐานของผู้เรยี น 6 ทดสอบว่าผเู้ รียนรู้หรอื ไม่รู้อะไร การ ประเมินว่าผเู้ รียนรู้และเข้าใจอย่างไร ตรวจคาตอบโดยใหค้ ะแนนถกู และลด การตรวจคาตอบต้องพยายามพิจารณาว่า คะแนนที่ผดิ นกั เรียนเข้าใจอย่างไรจงึ ตอบเชน่ น้ัน (ให้ คะแนนทีเ่ ข้าใจ เช่น มีคาสาคัญ เป็นต้น ) 7 วดั และประเมินผลเมอ่ื สิน้ สุดการเรียน วัดและประเมินผลระหว่างเรียนหลายครั้งและ การสอน (กลางภาค – ปลายภาค) ต่อเน่อื ง และให้ข้อมูลย้อนกลบั เพื่อให้ผู้เรยี น ครใู ช้คะแนนตัดสินผลการเรียน นาผลที่ได้ย้อนกลับไปใช้ในการพัฒนาตนเอง 8 วดั และประเมินผลแบบอิงกลุ่ม วดั และประเมินผลแบบอิงเกณฑ์ ผเู้ รียน ประเมินตนเอง และเพือ่ นประเมินเพื่อน 9 ครผู สู้ อนเป็นผู้ประเมินผล บุคคลหลายฝ่ายร่วมกนั นอกจากประเมินผล การเรียนของนกั เรียนแล้ว ยังมีการประเมิน หลกั สูตร ประเมินการสอนของครู การจดั การ ของสถานศกึ ษาในส่วนทีเ่ กี่ยวข้องกับวิชานั้น 10 วดั และประเมินผลวธิ ีเดียว ประเมินไม่ วัดและประเมินผลด้วยวิธีทีห่ ลากหลาย ต่อเน่อื ง นาน ๆ ประเมนิ ครั้ง ไม่เปน็ ทางการ และประเมินตามสภาพจริง 11 วัดและประเมินเฉพาะผลลัพธ์ที่เกิด วดั และประเมินกระบวนการของผู้เรยี น ขึน้ กับผเู้ รียน เครื่องมือวดั และประเมินผลการเรียนรู้ 1 วดั จากเครือ่ งมอื หรอื ข้อสอบทีผ่ ู้สอบ ใช้เคร่อื งมอื วดั ทีห่ ลากหลาย เชน่ ขอ้ สอบ เปน็ ผู้สรา้ งขึน้ มาใช้เอง มาตรฐาน เครอ่ื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการวิจยั และ เครื่องมือที่หน่วยงานหรอื โครงการต่าง ๆ 2 วดั และประเมินผลจากข้อสอบแบบ ใช้เครือ่ งมอื และวิธีการประเมินทีห่ ลากหลาย เขียนตอบทีเ่ ป็นข้อเขียน หรือข้อสอบ เชน่ การสอบภาคปฏิบัติ การเขียนตอบ การ มาตรฐานเพียงอย่างเดียว สอบปากเปล่า การมอบหมายงานใหป้ ฏิบัติ การสงั เกตพฤติกรรม เปน็ ต้น

- 219 - ที่ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามแนวคดิ เดิม ในศตวรรษท่ี 21 3 มีคาตอบทีถ่ ูกต้องทีส่ ดุ เพียงขอ้ เดียว มีคาตอบถูกหลายคาตอบ แตม่ ีคะแนนในการ ตอบแต่ละข้อแตกต่างกนั เกณฑก์ ารประเมินผลการเรียนรู้ 1 ประเมินผลโดยพิจารณาจากคะแนน พิจารณาผลการสอบเปน็ รายข้อ หรอื รายกลุ่ม รวมของขอ้ สอบทุกข้อท้ังฉบบั ของขอ้ สอบที่มจี ดุ มุ่งหมายการวดั และ ประเมินผลอย่างเดียวกัน 2 ไม่เปิดเผยเกณฑต์ ่อสาธารณะ ครูผสู้ อนร่วมกนั กาหนดเกณฑก์ ับผเู้ รียน และ เปิดเผยเกณฑท์ กุ คร้ังทีม่ กี ารวดั และ ประเมินผลการเรียนรู้ 3 รายงานผลเป็นระดบั คะแนนเพียงตัว เป็นการขยายรายงานผลที่แยกรายงานเปน็ เดียวในหนึง่ วิชา หลาย ๆ ด้าน เช่น ด้านความรคู้ วามเข้าใจใน เนือ้ หาวิชา ด้านกระบวนการ ดา้ นทักษะ ปฏิบตั ิการ ดา้ นทกั ษะในการแก้ปญั หา ด้าน การอภิปรายซกั ถามในชนั้ เรียน เป็นต้น 4 การตรวจใหค้ ะแนนใช้มือตรวจ ใช้เครื่องมอื เทคโนโลยีในการประเมินมากขึ้น 4. การประเมินการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 4.1 กรอบการประเมินการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ครูผู้สอนสามารถวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ โดยมีองค์ประกอบดงั ภาพต่อไปนี้ สารวจ แบง่ ปนั สรา้ งสรรค์ เข้าใจ เรยี นรู้ ภาพที่ 11.2 แสดงกรอบการประเมินการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 ทีม่ า: ดักลาส รฟี ส์, 2554 อ้างถึงใน อิทธิพทั ธ์ สวุ ทันพรกลู , 2557

- 220 - จากภาพที่ 11.2 สารวจ หมายถึง ผู้เรียนได้เรียนรู้อะไรนอกจากในบทเรียน สร้างสรรค์ หมายถึง ผู้เรียนได้เสนออะไรใหม่ ๆ บ้างที่เป็นความคิด ความรู้ ความเข้าใจ รวมถึงการใช้เทคโนโลยี เรียนรู้ หมายถึง ผู้เรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง และทาอะไรได้บ้าง เข้าใจ หมายถึง มีหลักฐานอะไรที่แสดงว่าผู้เรียนรู้จักและจะประยุกต์ใช้สิ่งที่เรียนรู้ในสถานการณ์อื่น อย่างไร แบ่งปัน หมายถึง ผู้เรียนจะใช้สิ่งที่ได้เรียนรู้เพื่อช่วยเหลือหรือเป็นประโยชน์ต่อตนเอง ผอู้ ืน่ ชั้นเรยี น สถานศกึ ษา ชมุ ชน หรอื ชาติอย่างไร ครูผู้สอนใช้วิธีการสอนตามกรอบการประเมินการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 จะเป็นการ ประเมินโดยภาพรวม ประเมินอย่างไม่เป็นทางการ และประเมินได้หลากหลายวิธี โดยใช้คาถาม ทีเ่ กี่ยวข้องกับองค์ประกอบต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างเข้าใจและสามารถนาไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตได้จริง ดังน้ัน การประเมินการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Assessment of 21st Century Skills) ทีเ่ น้นการประเมินเพือ่ ใหผ้ เู้ รียนเกิดทักษะในการดารงชีวติ มีจุดเน้น คือ 1) สรา้ ง ความสมดุลในการประเมินผลเชิงคุณภาพ 2) เน้นการนาประโยชน์ของผลสะท้อนจากการ ปฏิบัติของผู้เรียนมาปรับปรุงแก้ไขงาน 3) ใช้เทคโนโลยีเพื่อยกระดับการทดสอบวัดและ ประเมินผลใหเ้ กิดประสทิ ธิภาพสงู สุด 4.2 ทฤษฎีการเรียนรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นการเรียนรู้ด้วยทฤษฎีไปสู่การปฏิบัติ ซึ่งการ ปฏิบัติเหล่านั้นจะทาให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ ถือเป็นสิ่งสาคัญและมีความซับซ้อน เช่นกัน วิธีการสอนแต่ละวิธีจะส่งผลการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน ดังแสดงในภาพปิรามิด แหง่ การเรยี นรู้ (Learning Pyramid) (นวพร ชลารักษ์, 2558) ภาพที่ 11.3 แสดงภาพปิรามิดแหง่ การเรียนรู้ (Learning Pyramid) ทีม่ า: National Training Laboratories,Bethel,Maine อ้างถึงใน นวพร ชลารักษ์, 2558

- 221 - จากภาพที่ 11.3 ปิรามิดแห่งการเรียนรู้ ในแต่ละข้ันตอนคือการจัดการเรียนรู้ ในช้ันเรียน โดยการสอนแบบบรรยาย (Lecture) คือ ผู้เรียนนั่งฟังผู้สอนบรรยาย (Passive Learning) มีอตั ราการเรียนรู้น้อยที่สุด ในทางตรงกันข้ามการสอนคนอืน่ ลงมือทาโดยนาความรู้ มาใช้ หรือถ่ายทอดด้วยวิธีการต่าง ๆ จากความรู้ที่มีในตนเองต่อผู้อื่น ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การอธิบาย การสาธิต เป็นต้น (Teach Others) ทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ สามารถจัดระบบ ความรู้ และถ่ายทอดด้วยการปฏิบตั ิ (Active Learning) 5. การทดสอบทางการศึกษาในศตวรรษที่ 21 การทดสอบทางการศึกษาในปัจจุบัน มุ่งเน้นการทดสอบเพื่อประยุกต์ใช้ในการ แก้ปัญหาในชีวิตประจาวันมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การประเมินระดับสากลอย่าง PISA (Programme for International Student Assessment) ซึ่งเป็นประเมินความสามารถ (การรู้เรือ่ ง) ได้แก่ การรู้เร่ืองการอ่าน (Reading Literacy) การรู้เรื่องคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy) และการรู้เร่ืองวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) โดยมีจุดประสงค์การประเมิน เพื่อสารวจ ระบบการศึกษาของประเทศต่าง ๆ ว่าเยาวชนของชาติมีความพร้อมสาหรับการใช้ชีวิตและ การมสี ่วนรว่ มในสงั คมในอนาคตเพียงพอหรอื ไม่ PISA เลือกประเมินนักเรียนอายุ 15 ปี ซึ่งเป็นวัยที่จบการศึกษาภาคบังคับ การสุ่ม ตัวอย่างนักเรียนทาตามระบบอย่างเคร่งครัด เพื่อประกันว่านักเรียนเป็นตัวแทนของนักเรียน ท้ังระบบ อีกทั้งการวิจัยในทุกขั้นตอนต้องอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของ OECD ทุกประเทศ ต้องทาตามกฎเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดอย่างเคร่งครัด เพื่อให้การวิจัยมีคุณภาพอยู่ในระดับ เดียวกัน และข้อมูลของทุกประเทศมีมาตรฐานเดียวกัน เพื่อให้สามารถนามาวิเคราะห์ร่วมกัน ได้ และตามข้อตกลงในการดาเนินโครงการ PISA ของ OECD ไม่อนุญาตให้เปิดเผยรายชื่อ ของโรงเรียนกลุ่มตัวอย่าง (สสวท., 2559) สาหรับ PISA ประเทศไทย ได้กาหนดกรอบ การสุ่มตัวอย่าง (sampling frame) เป็นนักเรียนอายุ 15 ปี ที่กาลังศึกษาอยู่ในช้ันมัธยมศึกษา ปีที่ 1 ขึ้นไป จากโรงเรียนทุกสังกัด ได้แก่ สังกัดของสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน สังกัดสานักงานคณ ะกรรมการการศึกษาเอกชน สังกัดสานักการศึกษา กรุงเทพมหานคร สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย โรงเรียนสาธิต ของมหาวิทยาลัย สังกัดสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และวิทยาลัยในสังกัด สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา การประเมินแบบ PISA เพื่อต้องการตรวจสอบคุณภาพของระบบการศึกษา และ สมรรถนะของนักเรียนวัยจบการศึกษาภาคบังคับของชาติเกี่ยวกับความรู้และทักษะที่จาเป็น

- 222 - สาหรับอนาคต โดยใช้มาตรฐานของประเทศที่พัฒนาแล้วเป็นเกณฑ์ชี้วัด ผลสัมฤทธิ์จากการ ทาแบบทดสอบและข้อมูลเกี่ยวกับตัวนักเรียน รวมทั้งข้อมูลนโยบาย การบริหารจัดการ และ การจัดการเรียนการสอนจากผู้บริหารของโรงเรียนทาให้ได้ข้อมูลคุณภาพการศึกษาของ ประเทศท้ังนี้เพื่อนาไปสู่การประเมินและพัฒนานโยบายทางการศึกษาการพัฒนาหลักสู ตร การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา รวมไปถึงการจัดการเรียนการสอนของประเทศ ให้มคี ุณภาพทัดเทียมกบั นานาชาติตอ่ ไป ซึ่งการประเมินแบบ PISA ประเมินความสามารถ (การรู้เร่ือง) ได้แก่ การรู้เร่ือง การอ่าน (Reading Literacy) การรู้เร่ืองคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy) และการรู้เร่ือง วิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) (สสวท., 2559) มีรายละเอียดดังนี้ 5.1 การรู้เรอ่ื งการอ่าน (Reading Literacy) 5.1.1 การอ่านตามนิยามของ PISA การรู้เร่ืองการอ่าน (Reading literacy) หมายถึง ความรู้และทักษะที่จะเข้าใจเร่ืองราวและสาระของสิ่งที่ได้อ่าน ตีความหรือแปล ความหมายของข้อความที่ได้อ่าน และประเมิน คิดวิเคราะห์ ย้อนกลับไปถึงจุดมุ่งหมายของ การเขียนได้ว่าต้องการส่งสารอะไรให้ผู้อ่าน ทั้งนี้เพื่อจะประเมินว่านักเรียนได้พัฒนาศักยภาพ ในการอ่านของตนและสามารถใช้การอ่านให้เป็นประโยชน์ในการเรียนรู้ ในการมี ส่วนร่วมในกิจกรรมและความเป็นไปของสังคมอย่างมีประสิทธิภาพ หรือไม่เพียงใด เพราะ การประเมินของ PISA น้ันเน้น “การอ่านเพื่อการเรียนรู้” มากกว่าทักษะในการอ่านที่เกิดจาก การ “การเรียนรู้เพื่อการอ่าน” และ PISA ประเมินผลเพื่อศึกษาว่านักเรียนจะสามารถรู้เร่ือง ที่ได้อ่าน สามารถขยายผลและคิดย้อนวิเคราะห์ความหมายของข้อความที่ได้อ่าน เพื่อใช้ ตามวัตถุประสงค์ของตนในสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างกว้างขวางทั้งในโรงเรียนและในชีวิตจริง นอกโรงเรยี น นิยามเร่ืองการอ่านของ PISA จึงมีความหมายกว้างกว่าการอ่านออกและ อ่านรู้เร่ืองในสิ่งที่อ่านตามตัวอักษรเท่าน้ัน แต่การอ่านยังได้รวมถึงความเข้าใจเร่ืองราวสาระ ของเน้ือความ สามารถคิดพิจารณาถึงจุดมุ่งหมายของการเขียน สามารถนาสาระจากข้อเขียน ไปใช้ในจุดมุ่งหมายของตน และทาให้สามารถมีส่วนร่วมในสังคมสมัยใหม่ที่มีความยุ่งยาก ซบั ซ้อนข้ึน ด้วยการสื่อสารจากข้อเขียน 5.1.2 วิธีการวัดความรู้และทักษะการอ่านของ PISA ในการทดสอบการอ่าน นักเรียนจะได้รับข้อความต่าง ๆ หลากหลายแบบด้วยกันให้อ่าน แล้วให้แสดงออกมาว่า มีความเข้าใจอย่างไร โดยให้ตอบโต้ ตอบสนอง สะท้อนออกมาเป็นความคิดหรือคาอธิบาย ของตนเอง และให้แสดงวา่ จะสามารถใช้สาระจากสิง่ ที่ได้อ่านในลกั ษณะต่าง ๆ กนั ได้อย่างไร

- 223 - 5.1.3 องค์ประกอบของความรู้และทักษะการอ่านท่ีประเมิน PISA เลือกที่จะ ประเมินโดยใช้แบบรูปการอ่าน 3 แบบด้วยกนั ได้แก่ 1) การอ่านข้อเขียนรูปแบบต่าง ๆ PISA ประเมินการรู้เร่ืองจากการอ่าน ข้อความแบบต่อเน่ือง ให้จาแนกข้อความแบบต่าง ๆ กัน เช่น การบอก การพรรณนา การโต้แย้ง นอกจากน้ัน ยังมีข้อเขียนที่ไม่ใช่ข้อความต่อเนื่อง ได้แก่ การอ่านรายการ ตาราง แบบฟอร์ม กราฟ และแผนผัง เป็นต้น ท้ังน้ี ได้ยึดสิง่ ที่นักเรียนได้พบเหน็ ในโรงเรยี น และจะต้อง ใช้ในชีวติ จรงิ เมอ่ื โตเป็นผู้ใหญ่ 2) สมรรถนะการอ่านด้านต่าง ๆ 3 ด้านเนื่องจาก PISA ให้ความสาคัญ กับการอ่านเพื่อการเรียนรู้ มากกว่าการเรียนเพื่อการอ่าน นักเรียนจึงไม่ถูกประเมินการอ่าน ธรรมดา (เช่น อ่านออก อ่านได้คล่อง แบ่งวรรคตอนถูก ฯลฯ) เพราะถือว่านักเรียนอายุ 15 ปี จะต้องมีทักษะเหล่าน้ันมาแล้วเป็นอย่างดี แต่ PISA จะประเมินสมรรถภาพของนักเรียน ในแงม่ ุมตอ่ ไปนี้ 2.1) ความสามารถที่จะดึงเอาสาระของสิ่งที่ได้อ่านออกมา (Retrieving information) ต่อไปจะใช้คาว่า “ค้นสาระ” 2.2) ความเข้าใจข้อความที่ได้อ่าน สามารถตีความ แปลความสิ่งที่ได้ อ่าน คิดวิเคราะห์เน้ือหาและรูปแบบของข้อความที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ ในชีวิตหรือในโลก ทีอ่ ยู่ (Interpretation) ซึง่ ต่อไปจะใช้คาว่า “ตีความ” 2.3) ความเข้าใจข้อความที่ได้อ่าน สามารถตีความ แปลความสิ่งที่ได้ อ่าน คิดวิเคราะห์เน้ือหาและรูปแบบของข้อความที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ ในชีวิตหรือในโลก ที่อยู่ พร้อมท้ังความสามารถในการประเมินข้อความที่ได้อ่าน และสามารถให้ความเห็น หรือ โต้แย้งจากมมุ มองของตน (Reflection and Evaluation) หรอื เรียกว่า “วิเคราะห”์ 3) ความสามารถในการใช้การอ่าน PISA ประเมินความรแู้ ละทักษะการอา่ น อีกองค์ประกอบหนึ่ง โดยดูความสามารถในการใช้การอ่านที่ว่ามีความเหมาะสมสอดคล้องกับ ลักษณ ะของข้อเขียนได้มากน้อยเพียงใด เช่น ใช้นวนิยาย จดหมาย หรือชีวประวัติ เพื่อประโยชน์ส่วนตัว ใช้เอกสารราชการหรือประกาศแจ้งความเพื่อสาธารณประโยชน์ ใช้รายงานหรอื คู่มอื เพื่อการทางานอาชีพ ใช้ตาราหรอื หนงั สือเรยี น เพือ่ การศกึ ษา เปน็ ต้น 5.2 การร้เู รอ่ื งคณติ ศาสตร์ (Mathematical Literacy) 5.2.1 กรอบการประเมินผลการรู้คณิตศาสตร์ จุดมุ่งหมายหลักๆ ของ การประเมินผลของ PISA ก็เพื่อต้องการพัฒนาตัวชี้วัดว่าระบบการศึกษาของประเทศที่ร่วม โครงการสามารถให้การศึกษาเพื่อเตรียมตัวเยาวชนอายุ 15 ปีให้พร้อมที่จะมีบทบาทหรือ

- 224 - มีส่วนสร้างสรรค์ และดาเนินชีวิตอย่างมีคุณภาพในสังคมได้มากน้อยเพียงใด การประเมินของ PISA มีจุดหมายที่มองไปในอนาคตมากกว่าการจากดั อยู่ที่การวัดและประเมินผลตามหลักสูตร ที่นักเรียนได้เรียนในปัจจุบัน และการประเมินผลก็มุ่งความชัดเจนที่จะหาคาตอบว่านักเรียน สามารถนาสิ่งที่ได้ศกึ ษาเล่าเรียนในโรงเรียนไปใช้ในสถานการณ์ทีน่ ักเรียนมีโอกาสที่จะต้องพบ เจอในชีวิตจริงได้หรือไม่อย่างไร PISA ได้ให้ความสาคัญกับปัญหาในชีวิตจริง ในสถานการณ์ จริงในโลก (คาว่า “โลก” ในที่นี้หมายถึง สถานการณ์ของธรรมชาติ สังคม และวัฒนธรรม ที่บุคคลน้ัน ๆ อาศัยอยู่) ปกติคนเราจะต้องพบกับสถานการณ์ต่าง ๆ เช่น การจับจ่ายใช้สอย การเดินทาง การทาอาหาร การจดั ระเบียบการเงินของตน การประเมินสถานการณ์ การตัดสิน ประเด็นปัญหาทางสังคมการเมือง ฯลฯ ซึ่งความรู้คณิตศาสตร์สามารถเข้ามาช่วยทาให้การ มองประเด็น การต้ังปัญหา หรือการแก้ปัญหามีความชัดเจนยิ่งขนึ้ การใช้คณิตศาสตร์ดงั กล่าว นั้น แม้จะต้องมีรากฐานมาจากทักษะคณิตศาสตร์ในช้ันเรียน แต่ก็จาเป็นต้องมีความสามารถ ในการใช้ทักษะน้ัน ๆ ในสถานการณ์อื่น ๆ นอกเหนือไปจากสถานการณ์ของปัญหา คณิตศาสตร์ล้วน ๆ หรือแบบฝึกคณิตศาสตร์ที่เรียนในโรงเรียนที่นักเรียนจะสามารถคิดอยู่ใน วงจากดั ของเนื้อหาวิชา โดยไม่ต้องคานึงถึงความเป็นจริงมากนัก แต่การใช้คณิตศาสตร์ในชีวิต จริงนักเรียนต้องรู้จักสถานการณ์ หรือสิ่งแวดล้อมของปัญหา ต้องเลือกตัดสินใจว่าจะใช้ ความรคู้ ณิตศาสตร์อย่างไร 5.2.2 เนื้อหาคณิตศาสตร์ ตามเกณฑ์การประเมินผลของ PISA ครอบคลุม 4 เรื่องด้วยกัน 1) ปริภูมิและรูปทรงสามมิติ (Space and Shape) เร่ืองของแบบรูป (Pattern) มีอยู่ทุกหนทุกแห่งในโลก แม้แต่การพูด ดนตรี การจราจร การก่อสร้าง ศิลปะ ฯลฯ รปู ร่างเปน็ แบบรูปที่เห็นได้ท่วั ไป เปน็ ต้นวา่ รูปร่างของบ้าน โรงเรียน อาคาร สะพาน ถนน ผลึก ดอกไม้ ฯลฯ แบบรูปเรขาคณิตเป็นตัวแบบ (Model) อย่างง่ายที่พบอยู่ในสิ่งต่าง ๆ ทีป่ รากฏ การศึกษาเร่ืองของรูปร่างมีความเกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับแนวคิดของ เร่ืองที่ว่าง ซึ่งต้องการความเข้าใจในเร่ืองสมบัติของวัตถุและตาแหน่งเปรียบเทียบของวัตถุ เราต้องรู้ว่าเรามองเห็นวัตถุสิ่งของต่าง ๆ อย่างไร และทาไมเราจึงมองเห็นมันอย่างที่เราเห็น เราต้องเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่างและภาพในความคิด หรือภาพที่เรามองเห็น เป็นต้น ว่า มองเห็นความสัมพันธ์ของตัวเมืองจริงกับแผนที่ รูปถ่ายของเมืองน้ัน ข้อนี้รวมทั้งความ เข้าใจในรูปร่างที่เป็นสามมิติที่แสดงแทนออกมาในภาพสองมิติ มีความเข้าใจในเร่ืองของเงา และภาพที่มคี วามลกึ (Perspective) และเข้าใจด้วยว่ามันทางานอย่างไร

- 225 - 2) การเปลี่ยนแปลงและความสัมพันธ์ (Change and Relationships) โลกแสดงให้เราเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงมากมายมหาศาล และแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ ทั้งช่ัวคราวและถาวรของการเปลี่ยนแปลงในธรรมชาติ (ตัวอย่างเช่น มีการเปลี่ยนแปลงของ สิง่ มีชีวิตขณะเจริญเติบโต การหมนุ เวียนของฤดูกาล การขึน้ ลงของกระแสน้า การเปลีย่ นแปลง ของอวกาศ การขึ้นลงของหุ้น การว่างงานของคน) การเปลี่ยนแปลงบางกระบวนการสามารถ บอกได้หรือสร้างเป็นตัวแบบได้โดยตรง โดยใช้ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ ความสัมพันธ์ ทางคณิตศาสตร์ส่วนมากเป็นรูปของสมการหรืออสมการ แต่ความสัมพันธ์ในธรรมชาติอื่น ๆ ก็อาจเกิดขึ้นได้เช่นกัน ความสัมพันธ์หลายอย่างไม่สามารถใช้คณิตศาสตร์ได้โดยตรง ต้องใช้ วิธีการอน่ื ๆ และจาเป็นต้องมีการวิเคราะหข์ ้อมูล เพือ่ ระบถุ ึงความสมั พนั ธ์ 3) ปริมาณ (Quantity) จุดเน้นของเร่ืองนี้ คือ การบอกปริมาณ รวมทั้ง ความเข้าใจเร่ืองของขนาด (เปรียบเทียบ) แบบรูปของจานวน และการใช้จานวน เพื่อแสดง ปริมาณและแสดงวัตถุต่าง ๆ ในโลกจริง ๆ เป็นเชิงปริมาณ (การนับและการวัด) นอกจากนี้ ปริมาณยังเกี่ยวข้องกับกระบวนการและความเข้าใจเร่ืองจานวนที่นามาใช้ในเร่ืองต่าง ๆ อย่างหลากหลาย 4) ความไม่แน่นอน (Uncertainty) เร่ืองของความไม่แน่นอนเกี่ยวข้องกับ สองเรอ่ื ง คือ ข้อมูล และ โอกาส ซึ่งเป็นการศึกษาทาง “สถิติ” และเร่ืองของ “ความน่าจะเปน็ ” ข้อแนะนาสาหรับหลักสูตรคณิตศาสตร์ในโรงเรียนสาหรับประเทศสมาชิก OECD คือ ให้ความสาคัญกับเรื่องของสถิติและความน่าจะเป็นให้เป็นจุดเด่นมากกว่าที่เคยเป็นมาในอดีต เพราะว่าโลกปัจจุบันในยุคของ “สังคมข้อมูลข่าวสาร” ข้อมูลข่าวสารที่หลั่งไหลเข้ามาและ แม้ว่าจะอ้างว่าเป็นข้อมูลที่ถูกต้องตรวจสอบได้ก็จริง แต่ในชีวิตจริงเราก็ต้องเผชิญกับ ความไม่แน่นอนหลายอย่าง เช่น ผลการเลือกต้ังที่ไม่คาดคิด การพยากรณ์ อา กาศ ที่ไม่เที่ยงตรง การล้มละลายทางเศรษฐกิจ การเงิน การพยากรณ์ต่าง ๆ ที่ผิดพลาด แสดงให้เห็นถึงความไม่แน่นอนของโลกคณิ ตศาสตร์ที่เข้ามามีบทบาทในส่วนนี้ คือ การเกบ็ ข้อมลู การวิเคราะหข์ ้อมลู การเสนอข้อมูล ความนา่ จะเปน็ และการอา้ งองิ (สถิต)ิ เนือ้ หาคณิตศาสตร์สี่ด้านดังกล่าวนี้ คอื จุดเน้นของ OECD/PISA ซึ่งอาจจะ ไม่ใช่จดุ เน้นของหลักสตู รคณิตศาสตร์ในหลายๆ ประเทศหรือหลายๆ หลกั สูตร 5.2.3 สมรรถนะทางคณิ ตศาสตร์ (Mathematical Competencies) ความรู้ ในเนื้อหาคณิตศาสตร์ล้วน ๆ ยังไม่เพียงพอสาหรับการแก้ปัญหา แง่มุมที่สาคัญของการรู้เร่ือง คณิตศาสตร์ที่สาคัญอีกด้านหนึ่ง คือ เร่ืองของ “กระบวนการทางคณิตศาสตร์” หรือ การคิด ให้เป็นคณิตศาสตร์ (Mathematising) กระบวนการที่นักเรียนนามาใช้ในความพยายามที่จะ

- 226 - แก้ปัญหานั้น ถือว่าเป็น สมรรถนะทางคณิตศาสตร์ สมรรถนะต่าง ๆ เหล่านี้จะสะท้อนถึง วิธีทีน่ กั เรียนใชก้ ระบวนการทางคณติ ศาสตร์ในการแก้ปัญหา สมรรถนะของคนไม่ใช่สิ่งที่จะแยกออกมาวัดได้โดด ๆ แต่ในการแสดง ความสามารถอย่างใดอย่างหนึ่ง อาจมีหลายสมรรถนะซ้อนกันอยู่ นักเรียนจาเป็นต้องมีและ สามารถใช้หลายสมรรถนะหรือเรียกว่า กลุ่มของสมรรถนะในการแก้ปัญหา ซึ่งรวมไว้เป็น 3 กลุ่ม คือ 1) Reproduction (การทาใหม่) 2) Connection (การเชื่อมโยง) 3) Reflection and Communication (การสะท้อนและการส่ือสารทางคณิตศาสตร์) นอกจากข้อสอบของ PISA จะใช้สถานการณ์ที่มีอยู่ในโลกของความเป็นจริง แล้ว ยังต้องการให้นักเรียนใช้ความคิดที่สูงขึ้นไปจากการคิดคานวนหาคาตอบที่เป็นตัวเลข แตต่ ้องการให้นกั เรียนรู้จักคิด ใช้เหตผุ ล และคาอธิบายมาประกอบคาตอบของตนอกี ด้วย 5.2.4 ภารกิจการประเมินการรู้เร่ืองทางคณิตศาสตร์ PISA จึงให้ความชัดเจน ที่ความต้องการใหน้ ักเรียนเผชิญหน้ากับปัญหาทางคณิตศาสตรท์ ี่มีอยู่ในแวดวงของการดาเนิน ชีวิต ซึ่งต้องการให้นักเรียนระบุสถานการณ์ที่สาคัญของปัญหา กระตุ้นให้หาข้อมูล สารวจ ตรวจสอบ และนาไปสู่การแก้ปัญหา ในกระบวนการนี้ต้องการทักษะหลายอย่าง เป็นต้นว่า ทักษะการคิดและการใช้เหตุผล ทักษะการโต้แย้ง การสื่อสาร ทักษะการสร้างตัวแบบ การต้ังปัญ หาและการแก้ปัญ หา การนาเสนอ การใช้สัญ ลักษ ณ์ การดาเนินการ ในกระบวนการเหล่านี้ นกั เรียนต้องใช้ทักษะต่าง ๆ ที่หลากหลายมารวมกัน หรอื ใช้ทักษะหลาย อย่างที่ทับซ้อนหรือคาบเกี่ยวกัน ดังน้ันการที่ PISA เลือกใช้คาว่า การรู้เร่ืองคณิตศาสตร์ แทนคาว่า “ความรู้คณิตศาสตร์” ก็เพื่อเน้นความชัดเจนของความรู้คณิตศาสตร์ที่นามาใช้ ในสถานการณ์ต่าง ๆ ท้ังนี้ โดยถือข้อตกลงเบื้องต้นว่าการที่คนหนึ่งจะใช้คณิตศาสตร์ได้ คนน้ันจะต้องมีความรู้พื้นฐานและทักษะทางคณิตศาสตร์มากพออยู่แล้ว ซึ่งน่ันก็หมายถึง สิง่ ที่นกั เรียนได้เรียนไปขณะอยู่ในโรงเรียน เจตคติและความรู้สึกที่เกี่ยวข้องกบั คณิตศาสตร์ เช่น ความม่ันใจ ความอยากรู้ อยากเห็น ความสนใจความรู้สึกว่าตรงปัญหาหรือตรงกับประเด็น และความอยากที่จะเข้าใจ สิ่งต่าง ๆ รอบตัว แม้จะไม่ถือว่าเป็นเร่ืองคณิตศาสตร์ แต่ก็ถือว่ามีส่วนสาคัญในการทาให้รู้ เรื่องคณิตศาสตร์ เพราะโดยความเป็นจริงแล้วการรู้เรื่องคณิตศาสตร์จะไม่เกิดขึ้น หากบุคคล ขาดเจตคติและความรู้สึกต่อคณิตศาสตร์ และมีหลักฐานเป็นที่ยอมรับว่ามีความเกี่ยวข้อง สัมพันธ์กนั ระหว่างการรู้เรอ่ื งทางคณิตศาสตร์กับเจตคติและความรู้สึกต่อคณิตศาสตร์ ในการ ประเมินผลของ PISA จะไม่มีการวัดด้านนี้โดด ๆ โดยตรง แต่จะมีการหยิบยกมาพิจารณา ในบางองค์ประกอบของการประเมิน

- 227 - 5.3 การรเู้ รอ่ื งวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Literacy) 5.3.1 กรอบการประเมินผลวิทยาศาสตร์ของ PISA 2006 แนวคิดของ การประเมินการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ของ PISA 2006 มีหลักการบนพื้นฐานว่าประชาชนพลเมือง ที่ต้องใช้ชีวิตในสังคมที่ต้องเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจาเป็นต้องรู้อะไร และ สามารถทาอะไรได้ ในสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และประชาชน ควรใหค้ วามสาคัญกบั เรื่องอะไร ความรู้วิทยาศาสตร์สาหรับประชาชน ซึ่งครอบคลุม ความรู้ที่ใช้ได้ ในบริบทที่คนปกติท่ัวไปมักจะต้องประสบในชีวิตจริง ความรู้ในกระบวนการวิทยาศาสตร์ และ ความรใู้ นเร่อื งความเช่อื มโยงระหว่างวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งสามารถนิยามได้สั้นๆ ว่าคือความสามารถ ในก ารใช้วิท ยาศ าสต ร์เพื่ อระบุ ป ระเด็ น ท างวิท ยาศาส ตร์ อ ธิบ ายป ราก ฏ การณ์ ในเชิงวิทยาศาสตร์ และใช้ประจกั ษ์พยานทางวิทยาศาสตร์ การให้ความสาคัญ กับสิ่งที่มีบท บาทและมีส่วนร่วมสร้างสังคม วิทยาศาสตร์ ท้ังในชีวิตส่วนตัว ในบริบทสังคม และในบริบทของโลกโดยรวม นั่นคือ ความสนใจในวิทยาศาสตร์ สนับสนุนส่งเสริมการใช้กระบวนการวิทยาศาสตร์ และแสดง ความรบั ผดิ ชอบต่อทรพั ยากร ธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม จุดเน้นของ PISA คือให้ความสาคัญกับศักยภาพของนักเรียนในการใช้ วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องในชีวิตจริงในอนาคต เพื่อจะศึกษาว่าเยาวชนวัยจบการศึกษาภาค บังคับจะสามารถเป็นประชาชนที่รับรู้ประเด็นปัญหา รับสาระ ข้อมูล ข่าวสาร และสามารถ ตอบสนองอย่างไร อีกท้ังเป็นผู้บริโภคที่ฉลาดเพียงใด กรอบโครงสร้างการประเมินผลของ PISA จงึ ครอบคลุมแง่มมุ ต่าง ๆ ต่อไปนี้ 1) บริบทของวิทยาศาสตร์ ได้แก่ สถานการณ์ในชีวิตที่เกี่ยวข้องกับ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทั้งในระดับส่วนตวั สังคม และโลก 2) ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วยสองส่วน ได้แก่ “ความรู้ วิทยาศาสตร์” คือ ความรู้ในเร่ืองโลกธรรมชาติที่เกี่ยวข้องในชีวิตจริง ซึ่งจากัดอยู่ใน 4 ระบบ ได้แก่ ระบบทางกายภาพ (รวมความรู้เคมีและฟิสิกส์) ระบบสิ่งมีชีวิต ระบบของโลกและ อวกาศ และระบบเทคโนโลยี ซึ่งผสมผสานอยู่ในสามระบบแรก นอกจากนั้นยังประกอบด้วย “ความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์” คือ ความรู้ในวิธีการหรือกระบวนการหาความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ที่สามารถประยกุ ต์ใชก้ บั ชีวติ จรงิ ได้

- 228 - 3) สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งหมายถึงการใช้ความรู้วิทยาศาสตร์ ในสามด้านหลักๆ ได้แก่ การระบุประเด็นทางวิทยาศาสตร์ (Identifying Scientific Issues) การอธิบายปรากฏการณ์ในเชิงวิทยาศาสตร์ (Explain Phenomena Scientifically) การใช้ ประจกั ษ์พยานทางวิทยาศาสตร์ (Using Scientific Evidence) 4) เจตคติเชิงวิทยาศาสตร์ ได้แก่ การแสดงการตอบสนองต่อวิทยาศาสตร์ ด้วยความสนใจ สนับสนุนการสืบหาความรู้วิทยาศาสตร์ และแสดงความรับผิดชอบ ต่อส่งิ ตา่ ง ๆ เช่น ในประเด็นของทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม 6. เครื่องมือวัดความรู้ความสามารถระดับสากล เคร่ืองมือวัดความรู้ความสามารถหรือการรู้เร่ือง ในบทนี้จะกล่าวถึงเคร่ืองมือที่ใช้ใน การประเมนิ ในปี 2015 (พ.ศ. 2558) คือ 1) แบบทดสอบ มีข้อสอบ ประกอบด้วย ข้อสอบด้านวิทยาศาสตร์ ข้อสอบด้าน คณิตศาสตร์ ข้อสอบการอ่าน และข้อสอบด้านการแก้ปญั หาแบบร่วมมือ 2) แบบสอบถาม ทีอ่ ธิบายผลที่ได้จากการทดสอบ ประกอบด้วย 2.1) แบบสอบถามสาหรับโรงเรยี น 2.2) แบบสอบถามสาหรับผู้เรียน เป็นการสอบถามเกี่ยวกับเจตคติต่อการเรียนรู้ และประสบการณใ์ นชีวติ ของผู้เรยี น 2.3) แบบสอบถามเกี่ยวกับการศึกษาเพิ่มเติมของผู้เรียน โดยมีหัวข้อคาถาม เกี่ยวกับเส้นทางการศึกษาของผู้เรียนแต่ละคน และโอกาสในการเรียนรู้เพิ่มเติมนอกเหนือจาก เนือ้ หาที่บงั คับเรียนในโรงเรียน 2.4) แบบสอบถามความคุ้นเคยในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร (ICT) (สสวท., 2560) ซึ่งเคร่ืองมือที่ใช้ประเมินความสามารถ คือ แบบทดสอบ เป็นข้อสอบเพื่อประเมิน ความสามารถ (การรู้เร่ือง) ของผู้เรียนอายุ 15 ปี และอยู่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ขึ้นไป ได้แก่ การรู้เร่ืองการอ่าน (Reading Literacy) การรู้เรื่องคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy) และการรเู้ รื่องวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) โดยมีรปู แบบของขอ้ สอบการประเมนิ ดังน้ี

- 229 - 6.1 ข้อสอบประเมินการรูเ้ รอ่ื งวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Literacy) การรู้เร่ืองวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) หมายถึง ความสามารถในการ เชื่อมโยงสิ่งต่าง ๆ เข้ากับประเด็นที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ และแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ ได้อย่างไตร่ตรอง ซึ่งได้กาหนดกรอบโครงสร้างการประเมินผลการรู้เร่ืองวิทยาศาสตร์ ซึง่ ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบทีเ่ กี่ยวข้องกนั ได้แก่ 6.1.1 บริบท หมายถึง การรับรู้ถึงสถานการณ์ในชีวิต ในระดับส่วนตัว ระดับชาติ และระดับโลก ทั้งที่เป็นเร่ืองในปัจจุบัน หรือในอดีตที่ผ่านมา ซึ่งจาเป็นต้องมีความเข้าใจ เรือ่ งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 6.1.2 ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง ความเข้าใจในข้อเท็จจริง แนวคิดหลัก และทฤษฎีสาคัญที่ทาให้เกิดความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ความรู้ ประกอบด้วย ความรู้ เกี่ยวกับธรรมชาติของโลกและสิ่งประดิษฐ์ทางเทคโนโลยี(ความรู้ด้านเนื้อหา) ความรู้เกี่ยวกับ วิธีการในการสร้างแนวคิดต่าง ๆ (ความรู้ด้านกระบวนการ) และความเข้าใจในเหตุผลพื้นฐาน ของกระบวนการสร้างความรู้ (ความรเู้ กีย่ วกบั การได้มาของความรู้) 6.1.3 สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง ความสามารถในการอธิบาย ปรากฏการณ์ในเชิงวิทยาศาสตร์ การประเมินและออกแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ และการแปลความหมายข้อมูลและใช้ประจกั ษ์พยานเชิงวิทยาศาสตร์ 6.1.4 เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ หมายถึง การแสดงการตอบสนองต่อวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีด้วยความสนใจ ให้ความสาคัญ กับกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ และรบั รู้และตระหนกั ถึงปัญหาส่งิ แวดล้อม รูปแบบการตอบคาถามที่ใช้วดั สมรรถนะและความรู้ทางวิทยาศาสตร์มี 3 รูปแบบ คื อ 1) แบ บ เลื อก ต อบ โด ยมี ลั ก ษ ณ ะก ารตอ บ ค าถ าม โด ยเลื อ กห นึ่ งค าต อ บ จาก 4 ตัวเลือก หรือเลือกคาตอบที่เป็นองค์ประกอบที่อยู่ในภาพหรือข้อความ 2) แบบเลือกตอบ เชิงซ้อนโดยมีลักษณะการตอบคาถามโดยเลือก “ใช่” หรือ “ไม่ใช่” ในชุดคาถาม ซึ่งจะได้ คะแนนเม่ือตอบถูกท้ังหมดในชุดคาถามน้ัน หรือเลือกมากกว่าหนึ่งคาตอบจากรายการ ที่กาหนดให้ หรือเติมคาในประโยคให้สมบูรณ์โดยการเลือกคาตอบจากรายการที่กาหนดให้ หรือลากคาตอบลงมาวางในตาแหน่งที่กาหนดให้ เช่น การจับคู่ การเรียงลาดับ หรือ การจาแนกประเภท เป็นต้น 3) แบบเขียนตอบโดยมีลักษณะคาตอบให้เขียนคาตอบแบบส้ัน เป็นกลุ่มคา หรือเขียนคาตอบแบบยาวเป็นย่อหน้าส้ัน ๆ หรือคาถามบางข้อจะให้วาดภาพ เช่น กราฟ แผนภาพ สาหรบั การสอบด้วยคอมพิวเตอร์ เป็นต้น

- 230 - ตัวอย่างข้อสอบประเมินการรู้เรอ่ื งวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) เร่อื ง การอพยพของนก การอพยพของนก คือ การที่นก เคลื่อนย้ายตามฤดูกาลในปริมาณมาก เพื่อไปและกลับจากสถานที่ผสมพันธุ์ ทุกปีจะมีอาสาสมัครนับจานวนนกอพยพ ตามสถานที่ที่กาหนด นักวิทยาศาสตร์ จับนกบางตัวมาติดเคร่ืองหมายที่มีทั้ง วงแหวนและธงสีที่ขา นักวิทยาศาสตร์ ใช้การมองหานกที่ถูกติดเคร่ืองหมายกับ การนั บ จาน วน น กของอาส าส มั ค ร เพือ่ กาหนดเส้นทางอพยพของนก ที่มา: สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี, 2561 คาถามที่ 1 นกอพยพส่วนใหญ่รวมกลุ่มกันอยู่ในบริเวณหนึ่ง แล้วจึงอพยพเป็นกลุ่มใหญ่มากกว่า ที่จะไปเพียงตัวเดียว พฤติกรรมนี้เป็นผลจากวิวัฒนาการ คาอธิบายต่อไปนี้ใช้อธิบายทาง วิทยาศาสตร์ได้ดีที่สดุ ในเชิงวิวัฒนาการของพฤติกรรมลกั ษณะนขี้ องนกอพยพส่วนใหญ่ 1. นกที่อพยพเพียงตวั เดียวหรอื เป็นกลุ่มเล็ก มีโอกาสน้อยทีจ่ ะมีชีวติ รอดจนมีลูก 2. นกทีอ่ พยพเพียงตวั เดียวหรือเปน็ กลุ่มเล็ก มีโอกาสมากที่จะหาอาหารได้อย่างเพียงพอ 3. การบินเปน็ กลุ่มใหญ่ทาให้นกสปีชีสอ์ ืน่ เข้าร่วมในการอพยพได้ 4. การบินเป็นกลุ่มใหญ่ทาให้นกแต่ละตัวมีโอกาสพบสถานทีท่ ารังทีด่ ีกว่าว คาตอบที่ 1 ตอบ ตวั เลือก 1. คาถามที่ 2 จากเร่ือง “การอพยพของนก” จงระบุปัจจัยที่ทาให้การนับจานวนนกอพยพของ อาสาสมัครไม่แม่นยา และอธิบายว่าปจั จยั นั้นมผี ลตอ่ การนบั อย่างไร จงเขียนคาตอบ คาตอบที่ 2

- 231 - ระบุปัจจัยอย่างน้อยหน่งึ ปจั จัยที่เฉพาะเจาะจง ที่ส่งผลต่อความแม่นยาของการนบั โดย ผสู้ งั เกต เชน่ - ผสู้ ังเกตอาจไม่ได้นับนกบางสว่ นเพราะนกบินสงู - ถ้านกตวั เดิมถกู นบั มากกว่าหน่งึ ครง้ั กจ็ ะทาให้จานวนที่ได้มากเกินไป - สาหรบั นกในกลุ่มใหญ่ อาสาสมัครทาได้เพียงใชก้ ารประมาณว่ามีนกจานวนเท่าใด - ผสู้ งั เกตอาจดชู นิดของนกผิดพลาด ดงั นนั้ จานวนของนกชนิดนนั้ อาจไม่ถกู ต้อง - นกอพยพตอนกลางคนื - อาสาสมคั รไม่ได้มอี ยู่ในทุกแห่งที่นกอพยพ - ผสู้ ังเกตเกิดความผิดพลาดในการนบั - เมฆหรือฝนบดบังนกบางตัว คาถามที่ 3 ข้อความเกี่ยวกับการอพยพของนกหัวโตหลังจุดสีทอง ข้อความใดที่ใช้แผนที่นี้ สนบั สนนุ ได้ เลือกตอบได้มากกว่า 1 ข้อ โดยใช้เครอื่ งหมาย   1. แผนที่แสดงการลดลงของจานวนนักหัวโตหลังจุดสีทองที่อพยพลงใต้ในช่วง สิบปีทีผ่ า่ นมา

- 232 -  2. แผนที่แสดงว่าเส้นทางการอพยพขึ้นเหนือของนกหัวโตหลังจุดสีทองบางส่วน แตกต่างจากเส้นทางการอพยพลงใต้  3. แผนที่แสดงว่านกหัวโตหลังจุดสีทองที่อพยพใช้เวลาในช่วงฤดูหนาวอยู่ในพื้นที่ ทางใต้และตะวันตกเฉียงใต้ของสถานทีผ่ สมพันธ์ุหรอื สถานทีท่ ารัง  4. แผนที่แสดงว่าเส้นทางการอพยพของนกหัวโตหลังจุดสีทองได้ขยับออกห่าง จากพืน้ ที่ชายฝั่งในช่วงสิบปีทีผ่ า่ นมา คาตอบที่ 3 เลือกตอบท้ัง 2 ข้อความ ต่อไปนี้ ข้อ 2. แผนที่แสดงว่าเส้นทางการอพยพขึ้นเหนือของนกหัวโตหลังจุดสีทองบางส่วน แตกต่างจากเส้นทางการอพยพลงใต้ ข้อ 3. แผนที่แสดงว่านกหัวโตหลังจุดสีทองที่อพยพใช้เวลาในช่วงฤดูหนาวอยู่ในพื้นที่ ทางใต้และตะวนั ตกเฉียงใต้ของสถานทีผ่ สมพนั ธ์ุหรอื สถานทีท่ ารัง 4.2 ข้อสอบประเมินการรูเ้ ร่อื งการอ่าน (Reading literacy) การรเู้ ร่อื งการอ่าน (Reading literacy) หมายถึง ความสามารถที่จะทาความเข้าใจ กบั สิ่งที่ได้อ่าน สามารถนาไปใช้สะท้อนออกมาเป็นความคิดเห็นของตนเอง และมีความรักและ ผูกพันกับการอ่าน เพื่อพัฒนาความรู้และศักยภาพ และการมีส่วนร่วมในสังคม รูปแบบการ ประเมินการอา่ นครอบคลมุ ภารกิจในการอ่านซึ่งอยู่บนพื้นฐาน 3 ประการ คือ 4.2.1 สถานการณ์ (Situation) เป็นการหาตัวชี้วัดว่าผู้เรียนมีความสามารถในการ อ่าน “ที่อยู่นอกเหนือจากห้องเรียน” หรือไม่ เพียงใด หมายถึง ต้องให้ครอบคลมุ ถึงสิ่งที่ผเู้ รียน จะต้องไปเผชิญในชีวิตจริงนอกโรงเรียนในวันข้างหน้า การกาหนดสถานการณ์จึงเป็นสิ่งสาคัญ ทีต่ อ้ งระบกุ ารเลือกสิง่ ทีใ่ ห้อา่ น 4.2.2 เนื้อเร่ือง (Text) ครอบคลุมเนื้อเร่อื งที่หลากหลาย และเป็นตัวแทนของสิ่งที่ นักเรียนจะได้พบเจอในวันหน้า และให้ความสาคัญกับลักษณ ะเด่น ๆ ของเนื้อเร่ือง โดยพิจารณา สื่อส่งิ พิมพ์ สือ่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ รปู แบบของเน้ือเรื่อง และสานวนของเนือ้ เรื่อง 4.2.3 กลยุทธ์การอ่าน (Aspect) เป็นกลยุทธ์ในการคิดที่ผู้อ่านใช้ในการพิจารณา เน้ือเร่ืองที่อ่านเพื่อไปถึงเป้าหมายของการอ่าน โดยคาดหวังให้ผู้เรียนแสดงความสามารถ ในการอ่านโดยใช้กลยุทธ์การค้นหาสาระสาคัญ การสร้างความเข้าใจในภาพรวม การตีความ เนือ้ เรือ่ ง การสะท้อนและประเมินเน้ือหาสาระ และสะท้อนและประเมินรปู แบบและวิธีการเขียน

- 233 - ตัวอย่างขอ้ สอบประเมินการรู้เร่อื งคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy) ทีม่ า: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี, 2555 ใช้แผนผังห้องสมดุ ตอบคาถามข้างล่าง คาถามที่ 1 จากแผนผังของหอ้ งสมดุ จงวงกลมล้อมรอบสถานทีท่ ีท่ ่านคิดว่าสามารถหานวนิยาย ภาษาฝรั่งเศสได้พบ คาตอบที่ 1

- 234 - คาถามที่ 2

- 235 - ระยะทางที่ใกล้ทีส่ ุดจากทางเข้าไปถึงทีเ่ ก็บหนงั สือพมิ พ์ตอ้ งผ่านอะไร 1. แผนกวารสาร 2. ทีย่ ืมหนงั สือออก 3. แผนกหนงั สืออ้างองิ 4. มมุ หนงั สือเดก็ คาตอบที่ 1 ข้อ 2. ทีย่ ืมหนังสือออก คาถามที่ 3 หนงั สือใหมว่ างอยู่ที่ไหน 1. ในส่วนนวนิยาย 2. ในส่วนวิชาการ 3. ใกล้ทางเข้า 4. ใกล้โต๊ะประชาสัมพันธ์ จงอธิบายว่าทาไมส่วนนีจ้ ึงถูกเลือกทีว่ างหนงั สอื ใหม่ คาตอบที่ 3 คะแนนเตม็ ตอบข้อ 3. ใกล้ทางเข้า และให้คาอธิบายที่ตรงกนั กับคาตอบ “ใกล้ทางเข้า” - ให้คนเหน็ ได้ทันทีเมื่อเดินเข้ามา - มันอยู่คนละส่วนจากหนงั สืออื่น ๆ และหาได้ง่าย - เพื่อว่าคนจะได้มองเห็นก่อนอนื่ (แสดงความเข้าใจว่าหนงั สือใหมอ่ ยู่ใกล้ทางเข้า) - เพื่อทีจ่ ะมองเห็นชดั - เพื่อที่จะมองเห็นได้งา่ ย และไม่ถูกบังโดยช้ันหนังสอื ต่าง ๆ จนตอ้ งค้นหา - อยู่บนทางที่ตอ้ งผ่านเวลาเดินไปส่วนนวนิยาย หรือ ตอบข้อ 3. ใกล้ทางเข้า และให้คาอธิบายที่แสดงว่าเข้าใจในความสัมพันธ์ระหว่าง ที่ไว้หนงั สือใหมก่ บั ส่วนของห้องสมุดอืน่ ๆ ทีไ่ ม่ใชท่ างเข้า - เพื่อให้เด็ก ๆ มีโอกาสเล่นเม่ือผู้ใหญ่ดูหนังสือ (รู้ว่าหนังสือใหม่อยู่ใกล้กับส่วน ของเล่น) - เมื่อคนมาคืนหนังสือเขาก็จะมองเหน็ หนงั สอื ใหม่ ๆ ได้คะแนนบางสว่ น

- 236 - ไม่ได้ตอบข้อ 3 ใกล้ทางเข้า และใหค้ าอธิบายที่ตรงกับที่ตอบในข้อทีเ่ ลือก - ตอบข้อ 1 ในส่วนนวนิยาย (เพราะว่านี่เป็นส่วนของห้องสมุดที่คนส่วนมากใช้ ดังนั้น พวกเขาจะได้เหน็ หนงั สอื ใหม่) - ตอบข้อ 4 ใกล้โต๊ะประชาสัมพันธ์ (เพราะว่ามันอยู่ใกล้โต๊ะประชาสัมพันธ์ บรรณารกั ษ์สามารถตอบคาถามที่เกี่ยวข้องได้) ไม่มคี ะแนน ให้คาตอบที่ไม่เพียงพอหรอื กว้างเกิน ไม่ว่าจะตอบคาถามทีแ่ ลว้ ถกู หรือผดิ ก็ตาม - เพราะว่าเปน็ ที่ที่ดที ีส่ ุด - มนั อยู่ใกล้กบั ทางเข้าด้วย (บอกว่าหนงั สือใหมอ่ ยู่ที่ไหน โดยไม่ใหค้ าอธิบาย) - หนังสือใหม่อยู่ใกล้กับกล่องแสดงความคิดเห็น (บอกว่าหนังสือใหม่อยู่ไหน โดย ไม่ให้คาอธิบาย) หรือ แสดงความเข้าใจเน้ือเร่ืองที่คลาดเคลื่อนหรือให้คาตอบที่เป็นไปได้หรือ ไม่เกีย่ วข้อง ไม่ว่าจะตอบคาถามที่แลว้ ถกู หรือผิดกต็ าม - เพื่อว่าใคร ๆ จะได้สังเกตเห็นเม่ือมองไปที่หนังสือพิมพ์ (ไม่ถูกต้อง แสดงหนังสือ ใหม่อยู่ใกล้หนงั สอื พิมพ์) - เพราะว่าไม่มที ีอ่ น่ื ทีจ่ ะวาง (ไม่สมเหตุสมผล) - บางคนชอบอ่านหนงั สือใหม่ (ตอบไม่ตรงที่ถาม) - ตอบข้อ 1 ในส่วนนวนิยาย เพื่อว่าจะหาได้ง่าย (ตอบไม่ตรงกบั คาตอบในข้อขา้ งบน) 4.3 ขอ้ สอบประเมินการรูเ้ รอ่ื งคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy) การรู้เร่ืองคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy) หมายถึง ความสามารถของ บุคคลในการคิดใช้และตีความคณิตศาสตร์ในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่หลากหลาย รวมถึงการให้ เหตุผลอย่างเป็นคณิตศาสตร์ ใช้แนวคิดและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการอธิบาย และ ทานายปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ ซึง่ การประเมนิ ครอบคลุม 3 ประการ คือ 4.3.1 กระบวนการทางคณิตศาสตร์ (Process) คือ ความสามารถในการเชื่อมโยง บริบทของปัญหากับคณิตศาสตร์ได้อย่างไร และแก้ปัญหาอย่างไร โดยกระบวนการ ทางคณิตศาสตร์แบ่งออกเป็น 3 กระบวนการ คือ 1) การคิดสถานการณ์ของปัญหา ในเชิงคณิตศาสตร์ 2) การใช้หลักการและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหา 3) การตคี วามและประเมินผลลัพธ์ทางคณิตศาสตร์ 4.3.2 เน้ือหาคณิตศาสตร์ (Content) คือ ความสามารถในการนาความรู้ไปใช้ ในการแก้ปัญหาได้จริง เป็นสิ่งสาคัญในการแก้ปัญหาและตีความสถานการณ์ในบริบทต่าง ๆ

- 237 - จาเป็นต้องดึงความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับคณิตศาสตร์มาใช้ และโครงสร้างการประเมิน คณิตศาสตร์ ครอบคลุมเน้ือหา 4 เร่ือง คือ 1) การเปลี่ยนแปลงและความสัมพันธ์ 2) ปริภูมิ และรปู ทรง 3) ปริมาณ 4) ความไม่แน่นอนและข้อมลู 4.3.3 สถานการณ์หรือบริบท (Context) คือ สถานการณ์หรือบริบทในโลกชีวิต จริงที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหา 4 กลุ่ม คือ 1) บริบทส่วนตัว 2) บริบททางการงานอาชีพ 3) บริบททางสังคม 4) บริบททางวิทยาศาสตร์ ตัวอยา่ งขอ้ สอบประเมินการรเู้ รอ่ื งคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy) เร่อื ง แฟลชไดรฟ์ แฟลชไดรฟ์ เป็นอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์แบบพกพาที่มีขนาดเล็ก อนันต์ มีแฟลชไดรฟ์อันหนึ่งซึ่งเก็บเพลงและรูปถ่ายไว้ แฟลชไดรฟ์มีความจุ 1 GB (1,000 MB) กราฟข้างลา่ งแสดงสถานะดิสก์ปัจจบุ นั ของแฟลชไดรฟ์ของอนนั ต์ ที่มา: สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี, 2557 คาถามที่ 1 อนันต์ตองย้ายอัลบั้มรูปถ่ายขนาด 350 MB ลงในแฟลชไดรฟ์ของเขา แต่พื้นที่ว่าง ในแฟลชไดรฟ์มีไม่เพียงพอ ซึ่งเขาไม่ต้องการลบรูปถ่ายใด ๆ ที่มีอยู่ออก แต่เขายินดีที่จะลบ อลั บั้มเพลงสองอัลบั้มออก โดยแฟลชไดรฟ์ของอนนั ต์ เก็บอลั บั้มเพลงขนาดต่าง ๆ ต่อไปนี้ อัลบม้ั ขนาด อัลบ้มั ขนาด อัลบั้ม 1 100 MB อลั บ้ัม 5 60 MB อลั บั้ม 2 75 MB อัลบั้ม 6 80 MB อลั บ้ัม 3 80 MB อลั บั้ม 7 75 MB อัลบั้ม 4 55 MB อัลบั้ม 8 125 MB

- 238 - ถ้าลบอลั บั้มเพลงอย่างมากที่สดุ สองอลั บ้ัมจะทาให้แฟลชไดรฟ์ของอนนั ตม์ ีพ้ืนที่ว่าง เพียงพอที่จะเพิ่มอัลบ้ัมรปู ถ่ายใช่หรอื ไม่ จงเขียนวงกลมล้อมรอบคาว่า “ใช่ หรอื “ไม่ใช”่ และ แสดงวธิ ีการคานวณเพือ่ สนับสนุนคาตอบของผเู้ รียน คาตอบท่ี 1 คะแนนเต็ม ตอบ ใช่ (โดยตรงหรือโดยนัย) และระบุชื่อสองอัลบั้ม (หรือขนาด) ซึ่งใช้ พืน้ ที่ 198 MB หรอื มากกว่า - เขาต้องลบออก 198 MB (350-152) ดังน้ัน เขาอาจลบอัลบั้มเพลงใด ๆ สองอัลบ้ัม ทีร่ วมกันแลว้ มากกว่า 198 MB ตวั อย่างเชน่ อลั บั้ม 1 และอลั บ้ัม 8 - ใช่ เขาอาจจะลบอลั บ้ัม 7 และอัลบ้ัม 8 ซึ่งทาให้พืน้ ทีว่ ่าง 152+75=352 MB คาถามที่ 2 ในช่วงหลายสัปดาห์ต่อมา อนันต์ลบรูปถ่ายและเพลงบางส่วนออก แต่ได้เพิ่มไฟล์ รปู ถ่ายและเพลงใหม่เข้าไปด้วย สถานะดิสก์ใหม่แสดงในตารางขา้ งลา่ ง: เพลง 550 MB รปู ถ่าย 100 MB พืน้ ทีว่ ่าง 75 MB พี่ชายของอนนั ตใ์ ห้แฟลชไดรฟ์อันใหมก่ ับเขา ซึง่ มีความจุ 2 GB (2,000 MB) ซึง่ เป็น พืน้ ทีว่ ่างทั้งหมด อนนั ต์จึงย้ายสิ่งที่เกบ็ ไว้ในแฟลชไดรฟ์อนั เก่าลงในอันใหม่ กราฟใดต่อไปนี้ แสดงสถานะดิสก์ของแฟลชไดรฟ์อันใหม่ จงเขียนวงกลมล้อมรอบ 1 2 3 หรือ 4 คาตอบท่ี 2 ตอบข้อ 4

- 239 - 4.4 ข้อสอบประเมินการแก้ปญั หาแบบร่วมมือ (Collaborative Problem Solving) การแก้ปัญหาแบบร่วมมือ หมายถึง ความสามารถในการเข้าร่วมกระบวนการ ของกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีสมาชิกตั้งแต่สองคนขึ้นไป และพยายามแก้ปัญหาโดย การแบ่งปันความเข้าใจและความพยายาม เพื่อนามาสู่แนวทางการแก้ปัญหา รวมถึงการ รวบรวมความรู้ ทกั ษะ และความพยายามเขา้ ด้วยกนั เพื่อแก้ปญั หา ดงั น้ี 4.4.1 การสารวจและทาความเข้าใจปัญหา ทาความเข้าใจสถานการณ์ปัญหาโดย ใช้การแปลความจากข้อสนเทศที่มใี นเบือ้ งตน้ หรอื ที่ได้จากการสารวจ 4.4.2 การนาเสนอและคิดวิธีแก้ปัญหา โดยนาข้อสนเทศที่มีมาเลือกจัดระบบ และบูรณาการเข้ากับความรู้เดิม แล้วนาข้อสนเทศเหล่านั้นมานาเสนอในรูปของกราฟ ตาราง สญั ลักษณ์ตา่ ง ๆ จากนั้นจงึ สรา้ งสมมติฐานโดยแยกแยะว่าปจั จัยใดที่เกี่ยวข้องกบั ปัญหาที่มี 4.4.3 การวางแผนและดาเนินการแก้ปัญหา ต้องทาความเข้าใจกับเป้าหมายของ ปญั หาใหช้ ัดเจนก่อน จากนั้นจงึ ตงั้ เป้าหมายย่อย วางแผน และดาเนินการตามแผนที่วางไว้ 4.44 การติดตามและสะท้อนความเห็น โดยติดตามว่าการดาเนินงานแต่ละ ขั้นตอนเป็นไปตามแผนการเพื่อให้บรรลุถึงเป้าหมายหรือไม่ และมีการสะท้อนความเห็น เกีย่ วกบั สมมตฐิ านสาคัญและแนวทางการแก้ปญั หาทีเ่ ปน็ ไปได้ นอกจากน้ันการวัดประเมินความสามารถเพื่อมุ่งเน้นทักษะการแก้ปัญหาในชีวิตหรือเรียกว่า การประเมินแบบ PISA โดยวัดประเมินความสามารถหรือการรู้เร่ือง 3 ประเด็น คือ การรู้เรอ่ื ง การอ่าน (Reading Literacy) การรู้เร่ืองคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy) และการรู้เร่ือง วิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) ซึง่ เปน็ การวัดเพื่อให้ทราบข้อมูลผลการเรียนรู้ของผู้เรียนเพื่อ เปรียบเทียบความสามารถระดบั นานาชาติ สรุป กรอบแนวคิดการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มุ่งเน้นการจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการ ทักษะเข้ากับเน้ือหา เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ รู้เท่าทัน เพื่อดารงชีวิตทั้งด้านการดาเนิน ชีวิตและการทางานให้ประสบผลสาเร็จ ซึ่งผลการจัดการเรียนรู้ ครูผู้สอนต้องวัดและ ประเมินผล และส่งเสริมให้ผู้เรียนมีสมรรถนะดังนี้ 1) องค์ความรู้ 2) ทักษะด้านการเรียนรู้และ นวัตกรรม 3) ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี 4) ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ นอกจากน้ันทักษะในการดารงชีวิต ยังมี 3R 7C ผู้เรียนทุกคนต้องเรียนรู้และมีทักษะตลอดชีวิต เพื่อการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ซึ่งการวัดและประเมินผลในปัจจุบันในยุคศตวรรษที่ 21

- 240 - มีการเปลี่ยนไปจากการวัดและประเมินผลแบบเดิม ท้ังลักษณะการประเมิน วิธีการวัดและ ประเมิน และระบบการประเมิน โดยเน้นการวัดและประเมินผลที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ บูรณา การการจัดการเรียนรู้ข้ามศาสตร์ เชื่อมโยงกับชีวิตจริง เน้นการปฏิบัติ มีการวัดและประเมิน และใช้เคร่ืองมือที่หลากหลาย และต่อเน่ือง อย่างไม่เป็นทางการ ร่วมกันกาหนดเกณฑ์กับ ผู้เรียน และใช้เทคโนโลยีในการประเมินมากขึ้นเม่ือมีโอกาส โดยเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ นอกเหนือบทเรียน โดยการสารวจอย่างสร้างสรรค์ เรยี นรู้ด้วยความเข้าใจและสามารถแบ่งปัน ความรู้ให้กับผู้อื่นได้ ซึ่งในปัจจุบันการประเมินใน ศตวรรษที่ 21 มุ่งเน้นการทดสอบ เพื่อประยุกต์ใช้ความรู้ในการแก้ปัญหาชีวิตประจาวัน ที่เรียกว่า PISA (Programme for International Student Assessment) ซึ่งเป็นประเมินความสามารถ (การรู้เร่ือง) ได้แก่ การรู้ เร่ืองการอ่าน (Reading Literacy) การรู้เร่ืองคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy) และการรู้ เรือ่ งวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) แบบฝึกหัด 1. จงอภิปราย ข้อความ “การประเมินผลในอดีต เป็นการประเมินโดยการนาคะแนน จากการสอบแต่ละวิชามารวมกัน แล้วเทียบร้อยละจากคะแนนเต็มรวมของทุกวิชาที่เรียน ซึ่งแต่ละวิชาคะแนนอาจไม่เท่ากัน แล้วประเมินการผ่านโดยเทียบกับร้อยละ 50 ถือว่าสอบ ผา่ น” 2. จงอธิบายข้อแตกต่างการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามแนวคิดเดิมและการวัด และประเมินผลการเรียนรู้ในศตววรษที่ 21 (มาพอสังเขป) คือ 1) วิธีการวัดและประเมินผลการ เรียนรู้ 2) เครือ่ งมือวดั และประเมินผลการเรียนรู้ และ3) เกณฑก์ ารประเมนิ ผลการเรียนรู้ 3. จงยกตัวอย่างสถานการณ์การจัดการเรียนการสอนและการวัดและประเมินผลการ เรียนรู้ ตามกรอบการประเมินการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (สารวจ, สร้างสรรค์, เรียนรู้, เข้าใจ, แบ่งปัน) ตามสาขาวิชาของนกั ศึกษา 4. จงสร้างแบบทดสอบที่วัดความสามารถระดับนานชาติ (PISA) โดยความสามารถ ด้านที่ต้องการวัด ประกอบด้วย 1) การรู้เร่ืองการอ่าน (Reading Literacy) 2) การรู้เร่ือง คณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy) 3) การรเู้ รื่องวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) ดังน้ี - พฤติกรรมหรอื สมรรถนะที่ตอ้ งการ - ระดับชั้นของผู้เรยี น - ตวั ชวี้ ดั ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 (ถ้ามี) - โจทย์ ปญั หา สถานการณ์ เงอ่ื นไข หรอื คาส่ัง และเฉลยหรือแนวการตอบ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook