Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 02 จุดประสงค์ทางการศึกษา

02 จุดประสงค์ทางการศึกษา

Published by benjamas, 2020-08-19 03:34:45

Description: 02 จุดประสงค์ทางการศึกษา

Search

Read the Text Version

จดุ ประสงค์ทางการศกึ ษา (Educational Objective)

1 ระดบั ของจุดประสงค์การศกึ ษา 2 จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 3 การเขยี นจุดประสงค์ทางการศกึ ษา 4 พฤตกิ รรมทางการศกึ ษา

1. จดุ ประสงค์ทัว่ ไป/จุดประสงคข์ องหลกั สตู ร 2. จุดประสงค์ของกลมุ่ วิชา 3. จุดประสงคข์ องรายวชิ า 4. จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม

1. จุดประสงคท์ ั่วไป/จุดประสงคข์ องหลักสตู ร เป็นจดุ ประสงคท์ ่ีกาหนดความตอ้ งการท่จี ะใหผ้ เู้ รยี นไดร้ ับผล จากการศึกษาไวก้ วา้ งๆ โดยไม่ระบุพฤติกรรม จดุ มุ่งหมายระดับนีว้ ัด ไดย้ าก สังเกตได้ยาก แต่จะตอ้ งครอบคลุมพฤตกิ รรมยอ่ ยตา่ งๆ ไว้ ทั้งหมดเท่าท่ตี อ้ งการ เช่น ตัวอยา่ ง - เพอ่ื พัฒนาบุคคลให้เลน่ กฬี าเป็น ตัดสนิ กฬี าเป็นและดาเนินการ จัดการแขง่ ขนั กีฬาต่างๆ ได้ - เพ่อื ให้ผู้เรียนมนี ิสยั ใฝห่ าความรู้ ทกั ษะ รจู้ ดั คิดและวเิ คราะหอ์ ย่าง ดีมีระเบียบ วธิ ีการและมคี วามคิดสรา้ งสรรค์

2. จุดประสงค์ของกลุ่มวิชา จุดประสงคเ์ ฉพาะกลุม่ วิชาหรือกลุ่มประสบการณ์ เปน็ จดุ ประสงคท์ ี่แยกย่อยมาจากจุดประสงค์ทั่วไปของหลกั สตู ร โดยจะมี ลกั ษณะทีม่ คี วามจาเพาะเจาะจงและอย่ภู ายในขอบเขตของกลุ่มวชิ า หรือมวลประสบการณเ์ ฉพาะกล่มุ นน้ั เชน่ ตัวอยา่ ง (จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้กลมุ่ วชิ าชพี คร)ู เพอื่ ใหผ้ ทู้ ี่จะเป็นครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษามคี วามรูแ้ ละ ทกั ษะท่จี าเป็นทางการบรหิ ารในการประกอบอาชีพทางการศกึ ษา

3. จุดประสงค์ของรายวิชา จดุ ประสงค์เฉพาะรายวชิ า เป็นจุดประสงค์ท่ีแยกย่อยมาจาก จดุ ประสงค์ทั่วไปของกลุม่ วชิ าหรือกลมุ่ ประสบการณ์ โดยจะมี ลกั ษณะทมี่ ีความจาเพาะเจาะจงและอยภู่ ายในขอบเขตของรายวชิ า หรอื มวลประสบการณเ์ ฉพาะรายวิชานนั้ เช่น ตัวอยา่ ง (จุดประสงค์รายวิชาภาษาไทย) ให้นกั เรียนมที ักษะในการฟงั พูด อา่ น และเขียน โดยมีเจตคติ ทด่ี ตี อ่ การเรียนภาษาและมีความรคู้ วามเข้าใจหลักเกณฑอ์ นั เป็น พนื้ ฐานของการเรยี นภาษา

4. จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม เป็นจุดประสงค์ทแ่ี ยกยอ่ ยมาจากจดุ ประสงค์เฉพาะวชิ า มี ลักษณะจาเพาะเจาะจงในขอบเขตเนอื้ หาสาระเฉพาะอยา่ ง โดย อาจจะระบุว่าเมื่อส้ินสดุ การเรยี นการสอนในแตล่ ะเรอ่ื งหรือแต่ละ บทเรียนแล้ว ต้องการใหผ้ ู้เรยี นเกิดการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมเปน็ อย่างไรหรือตอ้ งการให้ผเู้ รียนเกิดพฤตกิ รรมการเรียนรใู้ นสงิ่ ใดบ้าง ตัวอย่างจดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรมวิชาภาษาไทย ใช้คาพูดและพูดในโอกาสต่างๆ ดว้ ยคาทีม่ คี วามเหมาะสมกับ บุคคลและโอกาส

ระดบั ของจุดประสงค์ทางการศกึ ษา (ตอ่ ) จุดประสงคท์ ัว่ ไป/จดุ ประสงค์ของหลักสตู ร จดุ ประสงค์ของกลมุ่ วิชา จุดประสงค์ของรายวชิ า จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม

ประเภทของพฤตกิ รรม 1) พฤตกิ รรมแฝง เป็นพฤติกรรมที่ไมส่ ามารถ สงั เกตได้โดยตรงหรือท่ีเรยี กวา่ พฤตกิ รรมภายใน เชน่ - ความรู้ ความเข้าใจ - ทศั นคติ 2) พฤตกิ รรมท่ีสังเกตได้ หรือ พฤติกรรมภายนอก เชน่ - บอก อธิบาย - จาแนก - ระบุ สาธิต วง่ิ วาด ป้ัน เขยี น ฯลฯ

จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม เป็นจุดมงุ่ หมายที่กาหนดขนึ้ โดยบง่ ถึงพฤตกิ รรมของ ผเู้ รยี นเมื่อส้นิ สดุ การเรยี นการสอน โดยเปน็ พฤติกรรมที่ แสดงออกมาภายนอก สามารถสังเกตได้ วัดและประเมินได้

การเขียนจดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม ประธาน+พฤติกรรม (กรยิ า) + เรอื่ งยอ่ ยทจ่ี ะจัดการเรยี นรู้ + เกณฑ์ เชน่ - ผเู้ รียน + สนทนาโต้ตอบเก่ยี วกบั เร่อื งที่ฟัง + ได้อย่างต่อเนอ่ื งเชอ่ื มโยงกับเรือ่ งที่ฟัง - ผู้เรียน + เรียงลาดับส่งิ ของและเหตกุ ารณ์ + อย่างนอ้ ย 5 ลาดับ

หลักในการเขียนจุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 1. เปน็ พฤติกรรมท่เี ป็นผลจากการเรียนของผ้เู รียน 2. เปน็ พฤติกรรมทสี่ ามารถสังเกตหรอื วดั ไดต้ รง 3. ควรมีการระบุพฤตกิ รรมสุดท้าย ส่วนพฤติกรรมพ้ืนฐานอาจจะ ระบุหรอื ไมก่ ็ได้ 4. พฤติกรรมทก่ี าหนดต้องเปน็ ตวั แทนของจดุ ประสงคก์ ารสอน ทวั่ ไป 5. พฤติกรรมคาดหวังควรตอ้ งอา้ งองิ อยู่กบั จุดประสงคก์ ารศกึ ษา

Benjamin S. Bloom, Engelhart, Furst, Hill และ Krathwohl (1956) ได้วเิ คราะหจ์ ดุ ประสงคก์ ารสอนในวชิ า ต่างๆ แล้วจาแนกเป็นหมวดหมไู่ ด้ 3 ขอบเขต (Domain) หรือ 3 ด้าน ได้แก่ 1. ปญั ญา/ความคิด/พทุ ธพิ สิ ัย (Cognitive Domain) 2. ความรสู้ ึก/จติ พสิ ัย/เจตพสิ ยั (Affective Domain) 3. ทักษะ/ปฏบิ ัติ/ทกั ษะพสิ ยั (Psychomotor Domain)

ความหมายของพฤตกิ รรม พฤติกรรมพทุ ธพิ สิ ยั (Cognitive Domain) หมายถงึ การเรยี นรู้ทางดา้ นความคิด ความรู้ การแก้ปัญหา จัดเปน็ พฤตกิ รรมทางด้านสมอง และสตปิ ัญญา พฤติกรรมจิตพิสัย (Affective Domain) เปน็ การเรยี นรทู้ เี่ ก่ียวกับด้านอารมณ์ ความรกั ทศั นคติ ค่านิยม ความเชอื่ ความสนใจ พฤติกรรมทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) เปน็ การเรยี นรเู้ ก่ียวกบั ด้านทักษะการ เคลือ่ นไหว

พฤตกิ รรม พทุ ธพิ สิ ัย จิตพิสัย ทักษะพสิ ยั ความร/ู้ จา การรบั รู้ การรบั รู้ (เดนิ ทรงตัว) ความเข้าใจ การตอบสนอง (เคลื่อนไหวเชิงกรยิ าสะทอ้ นกลบั ) การนาไปใช้ การสร้างคณุ คา่ การเตรียมพร้อม (เคลอื่ นไหวอยู่กบั ท่ี) การวิเคราะห์ การจัดระบบ (เคลือ่ นไหวขน้ั พืน้ ฐาน) การสงั เคราะห์ การสร้างลักษณะนสิ ยั การปฏิบตั ิตาม การประเมนิ คา่ (เลยี นแบบ ปฏบิ ัตติ ามคาแนะนา การปฏบิ ัตเิ อง (การเคลื่อนไหวด้วยความคลอ่ งแคล่ว) การปฏิบตั ยิ ากขน้ึ (การเคล่ือนไหวท่ีต้องอาศยั ทกั ษะ) การดดั แปลงริเรมิ่ (ดว้ ยวิธีใหม่) (การใชท้ กั ษะระดบั สงู เช่น การแสดงละคร)

King 设计工作室ppt模版发布供大家免费下载使用。版权为King设计工作室所 有。您可以自行使用、修改、复制本模版。转载、发表或以其它方式利用本模 版上内容,如果您需更进一步的服务,请和我们联系。

此处添加标题

พฤตกิ รรมพทุ ธิพสิ ยั ตามแนวคิดของ Bloom & Anderson แนวคดิ ของ พฤติกรรม แนวคดิ ของ Anderson พฤติกรรม Bloom (1956) และ Krathwohl (2001) 1. ความรู้ ความรใู้ นเรือ่ ง 1. จา จา ระลกึ หรอื เรียก (knowledge) ความรู้ในวิธีการ (remembering) คนื ความรู้ทีอ่ ยู่ใน ความรูร้ วบยอดใน เนอ้ื เรือ่ ง ความทรงจาได้ 2. ความเข้าใจ การแปล 2. เขา้ ใจ สร้างความหมายจาก (comprehension) ความหมาย การ (understanding) สง่ิ ตา่ งๆ ตีความ การขยาย ความ

พฤติกรรมพทุ ธิพสิ ยั ตามแนวคดิ ของ Bloom & Anderson แนวคิดของ พฤติกรรม แนวคดิ ของ พฤติกรรม Bloom (1956) Anderson และ Krathwohl (2001) 3. การนาไปใช้ นาเอาไปใช้ นาไปสรุป 3. ประยกุ ตใ์ ช้ ใช้ความคิดในเชิง (application) เลือก พฒั นา จัดใช้ (applying) กระบวนการ (procedure) เปลีย่ น คานวณ สรา้ ง เก่ียวกับการปฏิบตั ิในการ สาธิต อภิปราย รวบรวม ดาเนนิ การ ขอ้ มลู วางแผนดาเนนิ การ แก้ปัญหา 4. การวิเคราะห์ วิเคราะห์ความสาคัญ 4. วิเคราะห์ จาแนกมโนทศั นห์ รอื สงิ่ ท่ี (analysis) วิเคราะห์ความสมั พนั ธ์ (analyzing) ศกึ ษาออกเป็นสว่ นๆ และ วิเคราะห์หลกั การ พจิ ารณาว่า แตล่ ะสว่ น สมั พนั ธ์กนั อย่างไร

พฤตกิ รรมพุทธพิ สิ ยั ตามแนวคดิ ของ Bloom & Anderson แนวคิดของ พฤตกิ รรม แนวคดิ ของ Anderson พฤตกิ รรม Bloom (1956) และ Krathwohl (2001) 5. การสังเคราะห์ สงั เคราะหข์ ้อความ 5. ประเมินค่า ตดั สนิ ใจเชงิ คณุ คา่ (synthesis) สงั เคราะหแ์ ผนงาน (evaluating) เกย่ี วกบั สง่ิ ที่ศึกษา สังเคราะห์ โดยใชเ้ กณฑ์หรือ ความสัมพันธ์ มาตรฐานการคิด 6. การประเมินคา่ ประเมนิ คา่ โดย 6. สรา้ งสรรค์ใหม่ นาความรู้ ทักษะหรอื (evaluation) อาศัยข้อเทจ็ จริง (creating) แนวความคดิ เกย่ี วกับ ภายใน ประเมนิ คา่ ขอ้ มูลต่างๆ มา โดยอาศยั หลอมรวมเพอื่ สร้าง ขอ้ เท็จจรงิ ภายนอก เป็นส่ิงใหม่

การพิจารณาลกั ษณะของความรู้ (Knowledge Dimension) ** Anderson และ Krathwohl (2001) ไดแ้ บ่งออกเป็น 4 แบบ ได้แก่ 1.) ความรเู้ ก่ียวกบั ข้อเท็จจรงิ (Factual knowledge) หมายถึง ความรใู้ นสิ่งที่เปน็ จรงิ อยู่ เชน่ ความร้เู กย่ี วกบั คาศัพท์และความรใู้ นส่งิ เฉพาะ ตา่ งๆ 2.) ความรู้เกยี่ วกบั มโนทัศน์ (Conceptual knowledge) หมายถึง ความรู้ที่มีความซบั ซอ้ น มกี ารจัดหมวดหมู่เป็นกลมุ่ ของความรแู้ ละโครงสร้าง ของความรู้ 3.) ความรู้เกย่ี วกับวธิ ีดาเนนิ การ (Procedural knowledge) หมายถึง ความรวู้ ่าสงิ่ นนั้ ๆทาได้อยา่ งไร ซึ่งรวมถึงความรู้ที่เป็นทักษะ เทคนิค และวิธกี าร 4.) ความรูเ้ กยี่ วกบั อภปิ ญั ญา (Metacognitive knowledge) หมายถงึ ความรู้เกี่ยวกบั เรอื่ งทางปัญญาของผู้เรยี นเอง คอื ความรทู้ ่ีผู้เรียนจะ ทาความเขา้ ใจเกีย่ วกบั การวางแผนและการแก้ปญั หา ไปจนถึงการประเมิน

ุพท ิธพิ ัสย Cognitive Domain Rจeา member : สามารถเล่าเหตุการณห์ รือเรือ่ งราวได้ Uเขnา้ ใdจerstanding : เขียนเรอื่ งสน้ั แสดงลาดบั ขน้ั ตอนของเหตกุ ารณ์ได้ Aปpระpยุกlตyใ์ ชin/้ นgาไป:ใชเข้ ียนเอกสารเกี่ยวกบั หวั ข้อทีน่ า่ สนใจ Aวnเิ ครaาlะyห์zing : เขียนแผนภาพแสดงความสัมพนั ธข์ องหลายส่งิ ได้ Eปรvะaเมlินuating : ตัดสนิ วธิ กี าร 2 วิธวี า่ วธิ ีไหนแกป้ ัญหาได้ดีท่สี ุด Cสrรeา้ งaสรtรiคn์ g : นาเสนอแนวคิดใหม่ ๆ

ิจต ิพสัย Affective Domain Rกาeรรcับeรู้iving : ความสามารถในการรู้สกึ ตอ่ สง่ิ ทป่ี รากฏใหเ้ หน็ Rกeารsตpอบoสนnอdง ing : เปน็ พฤติกรรมที่แสดงวา่ สนใจต่อปรากฏการณ์ และมีปฏิกิริยาตอบสนองตอ่ ส่งิ นั้น Vกาaรlสuรา้ iงnคุณgค:า่ การแสดงทเ่ี กิดจากความสานึกในคุณค่า ยอมรับและตอบสนอง สิง่ น้ัน การจดั ระบบ Organization : การรวบรวมนาคณุ ค่าท่เี ช่ือถือมาจัดพวก Cกาhรสaรr้าaงลcกั tษeณrะiนzิสaยั tion by Value Set : เป็นพฤติกรรมทีเ่ กดิ จากที่บุคคลมี ความเชื่อ ความคิด ความรูส้ กึ ค่านิยม ทศั นคตทิ แ่ี ตกตา่ งกนั กจ็ ะมลี ักษณะ นสิ ัยและพฤตกิ รรมทต่ี า่ งกัน

ทักษะ ิพ ัสย Psychomotor Domain Reflex Movements : การเคล่ือนไหวเชงิ กิรยิ าสะท้อนกลับ เช่น การเคลือ่ นไหวของแขน ขา การทรงตวั Basic Fundamental Movement : การเคล่ือนไหวขนั้ พน้ื ฐาน เชน่ การ เคล่ือนไหวไปยงั อีกที่หนึ่ง เคลอ่ื นไหวอยกู่ ับท่ี Perceptual : ความสามารถในการรบั รู้ เชน่ การงอเขา่ กระพรบิ ตา ทิศทางการได้ยินของเสยี ง ความแตกตา่ งของวตั ถุ อาจดว้ ยการสมั ผสั Physical Activities : สมรรถภาพทางกาย เช่น ความแข็งแรง ความยืดหยุ่น ความคลอ่ งตัว Skilled Movements : การเคลือ่ นไหวที่ตอ้ งอาศัยทกั ษะ เช่น การเล่อื ยไม้ การตีเทนนิส การเลน่ ยิมนาสติก Non-discursive Communication : การสอื่ สารทตี่ ้องใช้ทักษะระดับสงู ในการแสดงออก เชน่ การแสดงละคร

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม Tyler (1930) กลา่ ววา่ จดุ ประสงคข์ องการศึกษาไม่ใช่ การสะสมความรู้ แต่เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมทถี่ าวร จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรมจึงเปน็ จดุ ประสงคท์ ี่กาหนดขึน้ เพอ่ื บอกให้ทราบว่าเมอื่ สน้ิ สุดการเรยี นการสอนแลว้ ผู้เรยี นจะมี พฤติกรรมอย่างไร จะสามารถทาอะไรได้บา้ ง โดยพฤตกิ รรมที่ กาหนดไว้น้ัน ตอ้ งเปน็ พฤตกิ รรมทสี่ งั เกตเห็นได้และวดั ได้เทา่ น้นั

องคป์ ระกอบของจดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม พฤติกรรมท่ีคาดหวัง สถานการณ์ เกณฑ์ พฤติกรรมท่ีต้องการให้ ส่ิงเร้า หรอื สถานการณ์ ปริมาณหรือคณุ ภาพ ผเู้ รียนได้แสดงออก หรอื เงื่อนไข ที่ใช้ ของพฤติกรรมที่ผเู้ รียน เมอื่ ได้เรียนร้ใู นแต่ละ แสดงออกที่จะยอมรบั บทเรียนแล้ว กระต้นุ ให้ผเู้ รียนแสดง พฤติกรรมท่ีคาดหวงั ได้

ตวั อย่างจดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 1. เม่ือกาหนดชื่ออาหารให้ 10 ชนดิ นกั เรยี นสามารถ บอกประโยชน์ของอาหารน้ันๆ ได้ 8 ชนดิ 2. พิมพ์ดดี ภาษาอังกฤษไดไ้ ม่น้อยกวา่ 70 คา ต่อนาที 3. เมอ่ื กาหนดชอ่ื เมอื งหลวงของประเทศตา่ งๆ ในทวปี เอเชยี นกั เรยี นสามารถบอกชอื่ ประเทศให้ตรงกบั เมืองหลวงได้อยา่ ง นอ้ ย 10 เมือง 4. เม่อื กาหนดโคลงให้ 1 บท ผูเ้ รยี นสามารถถอดความได้ ถูกตอ้ ง

Affective Domain (จิตพสิ ัย) ในหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 ไดก้ ล่าวถึงพฤตกิ รรม ดา้ นจติ พิสัยไว้ 8 ประการ เรียกว่า คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ไดแ้ ก่ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5. อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง 2. ซื่อสตั ย์สจุ ริต 6. มุ่งม่นั ในการทางาน 3. มีวนิ ัย 7. รักความเปน็ ไทย 4. ใฝเ่ รียนรู้ 8. มจี ติ สาธารณะ

Psychomotor Domain(ทกั ษะพสิ ัย) ในหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พ.ศ. 2551 ไดก้ ลา่ วถงึ พฤตกิ รรมด้านทักษะพิสยั ไว้ 5 ประการ เรียกวา่ สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น ไดแ้ ก่ 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 5. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ เด็กปฐมวยั 3 -6 ปี 1. ด้านร่างกาย มาตรฐานที่ 1 รา่ งกายเจริญเตบิ โตตามวัย และมีสขุ นิสัยทีด่ ี มาตรฐานที่ 2 กล้ามเนื้อใหญก่ ลา้ มเนื้อเลก็ แข็งแรง 2. ดา้ นอารมณ์และจิตใจ มาตรฐานที่ 3 มีสขุ ภาพจิตดีและมีความสุข มาตรฐานที่ 4 มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และมีจิตใจที่ดีงาม มาตรฐานที่ 5 ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี การเคลื่อนไหว และรักการออกกาลังกาย 3. ดา้ นสังคม มาตรฐานที่ 6 ชว่ ยเหลือตนเองได้เหมาะสมกับวยั มาตรฐานที่ 7 รักธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ ม วฒั นธรรมและความเปน็ ไทย มาตรฐานที่ 8 อยรู่ ว่ มกบั ผ้อู น่ื ได้อยา่ งมีความสขุ และปฏิบตั ิตนเป็น สมาชิกทีด่ ีของสงั คมในระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ

คุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ เด็กปฐมวยั 3 -6 ปี 4. ด้านสติปัญญา มาตรฐานที่ 9 ใชภ้ าษาสือ่ สารได้เหมาะสมกบั วยั มาตรฐานที่ 10 มีความสามารถในการคดิ และการแกป้ ญั หา ได้เหมาะสมกับวยั มาตรฐานที่ 11 มีจินตนาการและความคดิ สร้างสรรค์ มาตรฐานที่ 12 มีเจตคติที่ดตี ่อการเรียนรูแ้ ละมีทักษะในการ แสวงหาความรู้

1. ครทู ส่ี อนรายวชิ าเดียวกัน หรืออย่ใู นหมวดวชิ าเดียวกัน ควรรว่ มกันสร้าง 2. ควรเขยี นใหม้ ีพฤตกิ รรมทุกๆ ดา้ น คือ ด้านพทุ ธพิ ิสยั จติ พิสัย และทกั ษะพิสยั 3. พยายามเขียนจุดประสงคแ์ ต่ละขอ้ ให้จาเพาะเจาะจง เพียงพฤตกิ รรมเดียว 4. ควรเลือกเขยี นเฉพาะพฤตกิ รรมที่สาคัญและจาเป็นตอ่ การเรียนรู้

5. ใช้คาท่ีถกู ต้องสอื่ ความหมายไดช้ ดั เจน 6. พฤติกรรมด้านพทุ ธิพสิ ัยสามารถสร้างข้อสอบข้ึนใช้ เปน็ เครื่องมือวดั ส่วนดา้ นจติ พสิ ยั และทกั ษะพิสัย ใช้การ สงั เกตและการใหล้ งมอื ปฏบิ ัติจรงิ จะเหมาะสมกว่า 7. ในการเรียนการสอนจะต้องพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมครบทั้ง 3 ด้าน แต่จุดประสงค์จะเน้นด้าน ใดขึน้ อยู่กบั วฒุ ิภาวะของผเู้ รียนและเน้อื หาวิชา

ประโยชนข์ องจดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม เพ่อื เปน็ แนวทางตอ่ การเรยี นการสอนและการวัดผล ดังน้ี 1. การปรับปรงุ /พัฒนาหลกั สตู ร 2. การสร้างวสั ดุประกอบหลักสตู ร 3. การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน 4. การเรียนการสอนของผเู้ รียน 5. การวดั และประเมินผลการเรียนการสอน 6. การปรับปรุงการเรยี นการสอนอยู่ตลอดเวลา

ตัวอย่าง การเขยี นจุดประสงค์ทั่วไปและจดุ ประสงค์การเรยี นรู้เชงิ พฤติกรรม จุดประสงคท์ ่วั ไป จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม ดา้ นพทุ ธพิ สิ ยั 1. บอกความหมายของคาวา่ “ฟัน” ได้ 1. เพือ่ ใหม้ ีความรูเ้ กย่ี วกับฟนั และการรกั ษา 2. ระบุปญั หาท่เี กดิ ข้นึ จากการไมด่ ูแลรกั ษา ความสะอาดของฟัน ความสะอาดของฟนั ได้ ด้านจติ พสิ ยั 3. อธิบายวิธกี ารแปรงฟนั ท่ีถกู วิธไี ด้ 3. เพ่ือใหต้ ระหนักในการความสาคญั ของการ รักษาความสะอาดของฟนั 1. แปรงฟันทกุ ครงั้ หลงั จากรบั ประทานอาหาร 2.บอกคุณค่าความสาคญั ของการแปรงฟนั ด้านทกั ษะพสิ ยั 2. เพอ่ื ให้สามารถแปรงฟนั ไดถ้ กู วิธี ท่ถี กู วิธไี ด้ 1. สาธติ การแปรงฟันท่ถี ูกวธิ กี ับหนุ่ จาลองได้ 2. แปรงฟนั ของตนเองอย่างถูกตอ้ งได้




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook