ศูนย์เรียนรู้ฯ ใช้วิธีการศึกษาแบบ ทวินิยม (Dualism Education) กล่าวคือ ใช้แนวทางการศึกษาการเรียนรู้ท่ีน�ำส่วนดี ของวิธีการที่ต่างกันคนละขั้วมาใช้ด้วยกัน เชน่ การเรียนรแู้ บบ Plearn (Play & Learn) ท่ใี ห้เด็กเรียนรจู้ ากการเล่น และไดบ้ ูรณาการ ศกึ ษาแบบทวนิ ยิ มน้ี ในทกุ ปรชั ญารวมทงั้ กบั ภูมิปัญญาไทยท้องถิ่น เพ่ือให้เหมาะสมกับ เด็กเล็กในพื้นที่และสอดคล้องกับวิถีชุมชน เ พ่ื อ บ ่ ม เ พ า ะ ศั ก ย ภ า พ เ ด็ ก ป ฐ ม วั ย ต า ม เปา้ ประสงค์ 7 ด้าน คือ 1. รา่ งกาย 2. จติ ใจและอารมณ์ 3. สงั คม 4. สติปัญญา 5. ภาษา 6. การคิดสรา้ งสรรค์ 7. จริยธรรม 50 ศูนยเ์ รียนรู้ สถานพฒั นาเด็กเล็กนมแมแ่ ละการเรยี นรแู้ บบบูรณาการ 3 เดอื น – 3 ปี โรงพยาบาลสุทธาเวช คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
สรปุ “สถานพัฒนาเด็กเล็ก ส่งเสริมนมแม่และการเรียนรู้แบบบูรณาการ โรงพยาบาลสทุ ธาเวช คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม จงึ ไดน้ ำ� แนวคดิ วิธีการท่ีเป็นจุดเด่นแต่ละแนวคิดมาบูรณการการจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก อายุ 3 เดอื น – 3 ปี มกี จิ กรรมทพ่ี ฒั นาเดก็ (รายละเอยี ดกจิ กรรมในภาค 4 ตวั อยา่ ง การจัดกจิ กรรม ประสบการณก์ ารเรียนรู้) เริม่ ตน้ อยา่ งไร ท�ำอะไรกนั บา้ งแล้ว 51
เชื่อมต่อพ่อแม่ผู้ปกครอง “นานาพฤติกรรม 3 ขวบปีแรก” ประสบการณ์จริง ส่แู นวทางปฏิบตั ทิ ีถ่ ูกตอ้ ง พฤติกรรมเด็ก เช่น เด็กกดั กนั เด็กแย่งของ เด็กเรยี กร้องความสนใจ เปน็ ยอดปญั หา ครู ผ้ดู แู ลเดก็ พอ่ แมต่ ้องหูไวตาไว อ่านให้ออก เดก็ เกิดปญั หาเพราะ อะไร ก่อนจะสรา้ งลูกให้เกดิ 2C คือ C cognitive, C character โดยการจะสรา้ งให้ เกดิ 2C ในตัวลกู นอ้ ย ยังมีอีกหน่ึงปัจจยั ทีส่ ำ� คัญมาก คือ “คร”ู ทส่ี ำ� คัญครตู อ้ งมี ความรู้ ตอ้ งไดร้ บั การ train จากผเู้ ชย่ี วชาญอยา่ งสมำ่� เสมอ ตอ้ งมกี ารเชอื่ มโยงรว่ ม มือกนั ระหว่างครูและผ้ปู กครองด้วย “Parent education Make a change” 52 ศนู ยเ์ รียนรู้ สถานพัฒนาเดก็ เลก็ นมแมแ่ ละการเรียนรู้แบบบูรณาการ 3 เดือน – 3 ปี โรงพยาบาลสทุ ธาเวช คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม
“It takes the whole village to raise a child” การเลี้ยงดูและพัฒนาเด็ก ไมใ่ ชห่ น้าทขี่ องใคร คนใดคนหนงึ่ แต่ควรเล้ียงลกู เป็นทมี ทุกคนมสี ่วนส�ำ คญั ในการพัฒนาเด็ก สเู่ ด็กไทย 4.0 เรม่ิ ตน้ อย่างไร ท�ำอะไรกันบา้ งแลว้ 53
ภาคที่ 3 การบรหิ าร และการจัดต้งั ศูนยเ์ รยี นรู้ สถานพฒั นา เดก็ เล็ก 54 ศนู ยเ์ รยี นรู้ สถานพฒั นาเดก็ เลก็ นมแม่และการเรยี นรแู้ บบบูรณาการ 3 เดอื น – 3 ปี โรงพยาบาลสุทธาเวช คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
บทที่ 6 การจดั ตัง้ และการบรหิ ารจดั การ บทที่ 7 การจัดสิ่งแวดลอ้ มและกิจกรรมในศูนย์เรยี นรู้ฯ เร่มิ ต้นอยา่ งไร ทำ� อะไรกันบา้ งแล้ว 55
บทท่ี 6 การจดั ตงั้ และการบริหาร จดั การ 56 ศนู ย์เรยี นรู้ สถานพัฒนาเดก็ เลก็ นมแมแ่ ละการเรยี นรแู้ บบบรู ณาการ 3 เดอื น – 3 ปี โรงพยาบาลสทุ ธาเวช คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม
ศนู ยเ์ รยี นรฯู้ นเ้ี ปน็ ศนู ยต์ น้ แบบ ทส่ี ง่ เสรมิ การเลย้ี งลกู ดว้ ยนมแม่ ควบคู่ กบั ขบวนการเลย้ี งดทู ารกและเดก็ เลก็ ทม่ี งุ่ เนน้ ใหเ้ ดก็ อยใู่ นสงิ่ แวดลอ้ มทเี่ ออื้ ตอ่ การมีต้นทุนท่ีสอดคล้องกับการเจริญเติบโตมีพัฒนาการและความสามารถที่ สอดคลอ้ งกบั ทักษะการใชช้ วี ิตในศตวรรษที่ 21 วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อจัดตั้งสถานพัฒนาเด็กเล็ก ที่มีความพร้อมในด้านส่งเสริมการ เลี้ยงลูกด้วยนมแม่และกิจกรรมพัฒนาการแบบบูรณาการ เพื่อน�ำสู่ พฒั นาการพงึ ประสงคเ์ ดก็ ไทย 4.0 2. เพ่ือให้บริการ แก่ประชาชนทั่วไปและเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลและ คณะแพทยศาสตร์ 3. เพอื่ เปน็ สถานเรยี นรู้ ฝกึ อบรม ศกึ ษาดงู าน แนวทางการเลยี้ งดเู ดก็ สง่ เสรมิ นมแม่ และการเรยี นรู้แบบบูรณาการ สำ� หรับนกั ศึกษาในมหาวทิ ยาลยั และการขยายผลสู่ การเพม่ิ สถานพฒั นาเดก็ คุณภาพ ในท้องถ่นิ 4. เพื่อเป็นแหล่งศึกษาวิจัย และการจัดท�ำหลักสูตร ในการสนับสนุน การเกิด สถานพัฒนาเดก็ เลก็ คณุ ภาพของจงั หวดั มหาสารคาม เริม่ ตน้ อยา่ งไร ทำ� อะไรกนั บา้ งแล้ว 57
กรอบแนวคิดการดำ� เนินงาน Out come ศูนย์เรียนรู้ “สถานพัฒนาเด็กส่งเสริมนม Input แ ม ่ แ ล ะ ก า ร เรี ย น รู ้ แ บ บ บู ร ณ า ก า ร • KM วิธีการจัดตั้งสถานพัฒนาเด็ก 3 เดอื น - 3 ปี” คณุ ภาพ • KM การพัฒนาทกั ษะ EF • ให้บริการประชาชนทั่วไปและบุคลากร • ประชุมเชิงปฏิบัติการ นมแม่ใน คณะแพทย์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม daycare • มาตรฐานการจัดตั้งสถานพัฒนาเด็ก • ประชุมมุมมองพัฒนาการกรม ส่งเสริมนมแม่และการเรียนรู้แบบ การแพทย์ บรู ณาการ • ประชุมเชิงปฏิบัติการเล้ียงลูก • การขยายผล เพม่ิ สถานพฒั นาเด็กเล็ก อาศยั เทคนกิ brain based learning คุณภาพ ใน จังหวัดมหาสารคาม • การฝกึ อบรมทกั ษะการดูแลเดก็ เลก็ รว่ มกับโครงการ RIECE ดา้ นพฒั นาการของ บคุ ลากรประจำ� • แหล่งฝึกปฏิบัติงานของนิสิตแพทย์/ ศนู ย์ฯ พยาบาล และสาขาอื่นๆ • ศกึ ษาดงู านสถานพฒั นาเดก็ ฯตน้ แบบ • หลักสูตร พี่เลี้ยงเด็กส่งเสริมนมแม่ Montessori และพฒั นาการแบบบรู ณาการ • ประชุมเชิงปฏิบัติการ เทคนิกการ • พฒั นางานวิจยั ท่เี กีย่ วขอ้ ง เลา่ นทิ าน และเทคนิก 58 ศนู ยเ์ รยี นรู้ สถานพัฒนาเด็กเลก็ นมแมแ่ ละการเรยี นร้แู บบบรู ณาการ 3 เดอื น – 3 ปี โรงพยาบาลสทุ ธาเวช คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม
เรมิ่ ตน้ อย่างไร ท�ำอะไรกนั บ้างแล้ว 59
บทท่ี 7 การจัดสิง่ แวดล้อม และกจิ กรรม ในศูนย์เรยี นรู้ ฯ 60 ศูนย์เรียนรู้ สถานพัฒนาเด็กเล็กนมแมแ่ ละการเรยี นรูแ้ บบบูรณาการ 3 เดือน – 3 ปี โรงพยาบาลสทุ ธาเวช คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
การจัดสิ่งแวดล้อมเป็นสิ่งส�ำคัญและจ�ำเป็นที่จะท�ำให้เด็กได้รับการพัฒนา มีความมั่นใจ มีความสามารถ มีอิสรภาพเสรีภาพในการเล่นและการท�ำกิจกรรม ซึ่งจะส่งผลให้เกิดวินัยตามมาจึงมีการจัดสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก หอ้ งเรยี นให้สมบรู ณ์ เด็กสามารถเรยี นรู้ได้ตามความตอ้ งการ สิ่งแวดล้อมควรเปน็ จดุ เรมิ่ ตอ้ งคำ� นงึ ถงึ ความสะดวก ความสะอาด ความปลอดภยั Clean Green Safe Convenient Innovation Appropriate Technology โดยมีองค์ประกอบ 3 อย่าง ประกอบดว้ ย 1. กลุม่ เด็ก (The Children) 2. ผ้ใู หญ่ (The Adult) 3. สอ่ื /อปุ กรณแ์ ละสภาพแวดลอ้ ม (The Materials / Surroundings) องค์ประกอบท้ัง 3 ประการน้ีมีความส�ำคัญเท่า ๆ กัน เปรียบเสมือน สามเหลย่ี มดา้ นเท่าที่มีด้านเท่ากันทกุ ด้าน ตามภาพประกอบ ก ่ลุมเ ็ดก (The Children) ผ้ใู หญ่ (The Adult) (สT่อืhe/อMปุ aกtรeณriaแ์ lsละ/สSภuาrพroแuวnดdลinอ้ gมs) ท่มี า : สวาสฎพิ ร แสนคำ�, 2562. เริม่ ตน้ อยา่ งไร ท�ำอะไรกันบ้างแล้ว 61
องค์ประกอบของการจัดเตรียมส่ิงแวดล้อมของห้องเรียน ทัง้ 3 ประการนี้ ต้องไดร้ ับการจดั เตรยี มอยา่ งเฉพาะเจาะจง ขน้ึ อยูก่ ับระดับอายุ ของเดก็ และจะปรับเปล่ียนไปตามอายุ ประกอบดว้ ย 1. กล่มุ เด็ก (The Children) การจัดกลุ่มเดก็ ในหอ้ ง 1.1 จดั เด็กเปน็ กลุ่มอายุ 3-6 เดือน, 6-12 เดือน, 1-2 ปี และ 2-3 ปี อยู่รวมกันจึงจะเกิดความสมดุลในสังคม แม้เด็กจะอายุต่างกัน แตค่ วามตอ้ งการพนื้ ฐานใกลเ้ คยี งกนั สงิ่ แวดลอ้ มทจ่ี ดั เตรยี มจงึ อยู่ ในทีเดียวกัน เพือ่ ตอบสนองความต้องการคลา้ ยกนั ได้ 1.2 การจดั สง่ิ แวดลอ้ มควรจดั ทแี่ สดงออกถงึ วฒั นธรรมและสภาพสงั คม โดยรวมของชมุ ชน 1.3 ความสมดลุ ของเดก็ ผหู้ ญงิ และเดก็ ผชู้ ายในหอ้ งเรยี น ไมส่ ามารถ ก�ำหนดได้ ซึง่ แตล่ ะคนมคี วามแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล 1.4 การสอนเดก็ คละอายเุ ดก็ จะเรยี นรจู้ ากกนั และกนั โดยการสงั เกต เช่น เด็กเล็กสังเกตและเรียนรู้จากเด็กโต แต่ก็ไม่เสมอไปบางที จะเห็นเดก็ โตเรยี นรจู้ ากเดก็ เลก็ ได้ 1.5 เดก็ เรยี นรจู้ ากการชว่ ยเหลอื กนั ครสู ามารถชว่ ยเหลอื สรา้ งเดก็ โต ใหเ้ ปน็ คนเกง่ ในกลมุ่ ก็จะสามารถช่วยเหลือกันได้ 1.6 การเรียนร้ขู องกลมุ่ เดก็ • เรยี นรู้จากการสังเกตซึ่งกนั และกนั • เรียนรู้จากการชว่ ยเหลือซง่ึ กันและกัน (คนเกง่ ในกล่มุ ) เชน่ ถ้า เด็กคนไหนท�ำอะไรไม่ได้มาถามครู ครูก็บอกให้เด็กไปหาคนที่ ท�ำได้ในห้องเรยี นเพือ่ ใหช้ ่วยเหลือ หลงั จากนถ้ี ้าเด็กทำ� ได้ ก็จะ ลดภาระกับครู • เด็กที่เรียนรู้ได้แล้วอย่างสมบูรณ์ ก็จะแบ่งปันให้ผู้อ่ืน เป็นการ ปฏบิ ตั ซิ ำ�้ และทบทวนในสง่ิ ทที่ ำ� ไดแ้ ลว้ เดก็ โตจะมคี วามสมบรู ณ์ มากข้นึ • เด็กเป็นแบบอย่างพฤติกรรมการแสดงต่อกันและกัน เช่น มีเด็กโตที่มีมารยาทคุณสมบัติผู้ดีจะเป็นแบบอย่างให้เด็ก เขา้ มาใหม่ (เด็กที่มคี วามพร้อมจะเป็นแบบอย่างใหก้ บั รนุ่ น้อง) 62 ศูนยเ์ รียนรู้ สถานพฒั นาเด็กเลก็ นมแม่และการเรยี นรแู้ บบบรู ณาการ 3 เดือน – 3 ปี โรงพยาบาลสทุ ธาเวช คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม
• เม่ือเด็กได้เรียนรู้ด้วยกันอย่างมีความหมายในกลุ่มเล็กๆ จะเป็นการสร้างกลมุ่ ชมุ ชนเลก็ ๆ ท่ีแท้จรงิ (สังคมชุมชนท่ดี ี) 2. ผ้ใู หญ่ (The Adult) ผใู้ หญใ่ นทน่ี ้ี หมายถงึ ครแู ละผดู้ แู ลเดก็ ซง่ึ ถอื วา่ เปน็ สง่ิ แวดลอ้ มทส่ี ำ� คญั อกี ดา้ นหนง่ึ ผใู้ หญท่ ด่ี ีควรมคี ณุ ลักษณะดงั นี้ 2.1 คุณลักษณะของผู้ใหญ่ท่ีดี • ผใู้ หญท่ ด่ี ี คอื สงิ่ แวดลอ้ มทจี่ ะมสี มั ฤทธผิ ลตอ่ การจดั ประสบการณ์ ให้กับเด็กจะต้องได้รับความรู้และผ่านการอบรมตามหลักสูตร เป็นข้ันตอนที่เหมาะสม ถ้าผู้ใหญ่ไม่ได้รับการอบรมหรือการ ฝึกฝนท่ีดี ก็จะส่งผลให้ไม่สามารรถวิเคราะห์ความต้องการ ของเดก็ ได้ ดังนั้น ผูใ้ หญจ่ ะต้องมคี วามรู้ดี มีความเขา้ ใจในการ วิเคราะห์ ท่จี ะสามารถใหบ้ ทเรยี นและสงั เกต ประเมนิ ผลเดก็ ได้ • ผู้ใหญ่ท่ีดี ต้องรู้จักเทคนิควิธีการการจัดประสบการณ์ ระดับ ปฐมวัย กลมุ่ อายุ 3 เดอื น – 3 ปี ได้อย่างถูกต้อง ชดั เจน เขา้ ใจ ในหลกั สตู รเนอ้ื หาและกิจกรรม • ผู้ใหญ่ที่ดี จะต้อง สามารถวิเคราะห์เด็กว่าจะให้กิจกรรมใด ท่ีเหมาะสม บทเรยี นใด ท่สี ามารถแก้ปญั หาได้ • ผู้ใหญ่ท่ีดีจะต้องมีความประณีตมีบุคลิกภาพท่ีท�ำงานร่วมกับ เดก็ ได้ ผใู้ หญจ่ ะตอ้ งดน้ิ รนขนขวายหาความรู้ และมคี วามอดทน อดกลน้ั กบั การจดั ประสบการณใ์ หก้ บั เดก็ พอ่ แมผ่ ปู้ กครอง และ บุคคล ที่เกี่ยวข้อง มีความอ่อนน้อมถ่อมตน มีความโอบอ้อม อารีต่อเด็ก และผอู้ ืน่ มจี ติ วิญญาณของความเป็นครทู แี่ ทจ้ รงิ 2.2 การเตรยี มการของผใู้ หญ่ การเตรยี มการผ้ใู หญท่ ่ีส�ำคญั คอื • การจดั หอ้ งเรยี น ผใู้ หญ่เปน็ ตวั เชื่อมสำ� คัญ การชว่ ยของผใู้ หญ่ จะชว่ ยใหเ้ ดก็ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของวฒั นธรรมของเขา ชว่ ยใหเ้ ขาเปน็ ตัวของตัวเอง การท�ำงานท่ียิ่งใหญ่นี้ได้ต้องเตรียมตัวให้พร้อม ผู้ใหญ่ต้องผ่านกระบวนการการเปล่ียนแปลงการอบรมการ จัดประสบการณ์ มีความเข้าใจเกี่ยวกับห้องเรียนปฐมวัยต้อง เตรยี มส่ิงแวดลอ้ มให้เหมาะสม เร่ิมตน้ อย่างไร ทำ� อะไรกนั บ้างแล้ว 63
• การเตรียมการทางจิตวิญญาณ ถึงแม้เราเรียนรู้การ จดั กจิ กรรมสำ� หรบั เดก็ ไดอ้ ยา่ งแมน่ ยำ� แตเ่ รากไ็ มใ่ ชค่ รปู ฐมวยั หรอื ผดู้ แู ลเดก็ ทสี่ มบรู ณแ์ บบแตค่ วรมาจากการเปลยี่ นแปลงทม่ี าจาก จิตใจจึงจะสมบูรณ์แสดงออกถึงพฤติกรรมทางจิตวิญญาณ ของครู เปน็ การสะทอ้ นการเตรยี มการทางจติ วญิ ญาณของผใู้ หญ่ เราตอ้ งเตรยี มการใหพ้ รอ้ ม การทเี่ รามอบความรกั โดยไมต่ อ้ งการ ขอ้ แลกเปลี่ยนใดๆ เราจะต้องมีความเขา้ ใจเดก็ แบบถูกตอ้ ง • ผใู้ หญต่ อ้ งเรยี นรทู้ จี่ ะยอมรบั วา่ เดก็ ทกุ คนสามารถผดิ พลาดได้ มิใช่เร่ืองอันตราย เช่น เด็กท�ำงานขัดโต๊ะแล้วมีน�้ำท่วมพ้ืน เราอยา่ ไปเสยี ใจแลว้ บอกวา่ “นมี่ ใิ ชว่ ธิ กี ารทถี่ กู ตอ้ ง” เราเพยี งแค่ รอวนั หลงั แลว้ นำ� เสนอวธิ กี ารบีบน้ำ� ออกจากฟองน�ำ้ 1) ผ้ใู หญต่ อ้ งเรียนร้กู บั ความเป็นมิตรในความบกพรอ่ ง เพราะ ความบกพร่องคือสิ่งท่ีชี้ให้เห็นว่าสิ่งไม่ดีต่ออะไร ส่ิงไหนท่ี ตอ้ งเรียนรู้เพิ่มเติม 2) ผู้ใหญ่ต้องให้เกียรติและเคารพความต้องการในการพัก ของเดก็ เราอาจจะคดิ วา่ เดก็ ไมต่ อ้ งการเวลาพกั ขอใหเ้ รารวู้ า่ การท่ีเด็กอยู่น่ิงๆ มิใช่ไม่ท�ำอะไร เขาอาจจะเรียนรู้อะไร บางอยา่ งอยู่ อาจจะคดิ อะไรบางอยา่ งอยู่ เราตอ้ งสงั เกตดๆี วา่ บางครง้ั เดก็ พกั โดยการเดนิ ไปรอบๆ เดก็ อาจนง่ั เกา้ อ้ี หรอื มองไปนอกหน้าต่าง พูดคุยกับเพื่อน ท�ำงานง่ายๆ ดังนั้น จงึ มหี ลายวธิ ที เ่ี ดก็ จะพกั อยา่ งเปน็ ธรรมชาตเิ พอื่ ใหส้ มองไดพ้ กั • การเตรยี มการทางกายภาพ ได้แก่ 1) ครูต้องตระหนักถึงตัวเราเองเพราะรู้ว่าเราเป็นต้นแบบ ของเด็กๆ ในการเคล่ือนไหวต้องเคล่ือนไหวอย่างสง่างาม มีความสงบ 2) ครฝู กึ ใชภ้ าษาทเ่ี หมาะสม บางคนรสู้ กึ แปลกๆทพี่ ดู นดิ หนอ่ ย แต่ลงมือปฏิบัติ บางคร้ังเราต้องรู้ทันค�ำของตนเองว่าใช้ค�ำ ท่ีเหมาะสมหรือไม่ 3) ครูเตรียมร่างกายของเราให้พร้อมเพราะการท�ำงานกับเด็ก เป็นงานหนัก เพราะเราต้องดูแลสุขภาพใหจ้ ติ ใจ สติปญั ญา เพ่อื ให้มคี วามพรอ้ มในการท�ำงานร่วมกับเด็กทกุ วนั 64 ศนู ย์เรยี นรู้ สถานพัฒนาเด็กเล็กนมแม่และการเรียนรแู้ บบบูรณาการ 3 เดือน – 3 ปี โรงพยาบาลสทุ ธาเวช คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม
4) ครูต้องตระหนักถึงภาพลักษณ์ของตัวเองโดยการแต่งกาย สวมเสอื้ ผา้ เครอ่ื งประดบั เพราะเดก็ สงั เกตรายละเอยี ดเลก็ ๆ นอ้ ยๆ 5) ครูต้องเรียนรู้ลักษณะใหม่ๆ วิธีการปฏิบัติตัวแบบใหม่ท่ี ต้องตระหนกั ตวั ครเู อง 3. สอ่ื /อุปกรณ์ และสภาพแวดลอ้ ม (The Materials and Surroundings) สอ่ื /อุปกรณ์ และสภาพแวดล้อมกเ็ ป็นปัจจัยทส่ี �ำคญั อีกด้านหนง่ึ ทจ่ี ะสง่ ผล ต่อการจดั ประสบการณ์ส�ำหรับเดก็ ท่ีมสี ัมฤทธผิ ล ประกอบดว้ ย 3.1 ส่อื /อปุ กรณ์ สื่อ อุปกรณ์ ที่ใช้ประกอบในการจัดประสบการณ์ ระดับปฐมวัยมี รายละเอยี ด ดงั นี้ • สอ่ื ตอ้ งมคี วามเหมาะสมกบั กลมุ่ อายเุ ดก็ เชน่ อปุ กรณส์ ำ� หรบั เด็กที่ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน เช่น การตัก การเทน้�ำ การคีบวัตถุ การซกั ผา้ การลา้ งมอื การดม่ื นำ้� นม และการรบั ประทานอาหาร เป็นต้น ดังน้ัน ครูหรือผู้ใหญ่ต้องวิเคราะห์สื่ออุปกรณ์ให้มี ความเหมาะสมกับความตอ้ งการของกลมุ่ อายเุ ด็ก • สอ่ื ตอ้ งมี ความสวยงาม ดงึ ดดู ใจ สะอาดและสมบรู ณ์ อปุ กรณ์ ถ้ามีความสวยงาม ประณีต ละเอียดอ่อน จะท�ำให้เด็กเรียนรู้ ได้ดมี ากกว่า • ส่ือ อุปกรณ์ ท่ีอยู่บนช้ัน ควรมีความท้าทาย (มีความยาก พอสมควรในการเรียนรู้ของเดก็ ) สือ่ อปุ กรณท์ อ่ี ยบู่ นชัน้ ต้องมี ความสามารถคงสภาพความสนใจของเด็กอยู่เสมอ • ส่ือ อุปกรณ์ ทุกอย่างมีขนาดพอเหมาะ และเหมาะสม กับเด็ก ได้แก่ โต๊ะ เก้าอี้ ถ้ามีขนาดพอเหมาะกับเด็ก ก็จะ ท�ำใหเ้ ด็กท�ำงานไดด้ ี 3.2 สภาพแวดล้อม ลักษณะของสภาพแวดล้อม ในการจดั ประสบการณ์ ระดบั ปฐมวยั กลุม่ อายุ 3 เดอื น – 3 ปี ประกอบดว้ ย ลกั ษณะของสภาพแวดล้อมและ การตกแต่งท่ัวไป การจัดสภาพภายในห้องเรียน และสภาพภายนอก ห้องเรยี น มรี ายละเอยี ดดังนี้ เริม่ ต้นอยา่ งไร ทำ� อะไรกนั บา้ งแล้ว 65
• ลกั ษณะของสภาพแวดล้อมภายในหอ้ งเรียน 1) หน้าต่างมีระดับต่�ำและสามารถเข้าถึงได้ เช่น เด็กสามารถ ปิด-เปิดหน้าต่างเองได้ ช่วยให้เด็กมองออกไปนอกอาคาร เห็นโลกภายนอก กระจกหน้าต่างสามารถเช็ดได้ 2) ลูกบดิ ประตู มรี ะดบั ต่�ำ เด็กสามารถเขา้ ถงึ และท�ำงานได้ 3) ประตเู บาพอประมาณ เพอ่ื ใหเ้ ดก็ สามารถเปดิ และปดิ ไดอ้ ยา่ ง ระมดั ระวงั 4) ผนังห้องเรียนต้องเป็นสีอ่อน เพราะสีอ่อนมีความสงบ ไมใ่ ช่สีฉดุ ฉาดหรอื สลี กู กวาด 5) พื้นไม้ พ้ืนกระเบ้ือง เส่ือน้�ำมัน ควรหลีกเล่ียงพรม เพราะ จะทำ� ใหเ้ ป้ือนไดง้ ่าย 6) พนื้ ทใ่ี ชง้ านในหอ้ งเรยี น สำ� หรบั เดก็ ควรมขี นาด 35 ตารางฟตุ หรอื 3 ตารางเมตรต่อคน 7) ชน้ั วางของตำ่� พอทเี่ ดก็ หยบิ ของจากชน้ั บนสดุ ได้ อยา่ งมนั่ คง และปลอดภัย 8) โตะ๊ ควรมีหลายขนาดเพือ่ รองรบั กลุ่มเด็กคละอายกุ นั ดังนี้ - ลักษณะของโต๊ะ เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า โต๊ะท่ีดีท่ีสุด คือ โต๊ะท�ำงานส�ำหรับคนเดียว โต๊ะ 1 ตัวเท่ากับเส่ือ 1 ผืน ขนาดของโตะ๊ มีขนาด 18 X 26 X 20 นวิ้ หรือมีขนาด กว้าง 45 ยาว 70 สูง 50 ซม. - พ้ืนผิวหนา้ โตะ๊ เทา่ เดิม แต่ขาของโตะ๊ ขนาด 18 นิว้ - โตะ๊ สำ� หรบั เดก็ เลก็ ควรมขี นาด กวา้ ง 45 ยาว 70 สงู 45 ซม. - โต๊ะส�ำหรับเด็กโต ควรมีขนาดขาที่ยาวข้ึน คือ กว้าง 45 ยาว 70 สูง 60 ซม. - โต๊ะมนี ำ้� หนักเบาเดก็ 4 คนยกเคล่อื นท่ีได้ 9) เก้าอ้ี มลี ักษณะดงั น้ี - มีน�้ำหนักเบา สามารถให้เด็กยกใช้งานได้ง่าย มีพื้นที่ ให้เดก็ ไดจ้ บั มพี นักพงิ ได้ - สีของเก้าอ้ี ควรเปน็ สีออ่ น เพ่ือใหเ้ ด็กมองเหน็ ส่ิงสกปรก ทปี่ รากฏ เดก็ จะไดช้ ่วยท�ำความสะอาดได้งา่ ย 66 ศนู ย์เรยี นรู้ สถานพฒั นาเด็กเล็กนมแมแ่ ละการเรียนร้แู บบบรู ณาการ 3 เดอื น – 3 ปี โรงพยาบาลสทุ ธาเวช คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
- ขนาดของเกา้ อ้ี ขนาดเล็กทสี่ ดุ ควรสงู จากพน้ื ถงึ สว่ นท่นี ง่ั 9 น้ิว (23 ซม.) ขนาดกลาง ควรสูงจากพ้ืนถึงส่วนท่ีน่ัง 11 น้ิว (28 ซม.) และขนาดใหญ่ ควรสูงจากพื้นถึงส่วน ทน่ี ัง่ 12 นว้ิ (30 ซม.) - เก้าอี้ ควรมีส�ำหรับใหเ้ ด็กได้นั่งทำ� กจิ กรรมทกุ คน • การตกแต่งทวั่ ไป การตกแตง่ สภาพแวดลอ้ มทวั่ ไป กลมุ่ อายุ 3 เดอื น-3 ปี มแี นวทาง ดงั นี้ 1) ภาพบนผนงั ควรเป็นภาพสวยงาม มสี นุ ทรียภาพ ติดอยใู่ น ระดับสายตาของเดก็ ภาพควรกระตุน้ เชญิ ชวนการสนทนา คำ� ศพั ทต์ า่ งๆ จากภาพ ซง่ึ คำ� ศพั ทต์ า่ งๆ จะเปน็ กญุ แจสโู่ ลก การเปล่ียนภาพควรเปลี่ยนทุกวันศุกร์เย็น ภาพที่น�ำมาติด ควรเป็นภาพเร่ืองราวท่ีอยู่ในท้องถ่ิน หรือภาพแหล่งเรียนรู้ ทเี่ ดก็ เคยไปและอยากไป การเลอื กภาพอาจใหเ้ ดก็ เลอื กภาพ ทีเ่ ด็กชอบทสี่ ุดกไ็ ด้ 2) พรม/เสอ่ื ขนาดเลก็ มขี นาดพอเหมาะกบั การวางอปุ กรณใ์ น การทำ� งาน และมจี ำ� นวนพอเหมาะกบั จำ� นวนเดก็ ในหอ้ ง และ สามารถวางไวไ้ ด้ในขนาดของหอ้ งเรยี น 3) ตน้ ไม้ ตอ้ งเปน็ ตน้ ไมท้ ใ่ี บไมไ้ มม่ พี ษิ และตน้ ไมท้ ม่ี ขี นาดแขง็ แรง 4) สัตว์ในห้องเรียน ควรเป็นสัตว์ที่เด็กสามารถดูแลได้ เช่น ปลาสวยงาม เปน็ ต้น • การจัดมุมในห้องเรยี น การจัดมุมในห้องเรียนระดับปฐมวัยต้องจัดห้องเรียน เร่ิมต้น จากซา้ ยไปขวา ดังนี้ 1) มมุ อปุ กรณก์ จิ กรรมเบอ้ื งตน้ ทใ่ี ชใ้ นชวี ติ ประจำ� วนั ซงึ่ จะทำ� ให้ เดก็ พงึ่ พาตนเอง ปฏบิ ตั กิ จิ วตั รประจำ� วนั ในหนา้ ทต่ี า่ งๆ เชน่ การประกอบอาหารง่ายๆ การดูแลตนเอง การล้างมือ การเทนำ้� /นมดมื่ การสวมใส เสอ้ื ผา้ ถงุ เทา้ รองเทา้ การดแู ล สิ่งแวดล้อม การปัดกวาด การเชด็ การถู เปน็ ตน้ 2) มมุ อปุ กรณส์ �ำหรับกจิ กรรมประสาทรับรู้ จะช่วยกระตุ้นการ รบั รูข้ องเด็ก ไดแ้ ก่ รูปร่าง รูปทรงเรขาคณติ บลอ็ ก ตวั ตอ่ จ๊กิ ซอรปู สตั ว์ พชื เปน็ ต้น เร่ิมต้นอย่างไร ทำ� อะไรกันบา้ งแลว้ 67
3) มมุ ภาษา จะชว่ ยใหเ้ ดก็ ไดฝ้ กึ ภาษาพดู ภาษาเขยี น ภาษาอา่ น ไดแ้ ก่ หนงั สือภาพส�ำหรับเดก็ ขนาดตา่ ง ๆ รูปวตั ถุสัตว์ พชื ของจรงิ ขนาดยอ่ ส่วนชนิดตา่ งๆ เป็นต้น 4) มุมคณิตศาสตร์ เพ่ือให้เด็กได้เรียนรู้สัญลักษณ์ จ�ำนวน ปรมิ าณ และพฒั นาการคิด การเช่อื มโยงคณิตศาสตร์ และ การน�ำคณติ ศาสตรไ์ ปใช้กบั ชวี ิตประจ�ำวนั 5) มุมอุปกรณ์ส�ำหรับการแสดงออกถึงความสามารถของเด็ก เปน็ รายบคุ คล ไดแ้ ก่ อปุ กรณ์ ดนตรี ศลิ ปะ การละเลน่ ตา่ งๆ เป็นต้น • การแบง่ พน้ื ทเี่ พอื่ การจดั กจิ กรรมภายในหอ้ งเรยี น ประกอบดว้ ย 1) พ้ืนท่ีส�ำหรับจัดกิจกรรมกลุ่มใหญ่ กลุ่มเล็ก รายคู่ และ รายบุคคล 2) พื้นที่ส�ำหรับวางช้ันอุปกรณ์เป็นมุมส่งเสริมการ เรียนรู้ 3) พื้นที่พักผ่อนนอนกลางวัน 4) พ้ืนที่ส�ำหรับให้นมแม่ 5) พน้ื ทท่ี ำ� งานของครู และ 6) พนื้ ทสี่ ำ� หรบั รบั แขกพอ่ แมผ่ ปู้ กครอง ซง่ึ มีรายละเอยี ด ดังนี้ 1) พ้ืนท่ีส�ำหรับการจัดกิจกรรมให้กับเด็กเป็นกลุ่มใหญ่ (จำ� นวนเด็ก 6-12 คน) กลุม่ เลก็ (จำ� นวนเดก็ 3-5 คน) กิจกรรมคู่ และรายบุคคล มีพ้ืนท่ีกว้างประมาณเหมาะสมกับเด็กต่อคน 1: 2 ตารางเมตร 2) พ้ืนที่ส�ำหรับวางชั้นส่ือ/อุปกรณ์ จัดเป็นมุมเพื่อ ส่งเสริม ประสบการณ์ให้กับเด็กได้เลือกท�ำกิจกรรมตามความสนใจ และ ความต้องการของตนเองท่ีเหมาะสมกับวัย โดยช้ันส�ำหรับวางส่ือ อุปกรณ์ จัดเป็นมุม ได้แก่ มุมหมวดส่ิงของเครื่องใช้ในชีวิต ประจ�ำวัน มุมล้างมือ มุมครัว (พ้ืนที่ส�ำหรับการประกอบอาหาร) มตี เู้ ย็น เคร่อื งใช้ไฟฟ้า ส�ำหรับการอบ การปั่น (สำ� หรบั ทำ� กจิ กรรม ประกอบอาหารงา่ ยๆ) เพอ่ื ใหเ้ ดก็ ไดส้ มั ผสั เรยี นรเู้ ทคโนโลยที นั สมยั มุมบล็อกที่มีสื่ออุปกรณ์ส�ำหรับการเรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัส มุมคณิตศาตร์มีส่ืออุปกรณ์ท่ีเป็นกรอบลูกคิด รูปร่าง รูปทรง เรขาคณิต จ�ำนวนวัตถุของสัตว์ ผลไม้ สิ่งของต่างๆ เพ่ือให้เด็ก คนุ้ เคยจำ� นวนกบั สญั ลกั ษณ์ มมุ ภาษาท่มี ีหนังสือภาพ ส�ำหรับเดก็ ชนิดต่างๆ มุมส�ำหรับเคล่ือนไหวอิสระจากส่ือเทคโนโลยี จาก เครอ่ื งเล่น CD และโทรทัศน์ ทีว่ างถังขยะ เป็นตน้ 68 ศูนย์เรียนรู้ สถานพัฒนาเดก็ เล็กนมแมแ่ ละการเรียนรแู้ บบบรู ณาการ 3 เดอื น – 3 ปี โรงพยาบาลสทุ ธาเวช คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
3) พื้นที่พักผ่อนนอนกลางวันส�ำหรับเด็ก พื้นที่เด็กนอน 1 คน : 2 ตารางเมตร มีอุปกรณ์เครื่องนอนท่ีออกแบบให้เด็ก สามารถน�ำมาปู พับเก็บตามรอย เพื่อฝึกการช่วยเหลือตนเอง การเลอื กใชส้ ไี มค่ วรเปน็ สฉี ดู ฉาดควรเปน็ สโี ทนเยน็ ใหค้ วามรสู้ กึ สงบ เหมาะสำ� หรบั การพกั ผอ่ น และควรมตี เู้ กบ็ ของใหเ้ ดก็ เปน็ รายบคุ คล ภายในห้องมหี นา้ ต่างทส่ี ามารถเปิดรบั อากาศถา่ ยเทสะดวก 4) พนื้ ทสี่ ำ� หรบั ใหน้ มแม่ และหรอื ทบี่ บี เกบ็ นม ควรมบี รรยากาศ สงบ ผ่อนคลาย มโี ซฟาน่ัง ให้นม มีอ่างล้างมือ ต้เู ย็น มพี ื้นท่ีให้ ความรู้กับแมใ่ นการเลี้ยงลกู ดว้ ยนมแม่ เช่น แผ่นโปสเตอร์ หนงั สือ ขนาดห้องพอเหมาะประมาณ 2 X 3 ตารางเมตร มีหน้าต่างที่ สามารถเปดิ รบั อากาศถา่ ยเทสะดวกที่มีความเปน็ ส่วนตัว 5) พื้นที่/โต๊ะท�ำงานของครูและผู้ดูแลเด็ก ทีมีพ้ืนที่ท�ำงาน ด้านเอกสารและอุปกรณ์การท�ำงานที่สะดวกทันสมัย ได้แก่ คอมพวิ เตอร์ เครอื่ งพมิ พ์ (ปรนิ้ เตอร)์ กลอ้ งบนั ทกึ ภาพเครอื่ งเลน่ CD เป็นต้น ที่น่ังของครูสามารถมองเห็นบรรยากาศของห้องเรียน ท้ังห้อง เพื่อดูแลความปลอดภัยให้กับเด็ก ช่วยเหลือได้ทัน ตอ่ เหตุการณ์ เปน็ ต้น 6) พ้ืนทส่ี �ำหรับรับแขกและหรือพอ่ แม่ผปู้ กครอง มบี ริเวณไว้ สำ� หรับตอ้ นรับผปู้ กครอง เม่อื มาส่งและรบั เด็ก และเปน็ มุมพบปะ สนทนา แลกเปลยี่ นเรยี น พดู คยุ ระหวา่ งคณุ ครกู บั พอ่ แม/่ ผปู้ กครอง เรอ่ื งการสง่ เสริมพฒั นาการของลกู รัก เป็นต้น เรมิ่ ตน้ อยา่ งไร ทำ� อะไรกนั บา้ งแลว้ 69
• ธรรมชาตขิ องอปุ กรณใ์ นศนู ยก์ ารเรยี นรู้ ธรรมชาติของอุปกรณ์ส�ำหรับการจัดประสบการณ์ระดับปฐมวัย กลมุ่ อายุ 2 - 3 ปี มดี ังน้ี 1) มีขนาดเล็กและเหมาะสมกับร่างกายของเด็ก เช่น ไม้กวาด ควรเปน็ ไมก้ วาดสำ� หรบั เดก็ ไมค่ วรนำ� เอาไมก้ วาดของผใู้ หญ่ มาตดั ให้ส้ัน 2) อปุ กรณท์ ำ� จากวสั ดธุ รรมชาติ เชน่ แกว้ ไม้ โลหะ ตะกรา้ สาน ผ้า สงิ่ เหลา่ นที้ ำ� ให้ เดก็ ร้จู ักพนื้ ผิว ส่ิงต่างๆ ในโลกนีต้ า่ งกนั ครูสนทนาเล่าเร่ืองเก่ียวกับส่ิงต่างๆ เหล่าน้ี หลีกเล่ียง พลาสติกเพราะไม่สง่ เสริมการเรียนผา่ นการรับรู้ 3) ชดุ สี ใชส้ เี ปน็ รหสั ในการทำ� งาน เชน่ สขี องผา้ จะใชเ้ ปน็ ระบบ เพ่ือความชัดเจน มีอิสระในการใช้งาน เช่น ชุดผ้าสีขาว ส�ำหรับกิจกรรมการล้างมือ ผ้าสีน�้ำตาลส�ำหรับชุดการเช็ด เปน็ ตน้ 4) อุปกรณ์มีความสวยงาม ประณีต มีสุนทรียภาพงดงาม เพ่อื ชวนเชญิ เดก็ ในการท�ำงาน 70 ศนู ยเ์ รียนรู้ สถานพฒั นาเด็กเลก็ นมแมแ่ ละการเรยี นรูแ้ บบบรู ณาการ 3 เดอื น – 3 ปี โรงพยาบาลสุทธาเวช คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
• การจัดสภาพสงิ่ แวดลอ้ มภายนอกหอ้ งเรยี น การจัดสภาพส่ิงแวดล้อมภายนอกห้องเรียน จัดแบ่งพ้ืนท่ีเป็น 6 ส่วนประกอบด้วย 1) พ้ืนท่ีประตูรับ/ส่งเด็ก 2) พื้นท่ีส�ำหรับ จดั กจิ กรรมกลางแจ้งเคารพธงชาตไิ ทย 3) พนื้ ที่ส�ำหรบั รับประทาน อาหาร 4) พน้ื ทใี่ ชน้ ำ�้ (กอ๊ กเปดิ /ปดิ นำ้� ) สำ� หรบั ซกั ลา้ ง และเปดิ นำ�้ น�ำไปรดต้นไม้ ดูแลสิ่งแวดล้อม 5) พ้ืนที่งานเกษตรส�ำหรับ การทดลองปลูกพืชผกั สวนครวั 6) พน้ื ท่เี ครื่องเล่นสนาม (การเลน่ ตามรอยพยุคลบาทฯ) พัฒนากล้ามเน้ือใหญ่ ได้แก่ บ้านต้นไม้ สไลดเ์ ดอร์ ตอไม้สงู ต�่ำ ยาว ส�ำหรับการทรงตวั ชิงชา้ และพ้ืนท่ี บ่อทราย 7) พ้นื ท่กี ารฝึกใช้ทักษะชวี ิตประจ�ำวนั การใช้หอ้ งอาบน�ำ้ และหอ้ งนำ�้ และการสวมใสรองเทา้ ซงึ่ แตล่ ะสว่ นมรี ายละเอยี ด ดงั นี้ 1) พื้นท่ีประตูรับ/ส่งเด็ก เพ่ือความปลอดภัยมีช่องทางรับส่ง ทางเดียว มีการเซ็นชื่อรับส่งเด็กทุกวัน มีระบบกล้องวงจรปิด พ้ืนทางเดินไม่ล่ืน ไม่มีส่ิงกีดขวางทางเดิน มีรั้วรอบขอบชิด แสดงพน้ื ทขี่ องศนู ย์เรยี นร้ฯู 2) พน้ื ทส่ี ำ� หรบั จดั กจิ กรรมกลางแจง้ เคารพธงชาตไิ ทย/สรา้ งวนิ ยั เร่ิมตน้ อยา่ งไร ท�ำอะไรกันบ้างแลว้ 71
3) พ้ืนท่ีรับประทานอาหาร เลือกใช้ภาชนะให้มีขนาดพอเหมาะ กบั เด็ก ถาด ชอ้ นสอ้ ม แก้วน้�ำ ถ้วยกลาง เก้าอี้ โต๊ะ เพียงพอ มีขนาดเหมาะส�ำหรับเด็ก มีความแข็งแรงมั่นคง ไม่ล้ม เพ่ือ ปอ้ งกนั อบุ ตั เิ หตุ มี Flow ใหเ้ ดก็ เดนิ ไปตกั อาหาร นง่ั รบั ประทาน อาหาร เก็บถาดเม่ือรับประทานเสร็จ โดยควรมีภาชนะไว้ ส�ำหรบั เด็ก แยกเศษอาหาร ชอ้ นสอ้ ม ถาด รอลา้ ง 4) พน้ื ทใ่ี ชน้ ำ�้ (กอ๊ กเปดิ /ปดิ นำ�้ ) สำ� หรบั ซกั ลา้ ง และนำ� ไปรดตน้ ไม้ ดแู ลสิง่ แวดล้อม 5) พ้ืนที่งานเกษตรส�ำหรับการทดลองปลูกพืชผักสวนครัว จัดแบ่งพ้ืนที่ในสนาม มีเคร่ืองมือการเกษตร เช่น ช้อนตักดิน พรวนดนิ และบวั รดนำ�้ เพอ่ื ใหเ้ ดก็ ไดฝ้ กึ ดสู ง่ิ แวดลอ้ ม และพฒั นา กล้ามเนื้อ มัดใหญ่ และเพ่ือให้เรียนรู้การปลูกพืชชชนิดต่างๆ ได้แก่ ไม้ดอกไม้ประดับสวยงาม พืชผักสวนครัวร้ัวกินได้ เพ่ือ ใช้ในการประกอบอาหาร เช่น จิงจูฉ่าย กล้วย ผักคะน้าชายา เม็กซิกนั ตน้ อัญชันไมเ้ ลอ้ื ยทีซ่ ุ้มประตูทางเขา้ เปน็ ตน้ 6) พนื้ ทเ่ี ครอ่ื งเลน่ สนาม /และอปุ กรณก์ ารจดั กจิ กรรมกลางแจง้ มเี ครอ่ื งเลน่ ทหี่ ลากหลายเพอื่ ใหเ้ ดก็ ไดเ้ ลอื กเลน่ ตามความสนใจ และช่วงวัยของตนเอง ได้แก่การเล่นตามรอยพยุคลบาท ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 เพื่อพัฒนา กล้ามเน้ือใหญ่ ประกอบด้วย บ้านต้นไม้ สไลด์เดอร์ ตอไม้สูง ต�่ำ ยาว ส�ำหรับการทรงตัว ออกแบบโดยอาจารย์จาก คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ช่วยออกแบบให้ โดยเน้นวัสดุธรรมชาติ สีธรรมชาติ เรียบง่าย สบายตา เน้นการทรงตวั Balance การปีนปา่ ย ได้ใช้กล้ามเนือ้ มัดใหญ่-เล็ก และจัดสร้างโดยช่างฝีมือในท้องถิ่น ด�ำเนินการ จดั สรา้ งและมกี ารปรบั ปรงุ แกไ้ ขใหส้ มบรู ณต์ ามประสบการณ์ ดงั น้ี • เลือกเชอื กทมี่ ขี นาดหนามากกว่า 1 นว้ิ ข้ึนไป • มัดปมเชือกใหแ้ น่น ป้องกนั การคลายหรือขาดไดง้ า่ ย • การยึดเชือกกับโครงสร้าง ควรเป็นลักษณะแบบมน เพ่ือ ปอ้ งกันการเสียดสี เชือกอาจจะขาดได้ 72 ศูนยเ์ รยี นรู้ สถานพฒั นาเด็กเลก็ นมแมแ่ ละการเรยี นรูแ้ บบบูรณาการ 3 เดอื น – 3 ปี โรงพยาบาลสุทธาเวช คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
• รรู ะหวา่ งเชอื ก ควรไมห่ า่ งเกนิ 5 นวิ้ ปอ้ งกนั การบาดเจบ็ ของเดก็ • ระยะห่างระหว่างช่องไม้ ไม่ควรห่างเกิน 10 เซนติเมตร เพ่ือปอ้ งกันไมใ่ ห้เท้าเดก็ หลดุ เขา้ ไปตดิ ท่ชี ่องว่าง • ควรมีการขัดแผน่ ไมใ้ ห้เรยี บ เพอ่ื ลบเหลยี่ มท่แี หลมคม และ ป้องกนั เสย้ี น • ควรหาวัสดุ เช่น เชือกป่านพันรอบบริเวณต้นไม้ กิ่งไม้ของ บ้านต้นไม้ ท่ีความสูงประมาณ 80-100 เซนตเิ มตร ปอ้ งกัน ศรี ษะเดก็ กระแทรกกับก่ิงไม้เปน็ บาดแผล • ควรยึดฐานของโครงสร้างบ้านต้นไม้กับพื้นดิน ให้มีความ แขง็ แรงไมโ่ ยกหรอื กระดก เมอ่ื เดก็ กระโดด หรอื ขา้ มสะพานไม้ • บ่อทราย ควรเป็นทรายละเอียด ควรมีความหนา 20-30 เซนตเิ มตร เพื่อลดแรงกระแทก ปอ้ งกันการบาดเจบ็ ของเดก็ และควรมีผ้าคลุมหลังใช้งาน ป้องกันสุนัข แมวถ่ายบน กองทราย เกิดความสกปรก ครูมีการส�ำรวจ เตรียม ความพรอ้ มของสนามกอ่ นและหลงั ใชง้ านทกุ ครง้ั เพอ่ื ปอ้ งกนั อันตรายท่จี ะเกดิ กับเดก็ เช่น อาจมีไมแ้ หลมคมในบ่อทราย อาจทิ่มแทงเดก็ ได้ หรืออาจมีสตั ว์มพี ษิ แอบซอ่ นอย่ใู ตใ้ บไม้ ท่ีล่วงหลน่ ลงมาได้ เป็นตน้ 7) พื้นท่ีการฝึกใช้ทักษะชีวิตประจ�ำวัน การใช้ห้องอาบน้�ำและ หอ้ งน�้ำ และการสวมใสรองเท้า ดงั นี้ • ห้องน�้ำ ห้องอาบน�้ำ และห้องส้วม เน้นที่ขนาดโถส้วม ความสูงของอ่างล้างมือ ก๊อกน้�ำส�ำหรับเด็ก เพื่อฝึกให้เด็ก พ่ึงพาตัวเองได้ ประตูควรเป็นประตูคร่ึงบาน เพ่ือความ ปลอดภยั เดก็ ไม่ติดในหอ้ งน้ำ� พืน้ ห้องน�้ำควรเป็นกระเบื้อง หยาบ ไม่ล่ืน เช่น พื้นทรายล้าง เพื่อป้องกันการล่ืนล้ม บาดเจ็บ และเด็กได้สัมผัสพ้ืนผิวธรรมชาติ มีการท�ำความ สะอาดห้องนำ�้ อยา่ งน้อยวนั ละ 2 ครงั้ เชา้ และบา่ ย มีการ ใช้สมุนไพรในการดับกลิ่น ใช้ต้นไม้ประดับเพ่ิมสีเขียวช่วย ดูดกลน่ิ เน้นให้อากาศถา่ ยเท มีแสงสวา่ งเพยี งพอ เร่ิมต้นอยา่ งไร ท�ำอะไรกนั บา้ งแลว้ 73
• พ้ืนท่ีในการเก็บรองเท้าและสวมใส่รองเท้า มีตู้เก็บรองเท้า และเกา้ อส้ี ำ� หรบั การนงั่ เพอื่ ฝกึ กสวมใสรองเทา้ พง่ึ พาตนเอง ในชวี ติ ประจ�ำวนั การจัดกจิ กรรมรายวนั ทมี ไดก้ �ำหนดกจิ กรรม รายวัน ดงั น้ี เวลา กจิ กรรม 07.30-08.30 น. Welcome at the door 08.30-09.00 น. Good morning, How are you to day? 09.00-09.30 น. Activities BBL, Exercise Drinking milk 09.30-10.30 น. See Teachers do (0-1, 1-2, 2-3 ป)ี 10.30-11.00 น. Do it yourself 11.00-12.00 น. Lunch 12.00-12.30 น. Walk around 12.30-14.00 น. Sleep 14.00-15.00 น. Play and learn, story song Languages 15.00-15.30 น. Take story bock to home 15.30-16.30 น. Free activities and go home ก�ำหนด Meaningful experience / Eduploen program ศูนย์เรียนรู้ของเรา เน้นกิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุ 3 เดอื น - 3 ปี โดยในแตล่ ะวันจะมีกิจกรรมที่เตรยี มไว้ตามชว่ งเวลา เชน่ • 07:30 – 08:30 Welcome at the door เปน็ กจิ กรรมคดั กรอง ซงึ่ มกี ารตรวจสขุ ภาพเดก็ เบอื้ งตน้ แรกรบั ทปี่ ระตู วดั ไข้ ดูมื้อ ความสะอาดของช่องปากและฟัน เพื่อป้องกันโรคติดต่อและให้เด็กล้างมือ ก่อนเขา้ ห้องเรยี น • 08:30 – 09:00 Good morning, How are you to day? - ทักทายสวสั ดี การไหว้, เพลงสวัสดี, ชอื่ ของหนู - สัญลักษณข์ องหนู ของใช้ของหนู เกบ็ ของเขา้ ท่ี - เล่านิทานให้เพ่ือนๆ ฟัง กิจกรรมพานิทานกลับบ้าน ฝึกการเล่า เรอ่ื งเลา่ การใช้ภาษาในการสอ่ื สาร 74 ศูนยเ์ รียนรู้ สถานพัฒนาเดก็ เลก็ นมแมแ่ ละการเรยี นรู้แบบบรู ณาการ 3 เดอื น – 3 ปี โรงพยาบาลสุทธาเวช คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม
• 09:00 เขา้ แถวเคารพธงชาต+ิ สวดมนต์ไหวพ้ ระ ฝึกระเบยี บวินัย ปลกู ฝงั ความรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ • 09:30 Activities BBL, Exercise, Drinking milk BBL - ตบมอื มือตกั สลับนบั - เพลง 0 2 5 10 - ไขพ่ ะโล้ - จีจ่อเจี๊ยบ/ โยกเยก/ ลอยกระทง Exercise - เคลอื่ นไหวประกอบจังหวะช้าเรว็ - เคลอ่ื นไหวประกอบเพลงBaby Shark, Chicken Dance, ออกกำ� ลงั กาย รับแสงตะวัน, ฉนั คอื เมฆ - เคล่อื นไหวประกอบอปุ กรณ์ เชน่ กระดานรอยเทา้ Drinking milk - ฝึกเด็กดม่ื นมจากแกว้ ต้งั แตเ่ ด็กอายุ 9 เดอื น - บ๊ายบายขวดนม - เดก็ ช่วยครูยกโตะ๊ สำ� หรับด่มื นม - เนน้ ดมื่ นมรสจืด เด็กตัดกลอ่ งเทนมใส่แก้วเองดม่ื นมหมดแก้ว • 09:30 – 10:30 See Teachers do (0 - 1, 1 - 2, 2 - 3 ปี) กจิ กรรมกลมุ่ ใหญ่ ฝกึ เดก็ ใหม้ ปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั ผอู้ น่ื การเขา้ สงั คม ทำ� งานรว่ มกนั วันจันทร์ กิจกรรมพฒั นากลา้ มเน้อื มดั เล็ก เช่น ป้ันแป้งโดว,์ ดนิ เหนียว วันองั คาร กิจกรรม Art เชน่ ระบายสี, ปะตดิ , พิมพภ์ าพ, พบั สี, เปา่ สี วันพธุ กจิ กรรมวิถีไทย เช่น การละเลน่ รรี ขี ้าวสาร, กระโดดยาง, เปา่ กบ, วันพฤหสั บดี บญุ ประเพณีตา่ งๆ วนั ศกุ ร ์ กิจกรรมMusic เช่น การเคลอ่ื นไหวประกอบเพลง, เคลอื่ นไหวประกอบ จังหวะ, เล่นเคร่ืองดนตร,ี รอ้ งเพลง กจิ กรรม Cooking เชน่ การเตรยี มอาหารงา่ ยๆ ให้เรยี นรู้ค้นุ ชนิ กบั เทคโนโลยสี มยั ใหม่ เห็นข้ันตอนกระบวนการทำ� เช่น การปัน่ นำ้ �ผักผลไม,้ หน่ั กลว้ ยอบ กจิ กรรมเสรมิ เชน่ การปลกู ผัก ถัว่ งอกคอนโด ปลูกผกั สวนครัว เริม่ ตน้ อยา่ งไร ทำ� อะไรกนั บา้ งแลว้ 75
• 10:30 – 11:00 Do it yourself Montessori กิจกรรมเสรี เปิดโอกาสใหเ้ ดก็ ได้เลือกงานตามความสนใจ มาทำ� อยา่ งตงั้ ใจจนสำ� เรจ็ เปน็ การฝกึ ทกั ษะ สมาธิ เชน่ ตอ่ บลอ็ กไม,้ รปู สตั ว์ จ�ำลอง, รูปทรงเรขาคณิต, กรอบไมฝ้ กึ การแต่งกาย • 11:00 – 12:00 Lunch รบั ประทานอาหารกลางวนั เนน้ การพง่ึ พาตนเอง เดก็ เตรยี มถาดอาหาร ตักอาหารเอง กดน้�ำดืม่ เอง และเกบ็ ถาด แยกเศษอาหารเอง • 12:00 – 12:30 Walk around กจิ กรรมส�ำรวจธรรมชาติ, ดแู ลสง่ิ แวดล้อม เชน่ ให้อาหารปลา, รดน�้ำ ตน้ ไม้, เรยี นรสู้ ่งิ มีชวี ิตรอบตัว, เก็บใบไมอ้ อกจากบ่อทราย • 12:30 – 14:00 Sleep เน้นเด็ก ปูท่ีนอนด้วยตนเอง การมีเคร่ืองนอนท่ีออกแบบให้เด็กได้ฝึก ปู พับ เก็บใส่ตู้ตังเอง การใช้สีสันเหมาะส�ำหรับการพักผ่อน ไม่ฉูดฉาด เราเลือกสีเทา-เหลือง ซ่ึงเป็นสีของมหาวิทยาลัย และเป็นสีโทนอ่อน 76 ศนู ยเ์ รียนรู้ สถานพัฒนาเดก็ เลก็ นมแม่และการเรียนรูแ้ บบบูรณาการ 3 เดือน – 3 ปี โรงพยาบาลสทุ ธาเวช คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม
สบายตา มีช่อื เดก็ ปักตดิ บนเครื่องนอน หลงั จากต่ืนนอน เดก็ จะฝกึ เกบ็ ทีน่ อน พบั ผ้า และแปรงฟัน • 14:00 – 15:00 Play and learn, story song Language มีส่ือสอนภาษาต่างชาติ เช่น Epic, Caillou, เล่านิทานภาษาอังกฤษ ภาษาไทยและภาษาถิ่น โดยครู / ผ้ปู กครอง / นกั ศึกษา • 15:00 – 15:30 พานทิ านกลบั บ้าน Take story book to home เด็กได้เลือกนิทาน กลับไปให้คุณพ่อคุณแม่อ่านท่ีบ้าน มีถุงผ้าใส่หนังสือ ให้เด็กรู้จักทะนุถนอมหนังสือ หนังสือมีคุณค่าและน�ำกลับมาเปลี่ยนกับ เพอ่ื นๆ ในวันถัดไป • 15:30 – 16:30 Free activities and go home - เล่นสนามเด็กเลน่ บา้ นต้นไม้ - บ่อทราย - อ่านนทิ าน รอผู้ปกครองมารับ เรม่ิ ต้นอยา่ งไร ทำ� อะไรกันบ้างแล้ว 77
Health and Safety อาหารทีเ่ ดก็ ไดร้ ับต้องครบ 5 หมู่ เน้นคณุ ภาพดี สะอาด ปลอดภยั จากยา ฆา่ แมลง เนน้ สง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ ไดก้ นิ ผกั ผลไมท้ กุ วนั และจดั กจิ กรรมใหเ้ ดก็ ๆ ประกอบ อาหาร เครื่องด่มื ดว้ ยตวั เอง บุคลากร อตั ราส่วน บคุ ลากร ต่อจำ� นวนเด็ก ขน้ึ กับช่วงวัยของเด็ก โดยอัตราสว่ นท่เี หมาะ สมและสามารถดูแลเดก็ กลุ่ม 0 - 3 ปี ได้อยา่ งมีคณุ ภาพ คอื แรกเกดิ – 6 เดอื น อัตราส่วน ครู 1 : เด็ก 2 คน 6 เดือน – 1 ปี อัตราส่วน ครู 1 : เดก็ 3 คน 1 ปี – 2 ปี อัตราส่วน ครู 1 : เด็ก 4 คน 2 ปี – 3 ปี อัตราส่วน ครู 1 : เด็ก 5 คน 78 ศูนยเ์ รียนรู้ สถานพัฒนาเด็กเลก็ นมแมแ่ ละการเรยี นร้แู บบบรู ณาการ 3 เดอื น – 3 ปี โรงพยาบาลสุทธาเวช คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
การพฒั นาบุคลากร บคุ ลากรทกุ คนจำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารเรยี นรรู้ ว่ มกนั ในการดแู ลเดก็ ซงึ่ จะตอ้ งมกี าร อบรม เขา้ ร่วมกิจกรรมพฒั นาความรู้ ในการดูแลเด็ก 0 - 3 ปี อย่างต่อเนอ่ื งและ สม่ำ� เสมอ ดังนี้ 1. จัดกิจกรรมวิชาการให้ความรู้แกบุคลากรและบุคคลท่ัวไป อย่างน้อย 5 ครงั้ ต่อปี 2. จดั กิจกรรมโรงเรียนพอ่ แม่ ทกุ 2 เดอื น/คร้งั 3. กจิ กรรมประชมุ ประจำ� เดอื น เพอื่ พฒั นาการทำ� งานและการบรกิ ารทดี่ ขี น้ึ 4. กระบวนการท�ำงานผ่านการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ KM จากผู้เช่ียวชาญ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ดงั น้ี ครง้ั ที่ 1 อบรมเร่ือง EF อ.พรพิไล เลศิ วิชา ครั้งท ่ี 2 อบรมเรอ่ื งนมแม่ อ.ศริ าภรณ์ สวสั ดิวร ครง้ั ที่ 3 อบรมพัฒนาการ 0-5 ปี อ.อดศิ ร์สุดา เฟ่อื งฟมู , อ.ขิ่ม สกลุ น่มุ ครง้ั ท ่ี 4 ศึกษาดูงานสถานสงเคราะหอ์ ดุ รธานี ครั้งท่ี 5 เรียนหลกั สูตรการสอนแบบมอนเทสซอร่ี ครั้งท ี่ 6 เขา้ รว่ มอบรมเชิงปฏบิ ัติการหลักสตู รพัฒนานกั จัดการความรู้ รนุ่ 2 ครง้ั ท่ี 1/2561 19-21 เมษายน 2561 ครั้งที่ 7 ประชุมKM แลกเปลี่ยนแนวทางการจดั ตั้ง Daycare 26 เมษายน 2561 คร้ังที่ 8 ประชมุ คณะกรรมการพฒั นาต้นแบบศนู ย์เด็กเลก็ 4 พฤษภาคม 2561 ครง้ั ท่ี 9 ประชมุ คณะกรรมการพฒั นาตน้ แบบศนู ย์เดก็ เลก็ “Breastfeeding Daycare สู่ Smart EF” 4 พฤษภาคม 2561 ครง้ั ท ่ี 10 ลงพืน้ ทกี่ ับ อปท.เพื่อแลกเปลย่ี นประสบการณ์ การเล้ียงดูเด็ก ศูนยเ์ ดก็ เล็กในจงั หวัดมหาสารคาม 24 พฤษภาคม 2561 ครง้ั ท่ี 11 ลงพืน้ ทกี่ ับหน่วยงานภายนอก เพื่อแลกเปล่ียนประสบการณ์ การเลย้ี งดูเดก็ ศูนยเ์ ด็กเล็ก ในจงั หวดั มหาสารคาม 24 พฤษภาคม 2561 ครั้งที่ 12 ประชมุ “Jigsaw Smart Daycare in MSK” 24 พฤษภาคม 2561 ครั้งที่ 13 จัดอบรมโครงการส่งเสริมการเลยี้ งดเู ดก็ สู้ Smart EF 6 - 7 มถิ ุนายน 2561 ครั้งที่ 14 อบรมเคลด็ ลบั นมแม่สำ� เร็จไดใ้ น Daycare อ.กุสมุ า ชศู ลิ ป์ 27 มิถนุ ายน 2561 ครง้ั ท ่ี 15 เปิดสถานพัฒนาเด็กเล็ก ส่งเสรมิ นมแมแ่ ละเรยี นรู้แบบบูรณาการ BF and EF Daycare 2 กรกฎาคม 2561 เริ่มตน้ อย่างไร ทำ� อะไรกนั บา้ งแล้ว 79
คุณสมบัติในการรบั สมัครเด็กเลก็ เพื่อเรียนรู้บูรณาการ 1. เด็กอายุ 3 เดือน ถงึ 3 ปี 2. ตอ้ งเลย้ี งลกู ดว้ ยนมแมอ่ ยา่ งเดยี วอยา่ งนอ้ ย 6 เดอื น (หากแมไ่ มส่ ามารถ ให้นมบุตรได้ตอ้ งมหี ลกั ฐานทางการแพทยม์ าประกอบการสมคั รเรียน) 3. กรณีท่ีแม่ไม่สามารถเข้ามาให้นมบุตรได้ในม้ือระหว่างวัน สามารถ ปม๊ั นมมาฝากไวใ้ หบ้ ตุ รไดโ้ ดยครพู เี่ ลย้ี งจะทำ� การปอ้ นนมระหวา่ งมอ้ื ให้ 4. กรณีเด็กท่ีต้องทานอาหารระหว่างวัน ให้ผู้ปกครองป้อนอาหารม้ือเช้า ให้บุตรก่อนน�ำมาส่งศูนย์ทุกครั้ง โดยมื้อกลางวันทางศูนย์จะจัดเตรียม อาหารและครพู เ่ี ลย้ี งจะเปน็ คนป้อนใหเ้ ด็กเอง 5. มสี ขุ ภาพสมบรู ณ์ แขง็ แรง ไมเ่ ปน็ โรคตดิ ตอ่ รา้ ยแรง กรณที มี่ โี รคประจำ� ตวั ตอ้ งไดร้ บั การรกั ษาและอยใู่ นระยะสงบของโรค (หากมโี รงประจำ� ตวั หรอื แพย้ า ส่วนประกอบของอาหารชนิดใดแจง้ กอ่ นเข้าเรียนทุกคน) 6. กรณที เี่ ดก็ ปว่ ยดว้ ยโรคตดิ ตอ่ ระหวา่ งเรยี น เดก็ ตอ้ งหยดุ เรยี นตามกำ� หนด ของแตล่ ะโรค 7. กรณีที่เด็กติดขวดนม ผู้ปกครองต้องให้ความร่วมมือในการเลิกขวดนม ของบตุ ร 8. หา้ มนำ� ขนมหวานของกนิ เขา้ ศนู ยฯ์ ทกุ กรณี ยกเวน้ นม สำ� หรบั เดก็ เทา่ นนั้ เปา้ หมายกจิ กรรมรายวนั เพอ่ื พฒั นาเดก็ มพี ฤตกิ รรมพงึ ประสงค์ 1) อดทน 2) รอคอยเป็น 3) มุ่งม่ัน 4) แบ่งปัน 5) เห็นใจ 6) กตัญญู 7) รับผิดชอบ 8) สัมมาคารวะ 9) พ่ึงพาตนเองได้ 10) ท�ำงานร่วมกับผู้อื่นได้ 11) ปรบั ตวั เข้ากับสงั คม 12) มีวินยั 13) มีน้�ำใจ 14) กลา้ แสดงออก 15) แกป้ ัญหา งา่ ยๆ ได้ 16) ไม่รงั แกผูท้ ีอ่ ่อนแอกวา่ 17) ซ่อื สตั ย์ 18) มีเหตผุ ล 19) ใฝ่เรียนรู้ 20) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 21) อยู่อย่างพอเพียง 22) รักความเป็นไทย 23) มีจติ อาสา 24) สามคั คี 25) พฒั นาการสมวยั 26) สุขภาพดี 27) อนุรกั ษ์ส่ิง แวดลอ้ ม 28) มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ 29) สขุ จติ ดี 30) สอ่ื สารไดต้ รงตามความตอ้ งการ เหมาะสมกับวยั 80 ศนู ยเ์ รียนรู้ สถานพัฒนาเดก็ เล็กนมแม่และการเรียนร้แู บบบูรณาการ 3 เดอื น – 3 ปี โรงพยาบาลสุทธาเวช คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
ตอบโจทย์ ตรงเปา้ มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ การบริหารจัดการของศูนย์เรียนรู้ฯ เทียบได้กับมาตรฐานสถานพัฒนาเด็ก ปฐมวัยแหง่ ชาติ ซงึ่ ประกอบดว้ ยมาตรฐาน 3 ด้าน ได้แก่ มาตรฐานด้านที่ 1 การบริหารจดั การ 1. การบรหิ ารจดั การอยา่ งเปน็ ระบบ (บรหิ ารจดั การสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั อยา่ งเปน็ ระบบ บรหิ ารหลกั สตู รสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั บรหิ ารจดั การขอ้ มลู อยา่ ง เปน็ ระบบ) 2. การบริหารจัดการบุคลากร โดยเฉพาะการจัดอัตราส่วนของครู/ผู้ดูแล เด็กอย่างเหมาะสมพอเพียงตอ่ จ�ำนวนเดก็ ในแต่ละกลุ่มอายุ อายุเดก็ มาตรฐานสถาน ศูนยเ์ รียนรฯู้ พฒั นาเดก็ ปฐมวัยแหง่ ชาติ ครู 1 : เด็ก 2 คน แรกเกิด – 6 เดอื น ครู 1 : เด็ก 3 คน 6 เดือน – 1 ปี ครู 1 : เดก็ 3 คน ครู 1 : เดก็ 4 คน 1 ปี – 2 ปี ครู 1 : เด็ก 3 คน ครู 1 : เด็ก 5 คน 2 ปี – 3 ปี ครู 1 : เดก็ 5 คน ครู 1 : เดก็ 10 คน 3. การบรหิ ารจัดการสภาพแวดลอ้ มเพอื่ ความปลอดภยั (โครงสร้าง สภาพ แวดล้อม ทางเดิน การจัดแบ่งพ้ืนที่การเรียนรู้ การใช้งาน สนามเด็กเล่น ระบบ ปอ้ งกนั ภยั จากบุคคลและอนั ตรายในทกุ ดา้ น อุปกรณเ์ ครือ่ งใช)้ 4. การจดั การเพื่อสง่ เสริมสุขภาพและการเรยี นรู้ 5. การสง่ เสรมิ การมีส่วนร่วมของครอบครวั และชุมชน มาตรฐานด้านที่ 2 กระบวนการดแู ลจดั ประสบการณ์ เรียนรู้ และเล่น 1. การดแู ลและพัฒนาเด็กอยา่ งรอบด้าน 2. การส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายและดูแลสุขภาพ 3. การส่งเสริมพฒั นาการด้านสติปัญญา ภาษาและการสื่อสาร 4. การส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ-สังคม ปลูกฝังคุณธรรม และความเป็นพลเมอื งดี 5. การส่งเสริมเดก็ ในระยะเปล่ียนผ่านใหป้ รบั ตวั สู่การเชือ่ มตอ่ ในขั้นถัดไป เร่มิ ตน้ อย่างไร ท�ำอะไรกันบ้างแล้ว 81
มาตรฐานด้านท่ี 3 คุณภาพเดก็ ปฐมวัย แรกเกิด - 3 ปี (2 ปี 11 เดอื น 29 วัน) และ 3 - 6 ปี 1. เดก็ มีการเจริญเตบิ โตสมวัย 2. เดก็ มีพฒั นาการสมวัยโดยรวม 5 ด้าน คือ 2.1 เด็กมพี ัฒนาการกลา้ มเน้อื มดั ใหญ่ (Gross Motor) 2.2 เด็กมีพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญาสมวัย (Fine Motor Adaptive) 2.3 เดก็ มพี ฒั นาการดา้ นการรบั รแู้ ละเขา้ ใจภาษา (Receptive Language) 2.4 เดก็ มีพัฒนาการการใชภ้ าษาสมวยั (Expressive Language) 2.5 เด็กมพี ฒั นาการการชว่ ยเหลอื ตนเองและการเข้าสงั คม (Personal Social) 82 ศนู ยเ์ รียนรู้ สถานพฒั นาเด็กเล็กนมแม่และการเรยี นรู้แบบบรู ณาการ 3 เดือน – 3 ปี โรงพยาบาลสุทธาเวช คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม
โดยในด้านของพัฒนาการสมวัยน้ี ศูนย์เรียนรู้ฯ ได้ต้ังเป้าประสงค์ไว้ 7 ด้านด้วยกัน คอื 1. ดา้ นร่างกาย 2. จติ ใจและอารมณ์ 3. สงั คม 4. สตปิ ัญญา 5. ภาษา 6. การคิดสร้างสรรค์ 7. จริยธรรม เริ่มตน้ อยา่ งไร ท�ำอะไรกนั บ้างแลว้ 83
ภาคท่ี 4 84 ศูนย์เรยี นรู้ สถานพัฒนาเด็กเลก็ นมแมแ่ ละการเรียนรู้แบบบรู ณาการ 3 เดือน – 3 ปี โรงพยาบาลสุทธาเวช คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม
ตัวอยา่ ง การจดั กิจกรรม การสร้างประสบการณ์ เรียนรู้ส�ำหรบั เดก็ เลก็ 3 เดอื น - 3 ปี เร่มิ ตน้ อยา่ งไร ทำ� อะไรกนั บ้างแลว้ 85
ตวั อยา่ ง การจัดกจิ กรรม การสรา้ งประสบการณเ์ รยี นรู้ สำ�หรบั เดก็ เล็ก 3 เดอื น - 3 ปี 86 ศูนยเ์ รียนรู้ สถานพัฒนาเดก็ เล็กนมแม่และการเรยี นรูแ้ บบบรู ณาการ 3 เดอื น – 3 ปี โรงพยาบาลสุทธาเวช คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม
แนวทางการจดั กจิ กรรมสำ� หรบั เดก็ ปฐมวัยระหว่างอายุ 3 เดือน - 3 ปี แบ่ง เปน็ 2 ช่วงอายุ คอื 3 เดอื น - 2 ปี และ 2 - 3 ปี กิจกรรมปฏิบัติการอบรมเล้ยี งดู ตามวิถีชีวิตประจ�ำวันโดยครู/ผู้ดูแลเด็กจัดประสบการณ์ส�ำคัญให้เด็กส่งเสริม พัฒนาการทุกดา้ น ได้แก่ ดา้ นร่างกาย จิตใจและอารมณ์ สงั คม สติปญั ญา ภาษา การคิดสร้างสรรค์ และจริยธรรม โดยการจดั สภาพส่ิงแวดลอ้ มภายในและภายนอก หอ้ งเรยี นทเี่ ออื้ ตอ่ การเรยี นรสู้ ำ� หรบั เดก็ ตามชว่ งอายทุ กุ ดา้ น ทกี่ ระตนุ้ ใหเ้ ดก็ เกดิ การ เรียนรู้และมีความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์กับส่ิงต่างๆ รอบตัวในวิถีชีวิต ของเดก็ อนั จะสงั่ สมเปน็ ทกั ษะพนื้ ฐานทจี่ ำ� เปน็ ตอ่ การเรยี นรแู้ ละสามารถพฒั นาตอ่ เนอ่ื งไปสู่ระดบั ท่ีสูงขน้ึ หลักการจดั ประสบการณส์ �ำหรบั เด็ก 1. สอดคล้องกับจิตวิทยาพัฒนาการและการท�ำงานของสมอง ที่เหมาะกับ อายุ วฒุ ภิ าวะ และระดบั พัฒนาการ เพื่อใหเ้ ดก็ ทกุ คนได้พฒั นาเตม็ ตามศกั ยภาพ 2. ให้เดก็ ไดล้ งมือกระทำ� เรียนรู้ ผา่ นประสาทสัมผัสท้ังห้าโดยการดู การฟัง การชิม การดมกลิ่น และการสัมผัส ได้เคลอ่ื นไหว ส�ำรวจ เล่น สงั เกต สืบคน้ ทดลอง และคิดแกป้ ัญหาด้วยตนเอง 3. บรู ณาการทงั้ กจิ กรรม ทกั ษะ และสาระทค่ี วรเรยี นรทู้ ง้ั สากล และในทอ้ งถนิ่ 4. ใหเ้ ด็กไดค้ ดิ รเิ รม่ิ วางแผน ตัดสนิ ใจ ลงมือกระทำ� และน�ำเสนอความคดิ โดยคร/ู ผดู้ แู ลเด็กเปน็ ผสู้ นบั สนุนอ�ำนวยความสะดวกและเรยี นรู้รว่ มกบั เด็ก 5. ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับเด็กอื่น กบั ผ้ใู หญ่ เพศหญงิ เพศชาย ภายใต้สภาพ แวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ในบรรยากาศท่ีอบอุ่น มีความสุขและเรียนรู้การท�ำ กจิ กรรมแบบร่วมมือในลักษณะตา่ งๆ กัน 6. ใหเ้ ดก็ มปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั สอื่ และแหลง่ การเรยี นรทู้ ห่ี ลากหลาย และอยใู่ นวถิ ี ชีวิตของเด็ก สอดคลอ้ งกับบรบิ ทสงั คมและวัฒนธรรมทแี่ วดลอ้ มเดก็ 7. สง่ เสรมิ ลกั ษณะนสิ ยั ทด่ี แี ละทกั ษะการใชช้ วี ติ ประจำ� วนั ใชเ้ ทคโนโลยี ตาม แนวทางหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ตลอดจนสอดแทรกคณุ ธรรม จริยธรรม และการมวี นิ ัย ให้เป็นสว่ นหน่งึ ของการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรอู้ ยา่ งต่อเนื่อง 8. จดั ประสบการณท์ ม่ี กี ารวางแผนไวล้ ว่ งหนา้ และแผนทเ่ี กดิ ขน้ึ ในสภาพจรงิ เรมิ่ ตน้ อย่างไร ทำ� อะไรกันบ้างแลว้ 87
การจดั ประสบการณส์ ำ� คญั ประจำ� วนั สำ� คญั ทจ่ี ะชว่ ยสง่ เสรมิ พฒั นาการทาง ด้านรา่ งกาย อารมณ์และจิตใจ สงั คม สติปญั ญา ภาษา การคดิ สร้างสรรค์ และ จรยิ ธรรม ของเดก็ นนั้ คร/ู ผดู้ แู ลเดก็ มกี ารจดั ประสบการณแ์ บบบรู ณาการแบบองค์ รวมท่ียึดเดก็ เปน็ สำ� คญั ด้วยกจิ กรรมดังตอ่ ไปน้ี 1. การจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย เป็นการ สนับสนุนให้เด็กได้มีโอกาสพัฒนาการใช้กล้ามเน้ือใหญ่ กล้ามเน้ือเล็ก การท�ำ กิจวัตรประจ�ำวันหรือท�ำกิจกรรมต่างๆ การนอนหลับพักผ่อน การดูแลสุขภาพ อนามัยและความปลอดภัยของตนเอง การจัดประสบการณ์ส่งเสริมที่ส�ำคัญ ประกอบด้วย การฝึกสุขนิสัยและ ลกั ษณะนสิ ยั ทดี่ ใี นการรบั ประทานอาหาร การทำ� ความสะอาดรา่ งกาย การขบั ถา่ ย ตลอดจนปลกู ฝงั ลกั ษณะนสิ ยั ทดี่ ใี นการดแู ลสขุ ภาพอนามยั ของใชส้ ว่ นตวั การรกั ษา ความปลอดภัย และการแสดงมารยาทท่ีสุภาพ นุ่มนวลแบบไทย การเคลื่อนไหว ส่วนต่างๆ ของร่างกาย เช่น ควำ�่ คลาน ยืน เดิน เลน่ นิ้วมือ เคลอ่ื นไหวตามเสียง ดนตรี ปนี ปา่ ยเครอ่ื งเลน่ การเลน่ ออกกำ� ลงั กายกลางแจง้ อยา่ งอสิ ระ การเคลอ่ื นไหว และการทรงตัว การประสานสัมพนั ธ์ของกล้ามเนื้อและระบบประสาท ร้อยลกู ปัด ขนาดใหญ่ เล่นหยอดบล็อกรูปทรงลงกล่อง ตอกหมุด โยนรับลูกบอล เล่นน้�ำ ปั้นแป้งโดว์ ใช้สเี ทียนแท่งใหญว่ าดเขียน การฉีก การตดั ปะ เปน็ ตน้ 2. การจดั ประสบการณท์ ส่ี ง่ เสรมิ ดา้ นอารมณแ์ ละจติ ใจ เปน็ การสนบั สนนุ ให้เด็กไดแ้ สดงออกทางอารมณแ์ ละความรูส้ กึ ที่เหมาะสมกับวยั มคี วามสขุ ร่าเริง แจม่ ใส ไดพ้ ฒั นาความรสู้ กึ ทด่ี ตี อ่ ตนเองและความเชอื่ มนั่ ในตนเอง จากการปฏบิ ตั ิ กิจกรรมตา่ งๆ ในชวี ิตประจำ� วนั พอ่ แม่ผ้ปู กครอง หรอื คร/ู ผู้ดูแลเด็กเป็นบุคคลท่มี ี ส่วนส�ำคัญอย่างย่ิงในการท�ำให้เด็กรู้สึกเป็นท่ีรัก อบอุ่น มั่นคง เกิดความรู้สึก ปลอดภัย การจดั ประสบการณส์ ง่ เสรมิ ทสี่ ำ� คญั ประกอบดว้ ย การจดั สภาพแวดลอ้ ม ทส่ี ง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ เกดิ ความรสู้ กึ อบอนุ่ และมคี วามสขุ เชน่ สบตา อมุ้ โอบกอด สมั ผสั เป็นแบบอย่างทดี่ ใี นด้านการแสดงออกทางอารมณ์ ตอบสนองต่อความรูส้ กึ ท่เี ด็ก แสดงออกอย่างนุ่มนวล อ่อนโยน การควบคุมอารมณแ์ ละการแสดงออก การเล่น อสิ ระ การเลน่ บทบาทสมมติ การชนื่ ชมธรรมชาติ การเพาะปลกู พชื งา่ ยๆ การเลย้ี ง สตั ว์ ฟงั นทิ าน รอ้ งเพลง ทอ่ งคำ� คลอ้ งจอง ทำ� กจิ กรรมศลิ ปะตา่ งๆ ตามความสนใจ 88 ศนู ยเ์ รียนรู้ สถานพฒั นาเดก็ เลก็ นมแม่และการเรยี นรแู้ บบบูรณาการ 3 เดอื น – 3 ปี โรงพยาบาลสทุ ธาเวช คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ผา่ นการเล่นท่มี ีความหมาย ใหเ้ ดก็ ได้มีโอกาสตดั สินใจเลือก ไดร้ บั การตอบสนอง ตามความตอ้ งการ เป็นตน้ 3. การจดั ประสบการณท์ สี่ ง่ เสรมิ ดา้ นสงั คม เปน็ การสนบั สนนุ ใหเ้ ดก็ ไดม้ ี โอกาสปฏสิ มั พนั ธก์ บั บคุ คลและสงิ่ แวดลอ้ มตา่ งๆ รอบตวั ในชวี ติ ประจำ� วนั ไดป้ ฏบิ ตั ิ กจิ กรรมต่างๆ และปรบั ตัวอยู่ในสงั คม เดก็ ควรมโี อกาสได้เลน่ และทำ� กิจกรรมรว่ ม กบั ผอู้ น่ื ไม่ว่าจะเป็นผู้ใหญ่ เดก็ วยั เดียวกันหรือต่างวยั เพศเดยี วกันหรือต่างเพศ อย่างสม�่ำเสมอ การจดั ประสบการณ์ส่งเสรมิ ทส่ี ำ� คญั ประกอบดว้ ย การช่วยเหลือตนเอง ในกจิ วัตรประจ�ำวันตามวยั โดยการพูดคยุ หยอกลอ้ หรอื เล่นกับเด็ก เช่น เลน่ จะ๊ เอ๋ เล่นจ�ำ้ จ้ี เล่นโยกเยก เล่นประกอบค�ำรอ้ ง เชน่ จันทรเ์ จา้ เอย๋ แมงมุม ต้ังไข่ลม้ การ เลน่ อยา่ งอสิ ระ การเลน่ รวมกลมุ่ กบั ผอู้ นื่ การแบง่ ปนั หรอื การให้ การอดทนรอคอย ตามวัย การใช้ภาษา บอกความต้องการ การออกไปเล่นนอกหอ้ งเรียน สนามเดก็ เลน่ เลน่ และทำ� งานรว่ มกบั ผอู้ น่ื ปฏบิ ตั ติ ามกฎกตกิ าขอ้ ตกลงของสว่ นรวม เกบ็ ของ เข้าท่ีเมื่อเล่นหรือท�ำงานเสร็จ การไปร่วมกิจกรรมงานประเพณีในศาสนสถานใน ชมุ ชน เปน็ ต้น 4. การจัดประสบการณ์ท่ีส่งเสริมด้านสติปัญญา เป็นการสนับสนุนให้ เดก็ ไดร้ บั รู้ เรยี นรสู้ ง่ิ ตา่ งๆ รอบตวั ในชวี ติ ประจำ� วนั ผา่ นประสาทสมั ผสั ทงั้ หา้ กระตนุ้ การรับรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้งห้าในการมองเห็น ได้ยิน ล้ิมรส ได้กลิ่น สัมผัสจับ ตอ้ งสิง่ ต่างๆ และการเคลอ่ื นไหว ไดพ้ ฒั นาการใช้ภาษาสอ่ื ความหมายและความ คิด รจู้ กั สงั เกตคณุ ลักษณะต่างๆ เชน่ สี ขนาด รูปรา่ ง รูปทรง ผิวสัมผสั จดจำ� ชือ่ เรยี กสิ่งตา่ งๆ รอบตัว การจดั ประสบการณส์ ่งเสริมทส่ี �ำคญั ประกอบด้วย การส�ำรวจ และการ ทดลองท�ำอาหารง่ายๆ การคิดวางแผนที่ไม่ซับซ้อน การคิดตัดสินใจ หรือคิดแก้ ปัญหาในเร่ืองท่ีง่ายๆ ด้วยตนเอง การตอบค�ำถามจากการคิด การเช่ือมโยงจาก ประสบการณเ์ ดมิ การเรยี งลำ� ดบั เหตกุ ารณ์ การยดื หยนุ่ ความคดิ ตามวยั การจดจอ่ ใสใ่ จ การสงั เกตวตั ถหุ รอื สง่ิ ของทมี่ สี สี นั และรปู ทรงทแี่ ตกตา่ งกนั การฟงั เสยี งตา่ งๆ รอบตัว การฟังนิทานหรือเรื่องราวสั้นๆ การพูดบอกความต้องการ การเล่าเรื่อง ราว เป็นต้น เรมิ่ ตน้ อยา่ งไร ทำ� อะไรกันบา้ งแลว้ 89
5. การจดั ประสบการณส์ ง่ เสรมิ ทกั ษะทางภาษา เปน็ การฝกึ ใหเ้ ดก็ ไดเ้ ปลง่ เสยี งเลียน เสียงพูดของผู้คน เสียงสตั ว์ต่างๆ รู้จักช่อื เรยี กของตนเอง ชื่ออวยั วะ ส่วนตา่ งๆ ของรา่ งกาย ชอื่ พ่อแมห่ รือผู้คนใกล้ชิดและช่ือสง่ิ ตา่ งๆ รอบตัว ตลอด จนฝกึ ใหเ้ ดก็ รจู้ กั สอ่ื ความหมายดว้ ยคำ� พดู และทา่ ทาง ชชี้ วนและสอนใหร้ จู้ กั ชอื่ เรยี ก สงิ่ ต่างๆ จากของจริง สนทนาโตต้ อบ และเลา่ เร่ืองใหผ้ ูอ้ ื่นเข้าใจ การจดั ประสบการณส์ ง่ เสรมิ ที่สำ� คัญ ประกอบดว้ ย กจิ กรรมสนทนายาม เช้า Good morning, How are you today? การเลา่ เรื่องจรงิ การเล่าเหตุการณ์ท่ี เกดิ ขนึ้ ใหฟ้ งั อา่ นหนงั สอื นทิ านภาพ อา่ นหนงั สอื ใหฟ้ งั หรอื รอ้ งเพลงงา่ ยๆ ใหเ้ ดก็ ฟัง ด้วยท่าทางเป็นมิตร เป็นต้น 6. การจัดประสบการณ์การคิดสรา้ งสรรค์ เป็นการฝึกให้เดก็ ได้แสดงออก ทางทา่ ทาง ความคดิ ตามจนิ ตนาการของตนเอง และทำ� งานศลิ ปะตามจนิ ตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ การจัดประสบการณ์ส่งเสริมที่ส�ำคัญ ประกอบด้วย การขีดเขียนวาดรูป อย่างอิสระ เล่นบล็อก เล่นของเล่นสร้างสรรค์ พูดเล่าเร่ืองตามจินตนาการ เล่น สมมติ กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ การเคล่ือนไหวและจังหวะตามจินตนาการ ประดษิ ฐส์ ิง่ ตา่ งๆ อยา่ งอิสระ เลน่ บทบาทสมมติ เล่นน�ำ้ เล่นทราย เปน็ ต้น 7. การจัดประสบการณ์ท่ีส่งเสริมด้านจริยธรรม เป็นการฝึกให้เด็กได้ ซ่ือสัตย์สุจริต บอกหรือช้ีได้ว่าสิ่งใดเป็นของตนเองและส่ิงใดเป็นของผู้อ่ืน และมี ความเมตตากรณุ า มนี ำ้� ใจ ชว่ ยเหลอื แบง่ ปนั แสดงความรกั เพอ่ื น มเี มตตาตอ่ สตั ว์ เลี้ยง เห็นอกเห็นใจผ้อู ื่น แสดงสหี นา้ หรือทา่ ทางรับรู้ความรสู้ ึกผอู้ ื่น มีความรับผิด ชอบ ท�ำงานท่ไี ด้รบั มอบหมายจนส�ำเรจ็ เม่ือมผี ้ชู ่วยเหลือ การจดั ประสบการณ์ส่งเสริมทสี่ ำ� คัญ โดยจัดกิจกรรมตา่ งๆ ผา่ นการเล่น อยา่ งมคี วามหมาย ใหเ้ ดก็ ไดม้ โี อกาสตดั สนิ ใจเลอื ก ไดร้ บั การตอบสนองตามความ ตอ้ งการ ไดฝ้ กึ ปฏบิ ตั ิ รบั สงิ่ ของตามควิ เลน่ ทำ� งานทไี่ ดร้ บั มอบหมายจนสำ� เรจ็ รจู้ กั เกบ็ สง่ิ ของเขา้ ที่ เป็นต้น 90 ศนู ยเ์ รียนรู้ สถานพัฒนาเด็กเลก็ นมแมแ่ ละการเรียนรแู้ บบบรู ณาการ 3 เดอื น – 3 ปี โรงพยาบาลสทุ ธาเวช คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ตัวอย่างแนวทางการจัดกจิ กรรม เพ่อื สง่ เสริมพัฒนาด้านร่างกาย ดา้ นจิตใจและอารมณ์ ดา้ นสังคม ดา้ นสติ ปัญญา ด้านภาษา ด้านการคิดสร้างสรรค์ และ ด้านจริยธรรม ส�ำหรับเด็กอายุ 3 เดอื น-3 ปี มี ดังนี้ ท ่ี กิจกรรม อายุ 1 การเล่นจะ๊ เอ๋ 3-6 เดือน 2 เล่านิทาน/อา่ นหนังสอื 6-9 เดอื น 3 การปน้ั (ปั้นแป้งโดว)์ 1 ปีคร่งึ ข้นึ ไป 4 พิมพ์ภาพจากวัสดธุ รรมชาติ 2 ปีขึ้นไป 5 ใช้กรรไกรตัดกระดาษ 2 ปี 7 เดอื นข้ึนไป 6 การจัดโต๊ะและรบั ประทานอาหาร 2 ปคี รง่ึ ขึ้นไป 7 การอา่ นฟงั หนงั สอื นทิ านทห่ี นชู อบ 2 ปคี รึ่งขน้ึ ไป 8 การตดั /ห่นั (ผลไม้) 2 ปีครึ่งขน้ึ ไป เริ่มตน้ อยา่ งไร ทำ� อะไรกันบ้างแล้ว 91
กกจิ การรรมเ:ล่นจะ๊ เอ๋ อายเุ ดก็ : 3-6 เดือน วัตถุประสงค์ 1. เพ่อื ใหเ้ ด็กเชือ่ มโยงการเคลอื่ นไหวของร่างกาย 2. เพื่อให้เดก็ มีสมาธิ รอคอย มีปฏสิ ัมพนั ธก์ ับผอู้ ่นื สนกุ สนานเพลิดเพลิน 3. เพือ่ เด็กฝึกทักษะทางภาษา อุปกรณ์ 1. ถาด 1 ใบ (สำ�หรับวางผา้ ) 2. ผ้าสขี าว ลกั ษณะนมุ่ ขนาด 30 x 30 ซม. มรี ูกำ�หนดจดุ อยู่ตรงกลาง 1 ผืน 3. เบาะ/พรม (สำ�หรับรองนง่ั /หรอื ใหเ้ ดก็ นอนหงาย) ขั้นตอนการจัดกิจกรรม 1. ขั้นท่ี 1 ข้ันเตรียม/แนะนำ�อุปกรณ์ • ครู/ผดู้ ูแลเดก็ เตรยี มสถานทกี่ ารจดั กจิ กรรม ปเู บาะ/ พรม สำ�หรบั ทำ�กิจกรรม • คร/ู ผู้ดูแลเด็ก อมุ้ พาเดก็ ไปที่ชัน้ วางอปุ กรณ์ หยิบและยก ถาดอปุ กรณผ์ า้ พร้อมกับพดู “นีค้ ือผา้ สีขาว” พวกเราจะไปเลน่ จ๊ะเอ๋ ดว้ ยกัน (ครสู นทนาเพอื่ ฝกึ ภาษาให้เดก็ ซึมซบั ) • คร/ู ผดู้ แู ลเดก็ ถอื ถาดอปุ กรณไ์ ปยงั สถานทจ่ี ดั กจิ กรรมทเ่ี ตรยี มไว้ 92 ศนู ยเ์ รยี นรู้ สถานพัฒนาเด็กเล็กนมแมแ่ ละการเรียนรแู้ บบบูรณาการ 3 เดอื น – 3 ปี โรงพยาบาลสทุ ธาเวช คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม
2. ขน้ั ท่ี 2 ขน้ั สาธติ • คร/ู ผดู้ แู ลเดก็ จดั เดก็ ใหน้ อนหงายบนพรม/เบาะ ขา้ งคร/ู ผดู้ แู ล เดก็ ใหเ้ ดก็ มองหนา้ คร/ู ผดู้ แู ลเดก็ • คร/ู ผดู้ แู ลเดก็ สรา้ งปฏสิ มั พนั ธ์ มองสบตากบั เดก็ สมั ผสั แขน/ลำ� ตวั ของเดก็ เบาๆ ยม้ิ อา้ ปากพดู คำ�วา่ “จะ๊ เอ”๋ จำ�นวน 2 - 3 ครง้ั (เดก็ ดู ปาก/การเปลง่ เสยี ง) 3. ขน้ั ท่ี 3 ขน้ั ปฏบิ ตั ิ • คร/ู ผดู้ แู ลเดก็ ใหเ้ ดก็ มองหนา้ คร/ู ผดู้ แู ลเดก็ • คร/ู ผดู้ แู ลเดก็ ใชผ้ า้ ทเ่ี ตรยี มไวป้ ดิ หนา้ แลว้ โผลอ่ อกมาจะ๊ เอเ๋ ดก็ ดา้ นใดดา้ นหนง่ึ พรอ้ มกบั พดู คำ�วา่ “จะ๊ เอ”๋ • คร/ู ผดู้ แู ลเดก็ หยดุ รอจงั หวะเพอ่ื ใหเ้ ดก็ หน่ั มามองคอยเรม่ิ ใหม่ โดยโผลห่ นา้ ดา้ นเดยี วกนั 2 ครง้ั พรอ้ มกบั พดู “จะ๊ เอ”๋ ครง้ั ท่ี 3 ครไู ม่ โผลห่ นา้ แตใ่ หพ้ ดู วา่ “จะ๊ เอ”๋ • คร/ู ผดู้ แู ลเดก็ มองผา่ นรวู า่ เดก็ จอ้ งมองดา้ นทค่ี รเู คยโผลห่ นา้ ได้ หรอื ไม่ 4. ขน้ั ท่ี 4 สรปุ /สะทอ้ นผล • คร/ู ผดู้ แู ลเดก็ เลน่ “จะ๊ เอ”๋ กบั เดก็ โดยใชม้ อื ปดิ หนา้ เลน่ ซำ้ �“จะ๊ เอ”๋ กบั เดก็ • คร/ู ผดู้ แู ลเดก็ อมุ้ พาเดก็ นำ�อปุ กรณไ์ ปเกบ็ ทช่ี น้ั วางอปุ กรณ์ หมายเหตุ (บนั ทกึ เพม่ิ เตมิ สำ�หรบั คร)ู ครผู ดู้ แู ลเดก็ ใชผ้ า้ เชด็ หนา้ หรอื ผา้ ผนื เลก็ ๆ บงั หนา้ ไว้ โผลห่ นำ้ �ออกมาจากผา้ เชด็ หนา้ ดา้ นใดดา้ นหนง่ึ พรอ้ มพดู คำ�วา่ “จะ๊ เอ”๋ หยดุ รอจงั หวะเพอ่ื ใหเ้ ดก็ หนั หนา้ มามองหรอื ยม้ิ เลน่ โตต้ อบกบั เดก็ ฝกึ บอ่ ยๆ ปฏบิ ตั ซิ ำ้ �จนกระทง้ั เดก็ สามารถโผลห่ นา้ รว่ มเลน่ จะ๊ เอไ๋ ด้ กจิ กรรมตอ่ เนอ่ื ง ซอ่ นของเลน่ ไวใ้ ตผ้ นื ผา้ แลว้ ใหเ้ ดก็ เรม่ิ หาโดยเรม่ิ ซอ่ นไวบ้ างสว่ น แลว้ คอ่ ยซอ่ นทง้ั ชน้ิ เพอ่ื ฝกึ ทกั ษะการสงั เกตและความจำ� เรม่ิ ตน้ อย่างไร ทำ� อะไรกันบ้างแล้ว 93
การประเมนิ ผล 1. วธิ กี ารประเมนิ โดยการสงั เกตพฤตกิ รรม 1) ดา้ นรา่ งกาย : เดก็ สามารถใชก้ ลา้ มเนอ้ื มดั เลก็ ประสานสมั พนั ธก์ บั สายตา, เพง่ มองหนา้ ครู 2) ดา้ นอารมณแ์ ละจติ ใจ : เดก็ มสี มาธิ รา่ เรงิ เพลดิ เพลนิ จากเสยี งของครู แสดงออกทางอารมณไ์ ดต้ ามสถานการณอ์ ยา่ งเหมาะสม 3) ดา้ นสงั คม : เดก็ สามารถจอ้ งมองหนา้ ครู หรอื สง่ิ ของไดน้ าน 1-2 วนิ าที 4) ดา้ นจรยิ ธรรม : เดก็ ไดเ้ รยี นรกู้ การฟงั เสยี งทน่ี า่ สนใจ 5) ดา้ นการคดิ และสตปิ ญั ญา : เดก็ สามารถจอ้ งหนา้ ครไู ดน้ าน 1-2 วนิ าที 6) ดา้ นภาษา : เดก็ สามารถทำ�เสยี งสงู ๆ ตำ่ �ๆ เพอ่ื แสดงความรสู้ กึ ได้ เปน็ ตน้ 2. เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการประเมนิ แบบสงั เกตพฤตกิ รรมตามเกณฑก์ ารประเมนิ เกณฑก์ ารประเมนิ ท ่ี รายการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ 1 3 2 เด็กยังไมส่ ามารถปฏบิ ัติ กิจกรรมได้ 1 ด้านรา่ งกาย เดก็ เพง่ หนา้ ครไู ด้ เด็กเพง่ หนา้ ครู 1-2 วินาที โดยการกระตนุ้ 2 ด้านอารมณ์ เด็กมสี มาธิ รา่ เรงิ เดก็ มสี มาธิ รา่ เรงิ เพลดิ เพลนิ เดก็ ไมแ่ สดงอารมณ์ และจิตใจ เพลดิ เพลินจากการเล่น โดยการกระตนุ้ ชช้ี วนจากผอู้ น่ื ตอบสนองตอ่ กจิ กรรม 3 ดา้ นสังคม เดก็ สามารถจ้องมองหน้า เดก็ สามารถจ้องมองหนา้ เดก็ ไม่สามารถจอ้ งมองหน้า คร/ู ผูด้ แู ลเดก็ หรือส่ิงของได้ คร/ู ผูด้ แู ลเดก็ ไดน้ าน ครู/ผดู้ แู ลเดก็ หรอื สิ่งของได้ นาน 1-2 วนิ าทไี ดด้ ว้ ย 1-2 วนิ าทีได้ โดยการกระตุ้น ตนเอง ชชี้ วนจากผู้อ่นื 94 ศนู ย์เรียนรู้ สถานพัฒนาเด็กเลก็ นมแม่และการเรียนรู้แบบบรู ณาการ 3 เดอื น – 3 ปี โรงพยาบาลสทุ ธาเวช คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ท ่ี รายการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ 1 3 2 เดก็ ไม่สามารถปฏบิ ตั ิ กจิ กรรมได้ 4 ด้านจรยิ ธรรม เด็กจอ้ งมองหนา้ ครู/ฟงั เสยี ง เดก็ จอ้ งมองหน้าคร/ู ฟังเสียง ได้ด้วยตนเอง ครแู ละผดู้ แู ลเดก็ ไดโ้ ดยการ กระตนุ้ ชชี้ วนจากผอู้ น่ื 5 ดา้ นการคิด เด็กสามารถเล่นฟงั เสียง เด็กสามารถฟังเสยี งจ้องมอง เดก็ ไมส่ ามารถเด็กสามารถ และ จ้องมอง 1-2 วินาที ได้ ได้นาน 1-2 วนิ าทีได้โดย ฟงั เสียงจอ้ งมองภาพใน สติปญั ญา ดว้ ยตนเอง การกระต้นุ ชี้ชวนจากผอู้ น่ื หนงั สอื 6 ด้านภาษา เดก็ สามารถเลน่ ท�ำเสยี งสงู ๆ เดก็ สามารถทำ� เสยี งสงู ๆ ตำ่� ๆ เดก็ ไม่สามารถท�ำเสียงสงู ๆ ต�ำ่ ๆ เพื่อแสดงความร้สู กึ ได้ เพอื่ แสดงความรสู้ ึกได้ โดย ตำ่� ๆ เพ่ือแสดงความรูส้ กึ ได้ ด้วยตนเอง การกระตนุ้ ชชี้ วนจากผ้อู นื่ การให้ระดบั คุณภาพ ความหมาย ระบบ ระบบท่ีใช ้ ปรากฏพฤตกิ รรมตามพฒั นาการตามชว่ งวยั ของเดก็ ปฐมวยั (ตามคมู่ อื DSPM) ตวั เลข คำ�สำ�คญั ปรากฏพฤตกิ รรมตามพฒั นาการตามชว่ งวยั ของเดก็ ปฐมวยั (ตามคมู่ อื DSPM) โดยมกี ารกระตนุ้ และชน้ี ำ� 3 ดี ไมป่ รากฏพฤตกิ รรมตามพฒั นาการตามชว่ งวยั ของเดก็ ปฐมวยั (ตามคมู่ อื DSPM) 2 พอใช้ 1 ควรสง่ เสรมิ สง่ิ ทเ่ี ดก็ จะไดร้ บั 1. เดก็ มสี มาธิ การรอคอย 2. เดก็ ไดม้ ปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั คร/ู ผดู้ แู ลเดก็ 3. ฝกึ ทกั ษะทางภาษาการฟงั เร่ิมตน้ อย่างไร ทำ� อะไรกันบ้างแล้ว 95
กเิจลกรา่รมน:ิทาน/อ่านหนงั สือ อายเุ ดก็ : 6-9 เดอื น วตั ถุประสงค์ 1. เพอ่ื ใหเ้ ด็กนงั่ ไดม้ น่ั คง 2. เพื่อให้เด็กมีสมาธจิ ้องมองไปท่ีหนังสอื พร้อมกับผู้ใหญน่ านๆ 3. เพอ่ื เด็กฝกึ ทกั ษะทางภาษาเลยี นเสียงทแี่ ตกตา่ งกัน อุปกรณ์ 1. เสื่อ/พรม 1 ผนื (สำ�หรบั ปูน่ัง เลา่ นทิ านอา่ นหนังสือ) 2. ถาด 1 ใบ (สำ�หรบั วางหนังสอื ) 3. หนังสือที่มีภาพชัดเจน ไมม่ ขี อ้ ความหรอื ตัวอักษรมากเกินไป 1 เล่ม ขัน้ ตอนการจดั กจิ กรรม 1. ข้ันที่ 1 ข้นั เตรยี ม/แนะนำ�อุปกรณ์ • ครู/ผู้ดแู ลเดก็ เตรียมสถานท่ีการจดั กจิ กรรม ปูเสอ่ื /พรม สำ�หรบั น่งั เลา่ นทิ านอ่านหนงั สอื ใหเ้ ดก็ ฟงั • ครู/ผู้ดแู ลเด็ก อุ้ม พาเด็กไปท่ีช้ันวางหนังสือ • คร/ู ผ้ดู ูแลเดก็ หยิบและจับหนงั สอื พรอ้ มกับพูด “นี้คือหนังสอื นิทานเร่อื งปูไต”่ พวกเราจะไปอ่านหนังสอื ด้วยกัน • ครู/ผูด้ ูแลเดก็ ถอื หนังสอื ไปยังสถานที่จดั กจิ กรรมทเี่ ตรียมไว้ 96 ศูนย์เรียนรู้ สถานพฒั นาเดก็ เลก็ นมแม่และการเรียนรแู้ บบบูรณาการ 3 เดือน – 3 ปี โรงพยาบาลสุทธาเวช คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม
2. ขน้ั ท่ี 2 ขน้ั สาธติ • คร/ู ผู้ดแู ลเดก็ จดั เดก็ ใหน้ ่ังตักคณุ ครใู นท่าท่ีสบาย • คร/ู ผดู้ แู ลเดก็ เปดิ หนงั สอื พดู อา่ นเชงิ เลา่ ชช้ี วนใหเ้ ดก็ ดรู ปู ภาพ ในหนังสือและพดู คยุ กับเดก็ เกย่ี วกบั ภาพในหนังสือ ช่ือเร่ือง ผ้แู ตง่ เปดิ หนงั สืออ่านเชิงเล่าทีล่ ะหนา้ ช้ชี วนใหเ้ ด็กดรู ปู ภาพในหนังสอื และ พูดคยุ กับเดก็ เกย่ี วกบั ภาพในหนงั สอื • หากเดก็ ยงั ไมม่ องหนังสือ ครู/ผู้ดูแลเดก็ ประคองหนา้ เด็กให้ มองทร่ี ูปในหนังสือ 3. ข้นั ที่ 3 ขั้นปฏิบตั ิ เม่อื เรียกชื่อแล้ว ให้ประคองหน้าเดก็ ใหห้ ัน • คร/ู ผดู้ ูแลเด็ก ใหเ้ ด็กนั่งบนเส่อื /พรม หนา้ มามองหนังสือ หรือเสียงเรียกของคร/ู ผู้ ด้วยตนเองอย่างอิสระ (ฝึกใหเ้ ด็กน่ังอยา่ ง ดแู ลเด็ก จนเด็กทำ�ได้ มนั่ คง) 4. ข้นั ที่ 4 สรปุ /สะท้อนผล • ครู/ผดู้ แู ลเดก็ น่ังหา่ งจากเดก็ ประมาณ • คร/ู ผดู้ แู ลเดก็ อมุ้ เดก็ นั่งบนตัก เปดิ 120 เมตร วางหนงั สอื ไว้ข้างหน้าเด็ก (เพือ่ ฝกึ หนงั สอื พรอ้ มกบั พูดคยุ ชชี้ วนให้เดก็ ดูรปู ภาพ ให้เดก็ นงั่ และเพ่งมองไปท่หี นังสอื ) ในหนังสอื อีกครัง้ • ครู/ผูด้ ูแลเด็ก ปรบมือเบาๆ และเรยี ก • ครู/ผู้ดูแลเด็ก อมุ้ พาเด็กนำ�หนงั สอื ท่ี ชื่อเด็กดว้ ยน้ำ�เสยี งปกตบิ ่อยๆ ถ้าเด็กไม่หัน อ่านไปเก็บหนังสอื ในชน้ั วางหนังสอื หมายเหตุ (บนั ทึกเพิ่มเติมสำ�หรับคร)ู 1. การทำ�กิจกรรมเปน็ รายบคุ คล ควรเลอื กหนังสือภาพเลม่ เล็ก เพ่อื ใหเ้ ดก็ สามารถ หยิบ ไขวา่ คว้า และฝกึ ใช้กล้ามเนอื้ มือในการหยิบจบั 2. คร/ู ผดู้ ูแลเดก็ อ่านเชิงเล่า/เปดิ /ปิด หนังสอื นิทาน ดว้ ยน้ำ�เสยี งทน่ี ่าสนใจ ตามตวั ละครใน หนังสอื ภาพเพอ่ื ฝึกให้เด็กจ้องมองไปทหี่ นังสอื พร้อมกับ ผู้ใหญน่ านประมาณ 2-3 วนิ าที 3. การทำ�กิจกรรมเล่านทิ านโดยใชห้ นงั สอื ภาพ ควรทำ�กิจกรรมกบั เดก็ ทกุ วนั เพ่อื สร้าง ปฏสิ มั พันธ์ระหวา่ งผเู้ ลีย้ งดูกับเด็ก กบั เดก็ ฝกึ บอ่ ยๆ ปฏบิ ตั ซิ ำ้ �จนกระทง้ั เดก็ สามารถโผลห่ นา้ รว่ มเลน่ จะ๊ เอไ๋ ด้ กจิ กรรมตอ่ เนอ่ื ง กจิ กรรมเลยี นเลยี งพดู คยุ เลน่ กบั เดก็ และออกเสยี งใหมๆ่ ใหเ้ ดก็ เลยี นเสยี งตาม เชน่ มา จา ปา ดา อู มู ดู ดำ� จำ� หรอื ออกเสยี งตามทำ�นองเพลง หรอื รอ้ งเพลง เชน่ เพลงจบั ปดู ำ� เปน้ ตน้ เร่มิ ตน้ อยา่ งไร ทำ� อะไรกนั บ้างแล้ว 97
การประเมนิ ผล 1. วธิ กี ารประเมนิ โดยการสงั เกตพฤตกิ รรม 1) ดา้ นรา่ งกาย : เดก็ สามารถใชก้ ลา้ มเนอ้ื มดั เลก็ ประสานสมั พนั ธก์ บั สายตา, เพง่ มองหนงั สอื ได้ 2) ดา้ นอารมณแ์ ละจติ ใจ : เดก็ มสี มาธิ รา่ เรงิ เพลดิ เพลนิ จากภาพสสี นั ตา่ งๆ ในหนงั สอื นทิ าน/เสยี งทค่ี รเู ลา่ แสดงออกทางอารมณไ์ ดต้ ามสถานการณอ์ ยา่ งเหมาะสม 3) ดา้ นสงั คม : เดก็ สามารถจอ้ งมองหนา้ ครู หรอื สง่ิ ของไดน้ าน 1 - 2 วนิ าที 4) ดา้ นจรยิ ธรรม : เดก็ ไดเ้ รยี นรกู้ ารหยบิ /ถอื /เปดิ /ปดิ หนงั สอื อยา่ งทะนถุ นอมหนงั สอื จากครแู ละผดู้ แู ลเดก็ 5) ดา้ นการคดิ และสตปิ ญั ญา : เดก็ สามารถจอ้ งมองภาพในหนงั สอื ไดน้ าน 1 - 2 วนิ าที 6) ดา้ นภาษา : เดก็ สามารถทำ�เสยี งสงู ๆ ตำ่ �ๆ เพอ่ื แสดงความรสู้ กึ ได้ เปน็ ตน้ 7) ดา้ นการสรา้ งสรรค์ : เดก็ จดจำ�เรอ่ื งราวทไ่ี ดฟ้ งั เชน่ เสยี งรอ้ งของสตั วต์ า่ งๆ ในนทิ าน 2. เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการประเมนิ แบบสงั เกตพฤตกิ รรมตามเกณฑก์ ารประเมนิ เกณฑก์ ารประเมนิ ท ่ี รายการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ 3 2 1 1 ด้านรา่ งกาย เดก็ นงั่ อยา่ งมนั่ คง สนใจจดจอ่ เดก็ นงั่ มองหนงั สอื หรอื สง่ิ ของ เดก็ ไม่สามารถปฏบิ ัติ กับหนังสือ หรือสง่ิ ของ หรอื หรอื เสียงท่ไี ด้ยินไดโ้ ดยมผี ู้ กจิ กรรมได้ เสยี งที่ได้ยินได้ดว้ ยตนเอง ประคองดแู ล 2 ดา้ นอารมณ์ เดก็ มสี มาธิ รา่ เรงิ เพลดิ เพลนิ เดก็ มสี มาธิ รา่ เรงิ เพลดิ เพลนิ เดก็ แสดงอารมณ์ตอบสนอง และจิตใจ จากภาพสีสนั ตา่ งๆ ใน จากภาพสสี นั ต่างๆ ใน ตอ่ กิจกรรม หนังสอื นทิ าน/เสยี งที่ครูเล่า หนงั สือนทิ าน/เสยี งทคี่ รเู ลา่ ไดด้ ว้ ยตนเอง โดยการกระตนุ้ ชช้ี วนจากผอู้ นื่ 3 ด้านสงั คม เด็กสามารถจอ้ งมองหนา้ เดก็ สามารถจอ้ งมองหน้า เด็กไม่สามารถจอ้ งมองหน้า คร/ู ผูด้ ูแลเดก็ หรอื สงิ่ ของได้ ครู/ผูด้ ูแลเด็ก หรือส่ิงของ ครู/ผ้ดู ูแลเด็ก หรือสิ่งของได้ นาน 1-2 วินาทไี ด้ด้วย ได้นาน 1-2 วินาทไี ด้ โดย ตนเอง การกระตุ้นชีช้ วนจากผูอ้ ืน่ 98 ศนู ย์เรียนรู้ สถานพัฒนาเดก็ เลก็ นมแมแ่ ละการเรยี นรู้แบบบรู ณาการ 3 เดอื น – 3 ปี โรงพยาบาลสทุ ธาเวช คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
ท ่ี รายการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ 3 2 1 4 ดา้ นจริยธรรม เดก็ จอ้ งมองการหยิบ/ถือ/ เดก็ จอ้ งมองการหยบิ /ถอื /เปดิ / เด็กไมส่ ามารถปฏบิ ตั ิ เปดิ /ปดิ หนงั สือ อยา่ ง ปิดหนงั สอื อยา่ งทะนุถนอม กิจกรรมได้ ทะนุถนอมหนังสือจากครู หนงั สอื จากครแู ละผดู้ แู ลเดก็ ได้ และผู้ดูแลเดก็ ไดด้ ้วยตนเอง โดยการกระตนุ้ ชชี้ วนจากผอู้ นื่ 5 ดา้ นการคดิ เดก็ สามารถฟังเสยี งจ้องมอง เด็กสามารถฟังเสยี งจ้องมอง และ ภาพในหนงั สือได้นาน ภาพในหนังสอื ไดน้ าน เด็กไม่สามารถเดก็ สามารถ สติปญั ญา 1-2 วินาที ได้ด้วยตนเอง 1-2 วินาทไี ดโ้ ดยการกระตนุ้ ฟังเสียงจ้องมองภาพใน ช้ีชวนจากผูอ้ ่ืน หนงั สือ 6 ด้านภาษา เดก็ สามารถท�ำเสยี งสงู ๆ เดก็ สามารถทำ� เสยี งสงู ๆ ตำ�่ ๆ ต�่ำๆ เพอื่ แสดงความรูส้ กึ ได้ เพอ่ื แสดงความรสู้ กึ ได้ โดย เดก็ ไมส่ ามารถทำ� เสียงสูงๆ ด้วยตนเอง การกระต้นุ ช้ชี วนจากผอู้ น่ื ตำ�่ ๆ เพอื่ แสดงความรสู้ กึ ได้ 7 ดา้ นการ เด็กมสี มาธิฟังเสียงและแสดง เดก็ ฟงั เสยี งและแสดงการ สร้างสรรค์ การโตต้ อบได้ดว้ ยตนเอง โต้ตอบไดโ้ ดยการกระตนุ้ ช้ี เด็กไม่สามารถแสดงการ ชวนจากผู้อ่นื โต้ตอบได้ การใหร้ ะดบั คุณภาพ ความหมาย ตรวัะเบลบข รคะำบ�สบำ�ทคัญ่ีใช ้ ปรากฏพฤตกิ รรมตามพฒั นาการตามชว่ งวยั ของเดก็ ปฐมวยั (ตามคมู่ อื DSPM) ปรากฏพฤตกิ รรมตามพฒั นาการตามชว่ งวยั ของเดก็ ปฐมวยั (ตามคมู่ อื DSPM) 3 ดี โดยมกี ารกระตนุ้ และชน้ี ำ� 2 พอใช้ ไมป่ รากฏพฤตกิ รรมตามพฒั นาการตามชว่ งวยั ของเดก็ ปฐมวยั (ตามคมู่ อื DSPM) 1 ควรสง่ เสรมิ สง่ิ ทเ่ี ดก็ จะไดร้ บั 1. เดก็ มสี มาธิ 2. เดก็ พง่ึ พาตนเองนง่ั ไดอ้ ยา่ งมน่ั คง 3. เดก็ จะไดจ้ ดจำ�เรอ่ื งราวและภาพประกอบ 4. ฝกึ ปลกู ฝงั นสิ ยั ใหเ้ ดก็ รกั การอา่ น เร่ิมต้นอย่างไร ทำ� อะไรกันบ้างแลว้ 99
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146