Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางจัดทำเอกสาร

แนวทางจัดทำเอกสาร

Published by Phonlasit Mongkhonsawat, 2019-08-29 23:41:42

Description: แนวทางจัดทำเอกสาร

Search

Read the Text Version

[ปี 2562] แนวทางการจดั010001111433641 สอน ครูพลศษิ ฐ์ มงคลสวสั ด์ิ ครูพิเศษสอน วิชาชีพกอ่ สร้าง-โยธา วทิ ยาลยั เทคนิคหนองคาย [วนั ที่30 สงิ หาคม 2562]

2 ครฝู ึกฝีมอื แรงงาน แนวทางการจัดทาเอกสาร หรือส่อื การสอนของ การจดั ทาผลงานวชิ าการเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. เอกสารประกอบการฝึกอบรม และ 2. ส่อื การสอน 1. เอกสารประกอบการฝึ กอบรมทีค่ รูฝึ กสามารถใชเ้ ป็ นคู่มอื ในการสอน หรือฝึ กอาชีพ ขอ้ พจิ ารณา 1) เป็นเอกสาร หรือตาราทเ่ี ป็นคู่มอื การสอน หรือฝึกอาชีพหลกั สตู รต่างๆ ของกรม 2) พิจารณาเลือกหัวข้อวิชาทเ่ี ขยี นให้มีระยะเวลาสอนได้ไม่น้อยกว่า 30 ช่วั โมง หรือ 40 คาบ หรือ เทยี บเทา่ 1 หน่วยกติ ของการฝึกภาคปฏบิ ัติ 3) ให้เรียบเรียงหัวข้อวิชาท่จี ะเขียนข้นึ เองจากประสบการณ์การทางาน และให้มีคุณภาพดี กล่าวคือ ถูกต้องตามหลักวชิ าการ 4) สามารถนาไปใช้ฝึกภาคปฏบิ ัติ หรือทฤษฏเี ชงิ ปฏบิ ตั ทิ ถ่ี ูกต้องตามหลักวชิ าการ 5) ใช้ขนาดเอกสารและแบบฟอร์มเดยี วกบั เอกสารประกอบการฝึกอบรมของกรม เช่น อาจมีใบ เตรียมการสอน ใบข้อมลู ใบข้นั ตอนปฏบิ ัตงิ าน ใบส่งั งาน และใบทดสอบ 6) จดั พิมพ์และอาจมีภาพประกอบทช่ี ัดเจนได้มาตรฐาน 7) ข้อมลู ทใ่ี ช้อ้างองิ ต้องมเี ชงิ อรรถ และบรรณานุกรม ตามหลกั วชิ าการ และป้ องกนั การละเมิด ลิขสทิ ธ์ซิ ่ึงอาจถูกฟ้ องร้องได้ 8) เอกสารท่เี คยเขยี นมาก่อน หรือเขยี นร่วมกบั ผ้อู ่นื ต้องมีผู้รับรองว่าเป็นผลงานของตนหรือ มี ส่วนร่วมจดั ทาในส่วนใด 2. สอื่ การสอน (Instruction Media) หมายถงึ วสั ดุอปุ กรณท์ ีจ่ ดั ทาข้ ึนเพอื่ ช่วยการฝึ ก หรือ สอนตาม หลกั สูตรของกรม สามารถเลอื กทาได้เป็นประเภทต่างๆ ดังน้ี 2.1 แผ่นโปร่งใส (Transparency) ขอ้ พจิ ารณา 1) เลอื กหัวข้อเร่อื งทส่ี ามารถใช้สอนได้ไม่น้อยกว่า 1 หัวข้อวิชา 2) วเิ คราะห์เน้อื หาของภาพเป็นข้นั ตอน จานวนภาพต้องสมั พันธก์ บั ระยะเวลาสอนตามข้อ 1) 3) ออกแบบภาพให้สามารถส่อื ความหมายได้ง่าย ๆ โดยภาพไม่แน่นเกนิ ไป 4) แต่ละแผ่นควรเน้นส่อื ความหมายเดยี ว หรืออาจมภี าพซ้อนอย่างเป็นข้นั ตอน 5) ใช้เส้นภาพทไ่ี ด้มาตรฐาน และให้สที เ่ี ร้าใจ สวยงาม 6) ตวั อกั ษรหัวเร่อื ง และตวั อกั ษรบรรยายต้องใช้ขนาดมาตรฐานตวั พิมพ์ 7) อาจเขยี นต้นแบบลงบนกระดาษสง่ กรรมการพิจารณากไ็ ด้ 8) จัดทาคู่มือการใช้ประกอบแผ่นโปร่งใส

39) คณะกรรมการอาจขอให้ทาผลงานเพ่ิม หากพิจารณาเหน็ ว่า เน้อื หาน้อยไป 2.2 ตวั จริงตน้ แบบ หรือของจริง (Object) และของตวั อย่าง (Specimen) อาจเป็นของจริงท้งั สว่ น หรือช้ินส่วนตัวอย่าง มีวัตถุประสงค์ให้ผู้เรียนได้เลง็ เหน็ ได้สมั ผัสของจริง บางคร้ังไม่อาจหามาฝึกได้ ครบถ้วน เพราะขนาดใหญ่ หรือเลก็ เกนิ ไปท่จี ะนาเข้ามาในห้องเรียน บางคร้ังอาจนาของจริงมาผ่าซกี ให้ เหน็ โครงสร้างภายใน บางคร้ังอาจนาของจริงมาถอดประกอบแสดงเป็นข้นั ตอน ขอ้ พิจารณา 1) มขี นาดเหมาะสมไม่ใหญ่ หรือเลก็ หรือมีนา้ หนกั มาก หรือยุ่งยากซับซ้อน หรือราคาแพงเกนิ ไป 2) สามารถสนองประโยชนไ์ ด้คุ้มค่า 3) มีการจัดวาง หรือจัดแต่งท่ดี ี เช่น วางบนแทน่ วางบนช้นั วางบนบอร์ด หรือใสก่ ล่องทเ่ี คล่อื นย้าย ได้สะดวก 4) มกี ารจัดทาคู่มอื อธบิ ายวิธกี ารใช้ 2.3 หุ่นจาลอง (Model) ใช้ในโอกาสท่ไี ม่อาจนาของจริง หรือของตัวอย่างมาประกอบการสอนได้ เช่น หายาก แพงเกินไป มีขนาดเลก็ หรือขนาดใหญ่เกินไปอยู่กระจัดกระจายยากแก่การจับต้องซับซ้อนเกิน กว่าท่จี ะเรียนจากของจริง มีอนั ตรายมากในการสอน เหตุผลเหล่าน้ี จึงจาเป็นต้องทาหุ่นจาลองมาช่วยสอน ช่วยฝึกให้มีคุณภาพเพราะจะช่วยให้เรียนรู้ได้ดีกว่าของจริง สามารถตัดส่งิ ซับซ้อนออกและอาจย่อขยาย ส่วนให้พอเหมาะกบั ช้ันเรียนรู้ได้ดีกว่าของจริง สามารถตัดส่งิ ซับซ้อนออกและอาจย่อยหรือขยายส่วนให้ พอเหมาะกบั ช้นั เรียน และสามารถนาเสนอได้หลายวิธี ดังต่อไปน้ี ก. หุ่นจาลองทรงภายนอก (Solid Model) แสดงเฉพาะรูปทรงภายนอกเทา่ น้ัน เน้นในเร่ืองสดั ส่วน สสี นั พ้ืนผวิ หรอื ลวดลาย เพ่ือสร้างจินตนาการ ข. หุ่นจาลองเทา่ ของจริง (Exact Model) มีขนาดรปู ร่างเหมือนของจริงทุกประการ เหตผุ ลทท่ี าข้นึ เพราะของจริงอาจมีราคาแพงมาก หรือหายาก ค. หุ่นจาลองแบบขยายหรอื ย่อส่วน (Enlarged or Reduced Model) ย่อ หรือขยายให้เป็นสดั สว่ น กบั ของจริง ทาของเลก็ ให้ใหญ่ ทาของใหญ่เกนิ ไปให้เลก็ ง. หุ่นจาลองผ่าซีก (Cut-away Model) เพ่ือต้องการแสดงโครงสร้างทอ่ี ยู่ภายใน จ. หุ่นจาลองแบบแยกสว่ น (Build-up Model) อาจแสดงให้เหน็ เฉพาะส่วนหน่ึง หรือท้งั หมด แต่ สามารถถอดสว่ นต่างๆ ท่ปี ระกอบกนั น้ันออกเป็นส่วนๆ และประกอบเข้าลกั ษณะเดมิ ได้ ฉ. หุ่นจาลองแบบเคล่อื นไหว หรือทางานได้ (Working Model) แสดงการเคล่อื นไหวของช้นิ ส่วน ต่างๆ เหมือนของจริง อาจบังคับด้วยไฟฟ้ า กลไก หรืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ ช. หุ่นจาลองเลียนแบบของจริง (Mock-up Model) แสดงภาพท่เี ป็นของจริงของส่งิ หน่ึง โดยจัด ระเบยี บการวางการประกอบส่วนต่างๆ เสยี ใหม่ให้ผดิ จากสภาพจริง อาจทาให้เคล่อื นไหว หรือทางานได้ เช่น หุ่นยนต์ สถานการณจ์ าลอง (Simulator) หรือแผงสาธติ ทแ่ี สดงการทางานของวงจรต่างๆ อุปกรณ์ ทดสอบมาตรฐาน ฝีมือแรงงาน เป็นต้น

4 ขอ้ พจิ ารณา 1) มขี นาดเหมาะสมทส่ี ามารถมองเหน็ ได้ชัดเจน 2) ประเมินแล้วว่ามคี วามคุ้มค่าทจ่ี ะจดั ทา มิใช่ทายากแต่ใช้ฝึกสอนนดิ เดียว 3) สามารถใช้เป็นต้นแบบเพ่ือผลิตเป็นส่อื การสอนได้ 4) มกี ารจดั วาง หรือจัดแต่งท่ดี ี 5) จัดทาคู่มืออธบิ ายวิธกี ารใช้ 2.4 เทปโทรทศั น์ (Video Tape) หมายถึง การถ่ายทาเทปโทรทศั น์สที ส่ี ามารถนามาใช้ประกอบการฝึก อาชพี ของกรม ขอ้ พิจารณา 1) จะต้องเขยี นบท (Script) และส่งบทพร้อมเทปให้กรรมการตรวจด้วย 2) เน้ือหาต้องเสริมการฝึกภาคทฤษฎี หรือปฏบิ ัตคิ วามยาวรวมกนั ไม่น้อยกว่า 15 นาที 3) มีระบบการถ่ายทา และตัดต่อทก่ี ระชับด้วยภาพและสเี สยี ง 2.5 คอมพิวเตอรเ์ พือ่ การฝึ ก (Computer Based Training : CBT) หรือบางหน่วยงานอาจเรียกว่า คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) น้ันเป็นส่อื การสอน หรือการฝึกอกี ประเภทหน่ึง โดยใช้คอมพิวเตอรเ์ ป็นตัวนาเสนอบทเรียน ซ่งึ ประเภทของบทเรียน CBT น้ี จาแนกได้ ดงั น้ี ก. แบบฝึกทกั ษะและแบบฝึกหัด (Drill and Practice) เป็นลกั ษณะบทเรียนโปรแกรมทส่ี ามารถเลอื ก บทเรียนท่จี ะเรียนได้ตามระดับความรู้ความสามารถของผู้เรียน มีแบบฝึกหัดให้ทาเพ่ือทดสอบระดับ ความรู้ และความสามารถทบทวนบทเรียนได้เม่อื ฟังไม่เข้าใจ หรือมคี วามร้ไู ม่เพียงพอ ข. แบบเจรจา (Dialoque) เป็นลักษณะพดู คุยโต้ตอบได้ ใช้ในการเรียนการสอนด้านภาษา เป็นต้น ค. แบบจาลองสถานการณ์ (Simulation) ใช้กบั การเรยี นกบั ของจริงได้ยาก หรือเส่ยี งอนั ตราย ง. เกมส์ (Games) เป็นการเรียนรู้จากเกมสท์ จ่ี ดั ทาด้วยคอมพิวเตอร์ เช่น เกมสต์ ่อภาพ เกมสต์ ่อ คาศพั ท์ เกมสท์ างคณิตศาสตร์ เป็นต้น จ. การแก้ปัญหาต่างๆ (Problem Solving) เป็นการเรียนท่ใี ห้คอมพิวเตอร์ส่มุ ข้อมูลมาแล้วให้ ผู้เรียนวิเคราะห์ หรอื แก้ปัญหา เช่น วิชาสถติ ิ วิชาคณติ ศาสตร์ เป็นต้น ฉ. การค้นพบส่งิ ใหม่ๆ (Investigation) เป็นการจัดสถานการณข์ ้นึ แล้วให้ผู้เรียนค้นหาข้อเทจ็ จริง เช่น คาศพั ท์ โดยคอมพิวเตอรจ์ ะบอกความหมายคาตรงข้าม คาใกล้เคียง เป็นต้น ช. การทดสอบ (Testing) เป็นการทดสอบความร้แู ละความสามารถของผู้เรียน โดยคอมพิวเตอร์ จะจดั ข้อสอบให้และทาการประมวลผลให้ทราบทนั ที เช่น การทดสอบความร้พู ้นื ฐาน การทดสอบ I.Q. เป็ นต้น

5 ขอ้ พจิ ารณา 1) การจัดสร้างบทเรียน CBT น้ัน มคี วามเหมาะสมสอดคล้องกบั กล่มุ เป้ าหมาย 2) วเิ คราะห์เน้อื หาแล้วว่า มีความเหมาะสมและคุ้มค่าต่อการนามาจัดทาเป็นส่อื การฝึกด้วย คอมพิวเตอร์ เพราะในบางเน้ือหา หากนาเสนอเป็นส่อื การฝึกรูปแบบอ่นื แล้วน้นั กส็ ามารถท่จี ะตอบสนอง การเรียนรู้ บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์เชงิ พฤติกรรมท่กี าหนดไว้ได้เช่นกนั 3) บทเรียน CBT ท่จี ัดสร้างได้เลือกประเภททเ่ี หมาะสมท่รี ปู แบบการนาเสนอทน่ี ่าสนใจ สามารถ ตอบสนองการเรียนร้ขู องกล่มุ เป้ าหมาย ทาให้บรรลวุ ตั ถุประสงค์เชิงพฤตกิ รรมได้ 4) ภาษาทใ่ี ช้ในบทเรียน CBT มีความถูกต้อง ชัดเจน กระชับเข้าใจง่าย โครงร่างเอกสาร หรือสื่อการสอน การจดั ทาผลงานเอกสาร หรือส่อื การสอน ควรมโี ครงร่างประกอบเบ้อื งต้น ดงั น้ี 1.เอกสารประกอบการฝึ ก ได้แก่ โครงร่างเอกสารประกอบการฝึ ก ประกอบด้วย ดงั น้ี 1) ส่วนประกอบตอนต้น • ปก • ช่อื หัวข้อ • คารับรองของผู้บังคับบญั ชา ว่าได้จัดทาผลงานข้นึ ด้วยตนเอง หรือมีผ้อู ่นื ร่วมด้วยเป็นสดั สว่ น เทา่ ใด • คานา หรือบทนา • บทคดั ย่อ (ถ้ามี) • สารบัญ 2) สว่ นประกอบของเน้อื หา • ความเป็นมา หรือจุดม่งุ หมายของการพัฒนาฝีมอื แรงงาน • วตั ถุประสงค์ของการจัดทาเอกสาร (อธบิ ายถงึ เหตผุ ลทจ่ี ัดทาเอกสารน้ีข้นึ เพ่ือต้องการให้ เกดิ อะไรข้นึ บ้าง เช่น เพ่ือให้การฝึกอบรม หรือการสอนในสาขาวชิ าน้ัน ๆ สามารถทาความเข้าใจกบั ผู้รับการฝึกได้อย่างมีประสิทธิภาพ และทาการสอน ฝึกอบรมได้ง่ายข้ึน โดยใช้เอกสารการสอน ท่ี จดั ทาข้นึ ฯลฯ) • ประโยชน์ท่คี าดว่าจะได้รบั เช่น นาไปใช้ประโยชนเ์ ก่ยี วกบั การฝึกการสอนในเร่ืองใดบ้าง ตามหลักสตู รการฝึกของกรมพัฒนาฝีมอื แรงงานใดบ้าง ฯลฯ) • เน้ือหา (เป็นผลงานทเ่ี กดิ จากการใช้หลกั วชิ าชีพเฉพาะด้านในการปฏบิ ัตงิ าน ซ่ึงเช่ือถอื ได้ โดยเรียบเรียงข้นึ จากประสบการณส์ ะสมใจวิชาชพี เป็นเวลานานของตนเอง มุ่งเน้นเฉพาะการเรียนการ สอนเร่อื งใด และมีใบเตรียมการสอน ใบข้อมลู ใบทดสอบ ใบงาน ใบข้นั ตอนปฏบิ ตั งิ าน ฯลฯ

พร้อมท้งั คาอธบิ ายวธิ กี ารใช้เอกสารน้นั ) 6 3) ส่วนอ้างองิ และส่วนท้าย • แสดงถงึ แหล่งทม่ี าของข้อความทค่ี ดั ลอก และนามาอ้างให้ปรากฏในเอกสารน้ันว่า เป็นของ ผู้ใด ช่อื เร่อื งใด ตีพิมพ์เผยแพร่ในหนังสอื ช่อื เร่อื งใด ในช่วงเวลาใด โดยสานักพิมพ์ใด เป็นต้น สอื่ การสอน ได้แก่ 2.โครงร่างสอื่ การสอน ประกอบด้วย ดังน้ี 1) สว่ นประกอบตอนต้น • ปก • ช่อื หัวข้อ • คารับรองของผู้บงั คับบัญชา ว่าได้จดั ทาผลงานข้นึ ด้วยตนเอง หรือมีผู้อ่นื ร่วมด้วยเป็นสดั ส่วน เทา่ ใด • คานา หรือบทนา • บทคดั ย่อ (ถ้ามี) • สารบัญ 2) ส่วนประกอบของเน้อื หา • ความเป็นมา หรือจุดม่งุ หมายของการพัฒนาฝีมือแรงงาน • วตั ถุประสงค์ของการจัดทาส่อื การสอน (อธบิ ายถึงเหตุผลท่จี ัดทาส่อื การสอนน้ีข้นึ เพ่ือต้องการให้ เกดิ อะไรข้นึ บ้าง เช่น เพ่ือให้การฝึกอบรมการสอน สามารถทาความเข้าใจกับผู้รับการฝึกได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ และทาได้ง่ายข้นึ โดยใช้ส่อื การสอนทจ่ี ดั ทาข้นึ น้ี ฯลฯ) • ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รบั เช่น นาไปใช้ประโยชนเ์ ก่ยี วกบั การฝึกการสอนในเร่ืองใดบ้าง ตามหลกั สตู รการฝึกของกรมพัฒนาฝีมอื แรงงานใดบ้าง ฯลฯ) • เน้ือหา (เป็นผลงานท่เี กดิ จากการใช้หลกั วิชาชีพเฉพาะด้านในการปฏบิ ัติงาน ซ่งึ เช่ือถอื ได้ โดยเรียบเรียงข้นึ จากประสบการณ์สะสมใจวิชาชีพเป็นเวลานานของตนเอง มุ่งเน้นการเรียนการสอน เร่ืองใด และมีตัวส่อื การสอน เป็นส่วนสาคัญในการใช้ประกอบการเรียนการสอน พร้อมท้งั คาอธบิ ายวธิ ใี ช้ ส่อื การสอนน้ัน ฯลฯ) 3) สว่ นอ้างองิ และส่วนท้าย • แสดงถึงแหล่งท่มี าของข้อความท่คี ดั ลอก และนามาอ้างให้ปรากฏในเอกสารน้ันว่า เป็นของ ผู้ใด ช่อื เร่อื งใด ตีพิมพ์เผยแพร่ในหนังสอื ช่อื เร่อื งใด ในช่วงเวลาใด โดยสานักพิมพ์ใด

7 ระยะเวลาการจดั ส่งผลงานและการพจิ ารณาของ คณะกรรมการ ในการจัดทาผลงานเอกสารหรือส่อื การสอน กาหนดให้ครฝู ึกฝีมือแรงงานจดั ส่งผลงานเข้าประเมนิ กบั คณะกรรมการภายใน 90 วนั นับต้ังแต่วนั ทไ่ี ด้รบั แจ้งการอนุมตั ิหัวข้อวชิ าจากคณะกรรมการ โดย จัดส่งผลงานน้นั ผ่านฝ่ ายการเจ้าหน้าท่ี อน่ึง สาหรับการพิจารณาผลงานของคณะกรรมการดังกล่าว จะใช้ระยะเวลาประเมนิ ผลงานประมาณ 30 วนั นับต้งั แต่วนั ท่ไี ด้รับผลงาน หากคณะกรรมการพิจารณาแล้วมคี วามเหน็ ให้ปรับปรงุ แก้ไขผลงานน้ันใหม่ ให้ครูฝึกฝีมือแรงงาน น้ันดาเนนิ การปรับปรุงแก้ไขให้แล้วเสรจ็ โดยเรว็ ไม่ควรเกนิ 1 เดอื น นบั ต้งั แต่ได้รับเร่อื งให้ปรบั ปรุง แก้ไข


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook