Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปงานเลขานุการศาลฎีกาและรองเลขานุการศาลฎีกา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

สรุปงานเลขานุการศาลฎีกาและรองเลขานุการศาลฎีกา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

Published by kk, 2021-09-06 09:41:17

Description: สรุปงานเลขานุการศาลฎีกาและรองเลขานุการศาลฎีกา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

Search

Read the Text Version

¥

สารบัญ เร่ือง หน้า ๑.การบริหารงานคดี ๓ การอ่านคาพิพากษาศาลฎีกาผ่านจอภาพ ๘ งานขออนญุ าตดหู รือคดั สาเนาคาพพิ ากษาและคาสั่งศาลฎกี า การขอบนั ทกึ เหตุผล๑๐ ในการอนุญาตใหฎ้ ีกา (ทา่ นนาวี) ๑๐ ๒.ระบบงานจ่ายสานวน ๑๑ การจดั เกบ็ ปลวิ (รายละเอยี ดของสานวนคด)ี ยงั ไม่จา่ ย การจัดเก็บปลิว (รายละเอียดของสานวนคด)ี ที่จา่ ยสานวนแลว้ การจา่ ยสานวนคดี (คดีแพง่ คดีอาญา ทวั่ ไป) tการจ่ายสานวนคดอี าญาดุลพนิ จิ การจา่ ยสานวนคดคี าร้องขออนญุ าตฎกี า (คดแี พ่ง คดอี าญาทุจริต คดคี า้ มนษุ ย์ คดีแพง่ (ปกครอง) และคดียาเสพตดิ ) ขน้ั ตอนเก่ียวกบั เรอื่ งปลวิ ยกรา่ ง ๑๒ ขนั้ ตอนเกยี่ วกบั เรื่องการจ่ายสานวนของแผนกคดพี เิ ศษในศาลฎกี า การรบั โอนสานวนคดี ขน้ั ตอนการลงข้อมูลในสารบบการตดิ ตามสานวน ๑๓ ขนั้ ตอนการลงรายละเอยี ดในสมดุ บญั ชรี บั สานวนความท่าน ขนั้ ตอนการทาสถิตคิ ดคี ้างพิจารณา ๑๔ ขน้ั ตอนการเดินคาคูค่ วาม ๑๕ การลงข้อมูลระบบรายชอ่ื ทา่ นผู้พิพากษา ๑๖ ๓.งานประชมุ ใหญศ่ าลฎกี า ๑๖ ๔.งานประชมุ คณะกรรมการวนิ จิ ฉยั ชข้ี าดอานาจหน้าทร่ี ะหวา่ งศาล ๑๘ ๕.การบรหิ ารงานบคุ คล เจา้ หนา้ ที่ธรุ การ ๑๙

๖.งานพัสดุ อาคาร สถานที่ ๒๐ หนา้ ท่ขี องส่วนพสั ดุ การดาเนนิ งานตัง้ แต่วนั ท่ี ๑ ตลุ าคม ๒๕๖๓ ๒๑ ๗.สว่ นเจ้าพนกั งานตารวจศาล เจา้ หน้าทรี่ กั ษาความปลอดภยั ๒๓ สว่ นเจา้ พนกั งานตารวจศาล การดาเนนิ งานตง้ั แตว่ นั ท่ี ๑ ตลุ าคม ๒๕๖๓ ๒๔ เจา้ หนา้ ทรี่ ักษาความปลอดภยั ๒๖ การดาเนนิ งานต้งั แตว่ นั ท่ี ๑ ตุลาคม ๒๕๖๓ ๒๗ ปัญหาอุปสรรคและขอ้ ขัดขอ้ งตา่ ง ๆ ๒๘ ๘.การบรหิ ารงานโครงการตา่ ง ๆ ๓๐ ๘.๑ ประสานงานกบั สานกั ประธานศาลฎกี าดแู ลศูนย์การเรียนร้ทู างดา้ นกฎหมาย และกระบวนทางศาล (Open Court) ๘.๒ โครงการระบบการตรวจรา่ งคาส่ังและคาพพิ ากษาทางเอกสารอิเล็กทรอนกิ ส์ ๘.๓ โครงการจดั ทาจลุ สาร คาพิพากษาฎีกา และปรับปรงุ website internet และ intranet ๓๑ ๘.๔ โครงการ COURT EXCELLENT ๘.๕ โครงการระบบตดิ ตามคดขี องศาลฎกี าผ่าน website ของศาลฎกี า CaseTracking ดาเนินการสาเรจ็ แลว้ ปรากฏตามหนา้ จอ website ของศาลฎกี า ๘.๖ โครงการจดั หาเครื่องคอมพิวเตอรแ์ บบพกพา (แทบเล็ต) เพื่อบรรจขุ อ้ มูลวาระและ เอกสารการประชมุ ใหญแ่ ทนการสง่ เอกสารในแบบกระดาษ (ของบประมาณไปแลว้ ) ๘.๗ โครงการจดั หาเคร่อื งคอมพวิ เตอร์ตง้ั โตะ๊ แบบ หนา้ จอ Touch Screen และ Printer เพื่อรองรบั ระบบการตรวจรา่ งคาส่งั และคาพพิ ากษาทางเอกสารอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (ของบประมาณไปแลว้ ) ๙. ภาคผนวก ๓๓

๑ การปฏิบตั ิงานในสว่ นเลขานกุ ารศาลฎกี าและรองเลขานกุ ารศาลฎกี า ๑. เลขานกุ ารศาลฎีกา ทา่ นธวัชชัย สรุ กั ขกะ ๑. ตรวจสอบกลั่นกรองแฟ้มงานเอกสารของหนว่ ยงานทงั้ ภายในของส่วนงานธรุ การ จานวน ๑๒ สว่ นและงานจากสานักงานเลขานุการคณะกรรมการวินิจฉยั ชี้ขาดอานาจหนา้ ทร่ี ะหวา่ งศาลเพื่อเสนองาน ผบู้ ริหารศาลฎกี า ประกอบด้วย ๑. ประธานศาลฎกี า ๒. รองประธานศาลฎีกา รวม ๖ ท่าน ๓. ประธานแผนกคดพี ิเศษในศาลฎกี า รวม ๑๑ ทา่ น ๒. กากบั ดูแล งานธรุ การทั้งงานธรุ การทัว่ ไป และงานธุรการคดี ของสานกั อานวยการประจา ศาลฎีกา และสานักงานเลขานุการคณะกรรมการวินิจฉัยช้ีขาดอานาจหน้าท่ีระหว่างศาล ให้ดาเนินไปด้วย ความเรยี บรอ้ ย ๓. ติดต่อประสานงานเพ่ือแก้ไขปัญหาข้อขัดข้องในการปฏิบัติงานให้กับท่านผู้บริหาร ท่านผู้พิพากษาในศาลฎกี า และขา้ ราชการศาลยุติธรรมและเจา้ หนา้ ท่ีในศาลฎกี า ๔. จดั เตรียมปลิวข้อมลู คดีสาหรบั เสนอจา่ ยให้ผู้พพิ ากษาเจ้าของสานวน และการจา่ ยสานวน ใหแ้ ก่ผ้พู ิพากษา ๕. จ่ายงานตรวจร่างคาพพิ ากษาให้กับผู้ช่วยผพู้ พิ ากษาศาลฎีกา ๖. ทาหน้าทเ่ี ป็นเลขานุการคณะกรรมการวนิ จิ ฉัยชี้ขาดอานาจหน้าทร่ี ะหว่างศาล 1๗. ลงนามในหนังสือของศาลฎีกาและสานักงานเลขานุการคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาด อานาจหน้าที่ระหวา่ งศาล ถงึ หนว่ ยงานต่าง ๆ ๘. รวบรวมสถิตขิ อ้ มลู คดีของศาลฎีกาเพอื่ เสนอผูบ้ ริหารศาลฎกี า ๙. ควบคุม กากับ ดูแล การปฏิบัติงานของผู้พิพากษา และข้าราชการการธุรการ ให้ถูกต้อง ตามกฎระเบยี บ ขอ้ บังคบั ต่าง ๆ ท่ีกาหนดไว้ ๑๐. พิจารณาเสนอข้อมูลของผู้พิพากษาในการเสนอแตง่ ตง้ั ใหด้ ารงตาแหน่งเป็นคณะทางานฯ ของศาลฎกี า ๑๑. ควบคุม กากับ ดแู ล งานดา้ นงบประมาณของศาลฎกี าใหเ้ พยี งพอตอ่ การใช้จา่ ย ๑๒. ตดิ ตามงานด้านคดีของศาลฎีกาตามนโยบายประธานศาลฎีกา ๒. รองเลขานุการศาลฎกี า ท่านอิทธิ มุสกิ ะพงษ์ ๑. งานกล่นั กรองงานทา่ นรองประธานศาลฎกี า (ท่านวาสนา หงสเ์ จรญิ ) - ตรวจร่างคาสง่ั และพิพากษา และเสนอความเห็นทางคดี - เสนอความเหน็ การโอนสานวนคดี - ตรวจยอ่ ข้อกฎหมาย

๒ ๒. กากับดแู ลงานประชมุ ใหญใ่ นศาลฎีกา จัดทา เสนอความเหน็ แกไ้ ข และตดิ ตาม เอกสาร ด้านวิชาการ การใชร้ ะเบยี บขอ้ บังคบั ตา่ ง ๆ ในศาลฎกี า ๓. งานวนิ ิจฉัยอานาจหนา้ ทรี่ ะหวา่ งศาล ๓. รองเลขานกุ ารศาลฎีกา ทา่ นนาวี สกลุ วงศ์ธนา ๑. กากับดแู ลอาคารสถานท่ี และพัสดุ ๒. งานรกั ษาความปลอดภัย ตารวจศาลและ รปภ. ๓. ตรวจร่างฯคาพพิ ากษาและคาสง่ั ๔. รองเลขานกุ ารศาลฎีกา ท่านนรนิ ทร์ ทองคาใส ๑. ดูแลอานวยความสะดวกให้ผพู้ ิพากษาและผู้ช่วยผูพ้ ิพากษา ๒. กรองงานคดีให้ท่านประธานศาลฎีกา ๓. กากบั ดูแลและเสนอแนะนิตกิ รคัดแยกสานวนคดปี ระเภทตา่ งๆ ๕. รองเลขานกุ ารศาลฎกี า ทา่ นดนัยศักด์ิ นาควิเชยี ร ๑. กากับดูแลงานธุรการ ข้าราชการธุรการ ๒. ปรบั ปรุงแกไ้ ขระบบงานคดแี ละงานธุรการในศาลฎีกา ๖. รองเลขานุการศาลฎีกา ท่านเจรญิ ชัย อศั วพิริยอนันต์ ๑. งานจา่ ยสานวน งานวนิ ัย ๒. กรองงานคดใี ห้ท่านรองประธานศาลฎกี า (ทา่ นนพิ นั ธ์ ช่วยสกลุ ) ๗. รองเลขานุการศาลฎกี า ทา่ นวินิจ เนตรแจม่ ศรี ๑. กากับดูแลส่วนคาพพิ ากษา ๒. คดั ท้ายคาพพิ ากษาและคาสงั่ กอ่ นสง่ ไปอา่ นยังศาลช้นั ต้น ๓. งานการอา่ นคาพพิ ากษาศาลฎกี าทางสอื่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์

๓ ๑. การบริหารงานคดี สานวนคดีของศาลฎีกาตั้งแต่รับมาจากศาลชั้นต้นจนกระท่ังส่งกลับคืนไปยังศาลช้ันต้นมีขั้นตอน ดังต่อไปนี้ เจา้ หน้าท่สี ารบรรณ รับสานวนคดแี ละเอกสารที่ รบั จากทางไปรษณีย์ ส่งมาจากศาลชัน้ ตน้ รบั จากเจา้ หน้าทศี่ าลมาส่งเอง เจา้ หนา้ ท่งี านคดตี รวจสอบความถกู ตอ้ ง ขนึ้ ปก ออกหมายเลขคดดี า ลงสารบบ ทาปลิว ยอ่ สานวน โดยแยกประเภทคดีทว่ั ไปและคดแี ผนก ผไู้ ดร้ บั มอบหมาย (ส่วนบริหารจดั การคดี) งานจ่ายคดียกรา่ ง (สว่ นบรหิ ารจดั การคดี) นาปลิวเสนอประธานศาลฎีกา นาสานวนไปเสนอท่านผชู้ ว่ ยฯในกองยกรา่ ง เจา้ หนา้ ทีง่ านจา่ ยสานวน เบิกสานวนจาก งานเกบ็ สานวนนาไปเสนอผ้พู พิ ากษา เจ้าหน้าที่สว่ นคาพพิ ากษา ตรวจรบั สานวนและ รา่ งคาพพิ ากษาจากผพู้ ิพากษาเจ้าของสานวน แลว้ สง่ รา่ ง คาพพิ ากษาใหง้ านพมิ พ์คาพพิ ากษา ส่วนสานวนเก็บไว้รอ เสนอท่านเลขานกุ ารจ่ายผู้ชว่ ยผพู้ ิพากษา (ผู้ชว่ ยเลก็ ) เจ้าหนา้ ท่ีงานพิมพ์คาพิพากษา พมิ พร์ ่างคาพพิ ากษา แลว้ ส่งงานก่อนส่งั ออกเพอื่ รอเสนอเลขานุการศาลฎกี า

๔ เลขานกุ ารศาลฎีกา จา่ ยร่างคาพิพากษาและสานวน ใหผ้ ชู้ ่วยผูพ้ ิพากษา(ผชู้ ่วยเลก็ ) ผ้ชู ่วยผูพ้ ิพากษา(ผูช้ ว่ ยเล็ก) ตรวจรา่ งคาพพิ ากษา แล้วสง่ ให้เจา้ หนา้ ท่ี (ศนู ยร์ ับรา่ งฯ) เจ้าหนา้ ที่ (ศนู ยร์ ับร่างฯ)เสนอผูช้ ว่ ยผูพ้ พิ ากษา(ผูช้ ่วยใหญ่) ผ้ชู ว่ ยผูพ้ ิพากษา(ผูช้ ว่ ยใหญ)่ ตรวจร่างคาพพิ ากษา แล้วสง่ ใหเ้ จ้าหน้าท่ี (ศนู ย์รบั รา่ งฯ) เจา้ หน้าท่ี (ศนู ยร์ บั รา่ งฯ)เสนอรา่ งคาพพิ ากษา ผ้กู รองงานรองประธานศาลฎกี า รองประธานศาลฎกี าหรอื ประธานแผนกฯ รองประธานศาลฎกี าหรอื ประธานแผนกฯ ผู้ไดร้ ับมอบหมายตรวจและสง่ั ออก หรอื เสนอประธานศาลฎีกา ประธานศาลฎกี าตรวจและสง่ั ออก ผูก้ รองงานประธานศาลฎีกา เจ้าหน้าที่ (ศนู ย์รบั ร่างฯ)สง่ ผชู้ ่วยผพู้ ิพากษา(ผชู้ ว่ ยใหญ)่ ตรวจเพ่ือคมุ แนวและสงั่ ออกแดง ผู้ชว่ ยผ้พู พิ ากษา(ผู้ชว่ ยใหญ่) ตรวจเพือ่ คมุ แนวและสัง่ ออกแดง เจา้ หน้าที่ (ศูนย์รบั รา่ งฯ)ส่งรา่ งคาพพิ ากษา ไปงานหลังสัง่ ออกคาพิพากษา

๕ เจา้ หนา้ ท่งี านหลังส่งั ออกคาพิพากษาออก หมายเลขคดีแดงและลงสารบบคาพพิ ากษา เจ้าหนา้ ทงี่ านพมิ พค์ าพพิ ากษา พิมพค์ าพิพากษาพรอ้ ม สาเนาแลว้ เจ้าหน้าทหี่ ลงั สั่งออกคาพิพากษาประทบั ตราศาล ฎีกาในคาพพิ ากษาแลว้ เสนอผ้ชู ว่ ยผ้พู ิพากษา (ผู้ช่วยเลก็ ) ผู้ช่วยผูพ้ พิ ากษา (ผชู้ ว่ ยเล็ก) ตรวจคาพพิ ากษาหลังสงั่ ออกและ สาเนา แลว้ คืนงานหลังสง่ั ออกคาพพิ ากษาพร้อมสานวน(ไม่มีแกไ้ ข) สง่ สานวนและคาพพิ ากษาไปงานเสนอลงนาม หากมแี กไ้ ขส่งงานพิมพ์แกไ้ ข งานหลังสั่งออกคาพพิ ากษาส่งสานวนและซองร่างคา พิพากษาไปงานเสนอลงนาม เจา้ หนา้ ทีง่ านเสนอลงนาม นาคาพิพากษาพร้อมสาเนาเสนอ ผ้พู พิ ากษาเจา้ ของสานวนและองคค์ ณะเพ่ือลงนามในคาพพิ ากษา เจ้าของสานวนและองคค์ ณะลงนาม งานเสนอลงนามสง่ สานวนและซองคาพิพากษา ให้งานคัดทา้ ยเพอ่ื ตรวจคดั ทา้ ย ผ้ทู ไ่ี ด้รับมอบหมายตรวจคัดทา้ ย และบรรจซุ องคาพพิ ากษาและปิดผนึก ติดสติ๊กเกอร์ตราศาลฎีกาแล้วเสนอ ผ้ไู ด้รบั มอบหมายลงนามกากบั รอยผนึกท่ซี อง ส่วนสาเนาคาพพิ ากษาและรา่ งคาพพิ ากษาฉบับตรวจเกบ็ ไว้ท่ีงานหลงั สง่ั ออกคาพิพากษา เจา้ หนา้ ที่งานหลงั ส่งั ออกคาพพิ ากษา ส่งสานวนและเอกสารพร้อมซองคาพิพากษาคืนศาล

๖ ๑.๑ การดาเนินงานปรบั ปรุงและวางระบบการทางานสานวนคดี (ก.) ระบบงานตั้งแต่ศาลฎกี ารบั สานวนเข้ามาจนกระท่งั จา่ ยสานวน ๑. ปรับระบบตรวจสานวนเบื้องต้น ถ้าไม่มีเอกสารหรือไม่ครบถ้วน ส่งกลับศาลชั้นต้นทันที โดยให้รองเลขาฯลงนามในหนังสือ ๒. ปรับระบบงานรับฟ้อง คดีแผนก งานตรวจสานวนก่อนเสนอให้เร็วขึ้น ด้วยการปรับการ ทางานของนิติกรตรวจสานวนให้กระชับข้อมูล (ให้นิติกรแผนกและนิติกรส่วนอื่นมาช่วยบ้างในกรณีท่ีคดีค้าง มาก) และแยกสานวนแผนกให้นิติกรแผนกดาเนินการแทน ให้เลขาฯแผนกกากับดูแลตั้งแต่ต้นทางยัน ปลายทาง ๓. ปรับปรุงฐานข้อมูลการค้นหาชื่อคู่ความในกรณีสานวนประเภทเดียวกัน เพ่ือหมายเหตุ ในปลวิ ป้องกนั ผลคดตี า่ งกนั ๔. ศกึ ษาข้อมูลการทางานของงานพมิ พ์ปลวิ เพอ่ื ปรบั ให้เป็นปลวิ อิเลก็ ทรอนกิ สใ์ นอนาคต ๕. สานวนคดียกร่างฯไมจ่ าตอ้ งตดั ตอ่ แต่ใหใ้ สร่ หสั เพ่ือ load คาพพิ ากษาศาลอทุ ธรณ์ได้ ๖. ปรบั ระบบงานจ่ายสานวน(งานปลิว) ใหเ้ ปน็ ระบบช้ันความลับมากขนึ้ ป้องกันไมใ่ หเ้ กิดการ ร่ัวในรายชื่อองค์คณะ โดยแยกปลิวคดีสาคัญพิเศษ คดีโอน และคดีโครงการ และแยกระบบสานวนคดีสาคัญ พิเศษ (มีการบริหารจัดการอกี ส่วนหน่งึ ) ๗. ใหส้ ว่ นบรหิ ารจัดการคดรี ายงานสถติ คิ ดที อี่ ยใู่ นระหวา่ งดาเนนิ การ ตรวจสานวน พมิ พป์ ลวิ งานตดั ต่อ และรอจ่ายทุกวนั ศกุ ร์ โดยสง่ ขอ้ มลู ทาง Line (ข.) ระบบงานต้ังแต่จา่ ยสานวนทา่ นผูพ้ พิ ากษาและผู้ชว่ ย จนถึงขนั้ ตอนผบู้ ริหารสั่งออก ๑. ปรับปรุงระบบการทางานของห้องจ่ายสานวนให้เป็นระบบ จัดกลุ่มผู้พิพากษาตาม ความสามารถและความถนดั และจา่ ยสานวนไปตามกลุ่มใหไ้ ดใ้ กลเ้ คียงทส่ี ดุ ๒. ปรับปรุงการปิดซองคาพิพากษา ทางเดินของซองคาพิพากษา ต้องมีถุงใส่โดยเฉพาะ (อยู่ระหว่างดาเนินการ) และซองต้องปิดผนึกตามระเบียบศาลฎีกาโดยเคร่งครัด ให้เฉพาะนิติกรหน้าห้อง เทา่ นั้นทสี่ ามารถรับส่งซองคาพพิ ากษาได้ และจะตอ้ งลงบนั ทกึ ในระบบทกุ คร้ังทีม่ กี ารเคลอื่ นยา้ ยซองคาพิพากษา ๓. งานปรับปรงุ งานธรุ การ กองยกร่าง ๓.๑ สานวนที่มาจากสารบัญให้แยกสานวนท่ีต้องเข้างานกองยกร่าง และตรวจสานวน เฉพาะเอกสารในสานวนและเอกสารแยกเก็บว่าครบหรอื ไม่ ลงขอ้ มลู คดใี นสารบบอิเล็กทรอนกิ ส์ ๓.๒ ให้งานปลิวพิมพป์ ลิวและส่งใหส้ ว่ นยกร่างทนั ที

๗ ๓.๓ ให้นิติกรส่วนงานยกร่างตรวจสานวน ย่อสรุป (ให้ทาแบบมาตรฐานกลาง) ยกร่างฯ ตดั ตอ่ เพ่อื เสนอจา่ ยสานวน ๓.๔ เสนอผู้จ่ายสานวนยกร่างฯ(ท่านเชิดพันธ์) จ่ายคดีให้แก่ผู้ช่วยยกร่างตามปกติ โดยให้ลงระบบจ่ายให้แก่ผู้ช่วยยกร่างฯในวันรงุ่ ข้นึ ท่ีจา่ ยสานวน และแจ้งให้ผู้ชว่ ยฯยกร่างทราบทันทีเพื่อให้มารับ สานวนไปดาเนนิ การ ๓.๕ ทาสถิตกิ ารจ่ายสานวน คดคี า้ ง คดเี สร็จและสง่ แตม้ คะแนน และเวลาท่ีค้างสง่ งาน เลขานกุ ารทกุ วนั สน้ิ เดอื น (ค.) ระบบงานตงั้ แตค่ ดีออกแดงจนถงึ สง่ สานวนออกจากศาล ๑. ปรบั ปรุงงานพมิ พค์ าพิพากษา กรณีคดีแผนกใหแ้ ยกคนพมิ พ์ออกในแตล่ ะแผนกหรือรวมกนั หลายแผนก เพ่อื รองรับงานระบบตรวจยกรา่ งฯอเิ ล็กโทรนคิ ๒. เพิ่มช่องทางการอ่านคาส่ังศาลฎีกาในหลายๆคดี และจัดเวรการอ่านให้ท่านผู้พิพากษา โดยปรับระบบงานอ่านคาพิพากษาศาลฎีกาทางจอภาพ วางแนวปฏิบตั ขิ องศาลฎกี า ดว้ ยการปรบั ปรงุ ระเบยี บ ภายในศาลฎีกาใหร้ วดเร็วและกระชับ เร่มิ จากผ้ชู ่วยเลก็ พิจารณา จนผู้สงั่ ออกสามารถสัง่ อ่านไดเ้ อง ๓. เร่งรดั การแจ้งการอ่านของศาลชัน้ ต้นทวั่ ประเทศ (ง.) ระบบงานคดั ทา้ ยและอ่านคาพพิ ากษาหรือคาสัง่ ทีศ่ าลฎกี า ๑. งานคัดท้ายคาพิพากษา เป็นการตรวจสอบความถูกต้องของร่างคาพิพากษาก่อนส่งไป อ่าน เน้ือหาสาระมุ่งตรวจข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายให้ถูกตอ้ งตรงตามสานวนและร่างท่ีส่ังออก รวมถึงตรวจ อานาจการสง่ั ออกใหเ้ ป็นไปตามหลักเกณฑท์ ่ีทา่ นประธานมอบหมาย นอกจากนีม้ หี นา้ ที่ตรวจรบั รองลายมือชอื่ ผู้พิพากษาทลี่ งชอ่ื ในต้นรา่ งแล้ว แต่ไม่ได้ลงชือ่ ในชุดทีจ่ ะสง่ ไปอา่ นเนอ่ื งจากยา้ ยไปรบั ราชการทีศ่ าลอืน่ รวมถึง ลงช่ือกากับบนซองร่างคาพิพากษา และให้คาปรึกษาแก้ปัญหาเบื้องต้นกรณีศาลชั้นต้นมีข้อขัดข้องเร่ือง การอ่าน ตลอดจนได้รับมอบหมายงานพิเศษคือ อบรมดูแลผู้ช่วยหรือผู้พิพากษาประจาศาลที่มาฝึกงานหรือ เก็บคดีทศ่ี าลฎีกา ปัญหาท่ีพบส่วนใหญ่เป็นเรื่องความละเอียดของผู้ช่วยในการตรวจหลังส่ังออก ไม่ตรง กับชุดสั่งออก โดยเฉพาะช่ือคู่ความ ผู้ฎีกา ช่ือตัวบทกฎหมาย และผิดหน้าสุดท้ายจานวนพอสมควร ทาให้ ต้องเสียเวลาเสนอลงนามใหม่ ส่วนผู้สั่งออกน้ันส่วนใหญ่ที่พบคือส่ังออกเกินอานาจ นอกจากนั้นเป็นเร่ือง ปริมาณคดีท่ีเข้ามามากในแต่ละช่วงเวลาโดยเฉพาะช่วงประชุมใหญ่ เป็นผลให้คดีสะสมรอคัดท้ายเนื่องจาก อัตรากาลังไม่เหมาะสมกับงาน ทาให้คดีค้างเกินกว่ามาตรฐานเวลาที่กาหนด (ส่งออกไปอ่านภายใน ๑ เดือน นบั แตอ่ อกเลขคดีแดง) ทางแก้

๘ ๑. ควรเน้นย้าผู้ช่วยเก่า ส่วนผู้ช่วยข้ึนใหม่ควรให้การฝึกอบรมระยะหน่ีงก่อนจ่าย สานวน ส่วนผู้ส่ังออกควรเน้นย้าผู้กรองงาน หรือผู้ช่วยใหญ่ให้ทักท้วงก่อนมีคาส่ังให้ออกแดงจะได้ไม่ต้อง เสยี เวลาเสนอสั่งออกและผา่ นกระบวนการตรวจหลังส่งั ออกรอบสองโดยไม่จาเป็น ๒. เพ่ิมอัตรากาลังในลักษณะคาสั่งช่วยช่ัวคราวอีกตาแหน่งหนึ่ง โดยคาสั่งประธานฯ เปิดกว้างให้ เลขา ฯ มีอานาจสั่งให้มาปฏิบัติหน้าท่ีคัดท้ายตามช่วงระยะเวลาท่ีเห็นสมควรเพื่อประโยชน์ ราชการ วธิ ีการนเ้ี ป็นการทางานตามกรอบระยะเวลาและฝึกผู้ชว่ ยใหท้ าหนา้ ที่คัดทา้ ยได้ หากมีเหตจุ าเป็นหรือ บคุ คลผปู้ ฏบิ ตั ิตอ้ งโยกย้าย ๒. การอ่านคาพิพากษาศาลฎีกาผา่ นจอภาพ เป็นการอ่านในคดที ่ีจาเลยตอ้ งขังและคดีแพ่ง หลักเกณฑ์กาหนดให้ผู้ช่วยเล็กเสนอความเห็นเบื้องต้นต่อผู้ช่วยใหญ่และผู้ส่ังออก หลังจากมีความเห็นสมควร ใหอ้ า่ นก็จะประสานวันนดั ใชเ้ วลาไมเ่ กนิ ๑๐ วนั ทาการ คดีแพ่งไมเ่ กนิ ๒๐ วันทาการ ถึงวันนดั เจ้าของสานวน อ่านผ่านจอภาพและมคี าส่งั ใหอ้ อกหมาย ปัญหาท่ีพบส่วนใหญ่เป็นวันนัดของศาลชั้นต้นและเรือนจาไม่ตรงกัน ส่วนคดีแพ่งยัง ไม่สามารถอ่านได้เนื่องจากยังไม่ได้ตกลงกันเร่ืองประเภทคดีท่ีจะนามาอ่าน เพื่อให้บุคคลท่ีเกี่ยวข้องเข้าใจ ตรงกนั รวมถงึ ปญั หาเรือ่ งวธิ ีการแจง้ วนั นดั ใหค้ ู่ความในคดีแพง่ ทราบนัดโดยชอบก่อนวันอ่าน ทางแก้ ๑. ควรหารือเพื่อกาหนดแนวทางประเภทคดีที่จะนามาอ่านในเบื้องต้นและแจ้งเวียน ให้ผเู้ กีย่ วข้องทราบ ๒. กาหนดแนวทางให้ศาลช้ันต้นผู้ส่งหมายว่าศาลสูงจะใช้วิธีใดในการกาหนดวันนัด และการส่งหมาย อาทิเช่น กาหนดวันนัดล่วงหน้า ให้คู่ความลงช่ือทราบนัดไว้ในระหว่างย่ืนฎีกาและแจ้งวัน นัดฟังพร้อมคาแก้ฎีกา นัดพร้อมล่วงหน้า ๓ ถึง ๖ เดือน หลังจากย่ืนฎีกา ตลอดจนแจ้งวันนัดทางส่ือ อเิ ล็กทรอนิกส์ ๓. งานขออนุญาตดูหรือคัดสาเนาคาพิพากษาและคาสั่งศาลฎีกา การขอบันทึกเหตุผล ในการอนญุ าตให้ฎีกา ๑. ลงนามในหนังสือถึงหน่วยงานต่าง ๆ กรณีอนุญาตให้ข้าราชการตุลาการไปเป็น วิทยากร ๒. ลงนามการขออนุญาตดูหรอื คัดสาเนาคาพิพากษาและคาสง่ั ศาลฎีกา การขอบนั ทกึ เหตุผลในการอนญุ าตให้ฎีกา ๒.๑ กรณีการขออนุญาตดูหรือคัดสาเนาคาพิพากษาและคาส่ังศาลฎีกา การ ขอบันทกึ เหตุผลในการอนุญาตใหฎ้ กี าที่แจง้ การอา่ นแลว้ ๒.๒ กรณีการขออนุญาตดูหรือคัดสาเนาคาพิพากษาและคาส่ังศาลฎีกา การ ขอบันทึกเหตุผลในการอนุญาตให้ฎีกาท่ียังไม่ไดแ้ จ้งการอ่าน จะตรวจเอกสารการขออนุญาตแล้ว นาเสนอท่าน รองประธานฯ ที่ได้รับมอบหมายเปน็ ผู้พิจารณาลงนามอนุญาตตอ่ ไป

๙ ปัญหา การขอคัดถ่ายสาเนาคาพิพากษา ศาลฎกี า / คาสง่ั คาร้อง /ครพ. ชดุ ตรวจรา่ ง ลายมือช่ือพร้อมบันทึกเหตุผลให้แก่ผู้พิพากษาศาลฎีกาและผู้ช่วยผู้พิพากษาเพ่ือสนับสนุนการพิจารณา พิพากษาคดี ให้มีความสะดวกรวดเร็ว เดิมข้ันตอนในการขอคัดถ่ายสาเนาฯดังกล่าว นิติกรที่ได้รับมอบหมาย จากผู้พิพากษาหรอื ผู้ช่วยฯจะต้องมาติดต่อทีง่ านคัดถ่ายสาเนาคาพิพากษาศาลฎกี าเพอ่ื ขอให้เจา้ หน้าทีต่ รวจสอบ ว่าคดีที่ผู้พิพากษาฯ ประสงค์ขอคัดถ่ายสาเนาฯ มีการแจ้งการอ่านแล้วหรือยัง ซ่ึงหากเจ้าหน้าที่ ELC ผู้รับผิดชอบ ตรวจสอบแล้วพบวา่ ยงั ไมไ่ ดแ้ จ้งการอา่ นหรอื แจ้งการอา่ นแลว้ แต่ยงั ไม่ไดส้ ่งมาเก็บรกั ษาท่ี ELC ก็ต้องแจง้ ใหน้ ติ กิ ร เดินไปติดต่อขอคัดถ่ายฯ ที่ส่วนคาพิพากษา แต่หากเป็นคดีที่แจ้งการอ่านแล้วและเก็บรักษาอยู่ท่ี ELC ทาง เจ้าหน้าที่ ELC ผู้รับผิดชอบจะดาเนินการตรวจสอบว่าคดดี ังกล่าว แจ้งการอ่านวันใด และนาแบบคาขอฯ ย่ืน เสนอใหห้ ัวหนา้ ศูนย์ ELC รบั รองวันที่แจ้งการอ่าน จากนั้นนิติกรจะต้องนาแบบคาขอฯ ดังกล่าวขึ้นไปย่ืนเสนอ คาขอฯ ต่อรองเลขานุการศาลฎีกาที่ได้รับมอบหมายพิจารณาคาขอฯ และเม่ืออนุญาตให้คัดถ่ายฯ ได้ นิติกร จะตอ้ งนาแบบ คาขอฯ ดงั กล่าวไปยื่นที่งานคัดถ่ายสาเนาคาพพิ ากษาศาลฎกี าอกี รอบเพ่อื ขอรบั เอกสาร ซง่ึ มี ข้ันตอนในการย่ืนคาขอฯหลายข้ันตอนและนิติกรต้องเดินไป-มาเพ่ือตดิ ต่อขอคัดถ่ายฯไม่นอ้ ยกว่า ๓ ครั้ง ทาให้ เกิดความล่าช้า ในการขอคัดถา่ ยดังกลา่ ว แนวทางการแก้ปัญหา ได้มีการประชุมหารือกับหัวหน้าศูนย์ ELC หัวหน้าส่วน คาพิพากษา และหัวหนา้ ส่วนสนบั สนนุ งานเลขาแล้วเห็นควรลดขน้ั ตอนในการย่ืนคาขอคัดถ่ายฯ โดยให้นิติกร ประจาผู้พิพากษาหรือผู้ช่วยฯ ที่ต้องการคัดถ่ายฯ โทรศัพท์ติดต่อสอบถามที่เบอร์ ๑๐๑๑๗ เพ่ือตรวจสอบ ข้อมูลว่าคดีดังกล่าวได้มีการแจ้งการอ่านแล้วหรือยัง ขณะเดียวกันทาง ELC หรือส่วนคาพิพากษาจะได้เตรียม สาเนาคาพิพากษาฯ ท่ีขอคัดถ่ายรอไว้ให้นิติกรมารับ ซึ่งเป็นการลดข้ันตอนจากการท่ีนิติกรต้องเดินมาติดต่อ ท่ี งานคดั ถ่ายสาเนาคาพิพากษาศาลฎีกาวา่ มกี ารแจ้งการอา่ นหรือยงั และ/หรือหากแจง้ การอ่านแลว้ อา่ นเมอ่ื ใด และ อยทู่ ่ี ELC หรอื อยูท่ ีส่ ่วนคาพพิ ากษา อีกทั้งยงั ไดม้ ีการปรับปรงุ แบบฟอรม์ และจัดทาขั้นตอนการขอคดั สาเนาชดุ ตรวจร่างลายมอื เผยแพร่ในอินทราเน็ตศาลฎีกาไว้เรยี บร้อยแล้ว ตลอดจนในส่วนของรายละเอยี ดแบบคาขอฯ ซ่ึงจะมีข้อมูลของผู้พิพากษาท่ีย่ืนเร่ืองขอคัดถ่ายฯ รวมทั้งข้อมูลช่ือโจทก์-จาเลยและเหตุผลท่ีย่ืนเรื่องขอคัดถ่ายฯ รองเลขานุการศาลฎีกาจะเป็น ผู้เก็บรักษาความลับในส่วนนี้ไว้ เพื่อเป็นการป้องกันและรักษาความลับอันอาจ เกิดผลกระทบกบั คดที ีย่ งั อยูใ่ นการพจิ ารณาของศาลฎกี า ทาใหก้ ารขอคัดถ่ายฯดงั กล่าวเปน็ ไปด้วยความสะดวก และรวดเร็ว ๑.๒ การดาเนนิ ปรับปรงุ และวางระบบการติดตามสานวนคดีด้วยระบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ๑. ปรับปรงุ ระบบตดิ ตามสานวนคดสี าหรับผบู้ รหิ าร (แยกอธบิ าย) ๑.๑ สร้างหน้าจอบริหารขอ้ มลู คดีโดยสามารถดูข้อมูลสถติ แิ ละการเคลื่อนไหวของคดี ไดภ้ ายในหนา้ จอเดียว ๑.๒ สร้างหน้าจอคดีค้างเป็นระยะเวลารายเดือน และหน้าจอเตือนงานคาร้องขอ อนุญาตฎกี าค้างเกนิ ๓, ๖, ๙ เดือน ๑.๓ สร้างหนา้ จอรายงานคดีสาคัญพิเศษ

๑๐ ๒. ปรับปรุงระบบติดตามสานวนคดสี าหรับเจา้ หน้าที่และค่คู วาม ๒.๑ สรา้ งระบบติดตามสานวนคดี ( case tacking ) ใน website ๒.๒ กาชับให้เจา้ หนา้ ท่ีทีเ่ ก่ยี วข้องกบั การเคล่ือนย้ายสานวนหรอื ซองคาพิพากษาต้อง ลงระบบตดิ ตามสานวนคดอี ยา่ งเคร่งครดั เพือ่ ใหข้ ้อมลู ในระบบถกู ต้องตรงตามความเป็นจรงิ ๒. ระบบงานจ่ายสานวน การจัดเกบ็ ปลิว (รายละเอียดของสานวนคดี) ยงั ไมจ่ า่ ย ปลิวยังไม่จ่ายสานวนโดยรับมาจากส่วนคดีงานพิมพ์ปลิว (จากพ่ีป้อม) การจัดเก็บปลิวเปน็ การจัดเกบ็ ปลวิ โดยแยกประเภทคดแี พ่ง และคดอี าญาจัดเกบ็ ใสแ่ ฟม้ โดยแยกประเภทตา่ ง ๆ ดังน้ี คดีแพ่ง จัดเก็บโดยแยกตามประเภทเรอื่ งคดีหรอื แยกตามบรรพใน ป.พ.พ. เช่น คดีมรดกใส่เรียงจาก เลขนอ้ ยไปหามาก คดีละเมิดใสเ่ รยี งจากเลขนอ้ ยไปหามาก คดีนติ กิ รรมสัญญา คดีที่ดิน โดยเฉพาะในบรรพ ๓ สามารถแยกตามประเภทเรอ่ื ง ซอื้ ขาย เชา่ ซือ้ จ้างทาของ ค้าประกนั คดีอาญา จดั เก็บโดยแยกตามประเภทคดีฐานความผดิ โดยทาแยกแฟม้ - คดียาเสพติด ดูตรงด้านบนของปลิวคดีว่าคดีใดจาเลยถูกต้องขงั อยู่หรือไม่ แยกว่าคดีจาเลย ถูกขังกับจาเลยไม่ถูกขัง หากจาเลยถูกขังอยู่จะมีตราปั๊มสีแดงว่า จำเลย...........ต้องขัง เหลือโทษจำคุก ............ แล้วใส่แฟ้มเรียงเลขจากน้อยไปหามาก - คดีอาญาทวั่ ไป คดที จ่ี าเลยถกู ขัง กับคดีทจ่ี าเลยไมถ่ ูกขัง - คดีท่ีจาเลยถูกขังเหลือโทษน้อยหรือศาลอุทธรณ์ยกฟ้องแต่ถูกขังถูกขังระหว่างการ พิจารณาช้ันศาลฎีกา ดูตรงดา้ นบนของปลิวคดี จะมีตราป๊ัมสแี ดงว่า จำเลย...........ต้องขัง เหลือโทษจำคกุ ............ และมีตดิ ตรงหัวปลิววา่ เร่งพเิ ศษ เร่งจำ่ ย โดยจะจัดเก็บปลิวเรียงเลขจากน้อยไปหามาก - คดที จ่ี าเลยถกู ขงั ดูตรงด้านบนของปลิวคดี จะมตี ราปม๊ั สแี ดงวา่ จำเลย...........ต้อง ขงั เหลือโทษจำคกุ ............ โดยจะจดั เก็บปลวิ เรยี งเลขจากนอ้ ยไปหามาก - คดีท่ีจาเลยไม่ถูกขัง จะจัดเก็บแยกตามลักษณะในประมวลกฎหมายอาญา เช่น ความผิดเก่ียวกับชีวิตและร่างกายกลุ่มนึง ความผิดเก่ียวกับทรัพย์กลุ่มนึง ความผิดฐานเก่ียวกับเพศกลุ่มนึง โดยแต่ละกลุ่มจะเรียงเลขจากน้อยไปหามาก คดสี าคญั พเิ ศษ คดีแพ่ง จะเป็นคดที ่มี ีทุนทรัพย์สูงโดยดตู รงด้านบนของปลวิ จะมตี ราปัม๊ สีแดงวา่ สำคัญพเิ ศษ ทุนทรัพย์สงู

๑๑ คดีอาญา จะเป็นคดีท่ีอยู่ในความสนใจของประชาชนตราปั๊มสีแดงว่า สำคัญพิเศษ บุคคล สำคัญ ซ่ึงคดีสาคัญพเิ ศษจะต้องนามาพิมพ์รายละเอียดของคดีในไฟลช์ ่ือวา่ คดสี าคญั พิเศษซึง่ อยหู่ น้า เดสทอ๊ ป แล้วจดั เก็บปลิวแยกประเภทคดีเพ่อื ดาเนินการเสนอทา่ นเลขาต่อไป หมายเหตุ บางครั้งการจัดเก็บปลิวคดีแพ่งทั่วไป กับคดีอาญาทั่วไปที่ไม่ต้องขังจะจัดเก็บเรียงเลขจาก นอ้ ยไปหามาก โดยไมไ่ ดจ้ ดั เก็บตามประเภทเรอื่ ง หรือฐานความผดิ ขึ้นอย่กู บั ผบู้ ริหาร การจดั เก็บปลิว (รายละเอยี ดของสานวนคด)ี ท่จี า่ ยสานวนแลว้ จัดเกบ็ แยกตามประเภทคดี โดยแยกเป็นคดีแพง่ คดีอาญา โดยเก็บเรียงจากเลขน้อยไปหามาก โดยแยกตามประเภท เช่น คดอี าญา คดีแพ่ง คดปี กครอง คดเี ยาวชนฯ คดที รัพยส์ ินฯ คารอ้ งขออนุญาตฎกี า การจ่ายสานวนคดี (คดีแพง่ คดอี าญา ท่วั ไป) ๑. เม่ือได้รับแจ้งจากท่านผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฎีกา ผู้พิพากษาศาลฎีกา ผู้พิพากษา อาวุโส ในศาลฎีกาขอเบกิ สานวนคดี ๒. นาเรียนเสนอท่านเลขานุการศาลฎีกาพร้อมปลิว (รายละเอียดของสานวนคดี) เพ่ือกราบ เรียนเสนอท่านประธานศาลฎกี าลงนามจ่ายปลวิ ๓. เม่ือรับปลิวที่ท่านประธานลงนามจ่ายสานวนแล้ว ดาเนินการเบิกสานวนคดีจากงานเก็บ สานวนคดี สว่ นบรหิ ารจดั การคดี ไปจา่ ยใหแ้ ก่ท่านผู้พิพากษาพรอ้ มกับใหท้ า่ นลงนามในปลวิ เพื่อจัดเก็บตอ่ ไป ๔. ลงรายการจ่ายสานวนคดใี นสมดุ รับสง่ สานวนประจาตัวท่านผพู้ ิพากษา ๕. บันทกึ รายการจา่ ยสานวนคดใี นระบบสารสนเทศสานวนคดี การจ่ายสานวนคดอี าญาดุลพนิ ิจ เม่อื รบั สานวนอาญาดุลพินิจพรอ้ มรา่ งคาพิพากษาจากกองยกรา่ งแล้ว ๑. ดาเนนิ การจัดหาปลิว ๒. ใส่แฟม้ เสนอท่านประธานศาลฎกี า ๓. เม่อื ท่านลงนามเรียบร้อยแลว้ ใหป้ ม๊ั วนั ท่ที ล่ี งนาม ๔. ดาเนนิ การจา่ ยสานวนใหท้ า่ น ๕. เมื่อจ่ายสานวนเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้ลงข้อมูลในระบบติดตามสานวน โดยลงส่งสานวน และจา่ ยสานวน ๖. เก็บปลิว การจา่ ยสานวนคดคี าร้องขออนุญาตฎีกา (คดแี พ่ง คดีอาญาทุจริต คดีค้ามนษุ ย์ คดแี พ่ง(ปกครอง) และคดยี าเสพตดิ )

๑๒ ๑. เมื่อแผนกคดีคาสั่งคาร้องฯ ตรวจสานวนคดีเสร็จแล้ว จะดาเนินการส่งปลิวมาให้งานจ่าย สานวน เมื่อรับปลิวมาแล้วดาเนินการเรียงลาดับปลิวตามลาดับหมายเลขคดีดาจากน้อยไปหามากของคดีแต่ละ ประเภท ๒. นาเรียนเสนอประธานแผนกคดีคาส่ังคาร้องลงนามในบันทึกข้อความเพ่ือนาความกราบ เรยี นประธานศาลฎีกาเพ่อื โปรดพิจารณาลงนามจ่ายปลวิ ๓.นาเรียนเสนอทา่ นเลขานกุ ารศาลฎีกาพรอ้ มปลิว เพือ่ กราบเรียนเสนอทา่ นประธานศาลฎีกา ลงนามจ่ายปลวิ ๔. เมื่อท่านประธานศาลฎีกาลงนามในปลิวแล้ว นาปลิวส่งแผนกคดีคาส่ังคาร้องเพ่ือ ดาเนินการจา่ ยสานวนให้ผ้พู พิ ากษาเจ้าของสานวนต่อไป ขน้ั ตอนเกย่ี วกับเร่อื งปลวิ ยกร่าง ๑. เมอื่ นิติกรนาปลิวมาสง่ ใหต้ รวจดูว่าทา่ นเจ้าของสานวนเซ็นชอ่ื ถกู ต้องตรงตามชอ่ งหรือไม่ มี ใบปะหน้ามาหรอื ไม่ ๒. ลงขอ้ มูลในระบบทัง้ สง่ สานวนและจ่ายสานวน ๓. เมื่อรวบรวมแล้วได้พอสมควรก็ทาพิมพ์ลงในฟอร์มเอ็กซ์เซลในหนา้ เดสทอ็ ปไฟล์ชือ่ ตาราง จา่ ยยกรา่ ง ๔. พิมพช์ อ่ื ทา่ นเจ้าของสานวน ชอื่ ท่านผูช้ ่วยยกรา่ ง และเลขคดี ไล่เรียงกนั ไป จนเสร็จ ๕. พิมพใ์ บปะหนา้ ตามฟรอรม์ ในหนา้ เดสท็อปไฟลช์ อ่ื บนั ทึกข้อความเลก็ (ยกรา่ ง) ๖. ป๊ัมตรายางยกร่างในปลิวทุกเร่ือง และป๊ัมตรายาง ท่ำนประธำนศำลฎีกำเห็นชอบแล้ว ตำมบนั ทกึ ลงวันท่.ี ............... ๗. ใส่แฟม้ เสนอทา่ น ๘. เมื่อท่านลงนามเรียบแลว้ ใหป้ ๊มั วนั ทีท่ ี่ลงนาม และเก็บปลิว ขั้นตอนเก่ยี วกับเรอื่ งการจา่ ยสานวนของแผนกคดีพิเศษในศาลฎีกา ๑. แผนกคดีพิเศษในศาลฎีกาส่งบันทึกข้อความเสนอจ่ายสานวนพร้อมปลิวสานวนที่งานจ่าย สานวน ๒. นาเรียนเสนอทา่ นเลขานกุ ารศาลฎกี าพร้อมปลิว เพอื่ กราบเรียนเสนอทา่ นประธานศาลฎกี า ลงนามจ่ายปลวิ ๓. เม่ือท่านประธานศาลฎีกาลงนามในปลิวแล้ว นาปลิวส่งคืนแผนกคดีพิเศษในศาลฎีกาเพ่ือ ดาเนินการจ่ายสานวนใหผ้ ้พู ิพากษาเจา้ ของสานวนต่อไป การรบั โอนสานวนคดี ๑. รับสานวนคดีโอนจากงานส่วนคาพิพากษา ดาเนินการจัดเตรยี มปลิว (รายละเอียดสานวน คดี)พรอ้ มรา่ งคาพพิ ากษาเพ่อื นาเสนอทา่ นประธานศาลฎกี าพิจารณาจา่ ยสานวนคดีโอน

๑๓ ๒. นาสานวนคดีโอนพร้อมร่างคาพิพากษาและปลิว ไปดาเนินการจ่ายให้แก่ท่านผู้พิพากษา พรอ้ มกบั ให้ท่านลงนามในปลิวเพ่ือจัดเกบ็ ต่อไป ๓. ลงรายการจา่ ยสานวนคดีโอนในสมดุ รบั ส่งสานวนประจาตวั ทา่ นผู้พิพากษา ๔. บันทกึ รายการจ่ายสานวนคดีโอนในระบบสารสนเทศสานวนคดี ข้ันตอนการลงขอ้ มูลในสารบบการตดิ ตามสานวน ๑. หลงั จากนาสานวนไปจ่ายให้ทา่ นเจา้ ของสานวนและปลิวทา่ นเจ้าของลงนามในปลิวแลว้ ๒. เขา้ ข้อมูลสารบบเลือกหัวขอ้ งำนส่วนกลำง > ส่งสำนวนคดีศำลฎกี ำ > ปลายทาง สง่ เพ่ือ ปลายทางช่องแรก เลอื กรหสั ๒๑ ผู้พิพากษา ส่งเพือ่ เลอื กรหสั ๒ จา่ ยสานวน ความ อาญา ชัน้ ความเร็ว อาญา Barcode อ / หมายเลขคดีแดง ประเภทคดี / หมายเลขคดดี า จะใช้ยิงบารโ์ ค๊ต หรือจะคีย์ขอ้ มูลลงที่ละเลขก็ได้ แต่หากคีย์ข้อมูลต้องใสเ่ ลขและปใี ห้ ถูกตอ้ ง และกดปมุ่ ตวั s แล้วเลอื ก จัดเกบ็ ขอ้ สาคญั หากใชย้ ิงบารโ์ ค๊ตใหร้ ะวังเลขพว่ งด้วยเนอ่ื งจากบารโ์ คต๊ ยงิ ได้เลขเดยี ว หมายเหตุ เปน็ การลงขอ้ มูลเพื่อใหร้ ้วู ่าสานวนปลายทางอยูท่ ใี่ ด ๓. เขา้ ขอ้ มลู สารบบเลอื กหวั ขอ้ หน้ำจอ > จ่ำยสำนวนผพู้ ิพำกษำ กาหนดวันที่จ่ายสานวน > เลือกผู้พิพากษา(ท่ีเป็นเจ้าของสานวน) > ประเภทการจ่าย(เลือกปกติ หรือยกร่าง) > ความ (แพ่งหรืออาญา) > หมายเลขดา(เลือกประเภทคดี แล้ว ใสห่ มายเลขดา และปี) >กดปุ่ม s > จา่ ย กดรปู เซฟ หรือ จะใช้วิธียิงบาร์โค๊ตก็ได้ กาหนดวันท่ีจ่ายสานวน > เลือกผู้พิพากษา(ท่ีเป็น เจ้าของสานวน) > ประเภทการจ่าย(เลือกปกติ หรือยกร่าง) แล้ววางเคอร์เซอร์ ตรงช่องบาร์โค๊ต แล้วใช้ตัวยิงไปบาร์โค๊ต ตรงมมุ บนขวาของปลวิ ขอ้ สาคัญ หากใช้ยิงบารโ์ ค๊ตใหร้ ะวังเลขพว่ งด้วยเนอ่ื งจากบารโ์ คต๊ ยงิ ได้เลขเดยี ว หมายเหตุ เปน็ การลงข้อมลู เพอ่ื ใหร้ ูว้ า่ ใครเป็นเจ้าของสานวน ขนั้ ตอนการลงรายละเอียดในสมดุ บัญชรี ับสานวนความทา่ น ในสมดุ ทา่ นจะมแี บ่งเป็นชอ่ งและหวั ขอ้ ใหล้ งเรียงกนั ไปโดยดูรายละเอียดในปลิว

๑๔ ช่อง ฎกี าจาก คือมาจากศาลไหน ใหล้ งวา่ เชน่ จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา ช่อง เลขคดี คือเลขคดีดาศาลฎกี า ใหล้ งว่า เช่น อ ๑๑๑๑/๖๐ ชอ่ ง โจทก์ คือใครเปน็ โจทกฟ์ อ้ ง ใหล้ งวา่ เชน่ พนักงานอยั การ ช่อง จาเลย คือใครเป็นจาเลยถูกฟอ้ ง ใหล้ งวา่ เชน่ นายจาเลย ช่อง เรื่อง คือเป็นเร่ืองอะไรหรือฐานความผิดอะไร ให้ลงว่า เช่น เจ้าพนักงานในการ ยุตธิ รรม ในช่อง เรอ่ื ง ถ้าเปน็ คดีอาญา หากเปน็ โทษที่ศาลลงโทษตงั้ แต่ ๑๐ ปีขน้ึ ไปใหล้ งไปด้วย เชน่ จาคุก ๑๐ ปี หรือ จาคุกตลอดชีวิต หรือ ประหารชีวิต ถ้าเป็นคดีแพ่ง ให้ใส่จานวนทุนทรัพย์ลงไปด้วยไม่ว่า ทุนทรัพย์จะมากน้อยเพียงใดก็ตาม เพราะอัตราโทษ และจานวนทุนทรัพย์ มีผลต่อจานวนแต้มคะแนนของ แต่ละทา่ น ในการทาสถติ สิ ง่ สานักงานศาล ช่อง วันจ่ายสานวน คือวันท่ีไปจ่ายสานวนให้ท่านและท่านเซ็นรับในปลิว ให้ลง เป็นวันท่ีไป จ่ายให้ท่าน ช่อง หมายเหตุ ไม่ต้องลงอะไร ยกเว้นเป็นคดีอาญาดุลพินิจหรือเป็นคดีโอนสานวน ให้ใส่ไว้ ดว้ ยว่า อาญาดลุ พินจิ หรือ โอนสานวน ข้นั ตอนการทาสถิตคิ ดีคา้ งพิจารณา ในวนั ที่ ๑๐ ของแต่ละเดือนจะต้องทาสถติ ิค้างพจิ ารณาของแตล่ ะทา่ นสง่ งานคาพิพากษา โดย จะรายงานคดีค้างพิจารณาเฉพาะผู้พิพากษาศาลฎีกา ไม่ต้องรายงานผู้พิพากษาอาวุโส (ส่งคนชื่อ ติ๊กที่อยู่งาน คาพพิ ากษา) ๑. ในไดร์ D > ขอ้ มลู งานจ่าย > เลือกเอ็กซเ์ ซลชือ่ คดีคา้ ง เลือกแผน่ งานนบั วนั ปริ๊นออกมา โดยคดแี พ่งจะคา้ งไม่เกนิ ๖ เดอื น ส่วนคดีอาญา ค้างไมเ่ กิน ๓ เดือน ตรงช่องตัดยอดให้ใส่วันท่ีตัดยอด คือวันท่ี ๕ ของแต่ละเดือน ช่องถัดไปใส่เดือนไล่ ยอ้ นหลังไปจนถงึ ช่องสดุ ทา้ ย จนถึงช่องจา่ ย คอื คดีคา้ งพิจารณา ๒. เปดิ ระบบการตดิ ตามสานวนเลอื กหวั ข้อ รำยงำน > รำยงำนคดีคำ้ งพจิ ำรณำ ผ้พู พิ ำกษำ แตล่ ะทำ่ น ๓. ตรงช่องระบบ เลือกคาพิพากษา ช่องวันที่ คือกาหนดวันที่ จากวันท่ี ถึงวันที่ ท่ีจะเช็คคดี เชน่ ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๙ ถงึ วันที่ ๕ กันยายน ๒๕๖๒ ช่องผูพ้ ากษา เลือกรายช่อื ผพู้ ิพากษาที่จะทาการเช็ค แลว้ พิมพร์ ายงานออกมา ๔. ดูในรายท่ีพิมพ์ออกมาแต่ละท่านว่าจ่ายสานวนให้ท่านต้ังแต่เดือนไหน คดีแพ่งนานเกิน ๖ เดอื นมเี รือ่ งใดบ้าง คดีอาญานานเกิน ๓ เดือนมเี รื่องใดบา้ ง คดีแผนกเรือ่ งไหนเกิน ๖ เดอื นบ้าง ๕. เมื่อเช็คคดีค้างพิจารณาคดีขอแต่ละท่านเสร็จแล้ว หากมีค้างพิจารณา ให้นาไปใส่ในแผ่น แผ่นงานชื่อ รายช่ือ ในเอ็กซ์เซล หัวข้อตาราง คดีค้างเดือน..................(ยอด ณ วันท่ี...................) ให้ใส่ช่ือ เดือน ยอด ณ วันที่ เช็ค ตรงช่องผู้พิพากษา ใส่ชื่อท่านที่ค้างพิจารณา ตรงช่องคดีอาญาเกิน ๓ เดือน ใส่

๑๕ จานวนที่ค้าง ตรงช่องคดีแพ่งเกิน ๖ เดือน ใส่จานวนที่ค้าง ตรงช่องคดีชานัญพิเศษ ใส่จานวนท่ีค้าง ไล่ไป ตามลาดับจนเสรจ็ ๖. ปริ๊นแผ่นรายชื่อท่านไปส่งที่งานคาพิพากษา ตรงเก็บสถิติ (ชื่อติ๊ก)และทาสาเนาไว้หนง่ึ ชุด ข้อควรระวัง จะมีคดีบางเลขท่านส่งคาพิพากษาแล้วแต่ไม่ตัดออกจากระบบ หากสงสัยเลขไหนให้เช็คความ เคลอื่ นไหวของเลขนั้น ๆ ๗. หลังจากน้นั งานงานคาพพิ ากษาจะทารายงานเสนอท่านผพู้ พิ ากษาแต่ละท่าน หากทา่ นไหน มคี ดีคา้ งพจิ ารณา ท่านใหน้ ติ ิกรหนา้ ห้องโทรมาสอบถามว่าท่านค้างพิจารณาเรอ่ื งใดบ้าง ทางงานจา่ ยสานวนจงึ แจ้งไปกับนิติกรหน้าห้องว่าของท่านมีเรื่องใดค้างพิจารณาอยู่บ้าง หากเช็คแล้วไม่ตรงกับสถิติท่ีทาให้แจ้งงาน คาพพิ ากษา (ที่ชื่อติ๊ก) ข้นั ตอนการเดินคาคคู่ วาม การเดินคาร้องจะมีหลักๆอยู่คือเป็นคาร้องขอคัดถา่ ยเอกสาร คาร้องที่ย่นื เข้ามาประกอบการ พิจารณา คาร้องขอปล่อยช่ัวคราว(จากงานคาส่ังคาร้อง) โดยให้ดูตรงดา้ นล่างวา่ หนังสือเกษียรวา่ อย่างไร และ จะต้องดาเนินการอยา่ งไรตอ่ ไป กรณีคาร้องขอคัดถ่ายเอกสาร กับคาร้องขอปล่อยชั่วคราว เม่ือได้รับคาร้องจากงานรับคารอ้ ง คาแถลงหรอื จากงานคาสั่งคารอ้ งแล้ว ใหเ้ ชค็ ความเคลอ่ื นไหวของแตล่ ะเรือ่ งวา่ ยงั อย่ทู ีท่ ่านหรอื ไม่ หากสานวน ไม่อยู่ท่แี ลว้ ให้คืนคาร้องไป หากสานวนยังอยทู่ ่ีท่านก็ให้ดวู า่ เปน็ เรอื่ งใด ๑. กรณีเป็นคาร้องขอคัดถ่ายเอกสารหรือคาร้องขอปล่อยชั่วคราว ให้ประสานงานกับนิติกร หน้าห้องท่านเจ้าของสานวนว่าท่านอยู่หรือไม่ หากอยู่ให้นาคาร้องไปขอยืมสานวนจากท่าน เม่ือท่านอนุญาต ใหย้ มื สานวนแล้วใหล้ งสมุดบญั ชีรบั สานวนของท่านโดยหาเลขทีย่ มื แลว้ ตรงช่องหมายเหตุ ให้เขียนวา่ ยืมสานวน ทา่ นไปทาอะไรแลว้ ลงชือ่ และวันที่กากับไว้ ๒. ลงสมุดคุม ในสมุดรับ-ส่งสานวนของงานจ่ายสานวน โดยในสมุดคุมจะมีรายละเอียดวันท่ี เลขคดีดาของศาลฎีกา(ให้ลงเลขแดงของศาลช้ันต้นไว้ด้วย) ชื่อโจทก์ ช่ือจาเลย เรื่อง(ให้ลงว่าดาเนินการเรื่อง อะไร) รับสานวน(งานทนี่ าสานวนไปสง่ เซ็นช่ือรับ) คนื สานวน หมายเหตุ ๓. นาเฉพาะสานวนไปส่งให้งานรับคาร้องคาแถลงหรืองานขอปล่อยช่ัวคราว โดยเก็บปก สานวนเรอ่ื งดังกลา่ วไว้ทง่ี านจา่ ยสานวนและให้เจา้ หน้าทเี่ ซ็นชอื่ รบั ในสมุดรับ-สง่ สานวน ๔. ลงขอ้ มลู ในระบบตดิ ตามสานวน หัวขอ้ สว่ นกลาง > ส่งสานวนคดศี าลฎีกา > ตรงช่องปลาย ทางเลือก งานรับคาร้องคาแถลงหรืองานคาสั่งคาร้อง ส่งเพื่อ คัดถ่ายเอกสารหรือประกัน และคีย์เลขคดีที่ ส่งไปให้งานรับคาร้องคาแถลงหรอื งานคาสั่งคารอ้ ง กดปุ่มค้นหา และจดั เกบ็

๑๖ ๕. เมื่องานรบั คารอ้ งคาแถลงหรอื งานประกัน ดาเนินการเสร็จแลว้ จะสง่ สานวนคนื มางานจา่ ย สานวน ทางงานจ่ายสานวนจะนาปกสานวนมาแนบกับสานวนเพ่ือคืนสานวนให้เจ้าของ โดยโทรติดต่อนิติกร หน้าหอ้ ง หากทา่ นอยกู่ น็ าสานวนไปคนื ทา่ นเจ้าของสานวน แล้วลงในสมุดบัญชรี บั สานวนท่านในชอ่ งหมายเหตุ ว่าคนื สานวนแลว้ ๖. ลงข้อมลู ในระบบตดิ ตามสานวน หัวข้อสว่ นกลาง > ส่งสานวนคดศี าลฎีกา > ตรงชอ่ งปลาย ทางเลือก ผูพ้ ิพากษา ส่งเพ่ือ คนื สานวน และคยี เ์ ลขคดที ่ีส่งคนื ท่าน กดปุ่มค้นหา และจัดเก็บ กรณีคาร้องที่ยื่นเข้ามาประกอบการพิจารณา เมื่อได้รับคาร้องจากงานรบั คาร้องคาแถลงแลว้ ให้ลงสมุดคุมคารอ้ งไวป้ ระเภทรวมสานวนไว้ ระบุวันท่ี เลขคดดี าศาลฎีกา ชอ่ื โจทก์ จาเลย เรอื่ ง ผูร้ ับ เชค็ ความ เคลื่อนไหวของแตล่ ะเรอ่ื งวา่ ยงั อยูท่ ที่ ่านหรอื ไม่ หากสานวนไม่อย่ทู ี่แล้วใหค้ ืนคารอ้ งไป หากสานวนยังอยูท่ ท่ี า่ น ให้ประสานงานกับนิติกรหน้าห้องท่านเจ้าของสานวนว่าท่านอยู่หรือไม่ หากอยู่ ให้นาคาร้องไปเสนอให้ท่าน แล้วขอสานวนท่านเพ่ือนามาทาคาร้องรวมเข้าไว้กับสานวน และลงเลขสารบัญไว้ด้วย หากไม่ได้สานวนมาทา คาร้องรวมไว้ เมื่อท่านรบั คารอ้ งไว้แลว้ ให้ทา่ นเซน็ รับคาร้องไว้ในสมุดคุมคารอ้ งไวด้ ว้ ย เพ่อื ไว้ตรวจสอบ การลงข้อมูลระบบรายชอ่ื ท่านผูพ้ ิพากษา ๑. เข้าข้อมูลระบบ หน้าจอ setup ส่วนกลำง > ข้อมูลผู้พิพำกษำ ให้ดูข้อมูลในระบบจะ บอกวา่ รหสั ล่าสุดจากระบบ ถึงเลขท่เี ท่าไหร่ กล็ งเลขไล่เรียงกันไป -ตรงช่อง รหสั ผู้พพิ ากษา ใส่รหัส -ตรงชอ่ ง ชื่อผู้พิพากษา ใสช่ ่ือทำ่ น -ตรงชอ่ ง รหัสแทนผพู้ ิพากษา ใหใ้ สเ่ ลขรหัสเหมือนรหสั ผพู้ พิ ำกษำช่องแรก -ตรงช่อง ระดบั ตาแหนง่ ผพู้ พิ ากษา ใสต่ ำแหนง่ ท่ำน -ตรงชอ่ ง รหสั เรียงอาวุโส ใสร่ หสั เหมอื นชอ่ งแรก -ตรงชอ่ ง สถานะ เลือก อยู่ กดตรงปุ่ม จัดเกบ็ ๓. งานประชุมใหญ่ศาลฎกี า เป็นงานที่ต้องทาประจาทุกเดอื นตามตารางการประชุมใหญ่ ๓.๑ ในการดาเนินการแรกเม่ือเข้าดารงตาแหนง่ จะตรวจสอบข้อมูลคดีที่รอเข้าท่ีประชุมใหญ่ จากน้นั ทาบันทึกขอความเห็นชอบจากท่านประธานศาลฎีกาเพื่อพิจารณาว่ามีคดีใดรอเข้าท่ีประชุมใหญ่ กาหนด แนวทางการนาคดีเข้าประชุมใหญ่ ว่าควรนาคดีใดเข้าประชุมก่อนหลัง และกาหนดสัดส่วนผู้เข้าร่วมประชุม ใหญ่แต่ละคร้ังในส่วนของผู้เข้าร่วมประขุมที่เป็น รองลขานุการ ผู้กรองงาน ผู้ช่วยผู้พิพากษา ว่าควรให้เข้า ประชุมใหญใ่ นครัง้ ใดและในสัดส่วนเท่าใด สาหรับผู้ชว่ ยใหญ่จะไดเ้ ข้ารว่ มประชุมคดที ุกคร้งั ส่วนผู้ชว่ ยทา่ นอนื่

๑๗ จะหมุนเวียนกนั เข้าตามบัญชี ซึ่งจะต้องจัดทาบัญชีผ้เู ขา้ รว่ มประชุมแยกตามประเภทของการทาหน้าท่ี โดยจะ มบี ญั ชี ๔ บญั ชี คอื บัญชรี องเลขานกุ ารศาลฎกี า บญั ชผี ู้กรองงานประธานศาลฎีกา บัญชีผชู้ ว่ ยยกร่าง และบัญชี ผู้ช่วยตรวจร่าง และในกรณีมีคดขี องแผนกคดีในศาลฎีกาเขา้ ท่ีประชุม จะต้องมีเลขานุการแผนก และผู้ช่วยใน แผนกตามสัดส่วนที่ประธานเห็นสมควรเข้าเป็นผู้ร่วมประชุมด้วย จานวนผู้เข้าร่วมประชุมแต่ละบัญชีในการ ประชุมแต่ละครั้งจะมีจานวนเท่าใด ข้ึนกับจานวนท่ีน่ังในห้องประชุมใหญ่ กรณีท่ีเป็นการประชุมปกติในห้อง ประชุมเดียว แต่หากมีความจาเป็นต้องประชุมใหญ่ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์จะสามารถดาเนินการได้ ๖ ห้อง ประชุม และขยายเพิ่มได้ถึง ๑๒ ห้องประชุม ที่ความจุสูงสุดสามารถรองรับผู้เข้าร่วมประชุมได้ประมาณ ๔๐๐ คน (ตวั อยา่ งตามแนบ) ๓.๒ เม่ือทา่ นประธานศาลฎกี าโปรดมดี าริให้นาคดีใดเข้าทป่ี ระชุมใหญ่ ซองรา่ งและสานวนคดจี ะสง่ มา ท่ีเลขานุการศาลฎีกา และเลขานุการศาลฎีกาจะมอบให้รองเลขานุการศาลฎีกา ตรวจสานวนและร่าง และ ประสานงานกับผู้ช่วยใหญ่ในคดีนั้น เพื่อเสนอกาหนดประเด็นท่ีจะวินิจฉัยให้ท่านประธานศาลฎีกาเห็นชอบ และทาบนั ทกึ เสนอขอความเห็นชอบในข้อความทจี่ ะใชเ้ ปน็ ประเดน็ ทีจ่ ะวนิ ิจฉัยในคดีนน้ั เม่ือท่านประธานศาล ฎีกาเห็นชอบแล้ว จึงส่งสานวนคืนส่วนนิติการและงานประชุมเพื่อส่งให้ผู้ช่วยตรวจจัดทาหัวข้อประชุมใหญ่ นอกจากน้ีส่วนนิติการและงานประชุมจะทาบันทึกเสนอต้ังบุคคลเป็นคณะทางานเพื่อศึกษาทฤษฎีและหลัก กฎหมายของคดีเร่ืองดังกล่าว ต่อเลขานุการศาลฎีกาเพ่ือนาเสนอท่านประธานศาลฎีกาพิจารณาบุคคลและ ออกคาส่ังตั้งคณะทางานต่อไป ๓.๓ เมื่อได้มีการจัดทาร่างเล่มหัวข้อประชุมใหญ่เสร็จส้ิน ส่วนนิติการและงานประชุมจะนาร่างเล่ม หัวข้อประชุมใหญ่เสนอรองเลขานุการเพื่อพิจารณาเสนอเลขานุการเพื่อคาความเห็นเสนอท่านประธานศาล ฎกี าใหค้ วามเหน็ ชอบใหผ้ ลติ เลม่ หัวข้อประชุมใหญ่ หรือแก้ไขหวั ข้อประชมุ ใหญใ่ นบางกรณี และหากมีเอกสาร ที่ต้องผลิตเป็นจานวนเกิน ๑๐๐ หน้า ก็จะเสนอขอความเห็นชอบในการจัดทาเอกสารบางส่วนในรูปของส่ือ อิเล็กทรอนิกส์ลงแผ่น ซีดี แทนการผลิตกระดาษ (ส่วนท่ีจะทาเป็นซีดี คือส่วนเอกสารประกอบ เช่น คา พิพากษาศาลฎกี าที่เกี่ยวข้อง คาพพิ ากษาศาลชัน้ ตน้ และช้นั อุทธรณ)์ สาหรบั ผลการศึกษาของคณะทางานเพื่อ ศึกษาทฤษฎีและหลักกฎหมายฯ จะทาเป็นเลม่ ต่างหากโดยเสนอเป็นเอกสารประกอบการประชมุ ๓.๔ การขออนุมัติผู้เข้าร่วมประชุมและการส่งหนังสือเชิญประชุม ก่อนวันประชุมใหญ่ประมาณ ๑๐ วัน ส่วนนิติการและงานประชุมจะเสนอบันทึกผ่านเลขานุการศาลฎีกา เพื่อเสนอวาระการประชุม และขอ อนุมัติผู้เข้ารว่ มประชุม โดยเสนอตามสดั ส่วนบัญชที ี่ไดก้ าหนดไว้ เมื่อท่านประธานศาลฎีกาอนมุ ตั ิแล้ว ส่วนนติ ิ การและงานประชุมจะจดั ทาหนงั สือเชิญประชมุ เสนอเลขานกุ ารลงนามเพอ่ื ส่งแก่ผู้เข้าประชุมก่อนวนั ประชมุ ไม่ นอ้ ยกวา่ ๗ วัน ๓.๕ การเตรียมความพร้อมในการประชุมใหญ่ ก่อนวันประชุมใหญ่ ๑ วัน จะต้องมีการทดสอบระบบ การทางานของไฟฟ้าและเครื่องเสียงในห้องประชุมใหญ่ หรือในกรณีเป็นการประชุมผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์ จะต้องทดสอบระบบการส่งสัญญาณภาพและเสียงในห้องประชุมทุกห้อง ตรวจความพร้อมของห้องรับรอง ผบู้ รหิ าร ความพรอ้ มของอาหารและเครือ่ งด่ืมในการประชุม

๑๘ ๓.๖ ในวันประชุมใหญ่ เวลา ๘.๓๐ นาฬิกา จะนัดหมายคณะทางานเพื่อศึกษาทฤษฎีและหลัก กฎหมายฯ มาพบทา่ นประธานศาลฎกี าเพ่อื กราบเรยี นสรปุ ประเด็นการพจิ ารณาหัวขอ้ ประชุมใหญ่ ๓.๗ เมื่อเสร็จส้นิ การประชุมใหญ่ ๑ วัน ส่วนนิตกิ ารจะทาบนั ทึกสรุปการประชมุ และสรุปมตทิ ป่ี ระชุม ใหญ่ ผ่านรองเลขานุการ เพ่ือให้เลขานุการเสนอท่านประธานศาลฎีกาเพื่อทราบมติ และหลังจากน้ันประมาณ ๒ สัปดาห์ ส่วนนิติการและงานประชุมจะทารายงานการประชุมใหญ่ ผ่านรองเลขานุการ เพ่ือให้เลขานุการ เสนอทา่ นประธานศาลฎีกา ๓.๘ มีการปรับปรงุ ข้อบังคบั การประชุมใหญ่ใหม้ ีความเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาวการณ์ปจั จบุ นั เช่น เพิ่มการตั้งคณะทางานเพ่ือพิจารณาทฤษฎีและหลักกฎหมาย การประชุมใหญ่ผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์ เปน็ ตน้ ๓.๙ ได้เสนอโครงการจัดหาเคร่ืองคอมพิวเตอร์แบบพกพา (แทบเล็ต) เพ่ือบรรจุข้อมูลวาระและ เอกสารการประชมุ ใหญแ่ ทนการส่งเอกสารในแบบกระดาษ ๓.๑๐ จดั วางระบบการสือ่ สารระหวา่ งประธานและเลขานกุ าร ในหอ้ งประชุมใหญผ่ า่ นระบบโปรแกรม รับส่งข้อความ โดยใช้คอมพิวเตอร์โน้ตบ๊กุ เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการส่งรายชื่อผู้อภิปราย การนับคะแนน ฯลฯ โดยเฉพาะในการประชมุ ใหญผ่ า่ นสอ่ื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ๔. งานประชุมคณะกรรมการวนิ ิจฉัยชี้ขาดอานาจหนา้ ทร่ี ะหวา่ งศาล ตามพระราชบญั ญัติว่าด้วยการวินจิ ฉัยชีข้ าดอานาจหนา้ ท่รี ะหว่างศาล พ.ศ.๒๕๔๒ มปี ระธานศาลฎกี า เปน็ ประธาน เลขานุการศาลฎกี า เปน็ เลขานกุ าร มกี ารประชมุ เดอื นละ ๑ คร้งั ทกุ วันพฤหัสบดีของสัปดาหท์ ี่ ๓ เวลา ๑๓.๓๐ น. มีสานักงานเลขานุการณคณะกรรมการฯ เปน็ ฝา่ ยเลขานกุ าร ๔.๑ เม่ือมีเรื่องที่ต้องวินิจฉัยเข้าสู่สานักงานฯ ทางสานักงานฯจะเสนอเลขานุการศาลฎีกาเพ่ือจ่าย สานวนให้ผู้ช่วยผู้พิพากษาศาลฎีกาท่ีจะทาหน้าท่ีผู้ช่วยเลขานุการในที่ประชุม ปกติจะมี ๒ ท่าน คือ ท่านคิด งาม และท่านธนิศรา เม่ือท่านคิดงามหรือท่านธนิศราทาความเห็นเสร็จแล้วจะเสนอร่างความเห็นต่อรอง เลขานุการ และเลขานุการเพื่อลงนามกากับให้ความเห็นชอบในการนาเข้าที่ประชุม นอกจากน้ีท่านประธาน อาจมีคาส่ังตงั้ คณะทางานเพื่อชว่ ยเลขานกุ ารในการดาเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งหรือช่วยเปน็ ผู้ช่วยเลขานกุ าร ในที่ประชุมในกรณีท่ีท่านคิดงามหรือท่านธนิศราไม่สามารถเขา้ ประชุมในคร้ังนน้ั ๆ ได้ เช่น มีกรณีทา่ นธนิศรา ลาคลอดบุตร จึงใหร้ องเลขานุการหรอื ท่านชินวัตรเป็นผู้ช่วยเลขานกุ าร (ตวั อยา่ งตามแนบ) ๔.๒ ก่อนการประชุมประมาณ ๒ สัปดาห์ สานักงานฯจะเสนอคาส่ังแต่งต้ังผู้ช่วยเลขานุการในการ ประชมุ ใหท้ า่ นประธานลงนามแตง่ ต้ังเปน็ รายครง้ั ไป และสานกั งานฯจะจดั ทาวาระการประชมุ เสนอเลขานุการ เพอื่ ลงนามสง่ ให้คณะกรรมการ ปกติจะมเี รอื่ งพิจารณาครั้งละ ๘ ถงึ ๑๒ เรอื่ ง

๑๙ ๔.๓ ก่อนวันประชมุ ๑ วัน หากเปน็ การประชมุ ผา่ นสอ่ื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ สานักงานฯจะทดสอบระบบการ ประชมุ ใหเ้ รยี บร้อย ๔.๔ เม่ือถึงวันประชุม ช่วงเช้าเวลาประมาณ ๑๐.๓๐ น. เลขานุการและผู้ช่วยเลขานุการจะไปกราบ เรยี นสรปุ ประเด็นท่จี ะพิจารณาในทปี่ ระชมุ ให้ท่านประธานทราบ ๔.๕ หลังจากการประชุมประมาณ ๒ ถึง ๕ วัน สานักงานฯจะเสนอหนังสือแจ้งคาวินิจฉัยแต่ละเร่ือง ให้ทา่ นเลขานกุ ารลงนามไปยงั หน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ ง ๔.๖ งานอนื่ ๆ เชน่ การพจิ ารณาโครงการจดั อบรม สัมมนาตา่ ง ๆ การตรวจย่อคาวินจิ ฉยั การเผยแพร่ คาวนิ ิจฉัยทาง info graphic สานักงานฯจะเสนอเพ่ือพจิ ารณาประมาณ สปั ดาหล์ ะครั้ง ๕. การบรหิ ารงานบุคคล เจ้าหน้าที่ธรุ การ ศาลฎีกาแบ่งการบริหารงานบคุ คลในงานธรุ การออกเป็น ๑๓ ส่วนงาน โดยมีผู้อานวยการประจาศาล ฎกี าเป็นผูร้ ับผิดชอบภายใตก้ ารควบคมุ นโยบายโดยเลขานุการศาลฎกี า การดาเนินงานของงานบริหารบคุ คลของฝ่ายเลขานุการศาลฎีกา มีดังนี้

๒๐ ๕.๑ การประชุมระหว่างเลขานกุ ารศาลกับผอู้ านวยการฯและหัวหนา้ ส่วนงานตา่ ง ๆ ทุกเดือนเพื่อรบั ฟัง ปัญหา update งาน แก้ไขปัญหาระบบงานต่าง ๆ และถ่ายทอดนโยบาย ประชุมแต่ละส่วนงานเพื่อทราบ ปญั หาและแนวทางแก้ไขจากเจ้าหนา้ ทผี่ ู้ปฏิบัติงาน ๕.๒ จัดทาระบบทรัพยากรบุคคล หรือ HR (Human Resource) ของศาลฎีกา จัดทาฐานข้อมูลส่วน บุคคลของเจ้าหน้าท่ีทุกคนในศาลในรูปเอกสารและfile โดยให้ส่วนช่วยอานวยการรับผิดชอบ เพ่ือใช้กรณีท่ี ต้องการบุคคลกรให้ตรงกับงาน ๕.๓ วางแผนการทางานในแต่ละไตรมาสให้ตรงตามที่สานักงานศาลกาหนด และนโยบายประธานศาล ฎกี า ๕.๔ ปรับระบบงานสนบั สนุนเลขานกุ าร ให้งานเลขารวมรวมคาสัง่ ระเบียบ และคาแนะนาของประธาน ศาลฎีกา ท้งั ในรปู แฟม้ เอกสารและ File electronic ๕.๕ สลับสับเปล่ียนเจ้าหน้าที่ให้เหมาะสมกับงานและเพ่ิมประสิทธภิ าพการทางานตลอดจนให้สัมพันธ์ กบั ปริมาณงาน ๖. งานพสั ดุ อาคาร สถานที่ หน้าที่ของส่วนพัสดุ ส่วนพัสดมุ ีหน้าท่ีหลักเก่ยี วกับงานจัดหาพสั ดุ งานบริหารสญั ญา งานควบคุมพัสดุ งานดา้ นการจัดการ อาคารสถานท่ีท้ังหมด ตลอดจนการใช้งานยานพาหนะของทางราชการ ปฏิบัติงานภายใต้พระราชบัญญัตกิ าร จดั ซ้อื จัดจ้างและการบรหิ ารพัสดุภาครฐั พ.ศ. ๒๕๖๐ กฎกระทรวงทอี่ อกตามพระราชบัญญตั กิ ารจดั ซอ้ื จดั จ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ และระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการ บริหารพัสดภุ าครฐั พ.ศ. ๒๕๖๐ ๑. งานจัดหาพัสดุ ได้แก่ การจัดหาสินค้า งานบริการ งานจ้างก่อสร้าง งานจ้างที่ปรึกษา งานจ้าง ออกแบบหรอื ควบคมุ งานก่อสร้าง และการดาเนินการอนื่ ตามทก่ี าหนดในกฎกระทรวง ๒. งานบริหารสัญญา ไดแ้ ก่การจดั ทาแผนงาน/โครงการ จัดทาสญั ญา บรหิ ารสัญญาหรือข้อตกลง การ งดหรือลดค่าปรับให้แกค่ ู่สัญญา การบอกเลกิ สัญญาหรอื ข้อตกลง การคนื หลกั ประกันสญั ญา ๓. งานควบคุมพัสดุ ได้แก่ การจัดทาแผนงาน/โครงการ จัดทาทะเบียนทรัพย์สินของทางราชการ ลงบญั ชีวสั ดุ การตรวจสอบพสั ดุประจาปี และการจาหนา่ ยพสั ดุ ๔. งานด้านอาคารสถานที่ ได้แก่งานดูแล จัดการ ซ่อมบารุงรกั ษาเกี่ยวกับอาคารสถานท่ขี องศาลฎีกา ทงั้ หมด ตลอดจนการเตรียมการดา้ นอาคารสถานทใี่ นการจัดกิจกรรมของศาลฎีกา ๕. งานยานพาหนะ ไดแ้ กก่ ารควบคมุ ดูแลการใชร้ ถยนตส์ ว่ นกลางของศาลฎีกา

๒๑ การดาเนนิ งานต้ังแตว่ นั ท่ี ๑ ตุลาคม ๒๕๖๓ ๑. งานเร่งรัดการแก้ไขเหตุชารุดบกพร่องจากงานก่อสร้างอาคารที่ทาการศาลฎีกาและอาคารศาล ยุติธรรม สานักงานศาลยุติธรรมได้ทาสัญญาจ้าง บริษัท ซิโน –ไทย เอ็นจีเนียร่ิง แอนด์ คอน-สตรัคช่ัน จากัด (มหาชน) เปน็ ผ้รู บั จา้ งก่อสร้างอาคารท่ที าการศาลฎีกา คณะกรรมการตรวจการจา้ งไดต้ รวจ รับงานงวดสุดท้าย เมื่อวันท่ี ๔ กันยายน ๒๕๖๒ รวมใช้ระยะเวลาก่อสร้างจานวน ๒,๔๓๗ วัน เบิกจ่ายค่า ก่อสรา้ งทงั้ หมดเปน็ เงนิ จานวน ๓,๔๘๖,๓๗๕,๙๐๐ บาท (สามพันสี่รอ้ ยแปดสิบหกลา้ นสามแสนเจ็ดหมนื่ หา้ พนั เก้าร้อยบาทถว้ น) กาหนดระยะเวลารับประกันความชารุดบกพร่องของงานจ้างเป็นเวลา ๒ ปี นับถัดจากวันท่ี ได้รับมอบงาน ดังนั้น จึงครบกาหนดระยะเวลาของการรับประกันความชารุดบกพร่องในวันที่ ๔ กันยายน ๒๕๖๔ ซ่ึงก่อนที่ได้รบั มอบหมายให้ดแู ลงานด้านพัสดุ มีรายงานเหตุชารุดบกพร่องหรือความเสียหายท่ีเกดิ ขน้ึ ของงานกอ่ สรา้ ง ณ วันท่ี ๑ ตลุ าคม ๒๕๖๓ รวมจานวน ๗๓๗ รายการ โดยมกี ารจดั ประชุมอย่างน้อยเดอื นละ ๑ ครั้ง เพ่ือติดตามและเร่งรัดงานแก้ไขแหตชุ ารุดบกพร่องมาโดยตลอด และเชิญผู้เก่ียวขอ้ งมาประชมุ รว่ มกัน ดงั ต่อไปน้ี ๑. ผู้แทนบรษิ ทั ซิโน–ไทย เอ็นจเี นยี รง่ิ แอนด์ คอนสตรัคช่ัน จากัด (มหาชน) ๒. ผ้แู ทนกิจการร่วมคา้ พพี ีควิ ๓. ผแู้ ทนส่วนงานพัสดุ ๔. ผู้แทนบริษทั ซงึ่ เป็นผรู้ บั จ้างเหมาระบบวิศวกรรมอาคารศาลฎกี า รวมมีการประชุมถึงปัจจุบันจานวน ๑๕ ครั้ง ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาได้มีการสารวจเหตุชารุดบกพร่อง เพมิ่ เตมิ โดยใหเ้ จา้ ของหอ้ งทางานผ้ใู ชง้ านไดแ้ จ้ง รวมทั้งการสารวจของทีมงานพัสดุ โดยมีงานแจ้งซ่อมเพมิ่ เตมิ มาโดยตลอด เมื่อวันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ศาลฎีกาได้มีหนังสือแจ้งบริษัทผู้รับจ้างก่อนการครบกาหนด ระยะเวลาประกนั มงี านคา้ งคงเหลือจานวน ๓๘๐ รายการ ซงึ่ ณ วันท่ี ๒๓ สิงหาคม ๒๕๖๔ ไดแ้ ก้ไขแล้วเสรจ็ อกี จานวน ๑๘๘ รายการ คงเหลือจานวน ๑๔๖ รายการ โดยผู้รับจ้างแจ้งว่ามีงานไม่อยู่ในความรับผิดชอบ ๔๖ รายการ และเมื่อวันที่ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๖๔ ศาลฎีกาได้มีหนังสือแจ้งบริษัทผู้รับจ้างก่อนการครบกาหนด ระยะเวลาประกันอีกครั้ง เพื่อเร่งรัดให้ผู้รับจ้างดาเนินการแก้ไขเหตุชารุดบกพร่องอีกจานวน ๑๓๑ รายการ ซ่ึงได้รับแจ้งจากผู้แทนบริษัท ซิโน–ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จากัด (มหาชน) ผู้รับจ้างว่าจะ สามารถดาเนนิ การแก้ไขงานชารุดบกพร่องใหแ้ ล้วเสรจ็ ภายในกลางเดือนกันยายน ๒๕๖๔ ๒. งานเรง่ รดั การแก้ไขเหตุชารดุ บกพร่องจากงานปรบั ปรุงอาคารศาลยุตธิ รรม สานักงานศาลยุติธรรมได้ทาสัญญาจ้างบริษัท ออกัสท์ เดคอเรชั่น จากัด เป็นผู้รับจ้างปรับปรุง อาคารศาลยุตธิ รรม (ศาลฎกี าเดมิ ) พรอ้ มสง่ิ กอ่ สร้างประกอบ เปน็ เงิน ๑๘๑,๔๖๐,๐๐๐ บาท(หน่ึงร้อยแปดสบิ เอ็ดล้านสี่แสนหกหม่ืนบาทถ้วน) คณะกรรมการตรวจการจ้างไดต้ รวจรบั งานงวดสุดท้าย เมื่อวันที่ ๔ กันยายน ๒๕๖๒ กาหนดระยะเวลารับประกันความชารุดบกพร่องของงานจ้าง เป็นเวลา ๒ ปี นับถัดจากวันที่ได้รับ มอบงาน ดังน้ัน จึงครบกาหนดระยะเวลาของการรับประกันความชารุดบกพร่องในวันท่ี ๔ กันยายน ๒๕๖๔

๒๒ โดยได้จัดการประชุมอย่างน้อยเดือนละ ๑ คร้ัง ในคราวเดียวกับการประชุมเร่งรัดงานแก้ไขเหตุความชารุด บกพร่องของศาลฎีกา และเชิญผู้เก่ียวข้องมาประชุมร่วมกัน ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาได้มีการสารวจเหตุชารดุ บกพร่องเพิ่มเติม โดยให้เจ้าของห้องทางานผู้ใช้งานได้แจ้ง รวมทั้งการสารวจของทีมงานพัสดุ โดยมีงานแจ้งซ่อม เพ่ิมเติมมาโดยตลอด เมื่อวันท่ี ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ศาลฎีกาได้มีหนังสือแจ้งบริษัทผู้รับจ้างก่อนการครบ กาหนดระยะเวลาประกัน มีงานค้างคงเหลือจานวน ๔๓ รายการ ซึ่ง ณ วันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๖๔ ได้แก้ไข แล้วเสร็จอีกจานวน ๒๖ รายการ คงเหลือจานวน ๑๗ รายการ และจากการสอบถามงานชารุดบกพร่องของ อาคารศาลยุติธรรม พบว่ามีงานชารุดบกพร่องเพ่ิมข้ึนหลายรายการ ศาลฎีกาได้มีหนังสือแจ้งบริษัทผู้รับจ้าง เมื่อวันที่ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๖๔ ก่อนการครบกาหนดระยะเวลาประกันอีกครั้ง เพ่ือเร่งให้ผู้รับจ้างดาเนินการ แก้ไขเหตุชารุดบกพร่องอีกจานวน ๓๒ รายการ ซ่ึงได้รับแจ้งจากผู้แทนบริษัทออกัสท์ เดคอเรชั่น จากัด ว่าจะ สามารถดาเนนิ การแกไ้ ขงานชารุดบกพร่องใหแ้ ล้วเสร็จภายในเดอื นกลางกันยายน ๒๕๖๔ ๓. งานประชุมติดตามการปฏิบตั ิงานของส่วนพัสดุ ได้กาหนดให้มีการประชุมระหว่างส่วนพัสดุและงานยานพาหนะเพื่อติดตามงานโครงการ รวมท้ังการบริหารงานพัสดุต่างๆ อย่างน้อย ๑ คร้ังต่อเดือน โดยมีหัวหน้าส่วนพัสดุ หัวหน้าหมวดยานพาหนะ และผู้แทนเจา้ หน้าท่ีงานพสั ดุ ผแู้ ทนพนกั งานขบั รถยนตเ์ ข้ารว่ มประชุม เพ่ือใหง้ านต่างๆสาเรจ็ ลุลว่ งไปดว้ ยดี ๔. รับแจง้ ขอ้ ขัดขอ้ งในการใช้งานอาคาร กรณีได้รับแจ้งเหตุหรือข้อขัดข้องเก่ียวกับห้องทางานของข้าราชการตุลาการ หรือส่วนงาน ธุรการ ทีมงานพัสดุจะไปท่ีห้องทางานของผู้แจ้งในโอกาสแรกเพื่อสารวจและดาเนินการแก้ไขเหตุขัดข้อง โดยเรว็ และจดั ให้มกี ารต้งั กลุม่ แอปพลเิ คชัน LINE เพ่ือเปน็ ชอ่ งทางให้ผใู้ ช้งานอาคารได้แจง้ เหตุขดั ขอ้ งการใช้ งานอาคารหรอื คุรภุ ัณฑ์ต่างๆ ไดต้ ลอดเวลา ๕. งานจัดเตรยี มอาคารสถานทร่ี องรับภารกิจหรือกจิ กรรมของศาลฎีกาและสานักประธานศาลฎกี า กรณีศาลฎีกาหรือสานักประธานศาลฎีกามีกิจกรรม หรือกรณีมีผู้เข้าเยี่ยมชมศึกษาดูงานศาล ฎีกา จะประชุมร่วมกับ ผอ.ศาลฯ ส่วนพัสดุ ผู้แทนเจ้าพนักงานตารวจศาล ผู้แทนเจ้าหน้าที่รักษาความ ปลอดภัยเพ่ือเตรียมการเก่ียวกับการจัดสถานท่ี ทาผังบริเวณกิจกรรม จัดที่จอดรถ ตลอดจนดูแลความ เรียบร้อยดา้ นอาคารสถานที่จนเสร็จสิ้นภารกจิ ๖. งานจัดเตรียมสถานท่ีจอดรถและการออกบัตรอนญุ าตใหจ้ อดรถยนต์ภายในศาลฎกี า ปัจจุบันศาลฎีกาได้กาหนดให้บุคลากรท้ังหมดจอดรถ ณ บริเวณลานจอดรถชัน้ ใต้ดินของศาล ฎีกา โดยได้กาหนดชอ่ งสาหรับจอดรถสาหรับผู้บริหารเปน็ การเฉพาะ และไดจ้ ัดทาบัตรอนุญาตจอดรถประจาปี แบ่งออกเป็น ๓ ประเภท ได้แก่ บัตรสีเหลืองสาหรับข้าราชการตุลาการ บัตรสีฟ้าสาหรับข้าราชการศาล ยตุ ธิ รรมและลูกจ้าง และบัตรสีเขยี วสาหรบั บคุ คลภายนอกผ้มู าติดตอ่ ราชการท่ศี าลฎีกาเป็นประจา ๗. งานดแู ลรา้ นคา้ ภายในศนู ยอ์ าหารสวัสดิการของศาลฎีกา

๒๓ ปจั จุบันศูนย์อาหารสวสั ดกิ ารศาลฎกี าดาเนนิ การภายใตค้ ณะทางานศูนย์อาหารสวัสดิการศาล ฎีกา เปดิ ใหผ้ ูป้ ระกอบการทีไ่ ด้รบั การคดั เลอื กเขา้ ดาเนินการจาหนา่ ยอาหารจานวน ๔ รา้ น จาหนา่ ยเคร่ืองดมื่ จานวน ๒ ร้าน ซ่ึงปัจจุบันสัญญาเช่าร้านค้าได้สิ้นสุดลงแล้วและอยู่ระหว่างการดาเนินการคัดเลือก ผู้ประกอบการรายใหม่ แตเ่ นอ่ื งจากสถานการณ์โรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ จึงไดเ้ ล่ือนกาหนดการคัดเลือก ออกไป และคาดว่าจะดาเนินการคัดเลือกร้านค้าใหม่ประมาณช่วงต้นเดือนกันยายน ๒๕๖๔ นอกจากนั้น คณะทางานฯ ยังมีหน้าที่ดาเนินการบริหารจัดการศูนย์อาหารให้มีสภาพแวดล้อมที่ดี ถูกหลักอนามัย กาหนด ควบคุมราคาอาหารเพื่อเป็นสวัสดิการแก่ผู้ใช้บริการ รวมท้ังจัดหาวัสดุอุปกรณ์มาอานวยความสะดวกให้ศูนย์ อาหารมีความสะอาดปลอดภยั เป็นประโยชน์สูงสดุ แกผ่ ู้ใชบ้ รกิ าร ๘. งานเตรยี มการล่วงหน้ากรณีท่กี ารรับประกันความชารุดบกพร่องของการกอ่ สรา้ งศาลฎีกาสิ้นสดุ ลง ปัจจุบันนอกเหนอื จากการดูแลและซอ่ มบารุงงานระบบต่าง ๆ ของศาลฎกี าจากบรษิ ทั ผ้รู ับจ้างก่อสรา้ งอาคาร ท่ีทาการศาลฎีกาภายในกาหนดระยะเวลารับประกันแล้ว ศาลฎีกาได้ทาสัญญาจ้างเหมาดูแลระบบวิศวกรรม อาคาร โดยมีพนักงานของบริษัททาหน้าที่ควบคุมกากับดูแลการซ่อมบารุงทั้งหมด แต่เมื่อสัญญารับประกัน ความชารุดบกพร่องสิ้นสุดลง ศาลฎีกามีความจาเป็นต้องจ้างบริษัทเจ้าของผลิตภัณฑ์มาบารุงรักษาอุปกรณ์ ระบบประกอบอาคารโดยตรง เช่น การดูแลลิฟต์โดยสาร ระบบปรับอากาศ ระบบสายสัญญาณคอมพิวเตอร์ เป็นต้น ซ่ึงปจั จบุ นั อยรู่ ะหวา่ งมหี นังสอื แจ้งไปยงั สานกั บริหารงานออกแบบและก่อสร้าง สานกั งานศาลยตุ ธิ รรม เพ่อื จัดทาร่างขอบเขตงานของการดแู ลบารุงรักษาระบบดังกลา่ วขา้ งต้น ๗. ส่วนเจ้าพนกั งานตารวจศาล เจ้าหนา้ ที่รกั ษาความปลอดภยั ๗.๑ ส่วนเจ้าพนักงานตารวจศาล หนา้ ท่ีและอานาจของเจ้าพนกั งานตารวจศาล สาหรับงานรักษาความสงบเรียบร้อยและรักษาความปลอดภัย รวมถึงการป้องกันและ ปราบปรามการกระทาความผิดอยู่ในหนา้ ท่ีความรบั ผิดชอบของส่วนเจา้ พนักงานตารวจศาล นั้น เจ้าพนักงาน ตารวจศาลมีหน้าท่ีและอานาจ ตามพระราชบัญญัติเจ้าพนกั งานตารวจศาล พ.ศ ๒๕๖๒ ดังนี้ ๑. รกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ยและรักษาความปลอดภยั บคุ คลและทรพั ย์สนิ ในบริเวณศาล ๒. ดาเนินการป้องกันและปราบปรามการกระทาความผิดในบริเวณศาล ๓. รกั ษาความปลอดภยั และคมุ้ ครองขา้ ราชการฝ่ายตลุ าการศาลยตุ ธิ รรม ตามกฎหมายวา่ ดว้ ย ระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม พนักงานและลูกจ้างของศาลและสานักงานศาลยุติธรรม ซ่ึง กระทาการตามหน้าที่ หรือเพราะเหตุท่ีจะกระทา หรือได้กระทาการตามหน้าท่ี รวมทั้งอาคาร สถานที่ และ ทรัพยส์ ินของศาลและสานักงานศาลยตุ ิธรรม

๒๔ ๔. ปฏิบัติตามคาสั่งศาลในการแจ้งให้พนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจจับผู้ต้องหา หรือจาเลยท่ีได้รับการปล่อยช่ัวคราวโดยศาลแล้วหนีหรือจะหลบหนี หรือถ้ามีเหตุจาเป็นท่ีไม่สามารถ ขอความช่วยเหลือพนกั งานฝา่ ยปกครองหรอื ตารวจได้ทนั ท่วงที กใ็ หม้ อี านาจจับผูต้ อ้ งหาหรอื จาเลยน้นั ได้ และ เมอื่ จบั ไดแ้ ล้วให้นาผถู้ กู จบั ไปยังศาลโดยเรว็ ๕. เมื่อศาลได้ออกหมายจับผู้ท่ีไม่ปฏิบัติตามหมายเรียกหรือคาส่ังศาล ให้ศาลมีคาส่ังต้ัง เจ้าพนักงานตารวจศาลเป็นผู้จัดการตามหมายจับ และหากศาลเห็นสมควร ศาลอาจให้พนักงาน ฝ่ายปกครองหรอื ตารวจเปน็ ผู้จดั การตามหมายจบั ด้วย โดยมีเจ้าพนกั งานตารวจศาลเปน็ ผู้สนบั สนนุ นอกจากน้ี เจ้าพนักงานตารวจศาลยังมีหน้าที่ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานอื่นเกี่ยวข้อง หรือตามท่ีได้รับมอบหมายจากผู้บริหารศาลฎีกา รวมถึงควบคุม กากับ ดูแล ตรวจสอบ สั่งการ การปฏบิ ตั หิ น้าทีร่ กั ษาความปลอดภัย ชีแ้ จงภารกจิ ประจาวัน และตรวจสอบจุดรักษาการณ์ ของเจ้าหนา้ ท่รี ักษาความปลอดภัยดว้ ย การดาเนนิ งานตั้งแตว่ นั ท่ี ๑ ตลุ าคม ๒๕๖๓ ในระยะเวลาทีผ่ ่านมา ไดม้ อบหมายใหส้ ่วนเจา้ พนักงานตารวจศาลดาเนนิ การตามภารกิจ ดังน้ี ๑. ศาลฎีกาได้มีคาสั่งศาลฎีกาที่ ๑๕/๒๕๖๔ เรื่อง แต่งตั้งคณะทางานบริหารจัดการ ระบบรักษาความปลอดภัยของศาลฎีกา ลงวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ เพื่อบริหารจัดการระบบรักษาความ ปลอดภัยและปอ้ งกันเหตรุ า้ ยหรอื เหตุฉุกเฉิน ๒. คณะทางานบริหารจัดการระบบรักษาความปลอดภัยของศาลฎีกา ได้ดาเนินการจดั ทาแผน รักษาความปลอดภัยและป้องกันสาธารณภัยศาลฎีกา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔ เพ่ือกาหนดเป็นมาตรการ รักษาความปลอดภัยและป้องกันเหตุร้ายหรือเหตุฉุกเฉินท่ีอาจสร้างความเสียหายต่ออาคาร สถานท่ี รวมทั้ง ทรัพย์สนิ ของทางราชการ ๓. เนื่องจากส่วนเจ้าพนักงานตารวจศาลเป็นส่วนงานท่ีมีการประกาศแบ่งส่วนราชการภายใน ข้ึนใหม่ มีบุคลากรในส่วนเจา้ พนักงานตารวจศาล จานวน ๖ คน ซึ่งยังไมม่ ีการมอบหมายหน้าที่แตล่ ะคนอยา่ ง ชัดเจน จึงได้มอบหมายหวั หนา้ ส่วนเจ้าพนกั งานตารวจศาลจัดทาบนั ทึกมอบหมายงานของเจ้าพนักงานตารวจ ศาลแตล่ ะคน ตามบนั ทกึ ขอ้ ความส่วนเจ้าพนกั งานตารวจศาล ฉบบั ลงวนั ที่ ๑๗ มนี าคม ๒๕๖๔ ๔. มอบหมายให้เจ้าพนักงานตารวจศาลปฏิบัติหน้าที่อานวยความสะดวกด้านการจราจร บริเวณประตู ๒ และประตู ๓ (ถนนราชดาเนินใน) เป็นประจาทุกวันทาการตั้งแต่เวลา ๐๗.๓๐ – ๐๙.๐๐ นาฬิกา ๕. มีเหตุการณ์ความไม่สงบเรียบร้อยเกิดขึ้นภายในศาลฎีกา จานวน ๑ เหตุการณ์ กล่าวคือ เม่ือวันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๖๓ เวลาประมาณ ๒๑.๕๐ นาฬิกา นายสัญญา พันธ์เกตุ ได้ปีนร้ัวเพื่อจะเข้ามา ภายในศาลฎีกา แต่ถูกเจ้าหน้าท่ีรักษาความปลอดภัยควบคุมตัวได้ก่อนจึงได้มอบหมายให้ผู้อานวยการสานัก อานวยการประจาศาลฎีกาไปร้องทุกขก์ ล่าวโทษนายสัญญา พันธ์เกตุ ต่อพนักงานสอบสวน สถานีตารวจนคร

๒๕ บาลชนะสงคราม ข้อหาบุกรุกเคหสถานในเวลากลางคืน ปัจจุบันศาลอาญาได้มีคาพิพากษาแล้วเป็นคดี หมายเลขแดงที่ อ. ๒๗๒/๒๕๖๔ พิพากษาว่า จาเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๖๕ (๓) ประกอบมาตรา ๓๖๒, ๓๖๔ จาคุก ๖ เดือน จาเลยให้การรับสารภาพ เป็นประโยชน์แก่การพิจารณา มีเหตุ บรรเทาโทษ ลดโทษใหก้ ่งึ หนึ่ง ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๗๘ คงจาคุก ๓ เดอื น ๖. ส่วนเหตุการณ์การชุมนุมต่าง ๆ น้ัน ได้มีการชุมนุมของมวลชนกลุ่มต่าง ๆ บริเวณ ถนนราชดาเนนิ ใน ซงึ่ เป็นพนื้ ที่ใกลเ้ คยี งศาลฎีกา จานวน ๔ คร้งั กล่าวคือ ครั้งที่ ๑ วันเสาร์ที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ คณะราษฎรนัดชุมนุมใหญ่เพื่อขอความ เปน็ ธรรมและเรยี กร้องสทิ ธทิ างการเมอื ง รวมถึงต่อต้านการปฏบิ ัติหนา้ ทรี่ าชการของรัฐบาล คร้ังที่ ๒ วันเสาร์ท่ี ๒๐ มีนาคม ๒๕๖๔ กลุ่มมวลชน REDEM ได้นัดชุมนุมใหญ่ เพื่อแสดงพลังของประชาชน ในการชุมนุมครั้งน้ี กลุ่มมวลชนได้ใช้สีสเปรย์ฉีดพ่นพระบรมฉายาลักษณ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๑๐) และทาลายซุ้มพระบรมฉายาลักษณ์ได้รับความเสียหาย ภายหลังสถานการณ์ชุมนุมได้ยุติลง เจ้าหน้าท่ีตารวจได้อัญเชิญพระบรมฉายาลักษณ์ลงและมอบให้ ศาลฎีกาเก็บรักษาพระบรมฉายาลักษณ์ไว้ ปัจจุบันศาลฎีกาได้มอบพระบรมฉายาลักษณ์องค์ดังกล่าวแก่ พนักงานสอบสวน สถานีตารวจนครบาลชนะสงคราม เพ่ือประกอบสานวนการสอบสวนดาเนินคดีอาญาแก่ ผูก้ ระทาความผิดตามกฎหมายตอ่ ไป ครั้งท่ี ๓ วันเสารท์ ี่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๖๔ และวันอาทิตย์ท่ี ๒๘ มีนาคม ๒๕๖๔ กลุ่มพลเมืองโต้ กลับ (Resistant Citizen) ได้นดั จดั กจิ กรรมเชิงสัญลักษณ์บรเิ วณหน้าศาลฎกี า โดยใชช้ ่ือกิจกรรมวา่ “ยืน หยดุ ขัง” ลักษณะการจัดกิจกรรมเปน็ การยืนถือปา้ ยข้อความด้วยถ้อยคาต่าง ๆ เป็นเวลา ๑๑๒ นาที เพ่ือเรียกรอ้ ง ให้ศาลมคี าสง่ั ปล่อยตัวผ้ตู ้องหาคดีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๑๒ และผูต้ อ้ งหาคดคี วามผดิ เก่ยี วกบั การจัดกิจกรรมทางการเมอื งที่ถกู คมุ ขังอยใู่ นเรอื นจาพเิ ศษกรงุ เทพมหานคร คร้ังท่ี ๔ วันเสาร์ที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๔ มวลชนกลุ่มต่าง ๆ ได้นัดรวมตัวกันบรเิ วณอนุสาวรีย์ ประชาธิปไตย (ถนนราชดาเนินกลาง) และเคล่ือนขบวนมาชมุ นมุ ท่ที ้องสนามหลวง (ถนนราชดาเนนิ ใน) ในการชุมนุมแต่ละครั้ง ได้มอบหมายให้เจ้าพนักงานตารวจศาลติดตามข่าวสาร การชุมนุมจากสื่อต่าง ๆ รวมถึงสอบถามไปยังหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องด้านการข่าว และได้ประสานงานไปยัง ผู้กากับการ สถานีตารวจนครบาลชนะสงคราม ซ่ึงเป็นพื้นที่รับผิดชอบเข้าประชุมร่วมกันท่ีศาลฎีกาเพื่อวาง มาตรการรักษาความปลอดภัยศาลฎีกาและพ้ืนท่ีโดยรอบศาลฎีกา พร้อมกันน้ีได้ให้เจ้าพนักงานตารวจศาล จัดทาแผนรักษาความปลอดภัยและอพยพ กรณีเกิดเหตุชุมนุม/การจลาจล เพื่อใช้เป็นแนวปฏิบัตหิ ากเกดิ เหตุ ตา่ ง ๆ ในส่วนของการจราจร น้ัน ทุกครั้งท่ีมีการชุมนุมบริเวณรอบศาลฎีกาหรือบริเวณใกล้เคียง จะประสานงานไปยังรองผู้กากับฝ่ายจราจรและสารวตั รจราจร สถานีตารวจนครบาลชนะสงคราม สอบถามถึง การปิดเส้นทางการจราจรพื้นที่โดยรอบศาลฎีกา เพ่ือจะได้กาหนดเส้นทางเข้า-ออกศาลฎีกาอย่างชัดเจน

๒๖ เป็นการอานวยความสะดวกแก่ขา้ ราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมในศาลฎีกาในการเดินทางมาปฏิบัติหน้าท่ี ราชการท่ศี าลฎกี าและการเดินทางกลบั อนึ่ง ทุกคร้งั ท่มี กี ารชมุ นมุ บรเิ วณรอบศาลฎีกา ผ้ชู มุ นมุ จะเปล่ยี นแปลง เวลาและสถานท่ีชุมนมุ ตลอดเวลา ทาให้ไม่สามารถกาหนดเส้นทางเข้า – ออก ศาลฎีกาได้อย่างชดั เจน ดังน้ัน จึงต้องคอยสอบถามไปยังรองผู้กากับฝ่ายจราจรและสารวัตรจราจร สถานีตารวจนครบาลชนะสงคราม ตลอดเวลาก่อนการชมุ นุม เพ่อื วางแผนการจราจรภายในศาลฎกี า มอบหมายให้ส่วนเจ้าพนักงานตารวจศาลต้ังกลุ่มใน แอปพลิเคชันไลน์ Line ใช้ชื่อ “The Supreme of Court Marshal” สาหรับติดต่อส่ือสาร ควบคุม และส่ังการในการปฏิบัติหน้าท่ีระหว่าง เลขานุการศาลฎีกา รองเลขานุการศาลฎีกาที่เก่ียวข้อง ผู้อานวยการสานักอานวยการประจาศาลฎีกา และ เจา้ พนักงานตารวจศาล โดยเจา้ พนกั งานตารวจศาลจะรายงานเหตุการณต์ ่าง ๆ โดยตลอด นอกจากนี้ ได้เรียกประชุมทีมตารวจศาล เพื่อปรึกษาหารือ รวมถึงปัญหาอุปสรรคและ ข้อขัดขอ้ งในการปฏิบัตหิ น้าที่อย่างนอ้ ยเดอื นละ ๑ ครั้ง พร้อมกับได้ชี้แนะแนวทางและหาวิธีแก้ไขข้อขัดข้อง หรือปัญหาต่าง ๆ ร่วมกัน ทั้ ง นี้ ไ ด้ ก า ชั บ เ จ้ า พ นั ก ง า น ต า ร ว จ ศ า ล ใ ห้ มี ค ว า ม พ ร้ อ ม ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต ล อ ด เ ว ล า ในทุกวันทาการและในวันหยุดราชการ จะมีผู้บริหารศาลฎีกาและข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมในศาล ฎีกามาปฏบิ ัติงานนอกเวลาราชการ เพอื่ พิจารณาคาร้องขอปล่อยช่ัวคราวในชั้นฎกี า หรอื คาร้องอทุ ธรณค์ าส่ังที่ ไม่อนุญาตให้ปล่อยช่ัวคราว ได้แจ้งไปยังเจา้ พนกั งานตารวจศาลใหก้ าชับเจ้าหนา้ ทีร่ ักษาความปลอดภัยปฏบิ ตั ิ หนา้ ที่อยา่ งเตม็ ท่เี หมือนวันทาการปกติ ๗.๒ เจ้าหน้าท่รี กั ษาความปลอดภยั หน้าทีข่ องเจ้าหนา้ ทีร่ กั ษาความปลอดภยั สานักงานรักษาความปลอดภยั องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศกึ ในพระบรมราชูปถัมภ์ (อผศ.) ไดก้ าหนดหนา้ ท่ีและความรับผดิ ชอบของเจา้ หนา้ ทร่ี กั ษาความปลอดภัยโดยทั่วไปไว้ ดังนี้ ๑. รักษาความปลอดภัยในชีวิตร่างกาย และทรัพย์สินของบุคคล รวมท้ังระงับเหตุ และรักษา ความสงบเรียบรอ้ ยภายในบรเิ วณหรอื สถานทท่ี ่ีรบั ผดิ ชอบรักษาความปลอดภัย ตามขอ้ กาหนดในสญั ญาจา้ ง ๒. ช่วยเหลือพนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ในการจับกมุ ผ้กู ระทาความผดิ ๓. เมื่อมีการกระทาความผิดอาญา หรือน่าเช่ือว่ามีเหตุร้ายเกิดขึ้นภายในบริเวณ หรือสถานท่ีท่ีรับผิดชอบรักษาความปลอดภัย ต้องแจ้งเหตุให้พนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจท้องท่ี ท่ีปฏิบัติหน้าที่ประจาอยู่ทราบทันที รวมทั้งปิดก้ันและรักษาสถานที่เกิดเหตุใหค้ งสภาพเดมิ ไว้จนกว่าพนักงาน ฝา่ ยปกครองหรือตารวจผมู้ อี านาจหนา้ ท่ีจะเดินทางมาถึงสถานทเี่ กดิ เหตุ ๔. ปฏิบัติหน้าท่ีตามข้อกาหนดในสัญญาจ้างของผู้ว่าจ้าง และคาส่ังของสานักงานรักษา ความปลอดภัย โดยเคร่งครัดดว้ ยความเขม้ แขง็ และสุภาพ

๒๗ ๕. แต่งเครือ่ งแบบให้ถูกต้องตามท่สี านักงานรักษาความปลอดภยั กาหนดไว้ ๖. ดูแลรกั ษาความสะอาดบรเิ วณพนื้ ทป่ี ฏบิ ัติหนา้ ที่ ๗. หา้ มบคุ คลท่ไี ม่มอี านาจหนา้ ทีเ่ ขา้ ไปในบรเิ วณทีก่ าหนด หรือเขตหวงหา้ ม ๘. ห้ามปราม ขัดขวาง และจับกุมผู้บุกรุกหรือฝ่าฝืนเข้าไปในเขตหวงห้าม และรายงานให้ ผวู้ า่ จา้ งและผูบ้ งั คบั บญั ชาทราบ โดยเครื่องมอื สอื่ สารในทันทที ่สี ามารถกระทาได้ ๙. แสดงความมนี า้ ใจชว่ ยเหลอื ตามสมควร ซ่ึงไมท่ าใหห้ นา้ ท่รี ักษาความปลอดภยั เสียหาย เม่ือ ไดร้ ับการร้องขอจากผ้วู ่าจา้ งเป็นครัง้ คราว ศูนย์รักษาความปลอดภัย สานักงานศาลยุติธรรมได้กาหนดจานวนเจ้าหน้าที่รักษาความ ปลอดภัยประจาศาลฎีกา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ จานวน ๖๙ อัตรา ศาลฎีกาไดก้ าหนดอตั รากาลังเจ้าหน้าทรี่ กั ษาความปลอดภยั ดังน้ี วันทาการปกติ และวันหยดุ ราชการประจาปี (วันหยุดนักขัตฤกษ์) - ผลัดกลางวัน : ปฏิบัติงานท่ีศาลฎีกา ๕๐ อัตรา และปฏิบัติงานท่ีสานักประธาน ศาลฎีกา ๔ อตั รา รวมเปน็ ๕๔ อัตรา - ผลัดกลางคืน : ปฏิบัติงานที่ศาลฎีกา ๑๓ อัตรา และปฏิบัติงานที่สานักประธาน ศาลฎกี า ๒ อัตรา รวมเป็น ๑๕ อตั รา วนั หยุดเสาร์ – อาทติ ย์ - ผลัดกลางวัน : ปฏิบัติงานที่ศาลฎีกา ๑๘ อัตรา และปฏิบัติงานที่สานักประธาน ศาลฎีกา ๒ อัตรา รวมเปน็ ๒๐ อัตรา - ผลัดกลางคืน : ปฏิบัติงานที่ศาลฎีกา ๑๓ อัตรา และปฏิบัติงานท่ีสานักประธาน ศาลฎีกา ๒ อัตรา รวมเปน็ ๑๕ อตั รา ทัง้ น้ี ศาลฎกี าไดม้ ีคาสงั่ แตง่ ตั้งคณะกรรมการตรวจรับพัสดสุ าหรบั การจ้างเหมา รกั ษา ความปลอดภัย อาคาร สถานที่ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔ การดาเนินงานตั้งแต่วนั ท่ี ๑ ตลุ าคม ๒๕๖๓ ในระยะเวลาท่ีผ่านมา ได้มอบหมายให้ส่วนเจ้าพนักงานตารวจศาลดาเนินการในส่วนที่ เกยี่ วขอ้ งกบั การปฏิบตั หิ นา้ ที่ของเจ้าหน้าท่ีรกั ษาความปลอดภัย ดงั นี้ ๑. มาตรการสาหรับการคดั กรองบุคคลเขา้ – ออกศาลฎีกา เพ่ือเป็นมาตรการป้องกันการแพร่ ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ บุคคลท่ีจะเขา้ ภายในอาคารศาลฎีกาตอ้ งผ่านการตรวจวัดอณุ หภมู ิ ร่างกาย หากอุณหภูมิเกิน ๓๗.๕๐ อาศาเซลเซียส ไม่อนุญาตให้เข้าภายในอาคารศาลฎีกาโดยเด็ดขาด พร้อม

๒๘ กับตอบแบบคัดกรองเบ้ืองต้น และต้องผ่านประตูตรวจอาวุธแบบเดินผ่าน และตรวจสัมภาระด้วยเคร่ือง ตรวจจบั โลหะแบบสายพาน เพ่อื ยกระดับมาตรการรักษาความปลอดภัยศาลฎกี า ในการนี้ เพ่ือเป็นการยกระดับมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ หากมีคคู่ วามหรอื ประชาชนผ้มู าติดตอ่ ราชการ เมือ่ ผ่านการคัดกรองบุคคลเขา้ – ออกตามมาตรการท่ี กาหนดไว้แล้ว ให้รอท่ีบริเวณโถงกลาง ชั้น ๑ ฝ่ังถนนราชดาเนินในหรือถนนราชินี แลว้ แตก่ รณี ไมอ่ นญุ าต ให้ประชาชนเข้ามาในบริเวณภายในอาคารศาลฎีกาโดยเด็ดขาด โดยเจ้าหน้าที่ในส่วนท่ีเก่ียวขอ้ งจะมารบั เร่อื ง แล้วดาเนนิ การต่อไป ๒. กาหนดจุดรักษาการณ์ของเจ้าหน้าท่ีรักษาความปลอดภัยขึ้นใหม่ได้อย่างเหมาะสมและ ครอบคลมุ ทกุ พื้นที่ของศาลฎีกา หากเกิดเหตคุ วามไม่สงบเรียบร้อย เจา้ หนา้ ท่ีรกั ษาความปลอดภัยสามารถเข้า ระงับเหตุไดท้ นั ที ๓. มอบหมายให้เจ้าพนักงานตารวจศาลเดินตรวจการณ์ตามจุดรักษาการณ์ต่าง ๆ ของ เจ้าหน้าทร่ี กั ษาความปลอดภยั เป็นประจาทุกวันทาการ อย่างน้อยวนั ละสองคร้งั ๔. หัวหนา้ ชุดเจา้ หน้าทีร่ ักษาความปลอดภัยหรือรองหัวหนา้ ชุดเจ้าหนา้ ท่ีรักษาความปลอดภัย เดินตรวจการณ์ตามจุดรักษาการณ์ต่าง ๆ ของเจ้าหน้าท่ีรักษาความปลอดภัยเป็นประจาทุกวันอย่างนอ้ ยวนั ละ สองครั้ง และจะถา่ ยภาพรายงานผบู้ งั คบั บญั ชาทราบในแอปพลิเคชัน Line “Security ศาลฎกี า” ทั้งน้ี ได้มอบหมายใหเ้ จ้าพนักงานตารวจศาลกากับดูแลการปฏิบัตหิ นา้ ท่ี ของเจ้าหน้าท่ีรักษา ความปลอดภัยให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ และได้ต้ังกลุ่มในแอปพลิเคชัน Line ใช้ชื่อ “Security ศาลฎีกา” สาหรบั ตดิ ตอ่ ส่ือสาร ควบคมุ และส่งั การในการปฏิบตั หิ น้าที่ระหว่างเลขานกุ ารศาลฎีกา รองเลขานุการศาลฎีกาท่ีเก่ยี วข้อง ผู้อานวยการสานักอานวยการประจาศาลฎีกาเจ้าพนกั งานตารวจศาล และ เจา้ หน้าทรี่ กั ษาความปลอดภยั โดยเจ้าหนา้ ทร่ี กั ษาความปลอดภยั จะรายงานเหตุการณ์ตา่ ง ๆ โดยตลอด ปญั หาอุปสรรคและข้อขัดขอ้ งตา่ ง ๆ ๑. ตามท่ีสานักงานศาลยุติธรรมได้กาหนดจานวนเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ศาลฎีกา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ จานวน ๖๙ อัตรา นั้น องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก (อผศ.) ไม่สามารถจัดอัตรากาลังเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยที่เป็นรายชื่อตามสัญญาจ้าง (ตัวจริง) ให้ครบตาม สัญญาจา้ งได้ สายตรวจประจาจุดศาลฎกี าและหัวหนา้ ชดุ เจ้าหน้าท่ีรักษาความปลอดภัยจึงได้จัดหาเจ้าหน้าท่ี รักษาความปลอดภัยที่อยู่หน่วยงานอื่นในพ้ืนที่ข้างเคียงมาปฏิบัติหน้าท่ีท่ีศาลฎีกาแทน (ตัวสารองเวร) ๒. ในแต่ละวันเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยท่ีเป็นรายชื่อตามสัญญาจ้าง (ตัวจริง) ได้ลากิจ ลาป่วย หรือขาดงาน สายตรวจประจาจุดศาลฎีกาและหวั หน้าชุดเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย จึงได้จัดหา เจ้าหน้าท่ีรักษาความปลอดภัยท่ีอยู่หน่วยงานอื่นในพื้นท่ีข้างเคียงมาปฏิบัติหน้าท่ีท่ีศาลฎีกาแทน (ตัวสารอง เวร) ซึ่งบางวันมีจานวนมากกว่า ๑๕ อัตรา

๒๙ ทั้งสองเหตุดังกล่าว เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย (ตัวสารองเวร) ไม่ปฏิบัติหน้าที่อย่าง เต็มที่ และลงเวลาเข้าปฏิบัติงานหลังเวลาเร่ิมงานและลงเวลาออกปฏิบัติงานก่อนเวลาเลิกงาน แนวทางแก้ไขได้แจ้งเจ้าพนักงานตารวจศาลให้กาชับเจ้าหน้าที่รักษาความ ปลอดภัย (ตัวสารองเวร) ที่มาปฏิบัติหน้าที่ท่ีศาลฎีกาให้ปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มที่ และอนุญาตให้ลงเวลาเข้าปฏิบัติงาน อย่างช้าไม่เกิน ๓๐ นาที หลังเวลาเร่ิมงาน และให้ลงเวลาออกปฏิบัติงานก่อนเวลาเลิกงานไม่เกิน ๓๐ นาที ทั้งนี้ได้แจ้งเจ้าพนักงานตารวจศาลให้ประสานงานไปยังองค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ให้ จัดอัตรากาลงั เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย (ตัวจริง) ใหค้ รบตามสัญญาจ้าง ๓. องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ไม่คัดเลือกเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยที่ได้รับการฝึก ด้านรักษาความปลอดภัย ที่มีระเบียบวินัย มีประสิทธิภาพและมีความพร้อมในการปฏิบัติหน้าท่ีมาประจาท่ี ศาลฎีกา แนวทางแก้ไข ได้แจ้งเจ้าพนักงานตารวจศาลให้มีหนังสือไปยังองค์การสงเคราะห์ทหารผา่ น ศึก ให้คัดเลือกเจ้าหน้าท่ีรักษาความปลอดภัยที่ได้รับการฝึกด้านรักษาความปลอดภัย มีระเบียบวินัย มีประสิทธภิ าพ และมคี วามพร้อมในการปฏิบัตหิ นา้ ท่ีมาประจาทศ่ี าลฎีกา ๔. กรณีเจ้าหน้าทรี่ ักษาความปลอดภัยไมป่ ฏบิ ัติตามระเบยี บวนิ ัย เชน่ - เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยได้แสดงกิริยาท่ีไม่เหมาะสมกับข้าราชการฝ่ายตุลาการศาล ยตุ ธิ รรมในศาลฎกี า ตาแหนง่ ลกู จา้ งประจา - เจา้ หน้าทีร่ ักษาความปลอดภยั ไม่ใสห่ น้ากากอนามยั ขณะปฏบิ ตั หิ น้าท่ี - เจ้าหนา้ ที่รกั ษาความปลอดภัยละท้ิงจดุ รกั ษาการณท์ ีต่ นเองรับผิดชอบ - เจ้าหนา้ ทร่ี กั ษาความปลอดภยั ไมส่ ูบบุหร่ีในจดุ ท่กี าหนดไว้ เป็นต้น แนวทางแก้ไข ได้ปรับเปล่ียนเจ้าหน้าท่ีรักษาความปลอดภัยท่ีแสดงกิริยาไม่เหมาะสมคน ดงั กล่าว โดยให้องคก์ ารสงเคราะหท์ หารผา่ นศึก สง่ เจ้าหนา้ ท่ีรักษาความปลอดภยั คนใหม่มาแทน ได้แจ้งเจ้าพนักงานตารวจศาลใหก้ าชบั เจ้าหนา้ ท่รี ักษาความปลอดภัยทกุ คนใหค้ านึงและใสใ่ จ มาตรการทางสาธารณสุข เรื่องการเว้นระยะห่างจากสังคมอย่างเคร่งครัด ให้ใส่หน้ากากอนามัยอย่างถูกวิธี ตลอดเวลาขณะปฏิบัติหน้าที่ และไม่น่ังรับประทานอาหารร่วมกัน เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ สูบบุหรี่ในจุดท่ีกาหนดไว้ และเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยต้องประจาจุดรักษาการณ์ ท่ีตนเองรับผิดชอบ หากไม่อยู่จุดรักษาการณ์ ให้ตั้งป้ายข้อความตามท่ีเจ้าพนักงานตารวจศาลกาหนดไว้ เช่น ไปปฏิบัติหน้าท่ีตามท่ีได้รับมอบหมาย หรือไปปฏิบัติภารกิจส่วนตัว เป็นต้น ท้ังน้ี หากเจ้าหน้าท่ีรักษาความ ปลอดภัยคนใดไมป่ ฏิบัตติ าม จะดาเนนิ การตามทีก่ าหนดไวใ้ นสัญญาจา้ ง ส่วนเจ้าหน้าท่ีรักษาความปลอดภยั ท่ี เป็นตัวสารองเวร จะไมอ่ นุญาตใหม้ าปฏบิ ัติหนา้ ท่ที ศี่ าลฎกี าอีก

๓๐ นอกจากน้ี ได้กาชบั เจ้าพนักงานตารวจศาลให้อบรมการปฏิบตั หิ นา้ ที่ของเจา้ หนา้ ทีร่ กั ษาความ ปลอดภัย พร้อมทั้งกวดขันระเบียบวินัย ช้ีแจงภารกิจประจาวัน สารวจความพร้อมของกาลังพล รวมถึงเรื่อง อื่น ๆ ท่ีเก่ียวข้อง เป็นประจาอย่างน้อยสัปดาห์ละ ๑ วัน โดยเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยจะมีการรวมแถว เพ่ือรับฟงั ภารกิจทกุ คร้ังก่อนเรมิ่ ปฏบิ ัติงานในแต่ละผลัด ๘. การบริหารงานโครงการตา่ ง ๆ ๘.๑ ประสานงานกับสานักประธานศาลฎีกาดูแลศูนย์การเรียนรู้ทางด้านกฎหมายและ กระบวน ทางศาล (Open Court) สืบเนื่องจากประธานศาลฎีกาได้วางนโยบายการบริหารศาลยุติธรรมประจาปี ๒๕๖๓ – ๒๕๖๔ โดยสรา้ งการรบั รู้ ลดช่องว่าง และส่งเสริมการมสี ่วนรวมสาหรบั บุคลากรภายนอก ศาลฎีกาจงึ ได้จัดทา โครงการศูนย์การเรียนรู้ทางด้านกฎหมาย และกระบวนการทางศาล เพื่อเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ เผยแพร่ ประวตั ศิ าสตรก์ ฎหมายและกระบวนการทางการศาล รวมถึงถา่ ยทอดความรู้ และกระบวนการทางานของศาล ยุติธรรม ให้แก่ประชาชน และสังคมทราบ และได้แต่งตั้งคณะทางานศูนย์การเรียนรู้ทางด้านกฎหมายและ กระบวนการทางการศาล ณ ศาลฎีกา เพ่ือขับเคลื่อนนโยบายของประธานศาลฎีกา ซึ่งส่วนหน่ึงของโครงการ ศูนย์การเรียนรู้ฯ ดังกล่าว ต้องจัดหาผู้รับจ้างมาดาเนินการ ซึ่งได้มีคาส่ังศาลฎีกาที่ ๔๐/๒๕๖๔ ลงวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๔ แต่งตั้งคณะกรรมการจ้าง โดยวิธีคัดเลือก การจ้างทาสื่อการเรียนรู้ผ่าน Application และมี คาสั่งศาลฎีกาที่ ๓๙/๒๕๖๔ ลงวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๔แต่งต้ังคณะกรรมการจ้างโดยวิธีคัดเลือก การจ้าง ออกแบบนิทรรศการและการจดั แสดงผา่ นสอ่ื โดยปจั จุบนั ศาลฎีกาได้ทาสัญญาจา้ งดังกล่าวแล้ว กล่าวคือ (๑) การจา้ งออกแบบนทิ รรศการและการจดั แสดงผา่ นสือ่ ดาเนินการจดั จา้ ง บริษัท พลอี าดสิ บางกอก จากดั เปน็ ผรู้ บั จ้างตามสัญญาเลขที่ ๑๗/๒๕๖๔ลงวนั ท่ี ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๖๔ วงเงิน ๔,๕๓๐,๐๐๐ บาท กาหนดแลว้ เสรจ็ ภายในวนั ท่ี ๑๐ สงิ หาคม ๒๕๖๔ (๒) การจ้างทาส่อื การเรยี นรผู้ า่ น Application ดาเนนิ การจ้างบรษิ ัท มิสเตอร์มี สตูดิโอ จากดั เป็นผู้รับจ้างตามสัญญาเลขท่ี ๑๘/๒๕๖๔ ลงวันท่ี ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๖๔ วงเงิน ๘๙๐,๐๐๐ บาท กาหนด แลว้ เสรจ็ ภายในวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๖๔ นอกจากนี้ ศาลฎีกาได้มีพิธีเปิด “ศาลฎีกานิทรรศน์” เม่ือวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๖๔ เวลา ๑๔.๐๐ นาฬิกา ถ่ายทอดสัญญาณภาพและเสียงผ่านระบบ Live Streaming และ Facebook Live เพจ สอ่ื ศาลไปทว่ั ประเทศ ๘.๒ โครงการระบบการตรวจร่างคาสง่ั และคาพพิ ากษาทางเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ๑. ระบบพร้อมทางานแล้ว อยู่ในขั้นตอนทดรองปฏิบัติจริง สาหรับ ๕ แผนก คือ แผนก ล้มละลาย แผนกทรพั ยส์ ิน แผนกภาษี แผนกพาณิชย์ และแผนกบรโิ ภค เรม่ิ วันที่ ๑ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๔ ๒. อบรม ๓ ชุด วนั ที่ ๒๑ ม.ค. เช้า-บ่าย วันที่ ๒๖ ม.ค.เช้า ผู้ช่วยตรวจ ยกรา่ ง ใหญ่

๓๑ ๓. จัดทาร่างฯระเบยี บวา่ ดว้ ยการทาคาพิพากษาทางเอกสารอิเล็กทรอนกิ ส์เสร็จแล้วรอเสนอ ๔. เสนอโครงการของบประมาณจัดซ้ือเครอื่ งคอมพวิ เตอรแ์ บบหนา้ จอ Touchscreen พรอ้ ม printer สาหรับผู้บรหิ าร เลขานุการ รองเลขานุการ ผู้กรองงานและเลขานกุ ารแผนกครบชดุ ๕. โปรแกรมระยะท่ี ๑ ค่อนข้างสมบูรณ์ใช้งานได้ ส่วนระยะท่ี ๒ จะขยายให้ใช้งานกับคดี ท่ัวไปและงานคาสัง่ คารอ้ ง โดยเพมิ่ งานของผูก้ รองงานผู้บรหิ ารด้วย ๘.๓ โครงการจัดทาจลุ สาร คาพพิ ากษาฎีกา และปรับปรุง website internet และ intranet ๑. การทาจลุ สารคณะทางานประชมุ มีมติในปนี ี้ให้จัดทาเฉพาะจลุ สารฉบบั พเิ ศษ ฉบบั เปดิ ศาล ฎกี า ดาเนินการเรยี บรอ้ ย ๒. งานจัดพิมพ์คาพิพากษาฎีกา ปรับระบบงาน ให้ส่วนงาน ELC ส่งคาพิพากษาฎีกามาให้ ตรวจกอ่ นเพอื่ ส่งให้คณะบรรณาธิการหมายเหตุ ๓. ให้ส่วนงาน ELC ลงหนังสือคาพิพากษาฎีกา ในระบบ Intranet ให้ update ระเบียบ ข้อกาหนด คาแนะนาประธาน ให้เป็นปัจจุบัน เพ่ิมสัญญานระบบ internet ให้สามารถใช้งานได้ดี โดยเพ่ิม Bandwidth และความแรงของสญั ญาน (แต่ใช้ได้ถงึ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๔) ๘.๔ โครงการ COURT EXCELLENT ๑. คณะทางานที่ท่านอาจารยว์ รงค์พร จิระภาค เป็นประธาน จัดตั้งคณะอนุกรรมการท่มี ีทา่ น ผชู้ ว่ ยผูพ้ ิพากษาหลายทา่ นเข้ามาชว่ ยดาเนินการและให้คาแนะนา ๒. มีการประชุม กาหนดหนา้ ท่อี อกเปน็ ๗ กลุ่มและกาหนด Timing ของการทางาน และการ ประเมินผลงาน ๓ คร้งั ๓. นาข้อเสนอแนะของทกุ กลุ่มไปปรับปรงุ ในแตล่ ะสว่ นงานของศาลฎีกา ๔. รายงานท่านประธานศาลฎีกาและส่งผลการดาเนินงานและการประเมินไปยังสานัก ประธานศาลฎกี าครบถ้วนแลว้ ๘.๕ โครงการระบบติดตามคดีของศาลฎีกาผ่าน website ของศาลฎีกา CaseTracking ดาเนินการสาเรจ็ แล้ว ปรากฏตามหนา้ จอ website ของศาลฎีกา ๘.๖ โครงการจัดหาเคร่ืองคอมพิวเตอร์แบบพกพา (แทบเล็ต) เพื่อบรรจุข้อมูลวาระและเอกสาร การประชุมใหญ่แทนการส่งเอกสารในแบบกระดาษ (ของบประมาณไปแลว้ ) ๘.๗ โครงการจัดหาเคร่ืองคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะแบบ หน้าจอ Touch Screen และ Printer เพื่อ รองรบั ระบบการตรวจรา่ งคาส่งั และคาพพิ ากษาทางเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (ของบประมาณไปแลว้ )

๓๒ ๘.๘ โครงการเพ่ิมศักยภาพข้าราชการตุลาการ เป็นการอบรมให้ความรู้เก่ียวกับการปฎิบัติหน้าท่ี ของผู้พิพากษาในกองผชู้ ่วยผพู้ ิพากษาในศาลฎีกา ที่ย้ายมารบั ราชการใหม่ทศ่ี าลฎีกา ดาเนินการแล้วเมื่อ วันที่ ๑-๒ เมษายน ๒๕๖๔

1ภาคผนวก

งานจา่ ยสานวน