Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สมรรถนะผู้เรียน

สมรรถนะผู้เรียน

Published by ruchanee, 2020-06-13 03:11:19

Description: สมรรถนะผู้เรียน

Search

Read the Text Version

กรอบสมรรถนะหลักผเู้ รียนระดบั การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน 92 และระดับประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) ในการตอ่ รองอ�ำ นาจและสรา้ งการเปลย่ี นแปลงในฐานะพลเมอื งประชาธปิ ไตย ยุคดิจิทัล ท่ีกระตือรือร้นในการมีส่วนร่วมและมุ่งเน้นความยุติธรรมทางสังคม เปน็ ส�ำ คญั การรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื สารสนเทศและดจิ ทิ ลั มคี วามส�ำ คญั อยา่ งยงิ่ เนอื่ งจาก เหตุผล ดงั นี้ ๑) พัฒนาการของส่ือ สารสนเทศ และดิจิทัล ทำ�ให้สังคมทั่วโลกเคล่ือน เขา้ สู่ยุคสื่อหลอมรวม (Media Convergence) ซ่ึงมีการเปลยี่ นแปลงอย่างรวดเรว็ ๒) เครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีส่วนสำ�คัญในการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต การด�ำ เนินชวี ิต การส่ือสารและการเรยี นรู้ของคน ๓) เทคโนโลยีดิจิทัลในโลกเสมือนจริง (Virtual World) ส่งผลให้เกิดยุค แหง่ การสอ่ื สารไรพ้ รมแดนและเปน็ ยคุ หลงั ขอ้ มลู สารสนเทศ (Post-information Age) ที่ผู้คนจากทุกมุมโลกสามารถเข้าถึงส่ือ และสารสนเทศด้วยเทคโนโลยี ดจิ ทิ ลั ได้อยา่ งรวดเร็ว ๔) การเข้าถึงสอื่ สารสนเทศ และดิจิทลั ถอื เป็นสิทธเิ สรีภาพข้นั พ้นื ฐาน ในฐานะพลเมอื งและเปน็ สิทธิมนุษยชน ๕) พลเมืองจำ�เปน็ ตอ้ งมีขอ้ มูลท่นี า่ เชอื่ ถอื และหลากหลายเพือ่ ประกอบ การคดิ ตดั สนิ ใจ และลงมอื ปฏบิ ตั กิ ารในฐานะพลเมอื งในระบอบประชาธปิ ไตย ๖) การเข้าถึง เข้าใจ เท่าทัน และการใช้สื่อ สารสนเทศ และดิจิทัลเป็น เคร่ืองมือและเป็นสมรรถนะสำ�คัญท่ีพลเมืองใช้ในการปกป้องสิทธิขั้นพ้ืนฐาน เพื่อการแสดงออกทางความคิด การติดตาม ตรวจสอบ ต่อรองกับอำ�นาจรัฐ ทุน และธุรกิจสื่อ เพ่ือสร้างการเปลี่ยนแปลงให้เกิดสังคมท่ีผู้คนอยู่ร่วมกัน โดยยึดความยุติธรรมเป็นหลักการสำ�คัญ เน่ืองจากเร่ิมมีแนวคิดว่าพลเมือง สามารถเปลยี่ นรูปแบบความสมั พันธจ์ ากเปน็ ผูถ้ ูกกระท�ำ (Passive) ในฐานะ ผู้รับส่ือ มาเป็นผู้กระทำ� (Active) ที่สามารถวิพากษ์วิจารณ์ หรือท้าทาย ขนบธรรมเนียมแบบเดิม และโครงสร้างของวัฒนธรรมส่ือพาณิชย์ รวมท้ัง เปดิ พ้นื ท่ใี ห้กับเสยี งและวาทกรรมของพลเมอื งดว้ ย

กรอบสมรรถนะหลกั ผู้เรยี นระดับการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน และระดับประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑ - ๓) 93 ๗) การรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื สารสนเทศ และดจิ ทิ ลั ในยคุ ปจั จบุ นั ไมใ่ ชก่ ารปกปอ้ ง โดยการปิดกน้ั เดก็ และเยาวชนจากสอื่ ตา่ ง ๆ ในทางกลับกนั เดก็ และเยาวชน ควรไดร้ ับการฝกึ ฝนใหม้ ีทักษะการรู้เทา่ ทนั ๘) การศกึ ษาไม่ได้จ�ำ กัดแคใ่ นโรงเรียนหรอื หอ้ งเรียน แตเ่ ปน็ การเรยี นรทู้ ี่ เป็นเครือข่ายดจิ ิทลั และเป็นการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ ปัจจุบัน แนวโน้มการพัฒนาเครื่องมือทางนโยบายเพื่อคุ้มครองเด็กและ เยาวชนจากภัยหรือความเส่ียงจากสื่อของต่างประเทศจึงมุ่งที่การพัฒนาและ ส่งเสริม การรู้เท่าทันส่ือ สารสนเทศ และดิจิทัล (Media, Information and Digital Literacy) ให้แก่ผู้ใช้ส่ือโดยเฉพาะเด็กและเยาวชน เพ่ือให้สามารถ รเู้ ทา่ ทนั และตระหนกั ถงึ ภยั ของเนอื้ หาทอี่ าจเปน็ ภยั จากสอ่ื ทต่ี นเปดิ รบั ได้ และ การจัดให้มีเคร่ืองมือทางเทคนิคท่ีผู้ใช้ปิดกั้นการเข้าถึงเนื้อหาท่ีเป็นภัยได้เอง แนวคดิ เรอื่ งการรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื สารสนเทศ และดจิ ทิ ลั นน้ั มลี กั ษณะทเ่ี ชอื่ มโยงกนั ระหว่างสมรรถนะ ๓ เรื่อง คือ การรู้เท่าทันส่ือ การรู้เท่าทันสารสนเทศ และ การรเู้ ทา่ ทนั ดจิ ทิ ลั ซง่ึ เปน็ ชดุ ของสมรรถนะ (Multi-Competency) ทคี่ รอบคลมุ ทักษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑ ในส่วนท่ีเก่ียวข้องกับความสามารถในการเข้าถึง สารสนเทศผ่านสอื่ และเทคโนโลยดี จิ ิทัล การเลือกรับ วเิ คราะห์ ประเมนิ และ นำ�ข้อมูลท่ีได้รับไปใช้ในทางสร้างสรรค์ รวมท้ังความสามารถผลิตสื่อเพื่อ ขับเคลื่อนสังคมได้ด้วยตนเอง นอกจากนี้สมรรถนะชุดดังกล่าวยังมี ความสัมพันธ์กับทักษะชุดอื่น ๆ เช่น ทักษะชีวิต ท่ีครอบคลุมเร่ืองทักษะ การรู้จักตนเอง และทักษะการอยู่ร่วมกับผู้อื่น (Interpersonal and Communication Skills) ในยคุ สอื่ สารสนเทศ และดจิ ทิ ลั ในสงั คมพหวุ ฒั นธรรม และสังคมประชาธปิ ไตยอีกด้วย (สถาบนั ส่อื เด็กและเยาวชน, ๒๕๕๙ )

กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รียนระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน 94 และระดับประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑ - ๓) กรอบแนวคดิ การรูเ้ ทา่ ทันส่ือ สารสนเทศ และดจิ ิทลั องคป์ ระกอบของการรูเ้ ทา่ ทนั ส่อื ประกอบดว้ ย ๑) การเข้าถงึ (Access) ซงึ่ หมายถงึ การใช้ (Use) การทอ่ งไปในแหลง่ ขอ้ มลู (Navigate) และการจดั การ (Manage) ๒) การท�ำ ความเข้าใจ (Understand) ซึง่ รวมถึงการอา่ น (Read) การถอดรอ้ื (Deconstruct) และการประเมนิ (Evaluate) และ ๓) การสรา้ งสรรค์ (Create) ซึ่งหมายถึงการผลิต (Produce) การแจกจ่าย (Distribute) และ การตีพมิ พ์ (Publish) (Livingstone, 2004 : Ofcom, 2009) กรอบนโยบาย และยทุ ธศาสตรเ์ รื่องการรเู้ ทา่ ทนั ส่ือและสารสนเทศ (Media and Information Literacy: MIL) ของ UNESCO ซึ่งเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ยังครอบคลุม ปฏิสัมพันธ์กับส่ือทุกประเภทและสารสนเทศจากแหล่งต่าง ๆ (UNESCO, 2013) ดว้ ยเหตนุ ้ี UNESCO จงึ อธบิ ายวา่ การรเู้ ทา่ ทนั สอื่ เปน็ ชดุ ของสมรรถนะ ที่ประกอบด้วยความรู้ (knowledge) ทักษะ (skills) และทัศนคติ (attitude) (UNESCO, 2016) สำ�หรับประเทศไทย การศึกษาของสถาบันส่ือเด็กและเยาวชนและ เครือข่ายการศึกษาเพ่ือสร้างพลเมืองประชาธิปไตย (๒๕๕๙) พบว่า การรู้เท่าทันสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล เป็นหลักการท่ีสอดคล้องและ ช่วยเสริมสร้างความเป็นพลเมืองประชาธิปไตยได้ ทั้งนี้การให้ความหมาย ของสมรรถนะน้ี เปน็ การบรู ณาการ ๒ มติ ิ คอื การอธบิ ายแยกเปน็ สมรรถนะยอ่ ย และการอธบิ ายในแงข่ องกระบวนการเก่ยี วกับสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล ดงั นี้ มิตทิ ่ี ๑ การอธิบายแยกเป็นรายสมรรถนะย่อยตามช่องทางหรอื ลกั ษณะ สำ�คัญของส่ือ ประกอบด้วยการรู้เท่าทันสื่อ (Media Literacy) การรู้เท่าทัน สารสนเทศ (Information Literacy) และการรเู้ ทา่ ทันดิจิทลั (Digital Literacy) ซ่ึงแม้จะแยกกันเพื่อความเข้าใจ แต่ในความเป็นจริงแล้วก็ใช้ปนกันหรือ ใช้ในความหมายรวมกัน ดังที่ ถิรนันท์ อนวัชศิริวงศ์ และพิรุณ อนวัชศิริวงศ์ (๒๕๖๑) กล่าวว่า “บ่อยคร้ังที่การใช้คำ�ว่า Digital Literacy มีความหมาย

กรอบสมรรถนะหลักผ้เู รยี นระดับการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน และระดับประถมศกึ ษาตอนต้น (ป.๑ - ๓) 95 ครอบคลมุ ทงั้ สอื่ ดง้ั เดมิ ขอ้ มลู ขา่ วสารตา่ ง ๆ และสอื่ ใหมห่ รอื สอื่ ออนไลน์ และ เช่นกัน บางครั้งใช้คำ�เดิมว่า การรู้เท่าทันสื่อก็มีความหมายครอบคลุม ทั้งส่ือมวลชนแบบด้ังเดิมและส่ือดิจิทัล ตลอดจนสารสนเทศท้ังหมายถึง ในสื่อ ซึ่งมักมีการหลอมรวมหรือควบรวมหลาย ๆ ช่องทางหรือแพลทฟอร์ม เชน่ ดโู ทรทศั นผ์ ่านออนไลนใ์ นโทรศัพท์มอื ถอื เป็นตน้ ” แกนหลกั ส�ำ คญั ของการรเู้ ทา่ ทนั ในสมรรถนะนค้ี อื “สารสนเทศ”การรเู้ ทา่ ทนั สารสนเทศหรอื InformationLiteracyทผ่ี เู้ รยี นตอ้ งเขา้ ใจวา่ ขอ้ มลู ตา่ งๆ ถกู น�ำ มา จัดระบบเพื่อให้ใช้ได้ง่าย ในยุคท่ีข้อมูลท่วมท้นอาจมีความจริงปนความลวง ทง้ั ทจ่ี งใจและไมจ่ งใจ การใหข้ อ้ มลู ไมค่ รบถว้ น บดิ เบอื น หรอื อาจมเี จตนาไมด่ ี แอบแฝงมาด้วย เพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายที่อยากสื่อสารก็ต้องมีกลวิธีการ น�ำ เสนอสารสนเทศมากมาย ทง้ั นี้ ผเู้ รยี นนอกจากเปน็ ผรู้ บั สารสนเทศเหลา่ นน้ั อย่างรู้เท่าทันแล้วก็ยังต้องสามารถสร้างหรือผลิตสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ อยา่ งรับผดิ ชอบได้ดว้ ย กระบวนการส�ำ คัญจงึ เน้นความสามารถในการเขา้ ถึง แหลง่ สารสนเทศความสามารถในการคดิ วเิ คราะหส์ ารสนเทศและความสามารถ ในการสรา้ งสนเทศไดอ้ ย่างร้เู ทา่ ทนั ตวั เองและรู้เท่าทันสงั คม ความซับซ้อนมีมากกว่าน้ันอีก เมื่อสารสนเทศเหล่าน้ันถูกนำ�เสนอใน ชอ่ งทางและรปู แบบตา่ งๆ หากน�ำ เสนอในรปู ของนติ ยสาร หนงั สอื ปา้ ยโฆษณา บทความ งานวิจัย ก็จะมีชุดความรู้ที่ว่าสื่อเหล่าน้ันสร้างข้ึนมาอย่างไร ผู้เรียนจึงเน้นผู้รับหรือสร้างส่ือเหล่านั้นได้อย่างดี เรียกว่า รู้เท่าทันส่ือ หรือ Media Literacy หากสารสนเทศถูกนำ�เสนอบนช่องทางของเทคโนโลยี โลกออนไลน์และดิจิทัล ก็จะสามารถสร้างและโน้มใจให้คนคิด เช่ือฟังและ ทำ�ตามได้มาก เพราะเผยแพร่ได้เร็วได้มาก มีเทคโนโลยีมาช่วยให้ง่ายข้ึน และสะดวกข้ึน ใครจะสร้างและเผยแพร่อย่างไรก็ยากที่จะปิดกั้นได้ เป็นโลก เสมือนท่ีขนานไปกับโลกของความจริง ผู้เรียนจึงจำ�เป็นต้องมีสมรรถนะ มีภูมิคุ้มกันท่ีจะอยู่ท่ามกลางความหลากหลายของโลกดิจิทัลได้อย่างมี

กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รยี นระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน 96 และระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) คณุ ภาพ เรียกว่าร้เู ท่าทันดจิ ทิ ลั หรอื Digital Literacy มิติที่ ๒ การอธิบายแยกเป็นกระบวนการเก่ียวกับส่ือ สารสนเทศ และ ดิจิทัลประกอบด้วยความสามารถ ๓ ประการคือ (๑) สมรรถนะการเข้าถึง สอื่ สารสนเทศ และดจิ ทิ ลั อยา่ งปลอดภยั รจู้ กั เขา้ ใจ และใชเ้ ปน็ (๒) สมรรถนะ ในการวิเคราะห์ วิพากษ์ และประเมินส่ือ สารสนเทศ และดิจิทัล เห็น ความแตกตา่ ง เหน็ ประโยชนแ์ ละโทษ และ (๓) สมรรถนะการสรา้ งสรรคเ์ นอ้ื หา และข้อมูลสารสนเทศ ด้วยการอ่าน สร้างหรือผลิต และส่งต่อเพ่ือประโยชน์ ในการดำ�เนนิ ชีวิตของตนเอง ชมุ ชน และสังคม เม่ือนำ�มิติทั้งช่องทางหรือลักษณะของสื่อ ผสานเข้ากับกระบวนการ เรียนรู้ของสื่อ สามารถอธิบายคุณลักษณะพลเมืองประชาธิปไตย ท่ีรู้เท่าทันสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล ว่าเป็น “พลเมืองท่ีมีสมรรถนะใน การเข้าถึง เข้าใจ วิเคราะห์ ตีความ ตรวจสอบ และคิดอย่างมีวิจารณญาณ สามารถประเมนิ ประโยชนแ์ ละโทษในการเลอื กรบั ใชป้ ระโยชน์ และสรา้ งสรรค์ สอื่ สารสนเทศ และดิจิทลั เพือ่ สรา้ งความเขา้ ใจเกี่ยวกบั โครงสร้างอำ�นาจรัฐ ทุน สื่อ ตลอดจนบริบททางสังคมและเศรษฐกิจ เป็นผู้ท่ีเคารพสิทธิและ อยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมที่หลากหลายได้อย่างรับผิดชอบ และสามารถ ใช้สื่อ สารสนเทศ และดิจิทัลเป็นเครื่องมือในการต่อรองอำ�นาจและสร้าง การเปล่ียนแปลงในฐานะพลเมืองประชาธิปไตยยุคดิจิทัล ที่กระตือรือร้น ในการมสี ่วนรว่ มและมุง่ เนน้ ความยุตธิ รรมทางสังคมเป็นสำ�คญั ๙. สมรรถนะหลักด้านการทาํ งานแบบรวมพลัง เปน็ ทมี และ มภี าวะผูน้ ํา (Collaboration, Teamwork and Leadership) ในสว่ นนจี้ ะเสนอขอ้ มลู ทเ่ี กย่ี วกบั สมรรถนะหลกั ดา้ นการทาํ งานแบบรวมพลงั เปน็ ทมี และมีภาวะผนู้ ําดงั น้ี งานทุกอย่างจะสำ�เร็จได้ด้วยพลังของผู้เก่ียวข้องทุกฝ่าย โดยเฉพาะงาน ที่ยาก ซับซ้อน ท้าทายและงานสำ�คัญท่ีส่งผลกระทบต่อบุคคล สังคม และ

กรอบสมรรถนะหลักผูเ้ รยี นระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน และระดับประถมศกึ ษาตอนต้น (ป.๑ - ๓) 97 พลโลก โลกในอนาคตนน้ั บคุ คลทม่ี คี วามแตกตา่ งกนั ในมติ ติ า่ ง ๆ ตอ้ งเกยี่ วขอ้ ง สัมพันธ์กันมากข้ึน ทำ�งานและแก้ปัญหาที่สำ�คัญร่วมกันมากข้ึน บุคคล จงึ ต้องมที กั ษะในการรวมพลงั ในการทำ�งาน ผู้นำ�และภาวะผู้น�ำ ภาวะผู้นำ�เป็นคุณลักษณะของบุคคลในการใช้ทักษะการแก้ปัญหา และใช้มนุษยสัมพันธ์ที่ดีเพื่อช้ีแนะแนวทางให้ไปสู่เป้าหมาย สร้างแรงบันดาลใจ ให้ผู้อ่ืนได้พัฒนาตนเอง และนำ�จุดเด่นของแต่ละคนเพ่ือให้บรรลุผลสำ�เร็จ ร่วมกัน (University of Nabraska Lincoln) ผู้นำ�เป็นบุคคลสำ�คัญท่ีจะช่วย ขบั เคลอ่ื นงาน และทมี ใหด้ �ำ เนนิ การไปสเู่ ปา้ หมาย ภาวะผนู้ �ำ เปน็ ความสามารถ ในการโน้มน้าว ผลักดัน กระตุ้นผู้อ่ืนเพ่ือให้สามารถดำ�เนินงานให้บรรลุ เป้าหมาย ภาวะผูน้ �ำ จะพฒั นาไดต้ ้องอาศัยเวลา ประสบการณ์ ซง่ึ ตอ้ งผสาน ระหว่างความแข็งแกร่ง และความอ่อนโยน คุณลักษณะสำ�คัญของผู้นำ�คือ ความซื่อสัตย์ ม่ันคง มองภาพรวม น่าเชื่อถือ รู้จักตนเอง มีความมั่นใจ และ เมตตา พรอสเสค (Prossack, 2018) นำ�เสนอลักษณะผู้นำ�ท่ียิ่งใหญ่ ดังน้ี ๑) เป็นผู้ให้คำ�แนะนำ� สนับสนุนเพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาตนเอง ไม่ใช้วิธีการช้ีแนะ และไม่ใช่ผู้กำ�หนดแนวทาง ๒) พร้อมปรับตัวและ พร้อมรับมือกับความเปลี่ยนแปลง ๓) ให้ความเคารพและความไว้วางใจ ผู้อ่ืน ๔) เป็นผู้ท่ีมีทักษะการสื่อสารท่ีเหมาะสมกับสถานการณ์ เป็นผู้ฟัง ที่ดีเพ่ือให้เกิดความเข้าใจความคิดผู้อ่ืน และพร้อมท่ีจะปรับเปล่ียนวิธี การสื่อสารท่ีเหมาะสมกับบุคคลและสถานการณ์ แชปแมน (Chapman, 2010) ได้กล่าวถึงทักษะการเป็นผู้นำ� (leadership) ว่า เป็นความสามารถ ในการสร้างแรงจูงใจ เพือ่ นำ�กลุ่มบคุ คลให้ด�ำ เนนิ การต่าง ๆ ให้ไปสเู่ ปา้ หมาย ซึ่งต้องอาศัยทักษะทางด้านสังคม ทักษะอารมณ์ และทักษะการทำ�งาน ร่วมกับผู้อื่น ส่วน Mind tool content team (2010) ได้กล่าวถึงผู้นำ�ว่าเป็น ผู้ที่จะช่วยให้บุคคลอ่ืนให้ทำ�ในสิ่งท่ีถูกต้องเป็นผู้ที่ช่วยวางทิศทาง สร้าง

กรอบสมรรถนะหลกั ผ้เู รียนระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน 98 และระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) แรงบนั ดาลใจมมุ มองใหม่ใหก้ ารท�ำ งานราบรนื่ ไปสเู่ ปา้ หมายภาวะผนู้ �ำ จะท�ำ ให้ เกิดความตื่นตัว เกิดแรงบันดาลใจ และความก้าวหน้าในการทำ�งาน ผู้นำ� ที่มีประสิทธิภาพจะมีลักษณะดังนี้ ๑) สร้างแรงบันดาลใจเพื่อให้มีพลังใน การท�ำ งาน ๒) สรา้ งแรงจงู ใจ ใหเ้ กดิ ความมงุ่ มนั่ ผกู พนั ในการท�ำ งาน ๓) จดั การ ใหเ้ กดิ ความรว่ มมอื และท�ำ งานใหเ้ ปน็ ไปตามเปา้ หมาย๔)แนะน�ำ สรา้ งทมี งาน และดงึ พลงั ทกั ษะส�ำ คญั ของสมาชกิ ในทมี มาใชใ้ นการท�ำ งานใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย การทำ�งานแบบร่วมมือรวมพลัง มหาวิทยาลัยสตราตไคลด์ (The University of Strathclyde : 2017 ได้กล่าวถึงการทำ�งานเป็นทีม และการทำ�งานแบบร่วมมือ รวมพลังว่า เป็นความสามารถในการทำ�งานกับผู้อ่ืนท่ีมีการกำ�หนดเป้าหมายอย่าง มีประสิทธิภาพ เป็นการทำ�งานร่วมกันอย่างเคารพในความแตกต่างของ ความคิดเห็นและความต้องการ ร่วมช่วยเหลือสนับสนุนผู้อื่นอย่างเต็มใจ ยอมรบั เปา้ หมายและแนวทางการท�ำ งานอยา่ งเตม็ ใจตระหนกั ในการแกป้ ญั หา แบบชนะ ชนะ ซ่ึงทุกคนได้รับผลท่ีดีในการทำ�งานให้บรรลุเป้าหมาย สำ�หรับ พฤติกรรมท่ีแสดงการทำ�งานเป็นทีม และการทำ�งานแบบร่วมมือ รวมพลัง มี ๒ สว่ นดงั น้ี ๑) การสรา้ งและรกั ษาความสมั พนั ธ์ (Building and Maintaining Relationships) ซ่ึงมีรายละเอียดคือ เป็นการให้และรับข้อมูลย้อนกลับจาก เพ่ือนและสมาชิกในทีมเพื่อการปฏิบัติงานอย่างเต็มท่ี แลกเปลี่ยนความคิด กับผู้อื่น รับฟังและยอมรับความรู้สึก ความคิดเห็น ทักษะ ประสบการณ์ ความคิดสร้างสรรค์ และความสามารถของบุคคลอื่น รับฟัง สนับสนุน ความคิดเห็นของสมาชิกในทีมอย่างเต็มท่ี ทั้งความคิดเหมือนและความคิด ท่ีแตกต่าง แก้ปัญหาท่ีเกิดข้ึนอย่างนุ่มนวล ทำ�ให้เกิดการยอมรับทุกฝ่าย ๒) การปฏบิ ัติงานใหบ้ รรลเุ ป้าหมาย (Achieving the task ) ซ่ึงมรี ายละเอียด คือ เป็นการให้ และรับข้อมูล ข้อเสนอแนะ จากผู้อื่น เพื่อกำ�หนดเป้าหมาย ร่วมกัน หาข้อมูล และช่วยเหลือบุคคลอื่นในการแก้ปัญหา และทำ�งาน

กรอบสมรรถนะหลักผูเ้ รียนระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน และระดบั ประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑ - ๓) 99 เพื่อบรรลุเป้าหมายท่ีกำ�หนดร่วมกัน แลกเปลี่ยนข้อมูล ความคิด และ ขอ้ เสนอแนะ ก�ำ กบั ตรวจสอบบทบาท ขอ้ ตกลง แจง้ ขอ้ มลู ความเปลย่ี นแปลง และปัญหาที่เกิดข้ึนอย่างทันเวลา เพื่อปรับเปล่ียนแนวทางการทำ�งาน ใหเ้ หมาะสม และเพอื่ บรรลผุ ลตามเปา้ หมาย ประสานความคดิ ประนปี ระนอม เจรจาเพ่อื การแกป้ ัญหาท่ที ุกฝ่ายยอมรับ เบลการด์ ฟิสเชอร์ และ เรย์เนอร์ ( Belgrad, Fisher and Rayner, 1995 ) ได้กล่าวถึงการทำ�งานแบบรวมพลังและการทำ�งานเป็นทีมว่า เป็นการผสาน ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การแก้ปัญหา ทักษะการสื่อสารเพื่อ การทำ�งานอันจะนำ�ไปสู่การกำ�หนดเป้าหมายร่วมกัน การสร้างบรรยากาศ การท�ำ งานรว่ มกนั สมาชกิ ในทมี จะตอ้ งด�ำ เนินการ ๔ เร่ือง ดงั นี้ ๑) การไว้วางใจ (Trust) และซอ่ื สตั ย์ ๒) กำ�หนดบทบาทให้ชัดเจน (Clarify Roles) ๓) สอ่ื สาร อย่างเปิดใจ และมีประสิทธิภาพ (Communicate Openly & Effectvely) ๔) ชื่นชม ในความแตกตา่ ง หลากหลายของความคิด (Appreciate Diversity of Ideas ) ๕) สร้างความสมดุลในสิ่งที่เป็นจุดเน้น/เป้าหมายของทีม (Balance the Team’ Focus ) หลักการ ๖ ประการในการทำ�งานแบบร่วมพลัง และการทำ�งานเป็นทีม กลคิ แมน (Glickman, 2018) ได้กลา่ วถงึ หลกั การ ๖ ประการในการทำ�งาน แบบร่วมพลัง และการทำ�งานเป็นทีม ดังน้ี ๑) การเปิดกว้าง เปิดรับบุคคล ตา่ ง ๆ เขา้ มาร่วมทำ�งาน ๒) ความกล้าหาญในการใช้วธิ กี าร ๓) การทดลอง หาส่ิงใหม่ โอกาสใหม่ ๆ เพ่ือลดเวลา และหาผู้เช่ียวชาญเข้ามาช่วยงาน ๔) ความไวว้ างใจ ๕) มคี วามโปรง่ ใส เปดิ เผย ๖) การก�ำ หนดเปา้ หมายกลยทุ ธ์ และวธิ ีการท่ีชดั เจน การท�ำ งานเป็นทมี สำ�นักงาน กพ. (๒๕๖๐) ได้กล่าวถึงความหมายของทีมว่า หมายถึง การท�ำ งานรว่ มกนั และสง่ เสรมิ กนั ไปในทางบวก ผลงานรวมของทมี ทไี่ ดอ้ อกมา

กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รียนระดบั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน 100 และระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) จะได้มากกว่าผลงานของทุกคนรวมกัน และได้กล่าวถึง ความสำ�คัญของ การท�ำ งานเปน็ ทมี วา่ การท�ำ งานเปน็ ทมี มคี วามส�ำ คญั และสง่ ผลตอ่ ความส�ำ เรจ็ ความก้าวหนา้ และการพัฒนางานเปน็ อยา่ งยง่ิ ในการทำ�งานเป็นทีมน้ัน จำ�เป็นจะต้องมีหลักการทำ�งานทั้งในส่วนผู้นำ� สมาชิก กระบวนการท�ำ งาน และการสง่ เสริมบรรยากาศในการทำ�งาน สำ�หรบั ผู้นำ�ทีมน้ันต้องมีคุณสมบัติ ดังน้ี ๑) เป็นผู้ริเร่ิมที่ดี ๒) มีเป้าหมายชัดเจน ๓) มีความสามารถในการสร้างแรงจูงใจให้สมาชิก ๔) มีความสามารถใน การให้คำ�แนะนำ�ปรึกษาท่ีดี ๕) มีทักษะในการช้ีให้สมาชิกในทีมรู้บทบาท หนา้ ทีข่ องตนเอง ๖) มที ักษะในการจัดระบบและโครงสร้างในทีม ๗) เป็นผ้ฟู ัง ท่ีดี ๘) เป็นนักส่ือสารท่ีดี ๙) เป็นนักคิดวิเคราะห์ และตัดสินใจท่ีดี ในส่วน สมาชิกของทีมต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ ๑) ทำ�หน้าที่ของตนให้ดีท่ีสุด ๒) ยอมรับกฎกติกาของทีม ๓) ให้ความร่วมมืออย่างเต็มท่ี ๔) ปฏิบัติตน ให้เป็นที่ไว้วางใจ ๕) เปิดใจรับความคิดใหม่ ๆ ๖) ยอมรับความแตกต่าง ๗) สร้างความสมั พันธก์ บั เพอ่ื นร่วมทีมและ ๘) คิดถึงสว่ นรวมมากกวา่ ส่วนตน ๑๐. สมรรถนะหลักด้านการเป็นพลเมืองท่ีเข้มแข็ง/ตื่นรู้ ทีม่ ีสํานกึ สากล (Active Citizen with Global Mindedness) ในส่วนนี้จะเสนอข้อมูลที่เกี่ยวกับสมรรถนะหลักด้านการเป็นพลเมือง ที่เขม้ แข็ง/ต่ืนรู้ท่มี ีสํานึกสากล ดังนี้ ความเปน็ พลเมืองในระบอบประชาธิปไตย การปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข จะมีคุณภาพเพียงใดย่อมข้ึนอยู่กับคุณภาพของพลเมืองท่ีมีศักยภาพ มีความสามารถ มีสว่ นร่วมทางการเมืองและการปกครองได้ โดยทว่ั ไปมนุษย์ มีธรรมชาติท่ีเอาตัวรอด และเอาเปรียบกันแบบ “ปลาใหญ่กินปลาเล็ก” การพัฒนาคุณภาพของพลเมืองด้วยการศึกษาจึงเป็นเร่ืองสำ�คัญมาก การศกึ ษาดงั กลา่ วคอื “การศกึ ษาเพอื่ สรา้ งพลเมอื งประชาธปิ ไตย” เปน็ การศกึ ษา

กรอบสมรรถนะหลักผูเ้ รียนระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน และระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้น (ป.๑ - ๓) 101 ท่ีเริ่มตั้งแต่เด็กและดำ�เนินต่อไปไม่สิ้นสุดจนกระท่ังถึงระดับอุดมศึกษา และ เขา้ สวู่ ัยท�ำ งาน ส่งเสรมิ เสรภี าพและทักษะการคิดและการแสดงออกมากกวา่ การทำ�ตามในแบบการศึกษาระบบเดิม ส่งเสริมสิทธิมนุษยชนคือ การเคารพ คุณค่าของความเป็นมนุษย์เสมอกัน เคารพความแตกต่างและความยุติธรรม ส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านการให้การศึกษาทางการเมือง (Political Education) เพ่ือสนับสนุนการมีส่วนร่วมทางการเมือง มากกว่าการเรียนรู้จากการรับรู้ แต่ขาดประสบการณ์ และเพ่ือไม่ให้การใช้อำ�นาจทางการเมืองถูกผูกขาด อยเู่ ฉพาะกลมุ่ ใดกลมุ่ หนงึ่ การศกึ ษาเพอื่ สรา้ งพลเมอื งในระบอบประชาธปิ ไตย จึงมีเป้าหมายสำ�คัญในการช่วยให้ผู้เรียนรู้จักสังคมของตน เห็นโอกาสและ ชอ่ งทางในการเขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มและรบั ผดิ ชอบกบั ระบอบการเมอื ง การปกครอง ของประเทศ ตลอดจนได้แสดงบทบาท ปฏิบัติหน้าท่ีในฐานะ “พลเมืองที่ มงุ่ เนน้ ความเปน็ ธรรมในสงั คม”(Justice-OrientedCitizen)ทง้ั นเ้ี พอ่ื สรา้ งสรรค์ วัฒนธรรมประชาธิปไตยในสังคมให้เข้มแข็งและยั่งยืน การศึกษาเพื่อ สร้างพลเมืองประชาธิปไตยในระบอบประชาธิปไตย ให้ความสำ�คัญกับ การปรับเปล่ยี นพฤติกรรมของบคุ คลและกลุม่ ควบคูไ่ ปกับการสรา้ งความเชอ่ื ร่วมกันตามแนวทางประชาธิปไตย จนเกิดความเห็นความเป็นสาธารณะ ร่วมกัน การจัดการศึกษาเพ่ือสร้างพลเมืองประชาธิปไตยในระบอบ ประชาธิปไตยจึงจำ�เป็นต้องสร้างระบบการเรียนรู้ของประชาชนในชาติ เพอ่ื ใหเ้ กดิ กระบวนการขดั เกลาทางสงั คม (Socialization) เออื้ ใหบ้ คุ คลปฏบิ ตั ิ จนเป็นวิถีชีวิต จนเกิดเป็นวัฒนธรรมร่วมของสังคม และนำ�ไปสู่การสร้าง เสถียรภาพทางการเมือง ซึ่งเป็นเป้าหมายสูงสุดของการปกครอง เสถียรภาพ ทางการเมืองของรัฐจะเกิดขึ้นได้อย่างย่ังยืนนาน ก็โดยการสร้างความเป็น ประชาธปิ ไตย (Democratization) ท่ีรับรองสิทธิเสรีภาพความเสมอภาค และ ความยุติธรรมของคนในสังคม

กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รียนระดบั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน 102 และระดับประถมศกึ ษาตอนต้น (ป.๑ - ๓) ความเป็นพลเมืองโลก การศกึ ษาเพอ่ื ความเปน็ พลเมอื งโลก(GlobalCitizenshipEducation:GCEd) เปน็ สว่ นหนงึ่ ของโครงการยทุ ธศาสตรด์ า้ นการศกึ ษาขององคก์ ารยเู นสโก (ระหวา่ ง ปี ๒๕๕๗-๒๕๖๐) และเป็นหน่ึงในสามของการดำ�เนินงานหลักท่ีสำ�คัญของ ข้อริเริ่มโลกของเลขาธิการสหประชาชาติ เร่ือง Global Education First Initiative ที่ได้เปิดตัวในเดือนกันยายน ๒๕๕๕ โดยให้ความสำ�คัญต่อ การพัฒนาผู้เรียนในทุกช่วงอายุด้วยการให้ความรู้เรื่องค่านิยม ความรู้ และ ทักษะบนพื้นฐานความเคารพในเรื่องสิทธิมนุษยชนและความยุติธรรม ทางสงั คม ความหลากหลาย ความเสมอภาคทางเพศ และความยงั่ ยนื เกยี่ วกบั สภาพแวดล้อม และการเสริมสร้างศักยภาพผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ ในฐานะเปน็ พลเมืองโลก การประชุมเนื่องในโอกาส UNESCO ครบรอบ ๗๐ ปี ได้มีการประชุม เร่ือง Second UNESCO Forum on Global Citizenship Education (GCEd) Building peaceful and sustainable societies: preparing for post - 2015 ได้ประกาศเร่ืองการดำ�เนินงานด้านการศึกษาของยูเนสโก เร่ืองกำ�หนด เป้าหมายของการศึกษาเพื่อสร้างสันติภาพและการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดย การศกึ ษาเพอื่ ความเปน็ พลเมอื งโลกนบั เปน็ ประเดน็ ส�ำ คญั ขบั เคลอื่ นโดยกลไก ของคณะทำ�งาน Learning Metrics Task Force เพื่อสนับสนนุ เยาวชนให้เปน็ “พลเมอื งโลก” รวมถงึ การพฒั นาการเรยี นร้แู ละศักยภาพของเยาวชน การศกึ ษาเพอื่ ความเปน็ พลเมอื งโลกเปน็ กรอบกระบวนทศั นท์ างการศกึ ษา เพื่อให้การศกึ ษาสามารถพฒั นาความรู้ ทกั ษะ ค่านิยม และทัศนคติที่จ�ำ เปน็ สำ�หรับการดำ�เนินชีวิตของผู้เรียนในโลกท่ีดำ�รงไว้ซึ่งความยุติธรรม สันติภาพ ขันติธรรมสำ�หรับประชาชนทุกคน มีความม่ันคงและย่ังยืน เป็นแนวคิด ที่ตระหนักถึงความสำ�คัญของการศึกษาในการสร้างความเข้าใจและแก้ไข ปัญหาของโลกในบริบทสังคม การเมือง วัฒนธรรม เศรษฐกิจและมิติ

กรอบสมรรถนะหลักผู้เรียนระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน และระดับประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑ - ๓) 103 ด้านสิ่งแวดล้อม ท้ังยังให้ความสำ�คัญกับบทบาทการศึกษาในการสร้าง องคค์ วามรู้ และทกั ษะทางปญั ญาทช่ี ว่ ยเพมิ่ คา่ นยิ ม รวมถงึ การท�ำ งานอยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพ และสง่ เสรมิ ทศั นคตริ ะหวา่ งผเู้ รยี นทชี่ ว่ ยเสรมิ สรา้ งความรว่ มมอื ระหว่างประเทศ และการเปล่ียนแปลงทางสงั คม นอกจากนีย้ งั เป็นส่วนส�ำ คัญ ในวาระการพฒั นาภายหลงั ปี ๒๕๕๘ ในการสรา้ งความรู้ ฝกึ ฝนทกั ษะและสรา้ ง สมรรถนะซง่ึ เป็นส่งิ จ�ำ เป็นสำ�หรบั ผู้เรียนในทศวรรษที่ ๒๑ การศึกษาเพ่ือสร้างความเป็นพลเมอื งโลก มีเป้าหมายเพ่อื สร้างศกั ยภาพ ของผู้เรียนในการมีส่วนร่วมและการดำ�เนินบทบาทสำ�คัญต่อการเผชิญ ความท้าทายของโลกทั้งในระดับท้องถ่ินและระดับโลก ให้ความสำ�คัญต่อ การอุทิศตนเพ่ือสร้างโลกแห่งสันติภาพ ขันติธรรม เพื่อประโยชน์สำ�หรับ ประชาชนทกุ คนมคี วามมน่ั คงและยง่ั ยนื การศกึ ษาเพอ่ื สรา้ งความเปน็ พลเมอื งโลก มีรากฐานจากการเรียนรู้ตลอดชีวิต การดำ�เนินงานดังกล่าว ไม่เฉพาะเพียง การจัดการศึกษาสำ�หรับเด็กและเยาวชนเท่านั้น ยังรวมถึงการศึกษาผู้ใหญ่ โดยสามารถดำ�เนินการทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ การศึกษาตามอธั ยาศัย การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมืองโลกมีเป้าหมายเพื่อการพัฒนาผู้เรียน ให้ดำ�เนินบทบาทเชิงรุกท้ังในระดับท้องถ่ิน และระดับโลกเพื่อแก้ไขปัญหา ทา้ ทายของโลกโดยใหม้ คี วามยตุ ธิ รรม สงบสขุ ขนั ตธิ รรม ใหป้ ระโยชนป์ ระชาชน ทุกคน มีความมั่นคงและความยั่งยืน ในการดำ�เนินงานดังกล่าว ผู้เรียน และนักการศึกษาจะร่วมกันสำ�รวจรากเหง้าและสาเหตุของเหตุการณ์ และการพัฒนาในระดับท้องถ่ิน โดยคำ�นึงถึงความเช่ือมโยงระดับโลก และกำ�หนดแนวทางการแก้ปัญหาที่เป็นไปได้ การสำ�รวจและเชื่อมโยง ระหว่างประเด็นปัญหาในระดับท้องถิ่นและระดับโลกเพ่ือพัฒนาศักยภาพ ระดับโลกท่ตี อ้ งพ่งึ พาและเปล่ยี นแปลงอยา่ งรวดเร็ว

กรอบสมรรถนะหลักผูเ้ รยี นระดับการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน 104 และระดับประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑ - ๓) การจัดทำ�หลกั สตู รส�ำ หรับความเปน็ พลเมืองโลก ครอบคลมุ วชิ าการสอน มากกว่าหนึ่งวิชา และมีขอบข่ายมากกว่าการจัดทำ�หลักสูตรในวิชาใด วิชาหนึ่ง ปัจจุบันการศึกษาเพื่อความเป็นพลเมืองโลก ได้กลายเป็นส่วนหนึ่ง แห่งการสะท้อนความต้องการด้านสภาพแวดล้อม มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจ การเรียน การสอน และความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันการศึกษาและชุมชน นอกจากน้ี การศึกษาเพ่ือความเป็นพลเมืองโลกได้บูรณาการให้เป็นส่วนหนึ่ง ของวชิ าปจั จบุ นั เชน่ การศกึ ษาเพอื่ สรา้ งความเปน็ พลเมอื ง หรอื หนา้ ทพี่ ลเมอื ง สังคมศาสตร์ สงั คม/ส่งิ แวดลอ้ มศึกษา วัฒนธรรมโลก ภูมศิ าสตรโ์ ลก เป็นต้น พลเมอื งทีเ่ ข้มแข็ง/ต่นื รู้ แนวคดิ ของความเปน็ พลเมอื ง หรอื Citizenship นนั้ มาจากแนวคดิ หลกั ๆ ๓ ประการ (Cohen 1999; Kymlicka and Norman 2000 ; Carens , 2000) คือ ๑) พลเมืองตามสถานภาพทางกฎหมาย ประกอบด้วย หน้าท่ีพลเมือง สทิ ธทิ างการเมอื งการปกครองและสทิ ธทิ างสงั คม ๒) พลเมอื งในฐานะตวั แทน ของการเมืองการปกครองซึ่งเป็นพลเมืองที่มีความกระตือรือร้นในการมี สว่ นรว่ มกบั สถาบนั ทางการเมอื ง๓)พลเมอื งในฐานะสมาชกิ ของชมุ ชนทางการเมอื ง ที่มีเอกลักษณ์ของตนชัดเจน สาํ นกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร (๒๕๕๕) ไดอ้ ธบิ ายความแตกตา่ ง ระหวา่ งคาํ วา่ พลเมอื ง ประชาชน และราษฎรไวว้ า่ คาํ วา่ “ พลเมอื ง” มคี วามหมาย แตกตา่ งจากคาํ วา่ “ประชาชน” และ “ราษฎร” โดยประชาชน หมายถงึ คนทวั่ ไป คนของประเทศ ราษฎร หมายถงึ คนของรฐั สว่ นพลเมอื ง หมายถงึ หมคู่ นทเ่ี ปน็ ของประเทศใด ประเทศหนงึ่ ซง่ึ เปน็ กาํ ลงั ของประเทศชาตใิ นทกุ  ๆ ดา้ น ทงั้ ดา้ น เศรษฐกิจ การทหาร และอํานาจต่อรองกับประเทศอ่ืน นอกจากนี้พลเมือง ยงั หมายถงึ คนทส่ี นบั สนนุ เปน็ กาํ ลงั อาํ นาจของผปู้ กครอง เปน็ คนทอ่ี ยภู่ ายใต้ การควบคมุ ดแู ลของผปู้ กครอง ความแตกตา่ งดงั กลา่ วแสดงใหเ้ หน็ วา่ พลเมอื ง จะเป็นผู้ท่ีกระตือรือร้นในการรักษาสิทธิต่าง ๆ รวมท้ังการมีส่วนร่วมทาง

กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รียนระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน และระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) 105 การเมอื ง ดังนั้น “ความเปน็ พลเมือง” คือ การที่คนในประเทศรบู้ ทบาท หนา้ ที่ และความรบั ผดิ ชอบของสมาชกิ ทางสงั คมทม่ี ตี อ่ รฐั ประชาชนเปน็ แคผ่ รู้ บั คาํ สง่ั จากผู้ปกครองหรือผ้นู าํ ประเทศนั้น ๆ การศกึ ษาเพอื่ ความเปน็ พลเมอื ง(CivicEducation)เปน็ การศกึ ษาทม่ี งุ่ เนน้ การสรา้ งผทู้ เี่ ปน็ ก�ำ ลงั ส�ำ คญั ของเมอื งทจี่ ะสบื ทอดวฒั นธรรมความเปน็ พลเมอื ง ท่ีดีของชาติครอบคลุมพลเมืองทุกวัยของชาติให้เกิดการสืบสานอุดมการณ์ และความเป็นพลเมืองท่ีมีพลังความคิด พลังความรัก และพลังความสามัคคี ไปอย่างต่อเน่ือง อยู่ร่วมกันบนพ้ืนฐานของการเคารพกติกาของสังคม เคารพผู้อ่ืน เคารพหลักการของการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ และลงมอื แก้ปัญหาทเี่ ริ่มตน้ จากตนเอง (แผนปรองดองแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธกิ าร, ๒๕๕๓) การจัดการศึกษาเพ่ือความเป็นพลเมือง เป็นการจัดการศึกษาเพื่อให้ พลเมืองมีความเป็นพลเมืองท่ีดี มีคุณภาพ เป็นกำ�ลังสำ�คัญในการพัฒนา ประเทศ (คณะกรรมการนโยบายปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองด้าน การพฒั นาการศกึ ษาเพอ่ื ความเปน็ พลเมอื งด,ี ๒๕๕๔) พลเมืองในการเมืองภาคพลเมืองจะครอบคลุมทั้ง ๒ ระดับของการเป็น พลเมือง ด้วยสำ�นึกพื้นฐานของการเป็นพลเมืองในการเมืองภาคพลเมือง พลเมืองจึงมีความหมายท่ีกว้างขวางและลึกซ้ึงกว่าความเข้าใจแต่เดิมมาก พลเมอื งตามความหมายใหมจ่ งึ เปน็ พลเมอื งทม่ี สี ว่ นเปน็ ผกู้ ระท�ำ อยา่ งแขง็ ขนั หรือพลเมืองที่เข้มแข็ง/ตื่นรู้ (Active Citizen) เห็นประโยชน์ส่วนรวม มีความรับผิดชอบ และเป็นผู้นำ�การเปล่ียนแปลงในทุกระดับ โดยไม่ปล่อย ให้กจิ การสาธารณะเปน็ เพียงเรอ่ื งของนกั การเมืองหรอื รฐั บาลเท่าน้นั ความเปน็ พลเมืองโลก (Global Citizenship) พลเมืองโลกคือคนท่ีตระหนักถึงโลกกว้างและมีความรู้สึกของบทบาท ของตวั เองในฐานะพลเมอื งโลก ความเคารพและความหลากหลายมคี วามเขา้ ใจ

กรอบสมรรถนะหลกั ผ้เู รยี นระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน 106 และระดบั ประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑ - ๓) ในระบบการทำ�งานของโลก ขจัดความไม่เป็นธรรมในสังคม มีส่วนร่วมใน ชมุ ชนในระดบั ตา่ ง ๆ ตง้ั แต่ระดับทอ้ งถ่ินจนถึงระดับโลก ยนิ ดที ี่จะทำ�ให้โลก มีความเป็นธรรมและยั่งยืนมากข้ึน รับผิดชอบต่อการกระทำ�ของตน เยาวชน ทั่วโลกต้องมีความยืดหยุ่น สร้างสรรค์และต่ืนรู้เพ่ือเป็นพลเมืองโลกท่ีมี ประสทิ ธภิ าพสามารถแกป้ ญั หาตดั สนิ ใจสอ่ื สารความคดิ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และทำ�งานได้ดีภายในทีมและกลุ่ม พลเมืองโลกคือผู้ท่ีมีความคิดที่ชัดเจน และมีความรทู้ ี่สามารถมสี ่วนร่วมในการคิดตดั สินใจเกีย่ วกบั สังคม ดว้ ยเป้าหมาย ๓ ประการ คือ ๑) บุคคลที่มีความรู้และเคารพสิทธิมนุษยชน ๒) เรียนรู้ และตัดสินใจอย่างมีวิจารณญาณ และ ๓) มีแนวคิดเร่ืองความรับผิดชอบ ทั้งต่อตนเองและสงั คม (UNESCO, 1998) การศกึ ษาเพือ่ สรา้ งความเปน็ พลเมือง กลุ่มการศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย ของไทย (Thai Civic Education) (๒๕๕๖) ได้ให้ความหมายของการศึกษา เพื่อสร้างความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยว่า หมายถึง การพัฒนา ศกั ยภาพของประชาชนใหเ้ ปน็ พลเมอื งทมี่ คี ณุ ภาพมคี วามรดู้ ีมคี วามรบั ผดิ ชอบ มีคุณลักษณะ และมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ ในฐานะ ทเี่ ปน็ พลเมอื งในระบอบประชาธปิ ไตยซงึ่ มปี ระชาชนเปน็ เจา้ ของอ�ำ นาจสงู สดุ ในการปกครองประเทศ โดยไดจ้ ัดประเภทของพลเมอื ง (Kind of Citizenship) โดย Joel Westheimer and Joseph Kahne ได้จัดประเภทของ พลเมืองในวิถีประชาธิปไตยจำ�นวน ๓ แบบด้วยกัน ได้แก่ พลเมืองท่ีมี ความรับผิดชอบ (Personally Responsible Citizen) พลเมืองที่มีส่วนร่วม (Participatory Citizen) และพลเมืองที่มุ่งเน้นความเป็นธรรม (Justice Oriented Citizen) พลเมืองท้ังสามแบบมีความสำ�คัญต่อการปกครองระบอบประชาธิปไตย อนั เปน็ พนื้ ฐานในการพฒั นาประเทศทง้ั สน้ิ ทวา่ พลเมอื งทม่ี งุ่ เนน้ ความเปน็ ธรรม

กรอบสมรรถนะหลกั ผู้เรยี นระดับการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน และระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) 107 ในสังคมนั้นมีคุณลักษณะพิเศษท่ีจะนำ�การเปลี่ยนแปลงมาสู่สังคม เชิงมหภาคได้มากกว่าพลเมืองระดับอื่น ๆ เนื่องจากพลเมืองท่ีมุ่งเน้นความ เปน็ ธรรมในสงั คมจะเปน็ พลเมอื งทม่ี แี นวคดิ ในการแกป้ ญั หาและพฒั นาสงั คม เพื่อเปล่ียนแปลงเชิงระบบหรือโครงสร้างท่ีเป็นอยู่ของสังคมเพื่อก่อให้เกิด ความเป็นธรรมต่อกลุ่มคนในทุกระดับ พลเมืองกลุ่มน้ีจะมุ่งเน้นไปที่การคิด เชงิ วพิ ากษต์ อ่ โครงสรา้ งสงั คมนโยบายและเศรษฐกจิ โดยพจิ ารณาปรากฏการณ์ ในเชิงลึก มีการสืบสอบ วิเคราะห์ติดตามความเคล่ือนไหวทางสังคมและผล กระทบเชิงระบบที่เกิดข้ึน ตลอดจนนำ�เสนอประเดน็ ที่ไมเ่ ป็นธรรมต่อสงั คม กรอบแนวคิดหลักสูตรการศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองในระบอบ ประชาธิปไตยของไทย (๒๕๕๖) ได้เสนอองค์ประกอบของความเป็นพลเมือง ในระบอบประชาธปิ ไตยมคี ณุ ลกั ษณะโดยรวม๔ประการคอื พลเมอื งทเี่ ขม้ แขง็ /ตน่ื รู้ (Active Citizen) เป็นพลเมืองท่ีมีส่วนร่วมทางการเมืองท้ังทางตรงและ ทางอ้อม พลเมืองเป็นผู้ท่ีมีความรู้และมีข้อมูลเกี่ยวกับประชาธิปไตย ท่ีเพียงพอ (Informed/Knowledgeable Citizen) อันประกอบด้วย ระบบการเมือง ระบบกฎหมาย สิ่งแวดล้อม ความย่ังยืน สิทธิ หน้าท่ีและ ความรบั ผดิ ชอบ พลเมอื งทมี่ ที กั ษะพนื้ ฐานประชาธปิ ไตย (Skilled Citizen) ประกอบด้วยการคิดอย่างมีวิจารณญาณ การทำ�งานเป็นหมู่คณะ การใช้ กระบวนการประชาธปิ ไตยแบบปรกึ ษาหารือด้วยเหตผุ ล (deliberation) และ พลเมืองในระบอบประชาธิปไตย (Democratic Citizen) มีความเชื่อมั่น ในพหุนิยม (pluralism) ความเป็นหน่ึงท่ามกลางความหลากหลาย การใช้ สันติวิธีในการแก้ไขความขัดแย้งเพ่ือประโยชน์ของส่วนรวม ภราดรภาพ ความเสมอภาค ความยุติธรรมทางสังคม การตรวจสอบและถ่วงดุล (Check and Balance) การพึ่งตนเอง การอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนอย่างพึ่งพากัน (Inter- dependence) และเป็นพลเมืองที่มีความรับผดิ ชอบ (Accountable Citizen) มบี ทบาทรบั ผดิ ชอบตอ่ ผอู้ นื่ (Hold Others Accountable) และเคารพกฎหมาย

กรอบสมรรถนะหลักผเู้ รียนระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน 108 และระดบั ประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑ - ๓) คณุ ลกั ษณะหลกั ๔ ประการดงั กลา่ ว ประกอบคณุ ลกั ษณะรอง ๘ ประการ ดังน้ี ๑) รักความเป็นธรรมและความเสมอภาค ๒) ใช้เสรีภาพด้วย ความรับผิดชอบ ๓) ใช้สิทธิแต่ไม่ละท้ิงหน้าที่ ๔) มีภราดรภาพ และเคารพ ความแตกต่าง ๕) เห็นความสำ�คัญของประโยชน์ส่วนรวม ๖) มีส่วนร่วม ทางการเมือง ๗) คิดอย่างมีวิจารญาณ และ ๘) มีเหตุผล เคารพกฎหมายและ กฎกติกา   การศึกษาเพอ่ื ความเปน็ พลเมอื งโลก แนวคดิ ในการจดั การศกึ ษาของโลกทม่ี กี ารเชอื่ มโยงกบั แนวคดิ การศกึ ษา เพอ่ื การพฒั นาทยี่ ง่ั ยนื (Sustainable Development Education) ซง่ึ UNESCO ให้ความสำ�คัญในการพัฒนาพลเมืองของโลก กลุ่ม Thai Civic Education ได้ติดตามความเคล่ือนไหวดังกล่าว เห็นว่าเพ่ือเป็นการเตรียมการและศึกษา แนวทางให้เชื่อมโยงกับการศึกษาเพื่อความเป็นพลเมือง จึงพัฒนาหลักสูตร อบรมทีเ่ ชือ่ มโยงการพฒั นาพลเมืองทัง้ ในระดับพลเมอื งของประเทศ พลเมอื ง ในภูมิภาคอาเซียน และพลเมืองโลก เข้าด้วยกัน โดยพลเมืองในแต่ละระดับ ต่างมีคุณลักษณะสำ�คัญท่ีเก่ียวข้องกันอยู่ นอกจากนี้การเป็นพลเมืองโลก ยังครอบคลมุ ถงึ การพัฒนาที่ยัง่ ยืน (Sustainable Development: SD) มิติการเรียนรู้ของการศึกษาเพื่อความเป็นพลเมืองโลกปรากฎดังตาราง ดังน้ี

มติ ขิ องการเรียนรู้ (Domain of Learning) ของการศึกษาเพ่ือความเป็นพลเมอื งโลก (Global Citizenship Education) ความรู้ สังคมและอารมณ์ พฤติกรรม (Cognitive) (Socio-emotional) (Behavioral) ผลการเรียนรูห้ ลกั (Key Learning Outcomes) - มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจและคดิ เชงิ วพิ ากษ์ - มคี วามรสู้ กึ ยดึ โยงกบั เพอื่ นมนษุ ย์ - แสดงออกและลงมือปฏิบัติอย่าง กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รยี นระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน เ กี่ ย ว กั บ ป ร ะ เ ด็ น ถ ก เ ถี ย ง ร ะ ดั บ มคี วามนยิ มและความรบั ผดิ ชอบ รับผิดชอบ และมีประสิทธิภาพ ท้องถิ่น ประเทศ ภูมิภาค และโลก ร่วมกันบนพ้ืนฐานของหลักสิทธิ เพื่อสร้างโลกที่ยั่งยืนและมีสันติ และระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) 109 และภาวะท่ีประเทศต่าง ๆ และ มนษุ ยชน มากขน้ึ ทง้ั ในระดบั ทอ้ งถน่ิ ประเทศ ประชากรของโลกพึ่งพาอาศัยกัน ภมู ภิ าค และโลก (Interdependency) และเก่ียวเน่ือง เชอื่ มโยงกนั (Interconnectedness) - ได้พัฒนาทักษะในการคิดวิเคราะห์ - มีทัศนคติเก่ียวกับความเข้าอก - ได้พัฒนาแรงจูงใจ (Motivation) และคดิ เชงิ วพิ ากษ์ งิ วิพากษ์ เขา้ ใจผอู้ นื่ (Empathy) ความเปน็ และความเตม็ อกเตม็ ใจ(Willingness) น้ําหนึ่งใจเดียวกัน (Solidarity) ท่ีจะลงมือปฏิบัติในส่ิงท่ีสำ�คัญ ความเคารพในความแตกต่าง จำ�เปน็ ในฐานะพลเมอื งโลก และหลากหลาย

คณุ ลักษณะของผูเ้ รียน (Key Learner Attributers) กรอบสมรรถนะหลกั ผู้เรียนระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน รเู้ ทา่ ทนั เชงิ วพิ ากษ์ มคี วามรเู้ พยี งพอ ยึดโยงกับสังคมเคารพความ ตน่ื ตวั มสี ว่ นรว่ ม รบั ผดิ ชอบอยา่ งมี 110 และระดับประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) - รู้เก่ียวกับประเด็นถกเถียงโครงสร้าง หลากหลาย จรยิ ธรรม - พัฒนาและจัดการอัตลักษณ์ - แสดงออกซง่ึ ทกั ษะ คา่ นยิ ม ความเชอื่ การบริหารจัดการ และระบบธรรมา ภบิ าลระดบั ทอ้ งถ่นิ ประเทศ และโลก ความสัมพนั ธ์ และความรสู้ กึ ร่วม และทศั นคติ ได้อย่างเหมาะสม เป็นสว่ นหนึ่งของสังคม - เข้าใจเรื่องการพึ่งพาอาศัยกัน และ - แลกเปล่ียนค่านิยมและความ - แสดงความรบั ผดิ ชอบระดบั บคุ คล ความเชื่อมโยงระหว่างท้องถิ่นและ รบั ผดิ ชอบบนพ้นื ฐานสทิ ธมิ นษุ ยชน และสังคม เพ่ือสร้างโลกท่ีสันติ โลก และยั่งยืน - มีทักษะในการสืบสอบเชิงวิพากษ์ - พัฒนาทัศนคติต่อความแตกต่าง - พัฒนาแรงจูงใจและความเต็มอก และการวิเคราะห์ และความหลากหลายอยา่ งเหมาะสม เต็มใจท่จี ะรักษาประโยชนส์ าธารณะ และรับผิดชอบ ท่ีมา : UNESCO (2015) Global Citizenship Education : Topics and Learning Objective. Paris.

กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รยี นระดบั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน และระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) 111 บรรณานกุ รม สมรรถนะหลักด้านภาษาไทยเพือ่ การสอ่ื สาร การส่ือสาร (Communication). สืบค้นเมื่อ ๙ ตุลาคม ๒๕๖๑, [ออนไลน์]. จาก Chulapedia จฬุ าวทิ ยานกุ รม. http://www.chulapedia.chula.ac.th ภาษาไทยเพ่อื การสอื่ สาร. สืบคน้ เม่อื ๙ ตลุ าคม ๒๕๖๑, [ออนไลน]์ . จาก https://sites.google.com/site/nattiya59001997/bthna Communication. สืบค้นเมือ่ ๙ ตุลาคม ๒๕๖๑, [ออนไลน์]. จาก Merriam-Webster https://www.merriam-webster.com/dictionary/communication Language and communication. สืบคน้ เมอ่ื ๙ ตุลาคม ๒๕๖๑, [ออนไลน]์ . จาก Enciclopedia.com https://www.encyclopedia.com/media/ encyclopedias-almanacs-transcripts-andmaps/language- and communication Utrecht Institute of Linguistics OTS. Language and communication. สืบค้นเมอื่ ๙ ตลุ าคม ๒๕๖๑, [ออนไลน]์ . จาก https://www.uu.nl/en/ research/utrecht-institute-of-linguistics-ots/research/language- and communication สมรรถนะหลกั ด้านคณติ ศาสตรใ์ นชีวิตประจำ�วัน กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๕๑). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ : คุรสุ ภาลาดพร้าว. วรรณี ธรรมโชต.ิ (๒๕๕๐).หลกั การคณติ ศาสตร.์ กรงุ เทพฯ:โรงพมิ พภ์ าพพมิ พ.์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (๒๕๕๔). ครูคณิตศาสตร์ มืออาชีพ เส้นทางสู่ความสําเร็จ. กรุงเทพฯ : สถาบันส่งเสริมการสอน วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี

กรอบสมรรถนะหลักผ้เู รียนระดับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน 112 และระดบั ประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑ - ๓) Alberta Government. Competencies and current programs of study : Mathematic. [Online]. Retrieved from https://education.alberta.ca/ media/3576122/comp-in-math_20mar_17_final.pdf Altintas, E. and Ozdemir, S.A. (2012). The Effect of Teaching with the Mathematics Activity Based on Purdue Model on Critical Thinking Skills and Mathematics Problem Solving Attitudes of Gifted and Non-Gifted Students. SciVerseScienceDirectProcedia Social and Behavioral Science. 46, 853-857. สมรรถนะหลักด้านการสบื สอบทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละจิตวทิ ยาศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๕๒). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร แหง่ ประเทศไทย. จันทร์เพ็ญ เช้ือพานิช. (๒๕๔๒). แนวคิดทางวิทยาศาสตร์ : กระบวนการ พ้นื ฐานในการวิจยั . ใน จนั ทรเ์ พ็ญ เชื้อพานชิ และสร้อยสน สกลรักษ,์ ประมวลบทความการเรยี นการสอนและการวจิ ยั ระดบั มธั ยมศกึ ษา, หนา้ ๖๙-๘๓. กรงุ เทพฯ : ส�ำ นกั พิมพ์แหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . ทิศนา แขมมณี. (๒๕๕๑). ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อการจัด กระบวนการเรยี นรทู้ มี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ. พมิ พค์ รง้ั ที่ ๘. กรงุ เทพฯ : ส�ำ นกั พมิ พ์ แห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . ศศิเทพ ปิติพรเทพิน. (๒๕๕๘). การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์กับสังคม แห่งศตวรรษที่ ๒๑. สมทุ รปราการ : เนวา่ เอด็ ดูเคชัน่ . สุนยี ์ คลา้ ยนลิ , ปรชี าญ เดชศรี และอมั พลกิ า ประโมจนีย.์ (๒๕๕๐). บทสรุป เพ่ือการบรหิ าร : การรูว้ ิทยาศาสตร์ การอา่ น และคณติ ศาสตร์ ของ นักเรียนวัย ๑๕ ปี. กรุงเทพฯ : เซเวน่ พรนิ้ ตงิ้ กรุป้ . Brown, N. J. S. et al. (2010). The evidence-based reasoning framework : Assessing scientific reasoning. Education.

กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รียนระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน และระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้น (ป.๑ - ๓) 113 Bybee, R. W. (2014). NGSS and the next generation of science teachers. Journal of Science Teacher Education, 25(2), 211-221. Capobianco, B. M., Nyquist, C., & Tyrie, N. (2013). Shedding light on engineering design. Science and Children, 50(5), 58. Driver, R. et al. (2000). Establishing the Norms of Scientific Argumentation in Classrooms. Science Education 84, 287-321. Fanetti, T. M. (2011). The effect of problem-solving video games on the science reasoning skills of college students. Doctor of Philosophy in Education University of Missouri-St. Louis. LAZEL, Inc. (2018). Science A-Z Resources to Practice Scientific Argumentation, Speaking, and Listening Skills. [Online]. Retrieved from https://www.sciencea-z.com/main/resourcetype/type/de- bates. Lertdechapat, K. &Faikhamta, C. (2018). Science and engineering practices in a revised Thai science curriculum. Proceedings of the 6th International Conference of Science Educators and Teachers (ISET): 16-28. National Research Council [NRC]. (1996). National science education standards. National Academies Press. NGSS. (2013). APPENDIX F - Science and Engineering Practices in the NGSS. [Online]. Retrieved from https://www.nextgenscience. org/sites/default/files/Appendix%20F%20%20Science%20and%20 Engineering%20Practices%20in%20the%20NGSS%20-%20 FINAL%20060513.pdf. NSTA. (2013). Science & Engineering Practices in Next Generation Science Standards. [Online]. Retrieved from http://nstahosted. org/pdfs/ngss/resources/matrixfork-12progressionofsciencean- dengineeringpracticesinngss.8.14.14.pdf.

กรอบสมรรถนะหลักผู้เรียนระดบั การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน 114 และระดับประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) OECD. (2006). Assessing scientific, reading and mathematical literacy: A framework for PISA 2006. Paris: OECD. Sadler, T. D., &Zeidler, D. L. 2005). Patterns of informal reasoning in the context of socioscientific decision making. Journal of Research in Science Teaching, 42(1), 112-138. Schleicher, A., Zimmer, K., Evans, J., & Clements, N. (2009. PISA 2009 Assessment Framework: Key competencies in reading, Mathemat- ics and Science. OECD Publishing (NJ1). สมรรถนะหลักด้านภาษาอังกฤษเพ่อื การสอ่ื สาร คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน, สำ�นักงาน. (๒๕๕๗). แนวปฏิบัติตาม ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง นโยบายการปฏิรูปการเรียน การสอนภาษาองั กฤษ.กรงุ เทพฯ:ส�ำ นกั พมิ พ์บรษิ ทั จามจรุ โี ปรดกั ส์จ�ำ กดั . สถาบันภาษาอังกฤษ สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน. คู่มือ การจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษแนวใหม่ ตามกรอบมาตรฐาน ความสามารถทางภาษาองั กฤษทเี่ ปน็ สากล ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษา. สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพแห่งประเทศไทย. กรอบอ้างอิงความสามารถทาง ภาษาองั กฤษของประเทศไทย(FrameworkofReferenceforLanguage Education In Thailand). Council of Europe. Common European Framework of Reference of Languages : Learning, teaching, assessment. Cambridge University Press. Douglas Brown. English language teaching in the “Post-Method” Era: Toward better diagnosis, treatment, and assessment. Retrieved from https:// learn.Canvas. net/courses/1646/pages/tesol-sec- ond-language –acquisition? module item _id=189938 Jack , C.R. Current trends in communicative language teaching.

กรอบสมรรถนะหลกั ผูเ้ รียนระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐาน และระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) 115 TESOL Certification Program (Teaching of English to Speakers of Other Languages). TESOL Foundation Material & Methodologies is credited to Dr. SiavashValiTESOLCanada. [Online]. Retrieved from https://learn.canvas.net/courses/1646/assignments/syllabus สมรรถนะหลักด้านทกั ษะชวี ติ และความเจริญแหง่ ตน คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรรี าชา มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์. การพัฒนาตน : Self Development. สืบค้นเม่ือ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๖๑, [ออนไลน์]. จาก http://std.eng.src.ku.ac.th/?q=node/354 ความหมายของทกั ษะชวี ติ . สบื คน้ เมอ่ื ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๖๑, [Blog post]. จาก https://uparadigm.blogspot.com/2017/02/life-skills-meaning.html ทกั ษะชีวิต. สืบค้นเม่ือ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๖๑, [ออนไลน์]. จากวกิ ิพเี ดยี https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%81 %E0%B8%A9%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B 8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%95 ทกั ษะชวี ติ . สบื คน้ เม่ือ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๖๑, [ออนไลน์]. จาก IH2Matket https://www.im2market.com/2017/12/01/4673 พระธรรมโกศาจารย์ (ประยรู ธมฺมจิตโฺ ต). (๒๕๕๓). ปญั ญาตอ้ งคูก่ บั กรุณา จงึ จะพาชาติรอด. กรงุ เทพฯ : เซนปร้ินต้ิง. พระธรรมปิฏก (ป.อ. ปยตุ โฺ ต). (๒๕๔๖). รุ่งอรณุ ของการศึกษา เบกิ ฟา้ แหง่ การพัฒนาทย่ี ั่งยนื . นครปฐม : วัดญาณเวศกวัน. พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ. ปยตุ โฺ ต). (๒๕๕๓). ICT กา้ วหนา้ คนต้องพัฒนา ปญั ญาและวนิ ยั . นครปฐม : คณะ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร มหาวทิ ยาลัยมหิดล, ๒๕๕๓. -------. พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร์ ฉบบั ประมวลธรรม. สบื คน้ เมอ่ื ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๑, [ออนไลน์]. จาก http://84000.org/tipitaka//dic/d_item. php?i=293

กรอบสมรรถนะหลักผเู้ รียนระดบั การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน 116 และระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) พระสทิ ธเิ ดช สีลเตโช. การพฒั นาตน พัฒนาคน และพัฒนางาน ตามแนว วถิ พี ทุ ธ. สบื คน้ วนั ที่ ๒ ตลุ าคม ๒๕๖๑, [ออนไลน]์ . จาก Phd.mbu.ac.th เพอื่ การศกึ ษาพระพทุ ธศาสนา. http://phd.mbu.ac.th/index.php/2014- 08-28-08-57-4/146-2016-03-23-17-04-49 วินัย เพชรช่วย. การพัฒนาตน. สืบค้นเมื่อ ๒ ตุลาคม ๒๕๖๑, [ออนไลน์]. จาก NovaBizz http://www.novabizz.com/NovaAce/Learning/ Self_Development.htm สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล. เขา้ ใจใส่ใจวยั รุน่ . สืบคน้ เมอื่ ๒๒ สงิ หาคม ๒๕๖๑, [ออนไลน์]. จาก http://www.factsforlifethai.cf.mahidol.ac.th/teenager/support02. php องค์กรแพลนอินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย. คู่มือทักษะชีวิต. สืบค้นเมื่อ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๖๑, [ออนไลน์]. จาก http://lifeskills.obec.go.th/ wp-content/uploads/2017/01/rtp-lifeskill-final.pdfPemez Sassen. What is personal growth and why you need it. [Online]. Retrieved from https://www.successconsciousness.com/blog/personal- development/what-is-personal-growth/ สมรรถนะหลักด้านทักษะอาชพี และการเป็นผู้ประกอบการ เกรยี งศกั ด์ิ เจรญิ วงศศ์ กั ด.ิ์ (๒๕๕๐). การประกอบการทรี่ บั ใชส้ งั คม : ความหวงั ใหม่ ในการพัฒนาสังคมไทย. สืบค้นเม่ือ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๑, [Blog]. จาก Oknation http://oknation.nationtv.tv/blog/kriengsak/2007/03/ 26/entry-1

กรอบสมรรถนะหลักผเู้ รยี นระดับการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน และระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) 117 สกณุ ี อาชวานนั ทกลุ .ความรเู้ รอ่ื งทางการเงนิ (financialliteracy)(1):หลกั สากล และวธิ วี ดั .สบื คน้ เมอื่ ๑๗มถิ นุ ายน๒๕๖๑,[ออนไลน]์ .จากThaiPublica https://thaipublica.org/2013/06/financial-literacy-1/aomMoney. (๒๕๖๐). ๕ เหตผุ ลที่เราจ�ำ เป็นต้องมี “ความรู้ทางการเงิน”. สืบค้นเมอ่ื ๑๗ มถิ นุ ายน ๒๕๖๑, [ออนไลน]์ . จาก Line Today.https://aommoney. com/stories/insuranger/5-เหตผุ ลทเี่ รา จ�ำ เปน็ ตอ้ งมคี วามรทู้ างการเงนิ / 687#jm4qf6jy75 Entrepreneurship. [Online]. Retrieved from BusinessDictionary. http://www.businessdictionary.com/definition/entrepreneurship. html Kraiger, K., Ford, J. K. & Salas, E. (1993). Application of cognitive, skill-based, and affective theories of learning outcomes to new methods of training evaluation. Journal of Applied Psychology, 78, 311-328. Krueger,N.F.(2005).Thecognitivepsychologyofentrepreneurship.In: Acs, Z. J. & Audretsch, D. B. (eds.) Handbook of entrepreneurship research: An interdisciplinary Survey and introduction. New York : Springer. Krueger, N. F. (2007). What lies beneath? The experiential essence of entrepreneurial thinking: Entrepreneurship theory and practice, 31, 123-138. Kyrö, P. (2005). Entrepreneurial learning in a cross-cultural context challenges previous learning paradigms. In: Kyrö, P. & Carrier, C. (eds.). The Dynamics of Learning Entrepreneurship in a Cross- Cultural University Context. Hämeenlinna: University of Tampere. Lackeus,M.(2014). Anemotionbasedapproachtoassessingentrepreneurial education. International Journal of Management Education, In press.

กรอบสมรรถนะหลกั ผ้เู รยี นระดบั การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน 118 และระดับประถมศกึ ษาตอนต้น (ป.๑ - ๓) Mahieu, R. (2006). Agents of change and policies of scale: a policy study of entrepreneurship and enterprise in education. Doctoral thesis, UmeåUniversitet. Maytwin P. ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ เมื่อทักษะในโลกเก่า ไม่เก๋าพอ อีกตอ่ ไป!. สบื ค้นเมื่อ ๑๗ มถิ ุนายน ๒๕๖๑, [ออนไลน]์ . จาก Medium. com https://medium.com/base-the-business-playhouse/21st- century-skill-ทักษะแห่งศตวรรษที่-21-898985d417ce Minisota State Colleges and Universities. What Are Job Skills?. [Online]. Retrieved from https://careerwise.minnstate.edu/mymncareers/ finish- school/job-skills.html Mwasalwiba, E. S. (2010). Entrepreneurship education: a review of its objectives, teaching methods, and impact indicators. Education + Training, 52, 20-47. QAA. (2012). Enterprise and entrepreneurship education : Guidance for UK higher education providers. Gloucester, UK: The Quality Assurance Agency for Higher Education. Sánchez, J. C. (2011). University training for entrepreneurial competencies : Its impact on intention of venture creation. International Entrepreneurship and Management Journal, 7, 239- 254. Shane, S. & Venkataraman, S. (2007). The Promise of entrepreneurship as a field of research. Entrepreneurship.Springer. Stevenson, H. H. &Jarillo, J. C. (1990). A paradigm of entrepreneurship : entrepreneurial management. Strategic management journal, 11, 17-27. WiKipedia. 21st century learning skills. [Online]. Retrieved from http://etec.ctlt.ubc.ca/510wiki/21st_Century_Learning_Skills

กรอบสมรรถนะหลกั ผ้เู รยี นระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน และระดับประถมศกึ ษาตอนต้น (ป.๑ - ๓) 119 สมรรถนะหลักดา้ นการคิดขนั้ สงู และการสรา้ งนวตั กรรม ทิศนา แขมมณ.ี (๒๕๔๔). วิทยาการดา้ นการคดิ . กรุงเทพฯ : บริษทั เดอะ มาสเตอร์ กรุป๊ แมเนจเมน้ ท์ จ�ำ กัด. -------. (๒๕๔๙). การน�ำ เสนอรปู แบบเสรมิ สรา้ งทกั ษะการคดิ ขน้ั สงู ของนสิ ติ นักศึกษาครูระดับปริญญาตรีสำ�หรับหลักสูตรครุศึกษา : รายงาน การวิจยั . คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. -------.(๒๕๕๕).การสอนวจิ ยั และผลติ ผลงานวชิ าการในสาขาวชิ าหลกั สตู ร และการสอน : ประสบการณ์จากอดีตสู่อนาคตท่ียั่งยืน. โครงการ เสวนาวชิ าการภาควชิ าหลกั สตู รและการสอน,คณะครศุ าสตร์จฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลยั . (เอกสารอัดสำ�เนา). -------.(๒๕๖๐). ศาสตรก์ ารสอน องคค์ วามรเู้ พอื่ การจดั กระบวนการเรยี นรู้ ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ. กรงุ เทพฯ : ส�ำ นกั พมิ พแ์ หง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . สมรรถนะหลักดา้ นการรูเ้ ท่าทนั สอ่ื สารสนเทศ และดิจิทลั ถิรนันท์ อนวัชศริ ิวงศ์ และพิรณุ อนวชั ศริ ิวงศ์. (๒๕๖๑). MIDL for Kids : การรเู้ ทา่ ทนั สอื่ สารสนเทศ และดจิ ทิ ลั ส�ำ หรบั เดก็ ปฐมวยั .กรงุ เทพฯ : มูลนธิ สิ ่งเสริมสอ่ื เดก็ และเยาวชน. สถาบันส่ือเด็กและเยาวชนและเครือข่ายการศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง ประชาธิปไตย. (๒๕๕๙). กรอบแนวคิดในการพัฒนาหลักสูตรการรู้ เทา่ ทนั สอื่ สารสนเทศ และดจิ ทิ ลั เพอื่ สรา้ งพลเมอื งประชาธปิ ไตย. เอกสารประกอบการประชุมโต๊ะกลม “การพัฒนากรอบแนวคิดและ หลักสูตร การรู้เท่าทันส่ือ สารสนเทศ และดิจิทัล เพ่ือสร้างพลเมืองใน ระบอบประชาธิปไตย” วันท่ี ๒๒ มิถุนายน ๒๕๕๙ โรงแรมแมนดาริน กรุงเทพฯ. โสภดิ า วรี กลุ เทวญั . (๒๕๖๑). เทา่ ทนั ส่ือ: อ�ำ นาจในมือพลเมอื งดิจทิ ัล. กรุงเทพฯ : สถาบันสอ่ื เดก็ และเยาวชน. Livingston, Sonia. (2004). What is media literacy? Intermedia, 32(3). 18-20.

กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รยี นระดับการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน 120 และระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) Ofcom. (2009). Audit of learning-related media literacy policy devel- opment [pdf]. http://stakeholders.ofcom.org.uk/binaries/research/ media-literacy/Education_Policy_Audit_for_1.pdf [8 July 2018] UNESCO. (2013). Media and information literacy: Policy and strategy guidelines [Online]. Retrieved from, http://www.unesco.org/new/en/ communication-and-information/resources/publications-and-com- munication-materials/publications/full-list/media-and-informa- tion-literacy-policy-and-strategy-guidelines/ UNESCO. (2016). Media and information literacy. UNESCO, [Online]. Retrieved from http://www.unesco.org/new/en/communication -and-information/media-development/media-literacy/mil-as-com- posite-concept สมรรถนะหลักด้านการทำ�งานแบบรวมพลงั เป็นทมี และมภี าวะผู้น�ำ Ashira Prossack. The 4 key element of grate leadership. [Online]. Retrieved from https://www.forbes.com/sites/ashiraprossack1 /2018/08/28/4-key-elements-of-great-leadership/#7405fe2db445 Belgrad, W., Fisher, K., & Rayner, S. (1995). Tips for teams: A ready reference for solving common team problems. McGraw-Hill: New York. Collaborative Exchange. The 4 principle of collaboration & teamwork. [Online]. Retrieved from https://www.pgi.com/blog/2012/06/ four-principles-of-collaboration-and-teamwork/ Glickman. (2018) . 6 Principles of effective collaboration https://urj.org/ blog/2018/01/16 What Is Leadership? [Online]. Retrieved from https://www.mindtools. com/pages/article/newLDR_41.htm /6-principles-effective-collab- oration

กรอบสมรรถนะหลักผเู้ รียนระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐาน และระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) 121 University of Strathclyde Glasgow. Teamwork & collaboration skills. [Online]. Retrieved from https://www.strath.ac.uk/professionals- ervices/careers/skills/peopleskills/teamworkcollab orationskills/ สมรรถนะหลกั ด้านการเปน็ พลเมืองที่เขม้ แข็ง/ตนื่ รทู้ ี่มีสำ�นกึ สากล กลมุ่ Thai Civic Education. (2556). กรอบแนวคดิ หลกั สูตรการศึกษาเพื่อ สรา้ งความเปน็ พลเมอื งในระบอบประชาธปิ ไตย. กรงุ เทพฯ : เทคนคิ อิมเมจ. พระพรหมคณุ าภรณ์(ป.อ.ปยตุ โต).(๒๕๔๕).ประชาธปิ ไตยทแี่ ทจ้ รงิ คอื แคไ่ หน. พิมพ์คร้ังท่ี ๔. กรุงเทพฯ : ส�ำ นักงานคณะกรรมการการเลอื กตั้ง. วิสุทธ์ิ โพธแิ ทน่ . (๒๕๕๐). แนวคิดพ้นื ฐานของประชาธปิ ไตย. กรุงเทพฯ : สถาบนั พระปกเกล้า. Asia-Pacific Centre of Education for International Understanding (APCIEU). (2017). Global Citizenship Education: A guide for policymakers. Oxfam. (2015). Education for Global Citizenship: Guide for school. Oxford: Oxfam Education and Youth, Oxfam House. Tawil, s. (2013). Education for ‘Global Citizenship: A framework for discussion. UNESCO education research and foresight, Paris. [erf working papers series, no.7]. UNESCO. 2015). Global citizenship education: Topics and learning objectives. The United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization. Westheimer, J. (2015). What kind of citizen?: Educating our children for the common good. New York NC: Teachers College Press Westheimer, J. and Kahne, J. Educating the “Good” citizen: Political choices and pedagogical goals.

กรอบสมรรถนะหลกั ผู้เรียนระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน 122 และระดับประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓)

กรอบสมรรถนะหลกั ผูเ้ รียนระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน และระดับประถมศกึ ษาตอนต้น (ป.๑ - ๓) 123 ภาคผนวก ก (รา่ ง) ระดบั ความสามารถในการอา่ นและการเขยี นระดบั A1 ของสถาบันภาษาไทยสริ นิ ธร จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย และ ระดบั ความสามารถทางภาษาองั กฤษ ตามกรอบ CEFR และ FRELE-TH

กรอบสมรรถนะหลกั ผู้เรยี นระดบั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน 124 และระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้น (ป.๑ - ๓) รา่ ง ระดบั ความสามารถในการอ่านและการเขยี นระดับ A1 ของสถาบนั ภาษาไทยสริ นิ ธร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ๑. ภาพรวมระดบั ความสามารถในการอา่ น A1 อา่ นออก อา่ นเขา้ ใจ ทำ�ได้ สามารถอ่านบทอ่านขนาดสั้นที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำ�วันได้ หากเขียน ด้วยภาษาที่ง่าย ชัดเจน และเป็นคำ�ที่คุ้นเคย (คำ�คุ้นตา) โดยเฉพาะเมื่อมี รูปภาพหรือสัญลักษณ์ประกอบ เช่น ประกาศ คำ�สั่ง โปสเตอร์ โฆษณา แบบฟอรม์ ตาราง แผนที่ บตั รอวยพร อีเมล จดหมายขนาดส้ัน นิทาน การ์ตูน หรอื เร่อื งส�ำ หรับเยาวชน สามารถเขา้ ใจเนอื้ หาในบทอา่ นขนาดสน้ั ซง่ึ เขยี นดว้ ยภาษาทงี่ า่ ย หากเปน็ เรื่องที่เกี่ยวกับตนเอง เช่น ครอบครัว โรงเรียน หรือเป็นเรื่องที่สนใจ เช่น กีฬา ดนตรี ท่องเท่ียว ผจญภัย การ์ตูน สัตว์และพืชบางชนิด เทคโนโลยี หรอื เปน็ เรอื่ งทพี่ บบอ่ ยในชวี ติ ประจ�ำ วนั เชน่ ฤดกู าล อากาศ อณุ หภมู ิ วนั เวลา สถานท่ี ทิศทางโดยเฉพาะเม่อื มภี าพประกอบ สามารถทำ�ตามข้ันตอนของสิ่งท่ีอ่านได้ หากเป็นการเขียนท่ีสั้น ชัดเจน ใชค้ �ำ งา่ ย โดยเฉพาะเมอ่ื มรี ปู ภาพหรอื สญั ลกั ษณป์ ระกอบ เชน่ การบอกทศิ ทาง เคร่ืองหมายจราจร หรอื ไมม่ รี ูปภาพประกอบ เชน่ โจทย์ข้อสอบ A 1.1 รจู้ กั และจดจ�ำ พยญั ชนะสระวรรณยกุ ต์เลขไทยและอารบกิ ทง้ั หมดได้ อ่านคำ�พนื้ ฐานงา่ ยๆ ทพี่ บบ่อยได้ อา่ นขอ้ ความส้ัน ๆ ที่ใชภ้ าษาง่าย ๆ ได้ อ่านค�ำ สง่ั ส้นั ๆ ที่มีสัญลกั ษณ์หรือรปู ภาพก�ำ กบั ได้ A 1.2 อา่ นค�ำ ท่ีประสมตรงรปู และไมต่ รงรูปแตพ่ บบ่อยได้ รแู้ ละเขา้ ใจค�ำ คนุ้ ตาและขอ้ ความขนาดสนั้ ทต่ี อ้ งใชบ้ อ่ ย เชน่ ขอ้ มลู

กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รียนระดับการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน และระดับประถมศกึ ษาตอนต้น (ป.๑ - ๓) 125 เก่ียวกบั ตนเอง ครอบครวั สิง่ รอบตวั และสงิ่ ท่ีตนสนใจได้ อา่ นและเข้าใจคำ�ทใี่ ชใ้ นชวี ิตประจ�ำ วนั หรือทต่ี นสนใจได้ ทำ�ตามคำ�ส่ังท่อี า่ นได้ A 1.3 อ่านและเขา้ ใจคำ�ท่รี ูจ้ ักและไม่รูจ้ กั อา่ นแล้วเขา้ ใจขอ้ ความสัน้ ๆ ที่พบในชวี ิตประจ�ำ วนั หรือเหตุการณ์ ท่ีเกิดข้ึนเป็นประจำ�ท�ำ ตามคำ�สั่งท่อี า่ นได้ อา่ นและเขา้ ใจเรอ่ื งทไ่ี มซ่ บั ซอ้ นโดยใชภ้ าษาทง่ี า่ ยซง่ึ อาจมหี รอื ไมม่ ี ภาพประกอบได้ ๒. ภาพรวมระดบั ความสามารถในการเขียน A1 สามารถเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ถูกต้องตามมาตรฐาน เขียนคำ�/ ขอ้ ความ/ประโยคที่เป็นขอ้ มูลเกย่ี วกบั ตนเอง ครอบครัวและโรงเรยี นได้ เขยี นค�ำ ทเี่ กยี่ วขอ้ งหรอื พบในชวี ติ ประจ�ำ วนั เชน่ สีอาหารเครอ่ื งดมื่ กจิ กรรมได้ เขยี นประโยค/ขอ้ ความขนาดสนั้ อธบิ ายภาพงา่ ย ๆ หากมคี �ำ มาใหไ้ ด้ กรอก ขอ้ มลู ทง้ั ของตนเองและครอบครวั ในแบบฟอรม์ ได้ เขยี นประโยคเดย่ี ว เรยี งตอ่ กันไปเพือ่ บอกส่งิ ทช่ี อบ/ไมช่ อบ สิ่งใกลต้ ัวได้ เขยี นเพือ่ ใหข้ อ้ มลู สน้ั ๆ เช่น วัน เวลา สถานที่นดั พบได้ เขยี นข้อความส้นั ๆ เพอ่ื ใหข้ ้อมลู อธบิ ายหรอื แสดงความยนิ ดีได้ เขยี นอธบิ ายลกั ษณะของบคุ คล สถานท่ี หรอื สงิ่ ของรอบตวั อยา่ งสนั้ ๆ และ ใช้ค�ำ ง่าย ๆ ได้ เขยี นเลา่ ส่งิ ที่เกดิ ขึ้นตามล�ำ ดบั ของเหตุการณ์ได้ A 1.1 เขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ เลขไทยและอารบิกได้ท้ังหมด สามารถคัดลอกค�ำ งา่ ย ๆ และบทขนาดสนั้ ดว้ ยตวั หนังสือมาตรฐานได้ เขียนคำ� ข้อความ หรือประโยคสั้น ๆ ที่ใช้ในชีวิตประจำ�วัน เช่น

กรอบสมรรถนะหลกั ผูเ้ รยี นระดับการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน 126 และระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) เขียน ชอื่ นามสกุลได้ เขียนคำ�เพ่อื อธิบายภาพได้ A 1.2 เขยี นคำ� ขอ้ ความ หรอื ประโยคสั้นๆ เพ่ือส่ือสารตามความตอ้ งการ ของตนได้ เขียนประโยคขนาดส้ันเพื่อบอกข้อมูล อธิบายลักษณะของบุคคล หรือสิง่ ของ หรอื เขียนแสดงความยินดไี ด้ เขยี นประโยคหรือข้อความขนาดส้นั แสดงความชอบหรือไม่ชอบได้ เขยี นประโยคเรียงตอ่ กันเพ่ือเปน็ เรอ่ื งประกอบภาพได้ A 1.3 สามารถเขยี นโดยเลอื กใชค้ �ำ จากคลงั ค�ำ ศพั ทข์ องตนเองได้ เขยี นบรรยายบุคคล สิง่ ของ รปู หรือกจิ กรรมได้ เขียนตามวตั ถปุ ระสงค์ เช่น บันทกึ ประจำ�วัน บตั รเชญิ ได้ สามารถเขียนบรรยายสถานการณ์ที่เกิดข้ึนเป็นประจำ�ทุกวัน จนค้นุ เคยหรือเล่าประสบการณ์ของตนเองได้ เขยี นเรอ่ื งทซ่ี บั ซอ้ นโดยใชภ้ าษาทงี่ า่ ยซงึ่ อาจมหี รอื ไมม่ ภี าพประกอบได้

ระดบั ความสามารถทางภาษาองั กฤษตามกรอบ CEFR และ FRELE -TH ระดับ ระดบั ความสามารถ ระดบั ระดบั ความสามารถตามกรอบ FRELE-TH ** ตามกรอบ CEFR * A1 ผูเรียนสามารถใชและเขาใจประโยคงายๆ A2 ผู้เรยี น/ ผู้ใช้ภาษา ในชีวิตประจำ�วัน สามารถแนะนำ�ตัวเองและ ผูอ่ืนท้ังยังสามารถต้ังคำ�ถามเก่ียวกับบุคคล - รู้คำ�ศัพท์ท่ีพบบ่อยๆ และสำ�นวนพื้นฐานเก่ียวกับ กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รยี นระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน อื่นได เชน เขาอยูท ไี่ หน รูจกั ใครบาง มีอะไรบา ง ตนเอง ครอบครวั และสิ่งต่าง ๆ รอบตวั และตอบคำ�ถามเหลา น้ไี ด ทัง้ ยงั สามารถเขา ใจ และระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) 127 บทสนทนาเม่ือคสู นทนาพูดชาและชดั เจน - เข้าใจและสามารถโต้ตอบกับผู้พูด/คู่สนทนาได้ เม่ือคู่สนทนาใช้สำ�นวนง่าย ๆ พูดชัดเจน และช้า ๆ และคู่สนทนาอาจพูดสำ�นวนน้นั  ๆ ซา้ํ (repetition) และพดู ซาํ้ โดยใชถ้ อ้ ยค�ำ ใหม่ (rephrasing) เมอ่ื พดู เกี่ยวกบั หวั ข้อที่คาดเดาได้ - สามารถให้ข้อมูลส่วนตัวเบื้องต้นเกี่ยวกับตนเอง โดยใช้คำ�และวลีที่สั้นและง่าย หรือใช้ประโยค พ้ืนฐานได้ - เข้าใจคำ�ศัพท์ วลี ประโยคสั้น ๆ รวมไปถึงคำ�สั่ง ท่ีใช้บ่อย ๆ ในสถานการณ์ท่ีคุ้นเคย ไม่ว่าจะเป็น ทง้ั ในการพดู และการเขยี น

ระดบั ระดับความสามารถ ระดับ ระดบั ความสามารถตามกรอบ FRELE-TH ** กรอบสมรรถนะหลกั ผู้เรียนระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ตามกรอบ CEFR * - สามารถใช้คำ�ศพั ท์ วลีส้นั ๆ และส�ำ นวนท่ีใชใ้ นการ 128 และระดับประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) สื่อสารเร่ืองราวในชีวิตประจำ�วัน เพ่ือส่ือสารและ บรรยายขอ้ มูลสว่ นบุคคล สี ตัวเลขพนื้ ฐาน สงิ่ ของ พน้ื ฐาน กจิ วตั รประจำ�วัน ฯลฯ - มีคำ�ศัพท์จำ�กัดซึ่งส่วนใหญ่เป็นคำ�โดด ๆ ระดับ พ้ืนฐาน และใช้วลีส้ัน ๆ  เก่ียวกับสถานการณ์ ในชีวติ ประจ�ำ วันทพี่ บไดท้ ่ัวไป A1+ ผ้เู รยี น / ผู้ใชภ้ าษา - เข้าใจภาษาอังกฤษง่าย ๆ ที่เป็นภาษาพูด เมื่อคู่ สนทนาออกเสยี งชา้ ๆ ระมัดระวงั และหยุดชัว่ ขณะ (pauses) บอ่ ยครัง้ และเปน็ เวลานาน - เข้าใจวลีหรือประโยคภาษาอังกฤษทีส่ ้นั ๆ ง่าย ๆ ท่ีเปน็ ภาษาเขียน

ระดบั ระดับความสามารถ ระดบั ระดับความสามารถตามกรอบ FRELE-TH ** ตามกรอบ CEFR * - รู้ค�ำ หรอื วลงี า่ ย ๆ หรอื พบบ่อยในงานเขียนได้ - เขา้ ใจและสามารถโตต้ อบกบั ผพู้ ดู /คสู่ นทนาโดยใช้ กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รยี นระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน สำ�นวนท่ีพบซ้ํา ๆ ในชีวิตประจำ�วัน หากผู้พูดออกเสียง และระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) 129 ส�ำ นวนดงั กลา่ วช้า ๆ และระมัดระวงั และพดู ซา้ํ - สามารถบรรยายเบื้องต้นเกี่ยวกับบุคคล สิ่งของ ทพี่ บบอ่ ย และสถานทตี่ า่ ง ๆ โดยใชค้ �ำ กรยิ าพน้ื ฐาน และคำ�คุณศพั ทท์ ่ีพบท่วั ไปได้ - สามารถเขียนคำ�และวลีซ่ึงส่วนใหญ่เป็นคำ�และ วลีโดด ๆ (isolated words and phrases) หรือ บางครั้งเขียนเป็นประโยคง่าย ๆ ท่ีไม่ได้เช่ือมโยง ความคิด โดยใช้ค�ำ ศัพท์ท่ีมอี ยู่จ�ำ กดั อย่างมาก - สามารถเดาใจความส�ำ คญั ของวลหี รอื ประโยคทใี่ ช้ ในการพูดและการเขียน ซึ่งมีหัวข้อเกี่ยวข้องกับ เร่ืองประจำ�วนั ท่ีคนุ้ เคย

ระดบั ระดับความสามารถ ระดบั ระดบั ความสามารถตามกรอบ FRELE-TH ** กรอบสมรรถนะหลกั ผู้เรียนระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ตามกรอบ CEFR * 130 และระดับประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) - สามารถใชว้ ลพี ื้นฐาน และกลมุ่ ค�ำ ส�ำ นวนท่ีตายตวั เพื่อใช้ในการส่ือสารและบรรยายข้อมูลส่วนบุคคล กิจวัตรประจ�ำ วนั การขอร้อง ฯลฯ - มีคำ�ศัพท์จำ�กัดในการสื่อสารในสถานการณ์ท่ีทำ� เปน็ กจิ วตั ร A2 ผูเรียนสามารถใช และเขาใจประโยคในชีวิต A2 ผู้เรยี น / ผใู้ ช้ภาษา ประจำ�วันในระดับกลาง เชน ขอมูลเกี่ยวกับ ครอบครวั การจบั จา ยใชส อย สถานที่ ภมู ศิ าสตร์ - เขา้ ใจภาษาองั กฤษงา่ ย ๆ ทเี่ ปน็ ภาษาพดู โดยผพู้ ดู / การทำ�งาน และสามารถสื่อสารในประโยค คู่สนทนาพูดช้า ๆ ชัดเจน และมีการหยุดช่ัวขณะ ในการแลกเปลี่ยนขอมูลท่ัวไป และการใช (pauses) บ่อยครัง้ ชีวิตประจำ�วัน สามารถบรรยายความฝน ความคาดหวัง ประวัติ ส่งิ แวดลอม และสิ่งอนื่ ๆ - เข้าใจภาษาอังกฤษทเี่ ป็นภาษาเขยี นที่ส้นั ๆ ง่าย ๆ ทจ่ี �ำ เปนตองใช - สามารถอ่านและเข้าใจความหมายของบทอ่านที่ คนุ้ เคยได้ - สามารถถามและตอบคำ�ถามง่าย ๆ และโต้ตอบ ในหวั ข้อท่คี ุ้นเคย

ระดบั ระดบั ความสามารถ ระดับ ระดบั ความสามารถตามกรอบ FRELE-TH ** ตามกรอบ CEFR * - สามารถบรรยายเกยี่ วกบั บคุ คล สถานท่ี และสงิ่ ของ โดยใชค้ �ำ และโครงสร้างไวยากรณ์งา่ ย ๆ กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รยี นระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน - สามารถเขยี นประโยคทงี่ า่ ยเปน็ สว่ นใหญ่ โดยไมไ่ ด้ และระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) 131 เชอื่ มโยงความคดิ และใชค้ �ำ ศพั ทท์ มี่ อี ยจู่ �ำ กดั อยา่ งมาก - สามารถหาใจความสำ�คัญของวลีหรือประโยคท่ีใช้ ในการพูดและการเขียน ซึ่งมีหัวข้อเกี่ยวข้องกับ เรือ่ งประจ�ำ วนั - สามารถเดาความหมายของคำ�ท่ีไม่คุ้นเคย โดยใช้ ตวั บอกนยั เชน่ ตอ่ ทา้ ยและรากศพั ทใ์ จความส�ำ คญั ของวลีหรือประโยคที่ใช้ในการพูดและการเขียน ซ่งึ มีหัวข้อคำ�เกยี่ วขอ้ งกับเรื่องประจ�ำ วันท่คี ุน้ เคย - สามารถจัดการกับสถานการณ์เพ่ือเอาตัวรอดได้ โดยใช้คลังภาษาข้ันพื้นฐานเพื่อใช้ในสถานการณ์ ทสี่ ามารถคาดการณ์ได้

ระดบั ระดบั ความสามารถ ระดับ ระดับความสามารถตามกรอบ FRELE-TH ** กรอบสมรรถนะหลกั ผู้เรียนระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ตามกรอบ CEFR * - สามารถใช้รูปประโยคขั้นพ้ืนฐานและกลุ่มคำ� 132 และระดับประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) สำ�นวนที่ตายตัวเพื่อใช้ในการส่ือสารและบรรยาย ขอ้ มลู ส่วนบุคคล กิจวตั รประจำ�วัน การขอรอ้ ง ฯลฯ - มีคำ�ศัพท์เพียงพอในการส่ือสารเก่ียวกับหัวข้อ ทคี่ นุ้ เคยในสถานการณ์เพ่ือเอาตวั รอด A2+ ผ้เู รียน/ ผ้ใู ชภ้ าษา - เขา้ ใจภาษาอังกฤษท่ีเป็นภาษาพูดง่าย ๆ เม่อื ผู้พดู / คสู่ นทนาพดู ช้าและชัดเจน - เข้าใจเม่ือฟังเร่ืองราวที่เก่ียวกับชีวิตประจำ�วัน ซ่ึง ประกอบดว้ ยคำ�ศพั ท์และสำ�นวนต่าง ๆ ทใ่ี ช้ในชวี ิต ประจ�ำ วัน - เข้าใจภาษาอังกฤษที่เป็นภาษาเขียนที่สั้นและง่าย ในหัวขอ้ เกี่ยวกับชวี ติ ประจำ�วัน

ระดบั ระดบั ความสามารถ ระดบั ระดบั ความสามารถตามกรอบ FRELE-TH ** ตามกรอบ CEFR * - สามารถมสี ว่ นรว่ มในการสนทนาแบบมโี ครงสรา้ ง ซ่ึงเป็นการสนทนาส้ัน ๆ และง่าย โดยอาศัย กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รยี นระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน คสู่ นทนาให้ช่วยเหลอื อยูบ่ ้าง และระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) 133 - สามารถเขียนงานโดยใช้ประโยคและคำ�สันธาน ง่าย ๆ และใชค้ ำ�ศพั ท์ทีม่ ีอยอู่ ยา่ งจำ�กัด - สามารถหาใจความสำ�คัญของข้อความที่ใช้ใน การพดู และการเขียน ซึง่ มหี วั ขอ้ เกีย่ วข้องกับเรือ่ ง ประจ�ำ วัน - สามารถเดาความหมายของค�ำ ทไี่ มค่ นุ้ เคย โดยใช้ ตัวบอกนัยจากบรบิ ท - สามารถใช้ส�ำ นวนในชวี ิตประจ�ำ วนั ส้ัน ๆ - สามารถจัดการกับสถานการณ์ในชีวิตประจำ�วันได้ โดยใชค้ ลงั ภาษาขน้ั พนื้ ฐานเพอื่ ใชใ้ นสถานการณ์ ที่สามารถคาดการณ์ได้

ระดบั ระดบั ความสามารถ ระดบั ระดบั ความสามารถตามกรอบ FRELE-TH ** กรอบสมรรถนะหลกั ผู้เรียนระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ตามกรอบ CEFR * 134 และระดับประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) - การสอื่ สารและบรรยายข้อมลู ส่วนบุคคล กจิ วตั ร ประจำ�วัน การขอรอ้ ง ฯลฯ - มีคำ�ศัพท์เพียงพอในการสื่อสารเก่ียวกับหัวข้อ ทค่ี นุ้ เคยในสถานการณก์ ิจวัตรประจ�ำ วัน B1 ผเู รยี นสามารถพดู เขยี น และจบั ใจความส�ำ คญั B1 ผู้เรยี น / ผใู้ ชภ้ าษา ของขอความท่ัวๆไปได เมื่อเปนหัวขอท่ีคุนเคย หรอื สนใจ เชน การท�ำ งาน โรงเรยี น เวลาวา ง ฯลฯ - เข้าใจประเด็นสำ�คัญของเร่ืองท่ีฟัง เมื่อผู้พูด/ สามารถจัดการกบั สถานการณต า ง ๆ ทีเ่ กดิ ขน้ึ คู่สนทนาพูดอย่างชัดเจน ในหัวข้อที่คุ้นเคยและ ระหวางการเดินทางในประเทศท่ีใชภาษาได พบบ่อยเก่ียวกับการทำ�งาน การไปโรงเรียน สามารถบรรยายประสบการณ เหตุการณ กิจกรรมยามว่าง เป็นต้น ตัวอย่างของการพูด ความฝน ความหวัง พรอ มใหเ หตผุ ลสัน้ ๆ ได ในลกั ษณะดังกลา่ วไดแ้ ก่ การเลา่ เรือ่ งสนั้ ๆ - สามารถอา่ นงานเขยี นทเ่ี ปน็ ขอ้ เทจ็ จรงิ และตรงไป ตรงมาในประเด็นท่ีเก่ียวข้องกับสาขาและความ สนใจของตนเอง และเขา้ ใจในระดับท่ีนา่ พอใจ - สามารถใชภ้ าษาทง่ี า่ ยและหลากหลาย เพอื่ สนทนา ในหวั ข้อทค่ี ้นุ เคย แสดงความคดิ เหน็ ของตนเอง

ระดบั ระดบั ความสามารถ ระดบั ระดับความสามารถตามกรอบ FRELE-TH ** ตามกรอบ CEFR * และแลกเปลย่ี นขอ้ มลู เกย่ี วกบั หวั ขอ้ ทต่ี นเองคนุ้ เคย สนใจ หรือหวั ขอ้ เกีย่ วกบั ชวี ิตประจำ�วนั กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รยี นระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน - สามารถสร้างงานเขียนง่าย ๆ ท่ีมีความคิด เช่ือมโยงกันในประเด็นต่าง ๆ ที่คุ้นเคยในสาขา และระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) 135 ทต่ี นเองสนใจโดยเชอ่ื มโยงสว่ นตา่ งๆในงานเขยี น ให้เป็นล�ำ ดับต่อเนอ่ื งกันได้ - เขา้ ใจค�ำ และวลสี �ำ คญั ในบทสนทนาและตดิ ตาม หวั ขอ้ ในการสนทนาได้ - สามารถคาดเดาความหมายของคำ�ที่ไม่รู้ความหมาย จากบริบทและสรุปความหมายของประโยคได้ หากเกี่ยวข้องกับหัวข้อที่คุ้นเคย - สามารถหาวิธีถ่ายทอดประเด็นสำ�คัญที่ตนเอง ต้องการส่ือสารในบริบทท่ีหลากหลาย โดยต้อง เปน็ เรอื่ งราวทต่ี นเองจ�ำ ไดห้ รอื หาวธิ ที จี่ ะถา่ ยทอด เรอ่ื งราวดงั กล่าวไดเ้ ท่านั้น แม้ว่าจะมีความลังเล และพูดออ้ มในหัวข้อท่คี นุ้ เคยบ้าง

ระดบั ระดับความสามารถ ระดบั ระดับความสามารถตามกรอบ FRELE-TH ** กรอบสมรรถนะหลกั ผู้เรียนระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ตามกรอบ CEFR * B1+ ผ้เู รียน / ผู้ใชภ้ าษา 136 และระดับประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) - สามารถเข้าใจเมื่อฟังเร่ืองท่ีมีเน้ือหาไม่ซับซ้อน ในหัวข้อต่างๆที่เก่ียวกับสาขาและความสนใจ ของตนเอง หากผู้พูด/คู่สนทนาพูดอย่างชัดเจน ด้วยสำ�เนียงที่คุ้นเคย และพูดในระดับที่ช้ากว่า การพดู ปกติ - สามารถอ่านงานเขียนท่ีเป็นข้อเท็จจริงในหัวข้อ ท่ีเกี่ยวกับสาขาและความสนใจของตนเอง หากผู้เขียนให้ข้อมูลท้ังหมดหรือข้อมูลส่วนใหญ่ อย่างชดั แจง้ - สามารถส่ือสารอย่างม่ันใจในระดับหนึ่งเก่ียวกับ เร่ืองท่ีคุ้นเคย ทั้งเร่ืองท่ีทำ�เป็นประจำ�หรือ ไม่ได้ทำ�เป็นประจำ� ซึ่งเรื่องดังกล่าวเก่ียวข้องกับ ความสนใจและสาขาอาชีพของตนเอง แต่อาจ ประสบปญั หาอยบู่ า้ งในการสอื่ สารในสงิ่ ทต่ี นเอง ตอ้ งการสอื่ สารอย่างแนช่ ดั

ระดบั ระดับความสามารถ ระดบั ระดับความสามารถตามกรอบ FRELE-TH ** ตามกรอบ CEFR * - สามารถพูดบรรยายได้อย่างต่อเน่ืองและ คล่องแคล่วในระดับหนึ่งโดยเป็นการบรรยายที่ กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รยี นระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ไม่ซับซ้อนในหัวข้อต่าง ๆ ท่ีคุ้นเคย ในสาขาที่ ตนเองสนใจ โดยน�ำ เสนอประเดน็ ตา่ ง ๆ เปน็ ล�ำ ดบั และระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) 137 - สามารถสร้างงานเขียนท่ีไม่ซับซ้อนและมี ความคิดเช่ือมโยงกัน โดยเขียนเกี่ยวกับหัวข้อ ต่างๆ ที่คุ้นเคยในสาขาท่ีตนเองสนใจและใช้ รปู แบบโครงสรา้ งของงานเขยี นไดอ้ ยา่ งเหมาะสม - สามารถใช้ตัวชี้แนะ (clues) ต่าง ๆ เช่น ค�ำ ส�ำ คญั ชอื่ เรอ่ื ง ภาพประกอบ รปู แบบการจดั วาง ตวั อกั ษรในการพมิ พ์ (เชน่ การท�ำ ตวั หนา ตวั เอยี ง การยอ่ หนา้ )การหยดุ พกั ชวั่ ขณะ(pauses)นา้ํ เสยี ง คำ�เช่ือมความ และรูปแบบของโครงสร้างของ งานเขียน เพื่อหาความหมายของคำ�ท่ีไม่คุ้นเคย หาใจความส�ำ คญั และรายละเอียดเพม่ิ เติม

ระดบั ระดบั ความสามารถ ระดับ ระดบั ความสามารถตามกรอบ FRELE-TH ** กรอบสมรรถนะหลกั ผู้เรียนระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ตามกรอบ CEFR * ของงานเขียนหรือเรื่องที่ฟัง รวมทั้งแยกความ 138 และระดับประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) แตกตา่ งของขอ้ เท็จจริงและขอ้ คิดเหน็ ได้ - มีความรู้ด้านภาษาเพียงพอที่จะบรรยาย เหตุการณ์ท่ีไม่ได้คาดคิดไว้ อธิบายประเด็น ต่าง ๆ ของความคดิ หรอื ปญั หาดว้ ยความถูกตอ้ ง แม่นยำ�และแสดงความคิดเกี่ยวกับหัวข้อที่เป็น นามธรรม หรือเกี่ยวกับวัฒนธรรม ตัวอย่างเช่น ดนตรแี ละภาพยนตร์ * ระดบั ความสามารถในการใชภ้ าษา CEFR น�ำ มาจาก แนวปฏบิ ตั ติ ามประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอ่ื ง นโยบาย การปฏริ ปู การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ** Framework of Reference for English Language Education In Thailand กรอบความสามารถทางภาษา องั กฤษของประเทศไทยพฒั นาจาก กรอบอ้างองิ ความสามารถทางภาษาของสภายุโรป (Common European Framework of Reference for Languages - CEFR)

กรอบสมรรถนะหลักผูเ้ รยี นระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน และระดบั ประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑ - ๓) 139 รายช่อื คณะทำ�งานและคณะผวู้ ิจยั โครงการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะหลกั ของผู้เรียน ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ คณะที่ปรึกษา ๑. ศาสตราจารย์กิตติคณุ จรสั สวุ รรณเวลา ๒. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ยุวดี นาคะผดงุ รตั น์ ๓. ดร.ชยั พฤกษ์ เสรรี กั ษ์ ๔. ดร.ชัยยศ อิม่ สวุ รรณ์ ๕. นายเฉลมิ ชนม์ แน่นหนา ๖. ดร.เบญจลกั ษณ์ นาํ้ ฟา้ ๗. นางเก้อื กูล ชั่งใจ คณะทำ�งานวางแผนจัดทำ�กรอบสมรรถนะหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ในคณะกรรมการอสิ ระเพ่อื การปฏริ ูปการศกึ ษา ๑. รองศาสตราจารย์ ดร.ทศิ นา แขมมณ ี ประธาน ๒. รองศาสตราจารย์ ดร.พิมพนั ธ์ เดชะคปุ ต ์ รองประธาน ๓. รองศาสตราจารย์ ดร.บังอร เสรรี ัตน ์ รองประธาน ๔. นางกอบกลุ อาภากร ณ อยธุ ยา คณะทำ�งาน ๕. นางเรยี ม สงิ หท์ ร คณะทำ�งาน ๖. ดร.ศรนิ ธร วิทยะสิรนิ ันท์ คณะท�ำ งาน ๗. ดร.พทิ ักษ์ นลิ นพคุณ คณะท�ำ งาน ๘. นางสาวสุชีรา มธั ยมจันทร ์ คณะท�ำ งาน ๙. ดร.เฉลมิ ชยั พนั ธ์เลศิ คณะทำ�งาน ๑๐. ดร.บรรเจอดพร สูแ่ สนสุข คณะท�ำ งาน

กรอบสมรรถนะหลักผู้เรียนระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน คณะท�ำ งาน คณะทำ�งาน 140 และระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) คณะท�ำ งาน ๑๑. นางสุทธดิ า ธาดานติ ิ คณะท�ำ งาน ๑๒. นางมนศิ รา ศุภกิจ โคลเยส คณะท�ำ งาน ๑๓. ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชารณิ ี ตรีวรัญญู คณะท�ำ งาน ๑๔. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ยศวีร์ สายฟา้ คณะทำ�งาน ๑๕. รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภวรรณ์ เล็กวไิ ล คณะทำ�งาน ๑๖. อาจารย์ ดร.พรเทพ จันทราอกุ ฤษฎ์ คณะท�ำ งาน ๑๗. อาจารย์ ดร.นิติกร อ่อนโยน คณะทำ�งาน ๑๘. นางสาวพิธลุ าวัณย์ ศภุ อทุ ุมพร คณะทำ�งาน ๑๙. นางสาวกรกนก เลิศเดชาภัทร คณะท�ำ งาน ๒๐. นางสาวภสั ร�ำ ไพ จ้อยเจรญิ คณะท�ำ งาน ๒๑. นางสาววรณัน ขุนศร ี คณะทำ�งาน ๒๒. นายวรัญชิต สุขตาม คณะท�ำ งาน ๒๓. รองศาสตราจารย์ พชั รี วรจรสั รังส ี เลขานุการ ๒๔. นางนพมาศ วิ่งวทิ ยาสกลุ ผชู้ ว่ ยเลขานุการ ๒๕. ดร.ชนาธปิ ทยุ้ แป ผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร ๒๖. นางอ�ำ ภา พรหมวาทย ์ ผชู้ ว่ ยเลขานุการ ๒๗. ดร.ประวีณา อัสโย ผชู้ ่วยเลขานกุ าร ๒๘. ดร.วรรษมน จันทรโ์ อกุล ๒๙. นางสาวอุบล ตรีรัตนว์ ชิ ชา ๓๐. นางสาวพิมลภรณ์ ปราบพนิ าศ

กรอบสมรรถนะหลกั ผ้เู รียนระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) 141 คณะผวู้ จิ ัยในความรว่ มมือของมหาวิทยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ หวั หน้าคณะวิจัย ๑. รองศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ คชสิทธ ์ิ ๒. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ฐิตพิ ร พชิ ญกลุ คณะท�ำ งาน ๓. นายบุญเลิศ คอ่ นสอาด คณะทำ�งาน ๔. ดร.ทรงพร พนมวนั ณ อยุธยา คณะทำ�งาน ๕. ดร.กณุ ฑลี บริรกั ษส์ ันตกิ ุล คณะท�ำ งาน ๖. ดร.วรี ะชาติ ภาษีชา คณะทำ�งาน ๗. ดร.ปฏิมาภรณ์ ธรรมเดชะ คณะท�ำ งาน ๘. ดร.สุมาลี เชอื้ ชัย คณะท�ำ งาน ๙. ดร.นาฎฤดี จติ รรังสรรค ์ คณะทำ�งาน และเลขานุการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook