Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สมรรถนะผู้เรียน

สมรรถนะผู้เรียน

Published by ruchanee, 2020-06-13 03:11:19

Description: สมรรถนะผู้เรียน

Search

Read the Text Version

กรอบสมรรถนะหลักผู้เรยี นระดบั การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน และระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) เอกสารประกอบ ล�ำ ดับท่ี ๔ โครงการวจิ ัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผ้เู รียน ระดับประถมศึกษาตอนต้น สำ�หรบั หลกั สูตรการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน สำ�นกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

๓๗๑.๔๒ สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ส ๖๙๑ ก กรอบสมรรถนะหลักผู้เรยี นระดับการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน และระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้น (ป.๑-๓) กรุงเทพฯ : ๒๕๖๒ ๑๕๒ หนา้ ISBN : 978-616-270-202-0 ๑. กรอบสมรรถนะหลกั ๒. ชื่อเร่ือง กรอบสมรรถนะหลกั ผู้เรียนระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน และระดับประถมศกึ ษาตอนต้น (ป.๑-๓) สิง่ พมิ พ์ สกศ. อันดับที่ ๒๕/๒๕๖๒ ISBN 978-616-270-202-0 พิมพค์ รัง้ ท่ี ๑ มิถุนายน ๒๕๖๒ จ�ำ นวนพิมพ ์ ๒,๐๐๐ เลม่ พิมพเ์ ผยแพรโ่ ดย กล่มุ มาตรฐานการศึกษา สำ�นักมาตรฐานการศึกษาและพฒั นาการเรยี นรู้ ส�ำ นักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา ๙๙/๒๐ ถนนสโุ ขทยั เขตดุสติ กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ โทรศัพท์ : ๐ ๒๖๖๘ ๗๑๒๓ ต่อ ๒๕๒๘, ๒๕๒๙ โทรสาร : ๐ ๒๒๔๓ ๑๑๒๙ Website : www.onec.go.th พมิ พท์ ี ่ บรษิ ทั ๒๑ เซ็นจูร่ี จ�ำ กัด ๑๙/๒๕ หมู่ ๘ ถนนเต็มรัก-หนองกางเขน ตำ�บลบางคูรัด อำ�เภอบางบวั ทอง จังหวัดนนทบุรี ๑๑๐๐๐ โทรศัพท์ : ๐ ๒๑๕๐ ๙๖๗๖-๘ โทรสาร : ๐ ๒๑๕๐ ๙๖๗๙ E-mail : [email protected] Website : www.21century.co.th

ก คำ�น�ำ สภาพปัจจุบันของการจัดการศึกษาของประเทศไทย พบประเด็นปัญหา ทส่ี �ำ คญั เรอื่ งหลกั สตู ร การจดั การเรยี นการสอน และการวดั ประเมนิ ผล ซง่ึ สง่ ผล ตอ่ การจดั การเรยี นการสอนและการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาโดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานทก่ี �ำ หนดใหผ้ เู้ รยี นระดบั ประถมศกึ ษา ตอนต้น (ป.๑ - ๓) เรียน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ซึ่งมีตัวชี้วัดจำ�นวนมากนั้น ท�ำ ใหเ้ กดิ ปญั หาแกค่ รแู ละผเู้ รยี น ครจู �ำ เปน็ ตอ้ งเรง่ สอนท�ำ ใหผ้ เู้ รยี นไมป่ ระสบ ความสำ�เร็จในการเรียน หรือแม้กระทั่งการจัดการเรียนการสอนที่เน้นการให้ เนื้อหาความรู้เป็นหลัก ส่งผลให้การสอนของครูยังไปไม่ถึงการช่วยให้ผู้เรียน เกิดความเข้าใจและเกิดสมรรถนะท่ีต้องการให้เกิดขึ้นตามมาตรฐาน การศกึ ษาของชาติรวมทงั้ การวดั ประเมนิ ผลทใี่ ชเ้ ครอ่ื งมอื และมาตรฐานเดยี วกนั จึงไม่เอ้ือต่อการพัฒนาเด็กได้อย่างเหมาะสมตามสมรรถนะ ตามธรรมชาติ และศกั ยภาพของผเู้ รยี น สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ตระหนักถึงความสำ�คัญและ ความจำ�เป็นดังกล่าว จึงร่วมกับคณะทำ�งานวางแผนจัดทำ�กรอบสมรรถนะ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานในคณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรูป การศกึ ษา และคณะผวู้ จิ ยั ด�ำ เนนิ โครงการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะหลกั ของผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น โดยเอกสารกรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและระดับประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑ - ๓) ฉบับน้ี เป็นเอกสารเล่มท่ี ๔ ของโครงการ จัดทำ�ขึ้นเพื่อนำ�เสนอกรอบสมรรถนะหลัก ผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น สำ�หรับหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยนำ�ประเด็นเร่ืองความต้องการของสังคม ประเทศ และโลกในยุคปัจจุบัน และอนาคตท่ีมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วในทุก ๆ ด้าน มาพิจารณา

ข ในการกำ�หนดสมรรถนะหลัก โดยเฉพาะอย่างย่ิงการเปล่ียนแปลงด้าน เทคโนโลยี ท่ีส่งผลต่อวิถีชีวิตรอบด้าน และส่งผลให้เด็กไทยในปัจจุบัน ต้องการความรู้ ทักษะ และสมรรถนะชุดใหม่ท่ีแตกต่างไปจากเดิม ซ่ึงการศึกษาจะต้องมีบทบาทในการตอบสนองความต้องการดังกล่าว ร ว ม ไ ป ถึ ง ก า ร ต อ บ ส น อ ง ต่ อ ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ใ น ก า ร พั ฒ น า ป ร ะ เ ท ศ ในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะทางด้านเศรษฐกิจท่ีต้องการให้ประเทศไทยเข้าสู่ ความเป็นไทยแลนด์ ๔.๐ ซ่ึงต้องการพลเมืองท่ีมีความสามารถในการ คดิ สร้างสรรค์ และผลิตนวตั กรรมได้ สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ขอขอบคุณคณะทำ�งานวางแผน จัดทำ�กรอบสมรรถนะหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และคณะผู้วิจัย ในโครงการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับประถม ศึกษาตอนต้น ตลอดจนทุกฝ่ายที่เก่ียวข้องท่ีได้ร่วมกันศึกษาวิจัยจนประสบ ความสำ�เร็จบรรลุตามวัตถุประสงค์ท่ีกำ�หนดไว้ อันเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ต่อการปฏิรูปหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และการวัดผลประเมินผล (นายสภุ ทั ร จ�ำ ปาทอง) เลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา

ค ค�ำ ชี้แจง เอกสารฉบับนี้เป็นผลงานส่วนหน่ึงของ “โครงการวิจัยและพัฒนากรอบ สมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น” ซึ่งเป็นโครงการวิจัย นำ�ร่องท่ีดำ�เนินการโดยคณะทำ�งานวางแผนจัดทำ�กรอบสมรรถนะหลักสูตร การศึกษาขั้นพ้ืนฐานท่ีจัดต้ังขึ้นโดยคณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรูป การศึกษาและคณะผู้วิจัยในโครงการวิจัยและพิจารณากรอบสมรรถนะหลัก ของผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอสต้นเพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบข้อเสนอ เชงิ นโยบายเพอ่ื การปฏริ ปู การศกึ ษาดา้ นหลกั สตู รและการจดั การเรยี นการสอน โครงการวิจยั ดงั กล่าวมีผลงานที่เปน็ ผลผลิตรวมทัง้ ส้ิน ๒ ชุด ดังน้ี ๑. รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รยี นระดบั ประถมศกึ ษา ตอนตน้ ส�ำ หรับหลกั สตู รการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ๒. เอกสารประกอบจำ�นวน ๑๒ เล่ม ได้แก่ เลม่ ท่ี ๑ ประมวลความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั หลกั สตู รและการจดั การเรยี น การสอนจากกลุ่มผ้เู กี่ยวข้อง เล่มท่ี ๒ กระบวนการก�ำ หนดสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี นระดบั การศกึ ษา ขน้ั พนื้ ฐาน และระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) และวรรณคดที เี่ กยี่ วขอ้ ง กบั สมรรถนะ เลม่ ที่ ๓ การวิเคราะห์ความสอดคล้องของสมรรถนะหลักผู้เรียน ระดับการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน กับหลกั การสำ�คัญ ๖ ประการ เลม่ ท่ี ๔ กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รยี นระดบั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน และระดับประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑ - ๓) เลม่ ท่ี ๕ แนวทางการพัฒนาสมรรถนะหลักผู้เรียนระดับการศึกษา ขัน้ พื้นฐาน

ง เล่มที่ ๖ คู่มือการนำ�กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับประถม ศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) ไปใชใ้ นการพฒั นาผู้เรยี น เลม่ ที่ ๗ ทรพั ยากรการเรยี นรเู้ พอื่ พฒั นาสมรรถนะของผเู้ รยี นยคุ ใหม่ เลม่ ที่ ๘ ส่ือ สง่ิ พมิ พ์ ประชาสมั พันธ์ เล่มท่ี ๙ รายงาน พนั ธกจิ ดา้ นการปฏริ ปู การศกึ ษาผา่ นหลกั สตู รและ การเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ (Commission Report on Education Reform through Competency-Based Curriculum and Instruction) เลม่ ที่ ๑๐ พนั ธกจิ ดา้ นการปฏริ ปู การศกึ ษา ผา่ นหลกั สตู รและการเรยี น การสอนฐานสมรรถนะ : บทสรุปสำ�หรับผู้บริหาร (Commission Report on Education Reform through Competency-Based Curriculum and Instruction : Executive Summary) เล่มท่ี ๑๑ เขา้ ใจสมรรถนะอยา่ งงา่ ยๆ ฉบบั ประชาชนและเขา้ ใจหลกั สตู ร ฐานสมรรถนะอย่างงา่ ย ๆ ฉบับครู ผู้บรหิ าร และบุคลากรทางการศึกษา เล่ม ๑๒ การปฏิรูปเพอ่ื การจดั การเรียนรู้ฐานสมรรถนะเชงิ รุก เอกสารฉบับน้ีเป็นเอกสารประกอบเล่มที่ ๔ ของโครงการซ่ึงเป็นส่วน ท่ีเป็นหัวใจสำ�คัญของโครงการ และเป็นส่วนที่จะเป็นประโยชน์ต่อครู ผู้บริหารและสถานศึกษาโดยตรง สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา จึงเห็น สมควรให้จัดพิมพ์เผยแพร่เพื่อประโยชน์ในการนำ�ไปใช้ อย่างไรก็ตาม เพื่อความเข้าใจที่ชัดเจนข้ึนและประสิทธิภาพในการนำ�ไปใช้ ขอแนะนำ� ให้ผู้ใช้ศึกษาเอกสารอื่น ๆ ของโครงการโดยเฉพาะเอกสารชุดท่ี ๖ คู่มือ การนำ�กรอบสมรรถนะหลักผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑ - ๓) ไปใช้ในการพฒั นาผเู้ รยี นประกอบกันไปด้วย

จ สารบัญ หน้า บทน�ำ ๑ กรอบสมรรถนะหลักผ้เู รียนระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ๖ และกรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รียนระดับประถมศึกษาตอนต้น ( ป.๑ – ๓ ) ๖ ๑. ภาษาไทยเพอื่ การสอ่ื สาร ๑๐ (Thai Language for Communication) ๑๓ ๒. คณติ ศาสตร์ในชวี ติ ประจำ�วัน (Mathematics in ๑๖ Everyday Life) ๑๙ ๓. การสบื สอบทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละจติ วทิ ยาศาสตร์ ๒๒ (Scientific Inquiry and Scientific Mind) ๒๔ ๔. ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๒๘ (English for Communication) ๕. ทักษะชวี ิตและความเจริญแห่งตน (Life Skills and Personal Growth) ๖. ทกั ษะอาชพี และการเป็นผ้ปู ระกอบการ (Career Skills and Entrepreneurship) ๗. ทักษะการคดิ ขน้ั สงู และนวัตกรรม (Higher-Order Thinking Skills and Innovation) ๘. การรู้เท่าทนั สื่อ สารสนเทศ และดจิ ทิ ัล (Media, Information and Digital Literacy : MIDL)

ฉ ๙. การท�ำ งานแบบรวมพลัง เปน็ ทีม และมีภาวะผูน้ �ำ ๓๑ (Collaboration, Teamwork and Leadership) ๓๓ ๑๐. การเป็นพลเมืองท่เี ข้มแขง็ /ตนื่ รทู้ ีม่ ีส�ำ นึกสากล ๓๗ (Active Citizen with Global Mindedness) ๔๔ ค�ำ อธบิ ายสมรรถนะหลกั ๑๐ สมรรถนะอย่างสังเขป ๑๑๑ ความรเู้ สริมเก่ยี วกับสมรรถนะหลัก ๑๐ สมรรถนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ๑๒๓ รา่ ง ระดบั ความสามารถในการอ่านและการเขยี น ระดบั A1 ๑๒๔ ของสถาบันภาษาไทยสริ นิ ธร จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั และระดบั ความสามารถทางภาษาองั กฤษ ตามกรอบ CEFR และ FRELE-TH รายชอ่ื คณะท�ำ งานและคณะผู้วิจัยโครงการวิจัยและพัฒนา ๑๓๙ กรอบสมรรถนะหลกั ของผ้เู รียนระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้

กรอบสมรรถนะหลักผู้เรยี นระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้น (ป.๑ - ๓) 1 บทนำ� การปฏิรูปการศึกษานับเป็นประเด็นสำ�คัญเร่งด่วนที่จำ�เป็นต้องมี การดำ�เนินการกันอย่างจริงจังในทุกองค์ประกอบ โดยเฉพาะในองค์ประกอบ ทสี่ ง่ ผลโดยตรงตอ่ ผลสมั ฤทธแ์ิ ละคณุ ภาพของผเู้ รยี น คอื ครู หลกั สตู ร การเรยี น การสอน และการวดั และประเมนิ ผล จากการศกึ ษาสภาพปญั หา ความตอ้ งการ เอกสาร ผลงานวิจัย การรับฟังความคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิและกลุ่มบุคคล ที่เก่ียวข้อง พบว่า ผู้เรียนในทุกระดับการศึกษาด้อยคุณภาพทั้งทางด้าน ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น พฤติกรรม และคณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ โดยเฉพาะ อย่างย่ิงในด้านการนำ�ความรู้และทักษะที่ตนได้เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เป็น ประโยชนใ์ นชวี ติ ประจ�ำ วนั ซง่ึ หมายถงึ การขาด “ความสามารถเชงิ สมรรถนะ” นน่ั เอง “สมรรถนะ” เป็นพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความสามารถของบุคคล ในการประยุกต์ใช้ความรู้ และทกั ษะต่าง ๆ ในการทำ�งาน การใชช้ วี ิต และ การแก้ปัญหา ศาสตราจารย์เดวิด แมคเคล์ลแลนด์ (David McClelland) แห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด พบว่า สมรรถนะเป็นคุณสมบัติท่ีสามารถ ท�ำ นายความส�ำ เรจ็ ในการท�ำ งานไดด้ กี วา่ เชาวนป์ ญั ญา (Intelligence) สมรรถนะ จึงควรจะเป็นผลลัพธ์ท่ีพึงประสงค์ของการเรียนรู้ เพราะเป็นความสามารถ ในระดับใช้การไดใ้ นชวี ติ ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อคณุ ภาพชวี ิต ในเมอื่ “สมรรถนะ” มคี วามส�ำ คญั และประโยชนต์ อ่ ชวี ติ การศกึ ษาจงึ ตอ้ ง ทำ�หน้าท่ีพัฒนาผู้เรียนให้เกิดสมรรถนะที่จำ�เป็น แต่สมรรถนะอะไรท่ีเป็น ความจ�ำ เป็นทผี่ เู้ รียนทุกคนจะต้องมีเมอ่ื จบการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน (ป.๑ - ม.๖) ประเดน็ นีจ้ ึงเปน็ ค�ำ ถามสำ�คัญที่ต้องตอบใหไ้ ด้เปน็ อนั ดับแรก คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา เห็นถึงความสำ�คัญและ ความจำ�เป็นดังกล่าว จึงได้จัดตั้งคณะทำ�งานขึ้นมาชุดหนึ่งเพ่ือศึกษาหา ค�ำ ตอบ คณะท�ำ งานดงั กลา่ วจงึ จดั ท�ำ “โครงการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะ

กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รยี นระดับการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน 2 และระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) ผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น สำ�หรับหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน” ข้ึนเป็นการนำ�ร่อง โดยคณะทำ�งานได้พัฒนากรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียน ซ่ึงเป็นสมรรถนะของผู้เรียนที่จบชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ เพ่ือให้เห็นกรอบ สมรรถนะในภาพรวมปลายทาง และใชก้ รอบดงั กลา่ วเปน็ หลกั ในการน�ำ สกู่ รอบ สมรรถนะหลักระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) ซง่ึ มีความส�ำ คญั เรง่ ด่วน ท่ีตอ้ งปรับเปลย่ี นกอ่ นระดบั ชนั้ อน่ื  ๆ กรอบสมรรถนะหลักท่ีพัฒนาข้ึน ประกอบด้วยสมรรถนะสำ�คัญ ๑๐ สมรรถนะซง่ึ มคี วามสอดคลอ้ งกบั หลกั การส�ำ คญั ๖ประการคอื เปน็ สมรรถนะท่ี ๑) สามารถตอบสนองความตอ้ งการของประเทศตามทกี่ �ำ หนดไวใ้ นรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี แผนปฏิรปู ประเทศด้านต่าง ๆ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการศึกษาแห่งชาติ และมาตรฐาน การศึกษาของชาติ ๒) สอดคล้องกับทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ซ่ึงเป็นทักษะ ท่ีจำ�เป็นต่อการดำ�รงชีวิตในโลกปัจจุบันและอนาคต ๓) ส่งเสริมการใช้ ศาสตร์พระราชา พระราโชบายของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๑๐ และ พระราชดำ�รัสของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ๔) ให้ความสำ�คัญกับความเป็นไทย ความเป็นชาติไทย เพื่อดำ�รงรักษาเอกลักษณ์ความเป็นไทยให้ถาวรสืบไป ๕) สอดคล้องกับหลักพัฒนาการตามวัยของมนุษย์และตอบสนอง ต่อความแตกต่างท่ีหลากหลายท้ังของผู้เรียน บริบท และภูมิสังคม และ ๖) สามารถเทียบเคยี งกบั มาตรฐานสากลได้ สมรรถนะท้ัง ๑๐ ประการ เป็นสมรรถนะหลักท่ีเด็กและเยาวชนไทย จะต้องได้รับการพัฒนาในช่วงเวลา ๑๒ ปี ของการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพ่ือให้ สามารถก้าวทันการเปล่ียนแปลงและดำ�รงชีวิตอย่างมีคุณภาพในโลกแห่ง ศตวรรษที่ ๒๑ ได้ สมรรถนะทงั้ ๑๐ ประการ ไดแ้ ก่ ๑) ภาษาไทยเพอ่ื การสอ่ื สาร ๒) คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำ�วัน ๓) กระบวนการสืบสอบทางวิทยาศาสตร์

กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รยี นระดบั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน และระดับประถมศกึ ษาตอนต้น (ป.๑ - ๓) 3 และจิตวิทยาศาสตร์ ๔) ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร ๕) ทักษะชีวิตและ ความเจรญิ แหง่ ตน ๖) ทกั ษะอาชพี และการเปน็ ผปู้ ระกอบการ ๗) ทกั ษะการคดิ ข้ันสูงและนวัตกรรม ๘) การร้เู ทา่ ทันส่ือ สารสนเทศ และดจิ ิทลั ๙) การทำ�งาน แบบรวมพลงั เปน็ ทมี และมภี าวะผนู้ �ำ และ ๑๐) การเปน็ พลเมอื งทเ่ี ขม้ แขง็ /ตนื่ รู้ ท่มี ีส�ำ นึกสากล คณะทำ�งานได้พัฒนารายการสมรรถนะหลักทั้ง ๑๐ สมรรถนะในระดับ การศึกษาข้ันพ้ืนฐานและระดับประถมศึกษาตอนต้น รวมท้ังได้พัฒนาแนวทาง การน�ำ สมรรถนะไปใชใ้ นการพัฒนาผู้เรยี นได้ ๖ แนวทาง และน�ำ ไปทดลองใช้ ในโรงเรียนสังกัดต่าง ๆ เพ่ือศึกษาความเป็นไปได้ กระบวนการนำ�ไปใช้ ผลที่เกิดขึ้นกับครูและนักเรียน รวมทั้งปัจจัยท่ีเอื้อและเป็นอุปสรรค ต่อการปฏิบัติงานของครูและการเรียนรู้ของนักเรียน ซ่ึงผลจากการวิจัยและ พฒั นาดงั กลา่ วสามารถน�ำ ไปใชใ้ นการปรบั /พฒั นาหลกั สตู รการเรยี นการสอน และการวัดและการประเมินผล รวมท้ังการพัฒนาครูให้สามารถเพิ่มคุณภาพ การจัดการเรียนการสอน และพัฒนาผู้เรียนให้เกิดสมรรถนะที่ต้องการ ในชีวิตประจำ�วัน โดยเฉพาะอย่างย่ิงสมรรถนะภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร คณติ ศาสตรใ์ นชวี ติ ประจ�ำ วนั ทกั ษะกระบวนการสบื สอบทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละ จติ วทิ ยาศาสตร์ รวมทงั้ สมรรถนะการใชภ้ าษาองั กฤษเพอ่ื การสอื่ สาร สมรรถนะ ทั้ง ๔ น้ี เป็นสมรรถนะท่ีจะช่วยให้เด็กและเยาวชนไทย เป็นคนไทยฉลาดรู้ (Literate Thais) คือ มีความรู้และเครื่องมือพื้นฐานที่จะใช้ในการแสวงหา ความรู้และเรียนรู้ตลอดชีวิต ส่วนสมรรถนะทักษะชีวิตและความเจริญแห่ง ตน และทกั ษะอาชพี และการเปน็ ผปู้ ระกอบการจะชว่ ยใหเ้ ดก็ และเยาวชนไทย มีชีวิตที่อยู่ดีมีสุข (Happy Thais) สำ�หรับทักษะการคิดขั้นสูงและนวัตกรรม รวมทั้งการรู้เท่าทันส่ือ สารสนเทศ และดิจิทัล จะช่วยเพ่ิมพูนความสามารถ ให้เด็กและเยาวชนไทยคิดเก่ง และรู้ทันโลก ทำ�ให้เด็กและเยาวชนไทย เกง่ ขนึ้ มคี วามสามารถสงู ขน้ึ (Smart Thais) สง่ ผลตอ่ การเพมิ่ ขดี ความสามารถ

กรอบสมรรถนะหลักผู้เรียนระดบั การศึกษาข้นั พื้นฐาน 4 และระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) ในการแขง่ ขนั ระดบั โลกดว้ ย สว่ น ๒ สมรรถนะสดุ ทา้ ย คอื สมรรถนะการท�ำ งาน แบบรวมพลัง เป็นทีม และมีภาวะผู้นำ� และสมรรถนะการเป็นพลเมือง ท่ีเข้มแข็ง/ต่ืนรู้ที่มีสำ�นึกสากล จะช่วยให้เด็กและเยาวชนไทยเป็นผู้ ที่สามารถทำ�งานร่วมกับผู้อื่น เป็นผู้นำ�ท่ีดีและเป็นพลเมืองไทยท่ีใส่ใจ สงั คม (Active Thai Citizen) มคี วามรบั ผดิ ชอบ มีส่วนรว่ มในกิจการของสังคม และผดุงความเป็นธรรมในสังคม เพ่ือการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขตลอดไป ดงั แผนภาพ

กรอบสมรรถนะหลักผู้เรยี นระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) 5 สมรรถนะหลกั ๑๐ สมรรถนะ ๑) ภาษาไทยเพอ่ื การสือ่ สาร ๖) ทักษะอาชพี และการเป็นผ้ปู ระกอบการ ๒) คณติ ศาสตรใ์ นชีวิตประจ�ำ วนั ๗) ทักษะการคิดขัน้ สูงและนวัตกรรม ๓) การสบื สอบทางวิทยาศาสตร์ ๘) การร้เู ทา่ ทนั สอื่ สารสนเทศ และดิจิทัล และจิตวิทยาศาสตร์ ๙) การทำ�งานแบบรวมพลัง เปน็ ทีม ๔) ภาษาองั กฤษเพ่อื การสือ่ สาร และมภี าวะผนู้ �ำ ๕) ทกั ษะชวี ิตและความเจริญแหง่ ตน ๑ ๐) การเปน็ พลเมืองท่เี ข้มแขง็ /ต่นื รู้ ท่มี สี �ำ นกึ สากล สำ�หรับกรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น ที่มี การนำ�ไปทดลองใช้นั้น ได้รับการตรวจสอบความสอดคล้องของโครงสร้าง องค์ประกอบของสมรรถนะหลักกับข้อมูลเชิงประจักษ์โดยใช้วิธีการวิเคราะห์ องคป์ ระกอบเชงิ ยนื ยนั (Confirmatory Factor Analysis) ดว้ ยโปรแกรมลสิ เรล แลว้ พบว่า โมเดลโครงสรา้ งของสมรรถนะหลกั มีความสอดคล้องกลมกลนื กับ ขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ ส�ำ หรบั แนวทางการน�ำ สมรรถนะไปใชใ้ นการพฒั นา๖แนวทางนนั้ สามารถ ศึกษารายละเอียดได้จากคู่มือ การนำ�กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับ ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) ไปใชใ้ นการพัฒนาผู้เรียนระดับประถมศึกษา ตอนตน้ (เอกสารประกอบล�ำ ดับที่ ๖) กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานฯ ที่นำ�เสนอน้ี ยังไม่สมบูรณ์ จำ�เป็นจะต้องมีการดำ�เนินการระบุสมรรถนะในช่วงช้ันประถม ศึกษาปีที่ ๔ - ๖ และมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ - ๓ ใหค้ รบสมบูรณต์ ่อไป แตน่ ับเปน็ จุดต้ังต้นให้แก่ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายโดยเฉพาะครูและผู้บริหารให้สามารถ ดำ�เนินการปฏิรูปหลักสูตรและการเรียนการสอนสู่การพัฒนาผู้เรียนให้เกิด สมรรถนะและทักษะท่ีจำ�เป็นต่อผู้เรียนในการดำ�รงชีวิตในโลกแห่งศตวรรษ ที่ ๒๑ ทีม่ ีการเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเรว็

กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรยี นระดบั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน กรอบสมรรถนะหลักผเู้ รยี นระดับการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน และกรอบสมรรถนะหลกั ของผ้เู รียนระดบั ประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑ - ๓) 6 และระดับประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑ - ๓) ๑. ภาษาไทยเพือ่ การส่อื สาร (Thai Language for Communication) ระดบั การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้น (ป.๑-๓) คำ�อธิบาย คำ�อธบิ าย ฟัง พูด อ่านและเขยี น เพือ่ สอ่ื สารขอ้ มลู ความรู้ ความรู้สึก ฟงั ดูพดู อา่ นและเขยี นขอ้ ความความรู้นทิ านเรอื่ งราว นึกคิด โดยใช้ประสบการณ์ ความรู้ทางหลักภาษา และ สั้น ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับตนเองและสิ่งใกล้ตัวด้วยภาษา กลวิธีการใช้ภาษาที่ชว่ ยใหส้ ามารถรับสารไดถ้ ูกตอ้ ง เข้าใจ ทง่ี า่ ย ๆ โดยมคี วามสามารถในการอา่ นและการเขยี น เปดิ กวา้ ง ไตร่ตรอง ประเมิน และนำ�ไปใช้ในชวี ติ สามารถ ในระดับ A1 ตามที่สถาบันภาษาไทยสิรินธรกำ�หนด ถ่ายทอดและผลิตผลงานผ่านกระบวนการพูดและเขียนได้ สนกุ กับการทดลองใช้ค�ำ ขอ้ ความตา่ ง ๆ สนใจเรียนรู้ อย่างสร้างสรรค์ โดยคำ�นึงถึงผู้รับสาร เหมาะสมกับกาลเทศะ เร่ืองราวเกี่ยวกับเมืองไทยและวัฒนธรรมไทยผ่าน เกิดประโยชน์แก่ตนเองและส่วนรวม รวมทั้งใช้ภาษาไทย การฟังและอ่านข้อความ เร่ืองราวท่ีใช้ภาษาง่าย ๆ เป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้ เข้าใจสังคม วัฒนธรรมและ สามารถสร้างผลงานโดยใช้ความรู้ดังกล่าวและมี ภมู ปิ ญั ญาไทย และถา่ ยทอดสรา้ งผลงานตอ่ ยอดสรา้ งสรรค์ ความภาคภมู ใิ จในงานของตน จากความรู้ ความคิดท่ีได้รบั

ระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน ระดับประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑-๓) สมรรถนะ สมรรถนะ กรอบสมรรถนะหลักผู้เรียนระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ๑. รับฟังอย่างต้ังใจและเข้าใจลึกซึ้งในผู้พูดและสาระ ๑. รบั ฟงั การสนทนา ขอ้ ความสน้ั ๆ เรอื่ งราวงา่ ย ๆ ท่ีรับฟัง ท้ังที่เป็นข้อความ คำ�พูด ท่าทาง สัญลักษณ์และ ที่นำ�เสนอในรูปแบบต่าง ๆ อย่างต้ังใจ มีมารยาท และระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้น (ป.๑ - ๓) 7 กราฟกิ ต่าง ๆ เขา้ ใจมมุ มองทีแ่ ตกตา่ งกันตามบรบิ ทสังคม เข้าใจและเพลิดเพลินกับสิ่งท่ีฟัง สามารถตั้งคำ�ถาม และวฒั นธรรมมกี ารตรวจสอบความเขา้ ใจใหต้ รงกนั ระหวา่ ง ตอบคำ�ถาม แสดงความรสู้ ึกและความคดิ เห็นของตน ผู้พูดและผู้ฟัง รวมท้ังตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล ทมี่ ตี อ่ เรอ่ื งทฟี่ งั ยอมรบั ความคดิ เหน็ ทแี่ ตกตา่ งจากตน กอ่ นตดั สนิ ใจเกยี่ วกบั เรอ่ื งทฟี่ งั และเลอื กน�ำ ความรทู้ ไ่ี ดจ้ าก และนำ�ความรทู้ ี่ได้จากการฟังไปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ การฟงั ไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวติ ของตนและส่วนรวม ๒.พดู สอ่ื สารในสถานการณต์ า่ ง ๆ ในชวี ติ ประจ�ำ วนั ๒. พดู เพอ่ื วตั ถปุ ระสงคต์ า่ งๆในสถานการณท์ หี่ ลากหลาย บอกความรู้สึกนึกคิดของตน เล่าเร่ืองและเหตุการณ์ อย่างสร้างสรรค์ โดยคำ�นึงถึงลักษณะและความต้องการ ต่าง ๆ หรือบอกผ่านการเลน่ บทบาทสมมุติ การแสดง ของผ้ฟู งั สามารถพูดได้กระชบั ถกู ตอ้ ง ตรงประเดน็ เขา้ ใจ ง่าย ๆ ได้ ตั้งคำ�ถามและตอบคำ�ถามให้ผู้อ่ืนเข้าใจ งา่ ย ใชส้ อื่ และภาษาทา่ ทางประกอบไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ได้อย่างส้ัน ๆ มีมารยาทในการพูดโดยคำ�นึงถึง เหมาะสมกับกาลเทศะ บริบททางสังคมและวัฒนธรรม ความเหมาะสมกบั กาลเทศะและผรู้ บั ฟัง รวมทั้งตรวจสอบความเข้าใจของผู้ฟัง และประเมินเพื่อ ปรบั ปรุงการพดู ของตน

ระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑-๓) กรอบสมรรถนะหลักผเู้ รยี นระดับการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน ๓. อ่านสาระในรปู แบบต่าง ๆ ได้โดยมวี ตั ถุประสงค์ ๓. อ่านบทอ่าน ข้อความง่าย ๆ ท่ีปรากฏในส่ือ 8 และระดับประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑ - ๓) การอ่านท่ีชัดเจน อ่านได้อย่างเข้าใจ ถูกต้อง ตรงประเด็น ส่ิงพิมพ์ และส่ิงแวดล้อมรอบตัว โดยมีความสามารถ โดยใช้ประสบการณ์ ความรู้ และกลวิธีการอ่านต่าง ๆ ในการอ่านในระดับ A1 ตามท่ีสถาบันภาษาไทย สามารถวเิ คราะห์ แปลความ ตีความ และประเมินสาระได้ สิรินธรกำ�หนด* สามารถตั้งคำ�ถามและหาข้อมูล อย่างรู้เท่าทันในเจตนาของผู้เขียน และนำ�ความคิดความรู้ ที่ต้องการคิดก่อนตัดสินใจเชื่อ และนำ�ความรู้ ข้อคิด ทไี่ ดจ้ ากการอา่ นไปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ ของตนและสว่ นรวม จากสิ่งที่อ่านไปใชใ้ นชวี ติ ๔. เขียนโดยมวี ัตถปุ ระสงค์ที่ชัดเจนในการสอื่ สารข้อมูล ๔. เขียนข้อความ เร่ืองส้ัน ๆ เพื่อบอกความคิด ความรู้ ความคิด ความรู้สกึ ในรูปแบบท่ีหลากหลาย โดยใช้ ความรู้สึก หรือแต่งเรื่องตามจินตนาการ โดยมี กลวิธกี ารนำ�เสนอท่เี หมาะสม สามารถเขยี นสอื่ ความหมาย ความสามารถในการเขยี นในระดบั A1 ตามทส่ี ถาบัน ไดต้ รงตามเจตนา เขา้ ใจไดง้ า่ ย และถกู ตอ้ งตามอกั ขรวธิ ี ใช้ ภาษาไทยสิรินธรกำ�หนด* สามารถเขียนให้เข้าใจง่าย กระบวนการเขยี นผลติ งานในทางสรา้ งสรรคอ์ ยา่ งรบั ผดิ ชอบ ถูกต้องตามหลักภาษาไทย และคำ�นึงถึงผู้อ่านและ และเคารพในสทิ ธขิ องผ้อู ืน่ ผทู้ ต่ี นเขียนถงึ ๕. ใช้ภาษาไทยในการศึกษาเรียนรู้ สร้างความเข้าใจ ๕. ฟัง ดู หรอื อ่านบทอ่าน ขอ้ ความรู้ หรือเรอ่ื งสั้น ๆ พ้ืนฐานทางสังคม วัฒนธรรม และภูมิปัญญาของไทย ท่ีใช้ภาษาง่าย ๆ เกี่ยวกับเมืองไทยและวัฒนธรรม มคี วามภาคภูมิ ผกู พนั ในความเป็นไทย สามารถกลัน่ กรอง ที่ดีงามของไทย มีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย สื บ ส า น ส่ิ ง ดี ง า ม ที่ บ ร ร พ บุ รุ ษ ไ ด้ ส ร้ า ง ไ ว้ แ ล ะ พั ฒ น า สามารถพดู หรอื เขยี นขอ้ ความเรอ่ื งสนั้ ๆ ซงึ่ ใชป้ ระโยชน์ ใหม้ คี ุณค่าตอ่ ไป

ระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑-๓) ๖. พูด อ่านและเขียนภาษาไทยได้ถูกต้องตาม จากความรู้ หรือสร้างผลงานง่าย ๆ เช่น ภาพวาด อกั ขรวิธี โดยเลอื กใชค้ �ำ ศพั ท์ ความรเู้ ก่ียวกบั หลกั ภาษา แบบจำ�ลอง หรอื สิ่งประดษิ ฐ์ท่ีใชค้ วามรดู้ ังกลา่ ว และกลวธิ ตี า่ งๆรว่ มกบั ประสบการณช์ วี ติ ในการน�ำ เสนอ ๖. ฟัง พูด อ่าน เขียน อย่างมีความสุข สนุกกับ และผลิตผลงานต่าง ๆ อย่างเหมาะสมและสร้างสรรค์ การเรยี นรแู้ ละทดลองใชภ้ าษาไทยเพอ่ื วตั ถปุ ระสงคต์ า่ ง ๆ * ระดบั ความสามารถในการอา่ นและการเขยี นภาษาไทยซงึ่ สถาบนั ภาษาไทยสริ นิ ธร จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ไดท้ �ำ วจิ ยั กรอบสมรรถนะหลักผู้เรียนระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน และพัฒนาขึ้นเป็นระดับต่าง ๆ โดยระดับ A1 เป็นระดับความสามารถท่ีพึงประสงค์ของนักเรียนระดับประถมศึกษา ตอนตน้ (ป.๑-๓) (ดูขอ้ มลู ในภาคผนวก ก) และระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้น (ป.๑ - ๓) 9

๒. คณติ ศาสตร์ในชีวติ ประจำ�วัน (Mathematics in Everyday Life) กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รียนระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ระดับประถมศกึ ษาตอนต้น (ป.๑-๓) 10 และระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) คำ�อธบิ าย ค�ำ อธิบาย มีทักษะด้านการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือสาร สามารถแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ให้เหตุผล และการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการเชื่อมโยง ทางคณิตศาสตร์ สื่อสารและส่ือความหมายทาง ทางคณิตศาสตร์ เพ่ือให้รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของ คณติ ศาสตร์ รวมทงั้ สามารถเชอื่ มโยงทางคณติ ศาสตร์ ระบบเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสภาพแวดล้อม ในระดับเนื้อหาที่เรียน เพื่อนำ�ไปประยุกต์ใช้ในชีวิต นำ�ความรู้ ความสามารถ เจตคติ ทกั ษะท่ีไดร้ บั ไปประยุกต์ ประจ�ำ วันไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ ใชใ้ นการเรยี นรสู้ ง่ิ ตา่ ง ๆ และในสถานการณใ์ หม่ ๆ เพอ่ื ให้ ไดม้ าซง่ึ ความรใู้ หมห่ รอื การสรา้ งสรรคส์ ง่ิ ใหม่ ๆ และน�ำ ไป ประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจำ�วนั ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ สมรรถนะ สมรรถนะ ๑. แกป้ ญั หาในชวี ติ ประจ�ำ วนั ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั คณติ ศาสตร์ ๑. แกป้ ัญหาในชวี ิตประจำ�วนั ทเี่ หมาะสมกบั วัย โดยประยุกต์ความรู้ความเข้าใจทางคณิตศาสตร์ เพ่ือทำ� โดยใชก้ ระบวนการแกป้ ัญหาทางคณติ ศาสตร์และ ความเข้าใจปัญหา ระบุประเด็นปัญหา วิเคราะห์ปัญหา ค�ำ นงึ ถึงความสมเหตุสมผลของค�ำ ตอบที่ได้ วางแผนแก้ปัญหา โดยหากลวิธีที่หลากหลายในการแก้ ปญั หา และด�ำ เนินการจนได้คำ�ตอบท่ีสมเหตสุ มผล

ระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ระดับประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑-๓) ๒. หาขอ้ สรปุ หรอื ขอ้ ความคาดการณข์ องสถานการณ์ ๒.ใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์ที่เรียน หาข้อสรุป กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รยี นระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ปัญหา และระบุถึงความสัมพันธ์ของข้อมูล เพ่ือยืนยัน ทอ่ี ธิบายความคดิ ของตนอยา่ งสมเหตสุ มผลตามวัย หรือคัดค้านข้อสรุปหรือข้อความคาดการณ์น้ัน ๆ อย่าง ๓.ใชศ้ พั ท์สญั ลกั ษณ์แผนภมู ิแผนภาพอยา่ งงา่ ย ๆ และระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) 11 สมเหตสุ มผลและใชเ้ หตผุ ลแบบอปุ นยั (InductiveReasoning) เพอื่ สอื่ สารใหผ้ อู้ น่ื เขา้ ใจในความคดิ ของตนเองไดอ้ ยา่ ง ในการสรา้ งแบบรปู และขอ้ คาดเดา หรอื ใชเ้ หตผุ ลแบบนริ นยั หลากหลายและเหมาะสมกบั วยั เนอ้ื หา และสถานการณ์ (Deductive Reasoning) ในการตรวจสอบขอ้ สรปุ และสรา้ ง เหตผุ ลสนบั สนุนที่นา่ เชอ่ื ถอื ๔.อธิบายความรู้และหลักการทางคณิตศาสตร์ ๓. ออกแบบ อธบิ าย และน�ำ เสนอขอ้ มลู ทสี่ อื่ ความหมาย ทีเ่ ชอ่ื มโยงกบั ปญั หาหรือสถานการณ์ตา่ ง ๆ ท่ีตนเอง ให้ผู้อ่ืนเข้าใจตรงกัน เพ่ือแสดงความเข้าใจหรือความคิด พบในชวี ิตจริงไดอ้ ยา่ งมเี หตุผลตามวยั ที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ของตนเอง โดยใช้การพูดและเขียน ๕.คดิ ในใจในการบวกลบ คณู หาร ไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคลว่ วัตถุรูปธรรม รูปภาพ กราฟ สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ วอ่ งไว แมน่ ย�ำ เพอ่ื แก้ปญั หาทางคณิตศาสตรท์ ีเ่ กิดขน้ึ และตัวแทน รวมทั้งบอกความสัมพันธ์ระหว่างภาษาใน ในสถานการณต์ ่าง ๆ ในชีวติ ประจำ�วัน ชีวิตประจำ�วันกับภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ได้ อย่างหลากหลายและเหมาะสมกับเน้ือหาและสถานการณ์

ระดบั การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑-๓) กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รียนระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ๔. เชื่อมโยงความรู้หรือปัญหาทางคณิตศาสตร์ท่ีเรียน มากับความรู้ ปัญหา หรือสถานการณ์อื่นท่ีตนเองพบ 12 และระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) ซ่ึงอาจเปน็ การเชื่อมโยงภายในวิชาคณติ ศาสตร์ เชอื่ มโยง คณิตศาสตร์กับศาสตร์อ่ืน ๆ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์ กับชีวิตประจำ�วัน เพื่อนำ�ไปสู่การแก้ปัญหาและการเรียนรู้ แนวคิดใหมท่ ่ีซบั ซ้อนหรอื สมบูรณ์ขึน้ ๕. ใชค้ วามคดิ คลอ่ ง ความคดิ ยดื หยนุ่ ความคดิ รเิ รม่ิ และ ความคดิ ละเอยี ดลออ ในการคดิ แก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ และขยายความคดิ ทมี่ อี ยเู่ ดมิ เพอื่ สรา้ งแนวคดิ ใหม่ ปรบั ปรงุ หรือพัฒนาองค์ความรู้ทางคณิตศาสตร์ หรือศาสตร์อ่ืน ๆ โดยใชค้ ณิตศาสตรเ์ ป็นฐาน

๓. การสบื สอบทางวิทยาศาสตร์และจิตวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Inquiry and Scientific Mind) ระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑-๓) คำ�อธิบาย ค�ำ อธบิ าย กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รยี นระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน เป็นผู้มีจิตวิทยาศาสตร์ที่มีความใฝ่รู้ มุ่งม่ัน อดทน สนใจในปรากฏการณร์ อบตวั กลา้ พดู กล้าซักถาม ในการศกึ ษาหาความรู้ โดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ เพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจในเหตแุ ละผลของปรากฏการณน์ นั้ สนกุ ที่ และระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) 13 รกั ในความมเี หตผุ ลกลา้ พดู กลา้ แสดงออกรบั ฟงั ความคดิ เหน็ จะหาข้อมูล สำ�รวจตรวจสอบสิ่งต่าง ๆ เพื่อให้ได้ และท�ำ งานร่วมกบั ผู้อน่ื ได้อยา่ งสร้างสรรค์ ค�ำ ตอบในเร่ืองทอี่ ยากรู้ สามารถใช้กระบวนการสืบสอบทางวิทยาศาสตร์ใน สามารถสร้างแผนภูมิ แผนภาพ แบบจำ�ลอง การแสวงหาความรู้ สรา้ งและใชแ้ บบจ�ำ ลองทางความคดิ และ อย่างง่ายเพ่ืออธิบายปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ แบบจ�ำ ลอง ๓ มติ ิ เพอื่ อธิบายปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ แล้วใช้หลักเหตุผลสนับสนุนหรือคัดค้าน ข้อโต้เถียง และปรากฏการณท์ เ่ี ปน็ ผลจากการกระท�ำ ของมนษุ ย์ รวมทง้ั ในประเด็นท่ีสงสัย หรือสนใจ และใช้กระบวนการ ใช้การโต้แย้งเพ่ือตัดสินใจในประเด็นทางวิทยาศาสตร์ ออกแบบทางวิศวกรรมในการศึกษาปัญหา ออกแบบ ที่มีผลกระทบต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม ประเทศ สร้างต้นแบบนวัตกรรมอย่างง่าย ซึ่งอาจเป็นสิ่ง และโลก ประดษิ ฐห์ รอื วธิ ีการเพอ่ื ใชแ้ ก้ปัญหาในชีวติ ประจำ�วัน

ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ระดบั ประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑-๓) กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รียนระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน สมรรถนะ สมรรถนะ ๑. สามารถเขยี นผงั เชอื่ มโยงเหตแุ ละผลจากเหตตุ น้ ทาง 14 และระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) ถึงปลายทางโดยแสดงความสัมพันธ์เช่ือมโยงเหตุและ ๑.สามารถเชอื่ มโยงเหตแุ ละผลของปรากฏการณ์ ผลแทรกระหว่างเหตุต้นทางและผลปลายทางอย่างเป็น และเหตกุ ารณต์ ่าง ๆ ท่เี กดิ ขนึ้ ในชีวติ ประจำ�วัน ล�ำ ดับและครบถ้วนเพ่ือสรุป/สร้างความร้ทู างวิทยาศาสตร์ ๒. อธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติและปรากฏการณ์ ๒. อ ธิ บ า ย ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์ ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ ท่ีเป็นผลจากการกระทำ�ของมนุษย์ด้วยการใช้เหตุผลแบบ การเปล่ียนแปลงในชีวิตประจำ�วันด้วยการใช้ อุปนัย แบบนิรนัย และทั้งอุปนัยและนิรนัยประกอบกัน หลกั เหตผุ ลท่ีไม่ซับซอ้ น อย่างสมเหตุสมผล ๓. สืบสอบความรู้ทางวิทยาศาสตร์โดยสามารถ ๓. ตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับปรากฏการณ์ต่าง ๆ ตงั้ ค�ำ ถามส�ำ คญั ออกแบบและวางแผนการส�ำ รวจตรวจสอบ ที่พบในชีวิตประจำ�วัน คาดคะเนหาคำ�ตอบและ ข้อมูล เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือท่ีเหมาะสม คิดวิธีการหาคำ�ตอบโดยใช้วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลและนำ�เสนอผล ช่วยในการสำ�รวจตรวจสอบ เก็บข้อมูลและสรุป การสำ�รวจตรวจสอบ รวมท้ังหลักฐานเชิงประจักษ์ท่ีได้รับ คำ�ตอบ การยอมรับจากสาธารณะ ซ่ึงนำ�ไปสู่การพัฒนาความเป็น ๔. สามารถเขียนแผนภาพแผนภูมิจำ�ลองอย่าง ผู้รักในความมีเหตผุ ลทางวทิ ยาศาสตร์ งา่ ย เพื่ออธิบายความรู้ ความเขา้ ใจ และความคดิ ของตน

ระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑-๓) กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รยี นระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ๔. ออกแบบและสร้างแบบจำ�ลอง โดยใช้ความรู้และ ๕. กล้าพูดให้ความคิดสนับสนุนหรือคัดค้าน หลักการทางวิทยาศาสตร์ และใช้แบบจำ�ลองเพ่ืออธิบาย เกยี่ วกบั เรอื่ งทางวทิ ยาศาสตรท์ เี่ ปน็ ปญั หาถกเถยี งกนั และระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) 15 ปรากฏการณ์ธรรมชาติ และปรากฏการณ์ที่เป็นผลจาก สามารถชแ้ี จงเหตผุ ลโดยมหี ลักฐานประกอบ การกระท�ำ ของมนษุ ย์ ๖. นำ�คำ�ตอบที่ได้จากการสืบสอบไปคิด/สร้าง ตน้ แบบส่งิ ประดษิ ฐ์อย่างงา่ ย ๆ ๕. โตแ้ ยง้ ในประเดน็ ทางวทิ ยาศาสตร์ โดยการใหเ้ หตผุ ล สนับสนุนหรือคัดค้าน พร้อมท้ังหลักฐานเชิงประจักษ์ เพ่ือการตัดสินใจเลือกเหตุผลท่ีดี น่าเชื่อถือมากท่ีสุดและ กลา้ พูด กล้าแสดงความคดิ เห็นบนฐานความรู้ พรอ้ มรบั ฟงั ความคิดเหน็ ผู้อ่นื ๖. วางแผนหาวิธีการแก้ไขปัญหาในชีวิตประจำ�วัน อยา่ งเปน็ ขน้ั ตอนโดยใชก้ ระบวนการออกแบบทางวศิ วกรรม ท่ีประกอบด้วยขั้นตอนการระบุปัญหา การสืบค้นข้อมูล เพอื่ ใชใ้ นการออกแบบ การสรา้ งตน้ แบบโดยใชว้ สั ดอุ ปุ กรณ์ ภายใตข้ อ้ จ�ำ กดั หรอื ตามสภาพบรบิ ท ตลอดจนการทดสอบ คุณภาพของต้นแบบเพื่อให้ได้ข้อมูลย้อนกลับในการปรับ แกไ้ ขการออกแบบและต้นแบบให้มคี วามเหมาะสม

๔. ภาษาองั กฤษเพ่ือการสือ่ สาร (English for Communication) กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รียนระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑-๓) 16 และระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) ค�ำ อธบิ าย คำ�อธิบาย สามารถใช้ความรู้และทักษะทางภาษาอังกฤษรวมท้ัง สามารถใช้ความรู้และทักษะทางภาษาอังกฤษ เจตคติและคุณลักษณะสว่ นบคุ คลในการสื่อสาร ฟงั พูด อ่าน รวมท้ังเจตคติและคุณลักษณะส่วนบุคคลในการ เขียน ทั้งในด้านการรับสาร การส่งสาร การมีปฏิสัมพันธ์ สื่อสาร ฟัง พูด อ่าน เขียนท้ังในด้านการรับสาร มีกลยุทธ์ในการติดต่อส่ือสาร สามารถสื่อสารได้ถูกต้อง การส่งสาร การมีปฏิสัมพันธ์ มีกลยุทธ์ในการติดต่อ คล่องแคล่ว เหมาะสมกับบริบททางสังคมและวัฒนธรรม สอื่ สาร สามารถสอื่ สารไดถ้ กู ตอ้ งคลอ่ งแคลว่ เหมาะสม และสามารถแลกเปลี่ยนถ่ายทอดความคิด ประสบการณ์ กับบริบททางสังคมและวัฒนธรรมและสามารถ และวัฒนธรรมไทย ไปยังสังคมโลกได้อย่างสร้างสรรค์ แลกเปลี่ยนถ่ายทอดความคิดประสบการณ์และ มีเจตคติท่ีดีต่อการเรียนภาษา ใช้ภาษาอย่างม่ันใจโดย วัฒนธรรมไทยไปยังสังคมโลกได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถใช้ภาษาในการติดต่อสื่อสารได้ตามกรอบอ้างอิง เหมาะสมกับวัย มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนภาษา ความสามารถทางภาษาของสภายุโรป (CEFR) ในระดับ ใชภ้ าษาอยา่ งมนั่ ใจโดยสามารถใชภ้ าษาในการตดิ ตอ่ B1 หรือตามกรอบอ้างอิงภาษาอังกฤษของประเทศไทย ส่ือสารได้ตามกรอบอ้างอิงความสามารถทางภาษา (FRELE-TH) ซ่ึงพัฒนาจากกรอบอ้างอิงความสามารถ ของสภายุโรป (CEFR)ในระดับ A1 หรือตามกรอบ ทางภาษาของสภายโุ รป ๒๐๐๑ ไดใ้ นระดับ B1 อ้างอิงภาษาอังกฤษของประเทศไทย (FRELE-TH) ซึ่งพัฒนาจากกรอบอ้างอิงความสามารถทางภาษา ของสภายุโรป ๒๐๐๑ ไดใ้ นระดับ A1

ระดบั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑-๓) สมรรถนะ สมรรถนะ กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รยี นระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ๑. เขา้ ใจประเดน็ ส�ำ คญั ของเรอ่ื งทฟี่ งั เมอื่ ผพู้ ดู /คสู่ นทนา ๑. รู้ (ฟงั หรอื อา่ นรคู้ วามหมาย) ค�ำ ศพั ทท์ พี่ บบอ่ ย ๆ พูดอย่างชัดเจนในหัวข้อท่ีคุ้นเคยและพบบ่อยเก่ียวกับ และสำ�นวนพ้ืนฐานเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว และ และระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) 17 การท�ำ งาน การไปโรงเรยี น กจิ กรรมยามวา่ ง เปน็ ตน้ ตวั อยา่ ง สิ่งต่าง ๆ รอบตัว ของการพดู ในลกั ษณะดังกล่าวไดแ้ กก่ ารเลา่ เรื่องสนั้ ๆ ๒. เขา้ ใจ (ฟงั เขา้ ใจ) และสามารถโตต้ อบกบั ผพู้ ดู /คู่ ๒. สามารถอ่านงานเขียนท่ีเป็นข้อเท็จจริงและตรงไป สนทนาไดเ้ มอื่ คสู่ นทนาใชส้ �ำ นวนงา่ ย ๆ พดู ชดั เจนและ ตรงมาในประเด็นท่ีเกี่ยวข้องกับสาขาและความสนใจของ ชา้ ๆและคสู่ นทนาอาจพดู ส�ำ นวนนน้ั ๆ ซา้ํ (repetition) ตนเองและเขา้ ใจในระดบั ที่นา่ พอใจ และพูดซ้ําโดยใช้ถ้อยคำ�ใหม่ (rephrasing) เมื่อพูด ๓. สามารถใช้ภาษาท่ีง่ายและหลากหลายเพ่ือสนทนา เก่ียวกบั หวั ข้อทีค่ าดเดาได้ ในหัวข้อที่คุ้นเคย แสดงความคิดเห็นของตนเองและ ๓.สามารถให ้(พดู หรอื เขยี น)ขอ้ มลู สว่ นตวั เบอื้ งตน้ แลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับหัวข้อท่ีตนเองคุ้นเคย สนใจหรือ เกี่ยวกับตนเองโดยใช้คำ�และวลีที่ส้ันและง่ายหรือใช้ หวั ข้อเก่ยี วกบั ชีวิตประจำ�วัน ประโยคพน้ื ฐานได้ ๔. สามารถสรา้ งงานเขียนงา่ ย ๆ ท่มี คี วามคิดเช่ือมโยง ๔. เขา้ ใจค�ำ ศพั ท์ วลปี ระโยคสน้ั ๆ รวมไปถงึ ค�ำ สง่ั กันในประเด็นต่าง ๆ ที่คุ้นเคยในสาขาที่ตนเองสนใจโดย ที่ใช้บ่อย ๆ ในสถานการณ์ท่ีคุ้นเคย ไม่ว่าจะเป็นท้ัง เชอื่ มโยงสว่ นตา่ ง  ๆ ในงานเขยี นใหเ้ ปน็ ล�ำ ดบั ตอ่ เนอื่ งกนั ได้ ในการพูดและการเขยี น

ระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้น (ป.๑-๓) กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รียนระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ๕. เขา้ ใจค�ำ และวลสี �ำ คญั ในบทสนทนาและตดิ ตามหวั ขอ้ ๕. สามารถใช้คำ�ศัพท์ วลีสั้น ๆ และสำ�นวน 18 และระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) ในการสนทนาได้ ในการสอ่ื สารเรอ่ื งราวในชวี ติ ประจ�ำ วนั เพอ่ื สอ่ื สารและ ๖. สามารถคาดเดาความหมายของค�ำ ทไี่ มร่ คู้ วามหมาย บรรยายข้อมูลส่วนบุคคล สี ตัวเลขพื้นฐาน สิ่งของ จากบรบิ ทและสรปุ ความหมายของประโยคไดห้ ากเกย่ี วขอ้ ง พนื้ ฐาน กจิ วตั รประจ�ำ วนั ฯลฯ กบั หัวขอ้ ที่คุน้ เคย ๖. มีคำ�ศัพท์จำ�กัด (สามารถจดจำ�และใช้คำ�ศัพท์ ๗. สามารถหาวธิ ถี า่ ยทอดประเดน็ ส�ำ คญั ทต่ี นเองตอ้ งการ ได้ถูกต้อง) ซึ่งส่วนใหญ่เป็นคำ�โดด ๆ ระดับพื้นฐาน ส่ือสารในบริบทที่หลากหลายโดยหาวิธีท่ีจะถ่ายทอดเรื่อง และใช้วลีส้ัน ๆ เกี่ยวกับสถานการณ์ในชีวิตประจำ�วัน ราวดังกล่าวได้ แม้ว่าจะมีความลังเลและพูดอ้อมในหัวข้อ ท่ีพบได้ท่ัวไป ที่ค้นุ เคยบ้าง * หมายเหตุ ได้ใช้สมรรถนะตามกรอบอ้างอิง FRELE-TH เป็นพ้ืนฐาน โดยการวงเล็บขยายคำ�บางคำ�เพ่ือความชัดเจน เปน็ ประโยชน์ตอ่ การจัดการเรียนการสอน ช่วยใหค้ รูวิเคราะห์ได้งา่ ยขนึ้ รายละเอียดระดับความสามารถทางภาษาองั กฤษ ตามกรอบ CEFR และ FRELE-TH น�ำ เสนอในภาคผนวก ก

๕. ทักษะชวี ติ และความเจริญแห่งตน (Life Skills and Personal Growth) ระดับการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑-๓) คำ�อธิบาย ค�ำ อธิบาย กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รยี นระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน รู้จักตนเอง พ่ึงตนเอง และด�ำ เนินชีวิตตามหลักปรัชญา รู้จักตนเอง พึ่งตนเองและดูแลตนเองได้เหมาะสม ของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถบริหารจัดการเร่ืองของ ตามวัย มสี ุขนิสยั ในการทำ�กจิ วัตรประจ�ำ วัน สามารถ และระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) 19 ตนเองไดอ้ ย่างสมดุลทง้ั ทางรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ สงั คม ปอ้ งกนั ตนเองจากภยั ตา่ ง ๆ ควบคมุ อารมณข์ องตนได้ และสติปัญญา มีสุขภาพแข็งแรง เป็นคนดี มีวินัย มี และปรบั ตนใหเ้ ลน่ เรยี นและท�ำ กจิ กรรมตา่ ง ๆ รว่ มกบั สุนทรียภาพ ช่ืนชมในความงามรอบตัว มีความม่ันคง เพ่ือน ๆ ได้ มีสัมมาคารวะ และปฏบิ ัติตนต่อผู้อนื่ ได้ ทางอารมณ์ มีบุคลิกความเป็นไทยผสานความเป็นสากล อย่างเหมาะสมกับบทบาทของตน ปฏิบัติตามกฎ ท�ำ นบุ �ำ รงุ รกั ษาศลิ ปวฒั นธรรมของชาติ และธ�ำ รงเอกลกั ษณ์ ระเบียบ และข้อตกลงของครอบครัว และโรงเรียน ความเป็นไทย สร้างและรักษาความสัมพันธ์อันดีกับ รับผิดชอบในหน้าท่ีของตน สามารถคิดหาวิธีแก้ บุคคลอ่ืน รับผิดชอบในบทบาทหน้าท่ีของตนที่มีต่อ ปัญหาที่เกิดข้ึนกับตน และลองแก้ปัญหาด้วยตนเอง ครอบครัวและสังคม พร้อมรับการเปล่ียนแปลง สามารถ มีสุนทรียภาพในความงามรอบตัว และเข้าร่วมใน เผชิญปัญหา แก้ปัญหา ยอมรับผลที่เกิดข้ึน และฟื้นคืน กิจกรรมทางศลิ ปวฒั นธรรมของสงั คม สภาพจากปญั หาไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว รวมทั้งสามารถนำ�ตนเอง ในการเรียนรู้ พัฒนาตนเองและพัฒนาชีวิตให้มีความสุข ความเจริญ กา้ วหน้าอย่างยงั่ ยืน

ระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑-๓) กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รียนระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน สมรรถนะ สมรรถนะ 20 และระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) ๑. รู้จักตนเอง พ่ึงตนเอง และกำ�หนดเป้าหมายชีวิต ๑. รจู้ กั ตนเอง บอกส่งิ ท่สี ามารถทำ�ได้ และสง่ิ ทท่ี �ำ ตามความสามารถและความถนัดของตน วางแผนและ ไม่ได้บอกได้ว่าตนชอบ ไม่ชอบอะไร บอกความคิด ด�ำ เนนิ ชวี ติ ตามหลกั ของปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอพยี งเพอ่ื ไปสู่ ความร้สู กึ ความตอ้ งการ และปัญหาของตนเองได้ เป้าหมาย ๒. มวี นิ ยั ในการดแู ลจดั การตนเองใหม้ สี ขุ ภาวะทางกาย ๒. มวี ินยั ในการปฏบิ ตั ติ ามสขุ บัญญัติ ทำ�กิจวัตร ท่ดี อี ย่างสมดุลกับสขุ ภาวะดา้ นอืน่ ๆ โดยมีสขุ ภาพแข็งแรง ประจำ�วันท้ังการกิน เล่น เรียน ช่วยทำ�งาน พักผ่อน กนิ อยู่ ดู ฟงั เปน็ ปกปอ้ งตนเองใหป้ ลอดภยั จากภยั ตา่ ง ๆ ทงั้ นอนหลบั อย่างพอดี พอเหมาะกบั วัย โรคภัย อุบตั ิภัย ภยั ธรรมชาติ ภยั ทางเพศ ภยั จากสงิ่ เสพตดิ และอบายมุขต่าง ๆ รวมทั้งภัยจากส่ือสารสนเทศและ ๓. ระมัดระวังตนเองจากภัยต่าง ๆ บอก หรือ เทคโนโลยี ถามครู หรอื ผใู้ หญใ่ นเรอื่ งทไี่ มร่ ู้ ไมแ่ นใ่ จ กอ่ นตดั สนิ ใจ ๓. ควบคมุ อารมณ์ ความคดิ และพฤตกิ รรมใหแ้ สดงออก อย่างเหมาะสม รักษาบุคลิกภาพความเป็นไทยผสานกับ ๔. ควบคุมอารมณ์ ปรับตัว ร่วมเล่นและเรียน สากลอยา่ งกลมกลนื กับเพ่ือนๆ ได้ รู้จักแบ่งปัน สามารถแก้ปัญหา ๔. เป็นคนดี สามารถแยกแยะส่ิงดีช่ัวถูกผิด มีความ ดว้ ยสนั ติวธิ ี กล้าหาญเชิงจริยธรรม ยืนหยัดในการทำ�ส่ิงท่ีถูกต้อง น้อมนำ�หลักศาสนาท่ีตนยึดถือมาเป็นเคร่ืองยึดเหนี่ยวใน การด�ำ รงชวี ติ

ระดับการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ระดบั ประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑-๓) ๕. รักษาระเบียบวินัยของสังคม สร้างและรักษาความ ๕.ปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บและขอ้ ตกลงของครอบครวั กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รยี นระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน สัมพันธ์อันดีกับผู้อ่ืน รับผิดชอบในบทบาทหน้าท่ีของตน และโรงเรยี นรวมทง้ั มสี มั มาคารวะตอ่ ผใู้ หญแ่ ละปฏบิ ตั ิ ทม่ี ตี อ่ ครอบครัวและสงั คม ตนตอ่ ผู้อน่ื ได้อย่างเหมาะสม และระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) 21 ๖. มีสุนทรียภาพ ชื่นชมความงามในธรรมชาติ ๖.ละเวน้ การกระท�ำ ทไี่ มค่ วรท�ำ และตงั้ ใจท�ำ ความดี ศิลปวัฒนธรรมและรักษาเอกลักษณ์ความเป็นไทยให้ธ�ำ รง หรอื ชว่ ยคนในครอบครัว และผูอ้ ่นื ตอ่ ไป ๗. เข้าร่วมในกิจกรรมทางศลิ ปะ นาฏศลิ ป์ ดนตรี ๗. พร้อมรับความเปลี่ยนแปลง สามารถปรับตัว นันทนาการ กีฬา รวมท้ังการช่นื ชมธรรมชาติรอบตวั เผชิญปัญหา แก้ปัญหา ยอมรับผลท่ีเกิดขึ้น และฟ้ืนคืน และการเขา้ รว่ มในกจิ กรรมทางศลิ ปวัฒนธรรม สภาพจากปญั หาได้อย่างรวดเรว็ ๘. สร้างแรงจูงใจและนำ�ตนเองในการเรียนรู้ เรียนรู้วิธี การเรียนรู้ โดยใช้ทักษะการเรียนรู้หลากหลาย ท้ังทักษะ การเรยี นรู้ ทกั ษะการสบื คน้ ขอ้ มลู ทกั ษะการสบื สอบ ทกั ษะ การสรา้ งความรแู้ ละนวตั กรรม รวมทงั้ ทกั ษะการประยกุ ตใ์ ช้ ความรู้เพอ่ื พฒั นาตนเองและชวี ติ

๖. ทักษะอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการ (Career Skills and Entrepreneurship) กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รียนระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ระดับการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ระดับประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑-๓) 22 และระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) ค�ำ อธิบาย ค�ำ อธบิ าย มีเป้าหมายและการวางแผนอาชีพตามความสนใจและ รจู้ กั ตนเอง มเี ปา้ หมายในการท�ำ งาน และพยายาม ความถนดั มีความรู้และทกั ษะพนื้ ฐานส่อู าชพี ท่ีเหมาะสม ทำ�งานให้สำ�เร็จตามเป้าหมาย มีทักษะและลักษณะ มีทักษะและคุณลักษณะนิสัยที่ดีในการทำ�งาน มีทักษะ นิสัยท่ีดีในการทำ�งาน มีความเพียร ความอดทน ในการทำ�งานและพัฒนางาน  โดยยึดหลักปรัชญาของ ความซ่ือสัตย์และความรับผิดชอบ มีทักษะพื้นฐาน เศรษฐกิจพอเพียง มีความรู้และทักษะพื้นฐานของการเป็น ด้านการเงิน ท้ังด้านการใช้จ่ายและการออม และ ผปู้ ระกอบการทดี่ ีสามารถคดิ สรา้ งงาน สรา้ งนวตั กรรมทเี่ ปน็ สามารถ แสดงความคดิ สร้างสรรค์ผา่ นกิจกรรมต่าง ๆ ประโยชน์ต่อตน ครอบครัว หรือสงั คม สมรรถนะ สมรรถนะ ๑. สามารถตั้งเป้าหมายในการทำ�งานและต้ังใจ ๑.วเิ คราะหต์ นเอง คน้ หาเปา้ หมายของชวี ติ เตรยี มทกั ษะ ท�ำ งานให้ส�ำ เร็จตามเป้าหมายทค่ี ิดไว้ เฉพาะอาชพี และการปฏบิ ตั งิ านทส่ี อดคลอ้ งกบั ความสนใจ ๒. ทำ�งานด้วยความเอาใจใส่ มีความเพียรอดทน ความถนัด และสติปัญญาและฝึกฝนอาชีพที่สนใจอย่าง พยายามท�ำ งานใหด้ ที ี่สุดตามความสามารถ ต่อเนือ่ งเพ่ือเป็นพนื้ ฐานในการประกอบอาชพี ในอนาคต

ระดบั การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑-๓) ๒. กำ�หนดเป้าหมายในการทำ�งานที่ชัดเจน วางแผน ๓. มีทักษะพ้ืนฐานด้านการเงิน รู้จักความหมาย กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รยี นระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน จัดเรียงลำ�ดับความสำ�คัญของงานและบริหารเวลาอย่างมี และคา่ ของเงนิ การใชจ้ า่ ยเงนิ การออม รวู้ า่ เงนิ มาจาก ประสิทธิภาพ การทำ�งานและเงินมีจำ�กัด สามารถให้ความเห็นใน และระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) 23 ๓. ปฏิบัตงิ านอย่างมงุ่ ม่ัน อดทน รับผิดชอบ และเพียร การหาเงนิ ได้อยา่ งง่าย ๆ พยายาม เพื่อให้บรรลเุ ปา้ หมาย ๔.แสดงความคดิ รเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์ผา่ นการแสดงออก ๔. คิดและปฏิบัติงานใด ๆ โดยใช้หลักปรัชญาของ ทางกจิ กรรมต่าง ๆ ทั้งกจิ กรรมศลิ ปะ ดนตรี นาฏศลิ ป์ เศรษฐกิจพอเพยี ง คือทำ�พอประมาณอยา่ งมีเหตผุ ล และมี การประดิษฐ์ หัตถกรรม การเล่น และการผลิตช้ินงาน ภูมิคุม้ กนั บนฐานของความร้แู ละคุณธรรม โดยใชส้ ่อื และเทคโนโลยี ๕. มคี วามรแู้ ละทกั ษะพน้ื ฐานของการเปน็ ผปู้ ระกอบการ ทด่ี ี สามารถวางแผนการลงทนุ การผลติ การตลาด การบรหิ าร จดั การดา้ นทรัพยากร บุคลากร และการเงนิ ๖.สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการสร้างผลิตภัณฑ์ เชงิ สรา้ งสรรค์ มจี รรยาบรรณและความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม

๗. ทักษะการคิดขน้ั สงู และนวตั กรรม (Higher-Order Thinking Skills and Innovation) HOTS: กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รียนระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน Critical Thinking, Problem Solving, Creative Thinking 24 และระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) ระดับการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑-๓) ค�ำ อธบิ าย คำ�อธบิ าย สามารถใช้การคิดเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ และ วิเคราะห์ข้อมูลหรือเร่ืองง่าย ๆ ที่ไม่ซับซ้อนและ การใช้ชีวิต มีการคิดให้รอบคอบก่อนที่จะกระทำ�หรือ คิดตัดสินใจตามหลกั เหตผุ ลได้ ไม่กระทำ�การใด ๆ บนฐานของข้อมูลท่ีเพียงพอ รวมท้ัง สำ�รวจตนเองแล้วสามารถระบุปัญหาของตนและ มีการวเิ คราะห์ วิพากษ์ ประเมินขอ้ มูล เหตุผลและหลกั ฐาน ปัญหาที่มีกับเพื่อน และคิดหาสาเหตุ และวิธีการ ต่าง ๆ มีวิจารณญาณในการคิดตัดสินใจ โดยยึดหลัก แก้ปัญหา แล้วลงมือแก้ปัญหาด้วยวิธีการที่เลือก เหตผุ ล และการพจิ ารณาอยา่ งรอบด้าน ทงั้ ในด้านคณุ โทษ สามารถติดตามผล ประเมินผลและสรุปผลการแก้ และความเหมาะสมตามหลักกฎหมาย ศีลธรรม คุณธรรม ปญั หาของตนได้ ค่านิยม รวมทั้งความเชื่อและบรรทัดฐานของสังคมและ คิดหรือจินตนาการความคิดแปลกใหม่ในกิจกรรม วฒั นธรรม ตา่ ง ๆ เชน่ การเลน่ การประดษิ ฐ์ การท�ำ ของเลน่ ของใช้ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ โดยมีการวิเคราะห์ การเล่านิทาน การวาดภาพ การแสดงออกทางศิลปะ หาสาเหตุท่ีแท้จริง และหาวิธีการแก้ปัญหาหรือทางออกท่ี ดนตรี นาฏศิลป์ และกฬี า เหมาะสมกบั บคุ คล สถานการณ์ และบรบิ ท รวมทง้ั สามารถ

ระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑-๓) รเิ รม่ิ ความคดิ ใหม่ ๆ แปลงความคดิ นน้ั ใหเ้ ปน็ รปู ธรรม และ กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รยี นระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน บริหารจัดการจนเกิดผลผลิตเป็นผลงานในลักษณะต่าง ๆ เชน่ แนวคดิ ใหม่ กระบวนการใหม่ ส่ิงประดษิ ฐ์ ผลติ ภัณฑ์ และระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) 25 และนวัตกรรมท่ีเป็นประโยชน์ต่อชีวิตของตน ผู้อ่ืน สังคม ประเทศและโลก สมรรถนะ สมรรถนะ ๑. คดิ พจิ ารณาเรอ่ื งตา่ ง ๆ โดยมขี อ้ มลู เกยี่ วขอ้ งกบั เรอ่ื ง ๑. ฟงั /อา่ นขอ้ มลู เรอ่ื งราวสน้ั ๆ งา่ ย ๆ ทไี่ มม่ คี วาม น้ันอย่างเพียงพอ สามารถวิเคราะห์วิพากษ์ และประเมิน ขอ้ มลู และเหตผุ ล สามารถสรปุ ความเขา้ ใจและใหค้ วามเหน็ สลับซับซ้อนแล้วสามารถสรุปความเข้าใจของตนและ ในเร่อื งนนั้  ๆ แสดงความคดิ เหน็ อย่างมเี หตผุ ลเก่ียวกับเรอื่ งน้นั ได้ ๒.ใชว้ จิ ารณญาณในการตดั สนิ ใจเรอ่ื งตา่ ง ๆ บนฐานของ ๒. ชี้แจงเหตุผลของการตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ ข้อมูล เหตุผล หลักฐานรวมทั้งการพิจารณาอย่างรอบด้าน ในชีวิตประจำ�วันของตน และบอกได้ว่าการตัดสินใจ ทงั้ ในด้านคณุ โทษ และความเหมาะสมตามหลกั กฎหมาย ของตนมีความเหมาะสมอย่างไร ศลี ธรรม คณุ ธรรม คา่ นยิ ม รวมทง้ั ความเชอ่ื และบรรทดั ฐาน ของสงั คมและวฒั นธรรม

ระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ระดับประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑-๓) กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รียนระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ๓. ระบุปัญหาท่ีเกิดข้ึนกับตนเองและผู้อ่ืนได้ มีมุมมอง ๓. บอกปัญหาของตนเอง และปัญหาท่ีมีกับเพือ่ น 26 และระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) ต่อปัญหาในทางบวก กล้าเผชิญปัญหา และคิดแก้ปัญหา เลอื กปญั หาทส่ี ามารถแกไ้ ขไดด้ ว้ ยตนเอง คดิ หาสาเหตุ อย่างเป็นระบบ โดยมีการวิเคราะห์ปัญหาและหาสาเหตุ วิธีการแก้ไขรวมถึงคิดหาวิธีการแปลกใหม่ แล้วเลือก ท่ีแท้จริง หาวิธีการแก้ปัญหาที่หลากหลายและแปลกใหม่ วธิ กี ารทด่ี ที สี่ ุดเพ่อื นำ�มาใช้แกป้ ญั หา เลือกวิธีการที่เหมาะสมที่สุด แล้ววางแผนดำ�เนินการ ๔. ลงมอื แกป้ ญั หาดว้ ยตนเอง และรว่ มมอื กบั เพอื่ น แก้ปัญหาอย่างเป็นข้ันตอน ในการแกป้ ญั หาโดยใชว้ ธิ กี ารทเ่ี ลอื กไวแ้ ลว้ ตดิ ตามผล ๔. ลงมือแก้ปัญหาด้วยตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่น และประเมินผลการแกป้ ัญหา ในการแก้ปัญหาอยา่ งเป็นระบบ มกี ารด�ำ เนินการตามแผน ๕. สามารถคิดคล่อง คิดหลากหลาย คิดยืดหยุ่น เกบ็ ขอ้ มลู วิเคราะห์ขอ้ มูล สรปุ และประเมินผล คิดจินตนาการ และคิดริเริ่มเกี่ยวกับส่ิงต่าง ๆ ท่ีอยู่ ๕. มีความยืดหยุ่นทางความคิด สามารถมอง/คิดและ รอบตวั ให้ความเห็นในเร่อื งต่าง ๆ ได้หลากหลายแงม่ มุ หลายมิติ ๖. จินตนาการเรื่องราว ความคิดแปลกใหม่จาก หลายวธิ ียนิ ดรี บั ฟงั ความคดิ เหน็ ทแี่ ตกตา่ งสามารถประสาน สิ่งรอบตัว และแสดงออกผ่านกิจกรรมต่าง ๆ เช่น หรอื สงั เคราะหค์ วามคดิ ทแ่ี ตกตา่ ง และรเิ รม่ิ ความคดิ ใหม่ ๆ การเล่น การวาดภาพ การเล่านิทาน การพูดอธิบาย การประดิษฐ์ การสร้างการทำ�ของเล่นของใช้และ การแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ และกีฬา

ระดบั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน ระดับประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑-๓) ๖.คดิ รเิ รม่ิ สง่ิ ใหม่ ๆ ซงึ่ อาจเปน็ การปรบั หรอื ประยกุ ตจ์ าก ของเดิม หรือต่อยอดจากส่ิงเดิม หรือริเริ่มความคิดแปลก กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รยี นระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ใหมท่ แ่ี ตกตา่ งจากเดมิ โดยสามารถอธบิ ายความคดิ ใหผ้ อู้ น่ื เขา้ ใจ และท�ำ ใหค้ วามคดิ นนั้ เกดิ ผลเปน็ รปู ธรรม เปน็ แนวคดิ และระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) 27 ใหม่กระบวนการใหม่ นวตั กรรมสงิ่ ประดษิ ฐ์และผลติ ภณั ฑ์ ตา่ งๆ อนั เปน็ ประโยชนต์ อ่ ตนเองผอู้ นื่ สงั คมประเทศและโลก

๘. การรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื สารสนเทศ และดจิ ทิ ลั (Media, Information and Digital Literacy : MIDL ) กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รียนระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ระดบั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้น (ป.๑-๓) 28 และระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) ค�ำ อธบิ าย ค�ำ อธบิ าย เขา้ ถงึ เขา้ ใจ วเิ คราะห์ ตคี วาม ประเมนิ คณุ คา่ ความนา่ เชอื่ ถอื ร้จู ักและใช้สือ่ สารสนเทศ เขา้ ใจความต้องการของ ของส่อื สารสนเทศ และเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล เพอ่ื เลือกรบั และ ตนเองเม่ือต้องเรียนรู้หรือใช้ประโยชน์ เข้าใจวิธีการ ใชป้ ระโยชน์ รวมทง้ั สรา้ งสรรคส์ อ่ื ขา่ วสาร และสอื่ สารอยา่ ง เข้าถึงแหล่งสารสนเทศ แหล่งเรียนรู้ และการใช้ เปน็ ผรู้ เู้ ทา่ ทนั ตนเอง โดยค�ำ ถงึ ผลกระทบตอ่ ผอู้ น่ื และสงั คม ประโยชน์จากส่ือ ประเมินความน่าเช่ือถือและคุณค่า โดยรวม รวมทงั้ สามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากสอ่ื สารสนเทศและ เห็นประโยชน์และโทษของสื่อ สารสนเทศ และ เทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคม โดย เทคโนโลยีดิจิทัล สามารถสืบค้น อ่าน สร้างส่ือและ ค�ำ นึงถงึ คุณ โทษ และผลกระทบที่จะเกดิ ตอ่ ผู้อ่ืนและสังคม ข่าวสารอยา่ งง่าย และเลือกส่งต่อขอ้ มูลขา่ วสารท่เี ปน็ ประโยชน์ตอ่ ตนเอง ครอบครัว สมรรถนะ สมรรถนะ ๑. เข้าถึงแหล่งสื่อ สารสนเทศ และเทคโนโลยีดิจิทัล ๑. รู้จักและเลือกใช้เคร่ืองมือ และแหล่งส่ือสาร ทหี่ ลากหลาย เพ่ือใช้สบื คน้ ขอ้ มูลและสารสนเทศท่ตี ้องการ สนเทศเพอื่ การสบื คน้ และเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ทต่ี อ้ งการอยา่ ง อย่างเข้าใจ และเลือกเรื่องท่ีจะเกิดประโยชน์ต่อตนเอง เหมาะสมกบั วัย ชุมชน และสังคม

ระดับการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑-๓) ๒. เขา้ ใจความรสู้ กึ และความตอ้ งการของตนเองเม่ือใช้ ๒.ใช้สื่อและจัดการเวลาในการใช้ส่ืออย่างระมัด กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รยี นระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน สอ่ื สารสนเทศทง้ั การเขา้ ถงึ สง่ ตอ่ และกระจายขอ้ มลู ขา่ วสาร ระวงั โดยไม่ใหเ้ กิดผลเสียต่อตนเองและผอู้ ืน่ โดยรับผิดชอบผลที่จะเกิดตามมาทั้งต่อตนเอง ผู้อ่ืนและ ๓. ตดั สนิ ใจอยา่ งมเี หตผุ ลทจี่ ะเชอื่ หรอื ไมเ่ ชอ่ื ปฏบิ ตั ิ และระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) 29 สังคม ตามหรือไมป่ ฏบิ ัติตามส่ือ สารสนเทศ และเทคโนโลยี ๓. วิเคราะห์ วิพากษ์และประเมินสื่อ สารสนเทศ และ ดิจิทลั โดยร้วู ่าสอื่ มีวัตถปุ ระสงคใ์ นการสื่อสาร และสื่อ เทคโนโลยีดิจิทัล ในด้านจุดประสงค์ของการสื่อสาร น้ันมผี ลกระทบได้ทงั้ ทางบวกและ/หรือทางลบ กระบวนการสร้าง และบทบาทของส่ือ สารสนเทศ และ ๔. เลือกสาระท่มี ปี ระโยชน์ท่ีไดจ้ ากส่ือ สารสนเทศ เทคโนโลยดี ิจทิ ลั แบบตา่ ง ๆ อย่างเป็นผู้รู้เทา่ ทนั ผลกระทบ ไปใชใ้ นชวี ติ ประจ�ำ วนั ใหเ้ กดิ ประโยชนก์ บั ตนเอง และ ท่ีอาจจะเกิดกับตนเอง ผอู้ ื่น และสงั คม ครอบครวั ๔. ประยุกต์ใช้ความฉลาดรู้ด้านดิจิทัลประกอบด้วย ๕. เ ลอื กสรรขอ้ มลู และสรา้ งสอ่ื สารสนเทศในแบบ การจัดการเวลา การรักษาข้อมูลส่วนตัว การรักษา ต่าง ๆ แล้วสอ่ื สารโดยคำ�นงึ ถึงผลทีเ่ กดิ ขน้ึ ต่อตนเอง ความปลอดภัยของตนเอง และการต้ังรับภัยคุกคาม และผู้อ่ืน ทางโลกออนไลน์ เม่ือต้องสัมพันธ์กับเทคโนโลยีดิจิทัล ในสถานการณต์ ่าง ๆ

ระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ระดบั ประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑-๓) กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รียนระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ๕.ใช้ความรู้และความเข้าใจด้านส่ือสารสนเทศ และ เทคโนโลยีดิจิทัล อย่างรับผิดชอบและมีจริยธรรม ทั้งเพื่อ 30 และระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) การเรียนรู้ การใช้ชีวิต และความสัมพนั ธ์กบั บคุ คลอน่ื ๆ ใน โลกความจรงิ และโลกเสมอื นเม่อื ตอ้ งสมั พนั ธ์กับเทคโนโลยี ดิจทิ ัลในสถานการณต์ ่าง ๆ

๙. การท�ำ งานแบบรวมพลงั เปน็ ทมี และมภี าวะผนู้ �ำ (Collaboration, Teamwork and Leadership) ระดบั การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑-๓) ค�ำ อธบิ าย ค�ำ อธิบาย กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รยี นระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน มที กั ษะในการท�ำ งานกลมุ่ /ท�ำ งานเปน็ ทมี ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ มีทักษะในการทำ�งานกลุ่ม เป็นผู้นำ� สมาชิกท่ีดี มีส่วนร่วมทำ�งานแบบร่วมมือรวมพลัง โดยการสนับสนุน ของกลุ่ม กำ�หนดวิธีการทำ�งานท่ีจะช่วยให้งานสำ�เร็จ และระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) 31 ช่วยเหลือ ขจัดปัญหา แบ่งปันแลกเปล่ียนความรู้และ มีมารยาทในการรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน ให้การ ความคิด เห็นคุณค่าของการทำ�งานร่วมกันและปฏิบัติ สนับสนุนหรือโต้แย้งอย่างมีเหตุผล ให้ความร่วมมือ ตามบทบาทเพื่อการทำ�งานให้บรรลุเป้าหมายที่กำ�หนด ในการทำ�งาน รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย มีความเป็นผู้นำ�และใช้ภาวะผู้นำ�อย่างเหมาะสมกับ ช่วยกลุ่มในการแก้ปัญหาและรักษาความสัมพันธ์ สถานการณ์ สามารถแก้ปัญหาและนำ�กลุ่มให้ไปสู่ อันดีของสมาชกิ ทุกคนในกลุ่ม เป้าหมาย สร้างแรงบันดาลใจให้ผู้อื่นพัฒนาตนเอง นำ�จุดเด่นของสมาชิกมาใช้เพื่อให้บรรลุผลสำ�เร็จร่วมกัน ปฏิบตั ิตนในฐานะสมาชกิ กลุม่ ทดี่ ี ท�ำ งานร่วมกนั ดว้ ยความ ไว้วางใจ เปิดใจ รับฟังความคิดเห็น มุมมองและเคารพ ความคิดเห็นท่ีแตกต่าง สามารถประสานความคิดและ ใช้สันติวิธีในการจัดการปัญหาความขัดแย้ง สร้างและ รกั ษาความสัมพนั ธ์ทางบวกกบั สมาชิก

ระดบั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้น (ป.๑-๓) กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รียนระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน สมรรถนะ สมรรถนะ ๑. มีทักษะการเป็นผู้นำ� และการเป็นสมาชิกกลุ่มท่ีดี ๑. ทำ�หน้าที่เป็นผู้นำ�กลุ่มและสมาชิกกลุ่มท่ีดี 32 และระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) สามารถท�ำ งานกลมุ่ ดว้ ยกระบวนการท�ำ งานทดี่ ี มปี ระสทิ ธภิ าพ โดยมีกระบวนการทำ�งานหรือวิธีการทำ�งานท่ีดีและ ๒. แลกเปลยี่ นความรู้ แบง่ ปนั ความคดิ ดว้ ยความเตม็ ใจ เหมาะสมตามวยั เพื่อสนับสนุนส่งเสริมให้กลุ่มบรรลุผลตามเป้าหมาย ๒. รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สนับสนุนหรือ ทก่ี �ำ หนดร่วมกนั โต้แยง้ ความคดิ เห็นของผู้อื่นอยา่ งมเี หตผุ ล ๓. รับฟัง ยอมรับ เคารพความคิดเห็น และมุมมอง ๓. ร่วมทำ�งานกลุ่มกับเพ่ือน ให้ความร่วมมือใน ท่ีแตกต่างของผู้อ่ืนอย่างจริงใจ เพื่อให้เกิดความเข้าใจ การทำ�งาน รับผิดชอบต่อบทบาทและหน้าที่ที่ได้รับ อันดรี ะหวา่ งกนั อย่างแทจ้ รงิ มอบหมาย ใส่ใจในการทำ�งาน พยายามทำ�งานให้ดี ๔. ร่วมทำ�งานกลุ่ม ปฏิบัติตนในฐานะสมาชิกกลุ่ม ที่สุด และช่วยเหลือเพื่อน เพ่ือให้เกิดความสำ�เร็จ ท่ีรับผิดชอบต่อหน้าท่ีและบทบาทท่ีได้รับมอบหมาย ในการท�ำ งานรว่ มกนั อย่างใส่ใจ และให้ความไว้วางใจกันและกัน เพ่ือให้เกิด ๔. เม่ือการทำ�งานกลุ่มเกิดมีปัญหา ช่วยคิดหาวิธี ความส�ำ เร็จในการท�ำ งาน และความสมั พนั ธ์ทดี่ ี การแก้ไขปัญหา และช่วยกลุ่มแก้ปัญหาโดยสันติวิธี ๕. สร้างแรงบันดาลใจให้ผู้อ่ืนได้พัฒนาตนเองและ ๕. ช่วยสร้างและรักษาความสัมพันธ์อันดีของ ใชค้ วามสามารถของแตล่ ะคนเพอื่ ใหบ้ รรลผุ ลส�ำ เรจ็ ร่วมกนั เพอ่ื นในกล่มุ ๖. ปรับตัว พร้อมประสานความคิดท่ีมีความแตกต่าง พรอ้ มใช้สนั ตวิ ิธีในการจัดการปญั หาความขดั แยง้ เพ่ือสรา้ ง และรกั ษาความสัมพันธ์ทางบวกกับสมาชกิ

๑๐. การเป็นพลเมอื งทเ่ี ข้มแข็ง/ตืน่ รู้ ทีม่ ีส�ำ นกึ สากล (Active Citizen with Global Mindedness) ระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑-๓) ค�ำ อธบิ าย คำ�อธิบาย กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รยี นระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ปฏิบัติตนในฐานะพลเมืองท่ีมีความรับผิดชอบ ด้วย ปฏิบัติตนตามระเบียบ กฎ กติกา ข้อตกลง การปฏิบัติตามบทบาทหน้าท่ี ขนบธรรมเนียมประเพณี ของครอบครัว โรงเรียน และสังคม มีส่วนร่วมใน และระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) 33 เคารพกฎ กตกิ า ข้อตกลง และกฎหมาย การช่วยเหลือผู้อ่ืน รักษาสมบัติส่วนรวม ภูมิใจใน ปฏิบัติตนในฐานะพลเมืองที่มีส่วนร่วมด้วยการเรียนรู้ ความเป็นชาติ อธิบายความคิดและการตัดสินใจ เพื่อให้ตนเองมีความรู้พ้ืนฐานด้านการเมืองการปกครอง ของตนเองอย่างมีเหตุผล  มีความสัมพันธ์อันดี อยู่ร่วมกับผู้อ่ืนอย่างพ่ึงพาอาศัยกัน ประยุกต์ใช้ความรู้ ในการอยู่ร่วมกันกับผู้ที่มีความแตกต่างหลากหลาย ด้วยการทำ�งานจิตอาสา รับผิดชอบต่อส่วนรวมโดยร่วมมือ และมีส่วนร่วมในกิจกรรมส่วนรวมได้ตามความ กับผอู้ น่ื ในการแกป้ ัญหาและพัฒนาสังคม เหมาะสมกับวยั ปฏิบัติตนในฐานะพลเมืองท่ีมุ่งเน้นความเป็นธรรมของ สังคม เคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ เชื่อมั่นในหลักการ การอยู่รว่ มกันท่ามกลางความแตกตา่ งหลากหลาย มสี ว่ นรว่ ม ทางการเมืองในระดับต่าง ๆ แก้ไขความขัดแย้งอย่าง สนั ตวิ ิธี มีสว่ นรว่ มในการสรา้ งการเปลย่ี นแปลง ใหเ้ กิดความ

ระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้น (ป.๑-๓) กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รียนระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน เทา่ เทยี มและเปน็ ธรรมทง้ั ในระดบั ทอ้ งถน่ิ ประเทศชาติ และ โลก ทง้ั ในความเปน็ จรงิ และโลกดจิ ทิ ลั เสมอื นจรงิ เพอ่ื ใหเ้ กดิ 34 และระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) สนั ติภาพและความย่งั ยืน สมรรถนะ สมรรถนะ ๑. ปฏิบัติตามบทบาทหน้าท่ีของพลเมืองในระบอบ ๑. ปฏิบัติตนด้วยความเข้าใจและให้ความเคารพ ประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข ต่อสัญลักษณ์แทนความเป็นสถาบันหลักของชาติ ๒. เคารพสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อ่ืน เคารพ ทยี่ ึดเหนยี่ วจติ ใจรว่ มกันของผู้คน และปฏิบัติตามกฎ กติกา ข้อตกลง และกฎหมาย รวมท้ัง ๒. ปฏิบัติตามบทบาทและหน้าท่ีที่รับผิดชอบต่อ แนวปฏบิ ตั ิตามขนบธรรมเนยี มและประเพณี ครอบครวั ช้นั เรียน โรงเรียน และชุมชนอย่างเหมาะสม ๓. ใหเ้ กยี รตผิ อู้ น่ื เหน็ อกเหน็ ใจ เออื้ อาทร ชว่ ยเหลอื ผอู้ นื่ ๓. อยรู่ ว่ มกนั อย่างเออ้ื อาทร รักษาสิทธขิ องตนเอง เพ่ือการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข โดยเคารพและไมล่ ะเมดิ สทิ ธิของผู้อนื่

ระดับการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ระดบั ประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑-๓) ๔. ร่วมมอื กับผอู้ น่ื ในการทำ�งานสาธารณะ ๔. อยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างพ่ึงพาอาศัยกันท้ังผู้ที่อยู่ กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รยี นระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน และจติ อาสา ในชั้นเรยี น โรงเรยี น ครอบครัว และชมุ ชน ดว้ ยความ ๕. ตดิ ตามสถานการณ์ เหตกุ ารณบ์ า้ นเมอื ง และปญั หา เข้าใจในความแตกต่างในด้านอายุ เพศ ความถนัด และระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) 35 ของชุมชน สังคมและโลก มีส่วนร่วมทางตรงหรือทางอ้อม ฐานะ และบทบาทหนา้ ท่ี ในการพฒั นา เปลีย่ นแปลง และแก้ไขปญั หา ๕. ร่วมกับผู้อ่ืนแสวงหาทางออกอย่างเป็นเหตุ ๖. มีการตัดสินใจและการแก้ปัญหาร่วมกัน สามารถ เป็นผล เม่ือเผชิญกับปัญหา ความขัดแย้ง หรือมี แสดงจุดยืนของตนเอง มที กั ษะในการตดั สินใจ การแกไ้ ข ความคดิ เห็นไม่ตรงกนั ปญั หา การแกไ้ ขความขดั แยง้ ดว้ ยการใหค้ วามรว่ มมอื และ ๖. เข้าใจเร่ืองส่วนตัวและส่วนรวม และใช้ของ การแสดงออกซึ่งความสามารถที่จะอยู่ร่วมกันท่ามกลาง ส่วนรวมอย่างระมัดระวังไม่ก่อให้เกิดความเสียหาย ความหลากหลาย และถนอมรกั ษาให้ผู้อนื่ ได้ใช้ ๗. มีทักษะการตีความ การติดตามข่าวสาร เหตุการณ์ ๗. ปฏิบัติตนต่อผู้อ่ืนทั้งในระดับครอบครัว และ บ้านเมือง และความเคล่ือนไหวเชิงการเมือง การตีความ โรงเรียน โดยค�ำ นึงถงึ ผลดผี ลเสียท่ีจะเกดิ ขน้ึ นโยบายและการตัดสินใจทางการเมือง และการวิจารณ์ ขอ้ มลู ขา่ วสารจากสอ่ื รวมถงึ ผลประโยชน์และระบบคุณคา่ ท่ีเกยี่ วขอ้ งกนั

ระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑-๓) กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รียนระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ๘. มีส่วนร่วมกับกลุ่ม หน่วยงานหรือองค์กรเพื่อ ๘. มสี ว่ นรว่ มในการก�ำ หนดกตกิ า ปฏบิ ตั ติ ามกตกิ า 36 และระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) กิจการสาธารณะ เป็นอาสาสมัครในประเด็นทางสังคมท่ี ในห้องเรียน และโรงเรยี น ติดตาม ตรวจสอบ และปรับ หลากหลาย สามารถท�ำ งานกบั ชมุ ชนและภาคประชาสงั คม เปล่ยี นใหเ้ หมาะสมเพื่อการอยู่ร่วมกนั อย่างสงบสขุ ระดบั ตา่ ง ๆ ทเี่ หมาะสมกบั ความรคู้ วามสามารถของตนเอง ๙. มีส่วนร่วมในกิจกรรมจติ อาสาหรอื แกไ้ ขปญั หา ๙. มที กั ษะการจัดการการเปล่ยี นแปลง และประยกุ ตใ์ ช้ ส่วนรวมทีเ่ หมาะสมตามวยั เพื่อลดหรือขจัดข้อขัดแย้ง และการแสวงหาทางออกด้วย วิธีการต่าง ๆ เช่น การประนีประนอม การเจรจาเชิงสันติ สมานฉันท์ การคิดเชิงยุทธศาสตร์เพ่ือก้าวข้ามปัญหาไปสู่ เปา้ หมายอยา่ งสันติ

กรอบสมรรถนะหลักผเู้ รยี นระดบั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน และระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้น (ป.๑ - ๓) 37 ค�ำ อธิบายสมรรถนะหลัก ๑๐ สมรรถนะอย่างสังเขป ๑. ภาษาไทยเพอ่ื การสอื่ สาร (Thai Language for Communication) สมรรถนะภาษาไทยเพอ่ื การสอื่ สารเปน็ ความสามารถในการใชภ้ าษาไทย เป็นเคร่ืองมือในการติดต่อเกี่ยวข้องกับบุคคลรอบตัว ผ่านการฟัง ดู พูด อ่าน และเขียน เพื่อรับ แลกเปล่ียน และถ่ายทอดข้อมูล ความรู้ ความรู้สึก นึกคิด โดยใช้ความรู้ทางหลักภาษาและการใช้ภาษาร่วมกับประสบการณ์ ของตนตามช่วงวัย ผ่านการคิดวิเคราะห์ ไตร่ตรองและแก้ปัญหา อย่างมีสติ เท่าทันและสรา้ งสรรค์ เพ่อื นำ�ไปสู่การมชี วี ิตท่มี ีคุณภาพและการท�ำ ประโยชน์ ให้แก่ตนเองและสังคมไทย รวมท้ังการใช้ภาษาไทยผ่านการฟัง ดู พูด อ่าน และเขยี นในการเข้าถงึ องค์ความรขู้ องสังคมไทย ภาคภูมิ ผูกพัน และสืบสาน ส่ิงท่ีดีงาม อีกท้ังสะท้อนความเป็นไทยออกมาในผลงานต่าง ๆ ท่ีตนผลิต ๒. คณติ ศาสตรใ์ นชวี ติ ประจ�ำ วนั (Mathematics in Everyday Life) คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำ�วันเป็นการบูรณาการเนื้อหาสาระของ คณิตศาสตร์กับอีกหลาย ๆ สาขาวิชาเข้าด้วยกัน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้อย่าง มีความหมาย เป็นการนำ�ความรู้ไปเช่ือมกับปัญหา สถานการณ์ในชีวิต ประจำ�วันท่ีผู้เรียนพบ ทำ�ให้ผู้เรียนมองเห็นสะพานเช่ือมระหว่างคณิตศาสตร์ กับโลกท่ีเป็นจริง เป็นการประยุกต์เพ่ือนำ�ไปใช้ในชีวิตประจำ�วันหรือใช้ ในการทำ�งานที่เหมาะสมตามวัย การสอนคณิตศาสตร์จึงควรเน้นให้ผู้เรียน คิดโดยใช้ปญั หาเปน็ ฐาน โดยเรม่ิ จากเรือ่ งงา่ ย ๆ ไปส่เู รือ่ งยาก ๆ เม่อื ผ้เู รียน สามารถคดิ เป็น วเิ คราะหเ์ ปน็ จะสามารถนำ�ความรไู้ ปใช้ไดใ้ นชีวติ จรงิ เพราะ คณิตศาสตร์ไม่ใช่แค่การคำ�นวณ แต่คณิตศาสตร์คือกระบวนการคิดอย่าง มีเหตผุ ล เปน็ ขน้ั ตอน เพอื่ ใช้แก้ปญั หาตา่ ง ๆ ทซี่ ับซ้อน

กรอบสมรรถนะหลักผู้เรียนระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน 38 และระดับประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) ผ้เู รยี นท่มี ีสมรรถนะคณติ ศาสตร์ คือผ้เู รยี นทม่ี ีความสามารถในการแกป้ ัญหา มีเหตุผล สามารถใช้ความหมายทางคณิตศาสตร์ในการส่ือสาร รวมท้ัง เชื่อมโยงทางคณติ ศาสตร์ได้ ผเู้ รียนสามารถน�ำ ความรู้ ความสามารถ เจตคติ ทักษะ ทไ่ี ดร้ บั ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนรสู้ ่งิ ตา่ ง ๆ รวมทัง้ สถานการณใ์ หม่ ๆ เพอ่ื ใหไ้ ดม้ าซงึ่ ความรใู้ หมห่ รอื การสรา้ งสรรคส์ ง่ิ ใหม่ ๆ และน�ำ ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ น ชวี ติ ประจ�ำ วนั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ซง่ึ เออื้ ใหผ้ เู้ รยี นรเู้ ทา่ ทนั การเปลย่ี นแปลง ของระบบเศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรมและสภาพแวดลอ้ ม ๓. การสืบสอบทางวทิ ยาศาสตร์และจิตวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Inquiry and Scientific Mind) การสืบสอบทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์เป็นความสามารถ ในการใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อการแสวงหาความรู้หรือคำ�ตอบที่ ต้องการ อาจมีการใช้และสร้างแบบจำ�ลองเพ่ือความเข้าใจเร่ืองราวใน ธรรมชาติ มีการใช้เหตุผลเพื่อสนับสนุนหรือคัดค้านสู่การตัดสินใจ ได้ คำ�ตอบ ตลอดจนสร้างนวัตกรรมเพ่ือแก้ปัญหาชีวิตประจำ�วันด้วยการเป็น ผสู้ นใจใฝร่ ู้ มีเหตผุ ล รวมท้ังมีจินตนาการ ๔. ภาษาองั กฤษเพอ่ื การส่อื สาร (English for Communication) ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารเป็นความสามารถใช้ภาษาอังกฤษใน การรับสาร และการส่งสาร การมีปฏิสัมพันธ์ มีกลยุทธ์ในการติดต่อส่ือสาร สามารถส่ือสารได้ถูกต้องเหมาะสมกับบริบททางสังคมและวัฒนธรรม มเี จตคตทิ ด่ี ตี อ่ การเรยี นรแู้ ละการใชภ้ าษาองั กฤษ สามารถสอ่ื สารแลกเปลยี่ น และถ่ายทอดความคิด ประสบการณ์ และวัฒนธรรมไทยไปยังสังคมโลก ได้อยา่ งสรา้ งสรรค์ ม่นั ใจ

กรอบสมรรถนะหลักผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน และระดับประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) 39 ๕. ทักษะชีวิตและความเจรญิ แห่งตน (Life Skills and Personal Growth) ทักษะชีวิตเป็นความสามารถที่จำ�เป็นในการใช้ชีวิตอย่างมีประสิทธิภาพ และมีความสุข โดยการน้อมนำ�หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ สร้างความสมดุลและพอดีในการใช้ชีวิต มีการรู้จักตนเองทั้งจุดเด่น และ จุดบกพร่องและนำ�มาใช้ในการกำ�หนดเป้าหมายของชีวิต กิน อยู่ ดู ฟังเป็น มีสติสัมปชัญญะ บริหารจัดการ และดำ�เนินชีวิตสู่เป้าหมาย มีการน้อมนำ� หลักศาสนาที่ตนนับถือมาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวในการดำ�รงชีวิต มีการเรียนรู้ ด้วยความสุขอย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต มีการแสวงหาความรู้ แบ่งปันความรู้ ตระหนักในความสำ�คัญของการเรียนรู้ท่ีส่งผลต่อการพัฒนาตนเอง พร้อม เผชิญปัญหา ปรับตัวและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง มีการปรับตัวและ ฟ้ืนคืนสภาพอย่างรวดเร็วเมื่อเผชิญกับปัญหา และความเปลี่ยนแปลง สามารถปอ้ งกนั และหลกี เล่ยี งจากภยั ต่าง ๆ สรา้ งปฏสิ มั พันธท์ ด่ี ี พร้อมเก้ือกลู ช่วยเหลือเพ่ือน ครอบครัว และผู้เกี่ยวข้องเพื่อความสุขในการอยู่ร่วมกัน ปฏบิ ตั ิหน้าทีต่ อ่ สังคมได้เหมาะสมกับบทบาทและหน้าท่ี ความเจริญแห่งตน เป็นการพัฒนาตนเองให้มีชีวิตอย่างสมดุลทุกด้าน ท้ังทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา และสุนทรียะ มีความ พึงพอใจในการใช้ชีวิต นับถือตนเอง พ่ึงพาตนเองและพัฒนาตนเอง ให้มีสุขภาวะท่ีดี มีสุนทรียภาพช่ืนชมความงามของธรรมชาติและ ศิลปวัฒนธรรม เห็นความสำ�คัญ มีส่วนร่วมในการรักษาสืบทอดส่งต่อ ทำ�นุบ�ำ รุงรกั ษาวฒั นธรรมใหด้ ำ�รงสืบทอดต่อไปได้

กรอบสมรรถนะหลกั ผู้เรยี นระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน 40 และระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) ๖. ทักษะอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการ (Career Skills and Entrepreneurship) ทักษะอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการเป็นความสามารถของบุคคล ท่ีมุ่งเน้นการสร้างความพร้อมสำ�หรับการทำ�งาน การประกอบอาชีพ และ เป็นผู้ประกอบการท่ีเก้ือกูลสังคม โดยบุคคลต้องรู้จักความถนัด ความสนใจ ของตนเอง และนำ�สู่การเลือกอาชีพท่ีเหมาะสมกับตนเอง การพัฒนา ทักษะในการทำ�งาน การทำ�งานด้วยการพึ่งพาตนเอง ยึดหลักการบริหาร จัดการ และการนำ�หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการปฏิบัติงาน เป็นการประกอบการท่ีเน้นนวัตกรรม การสร้างผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์ ท่มี คี ณุ ภาพสงู มีจรรยาบรรณพรอ้ มรับผิดชอบสงั คม ความรอบรู้ทางการเงิน เป็นความรู้ ทักษะ และทัศนคติของบุคคล ในการจัดการการเงิน และการสร้างทัศนคติทางการเงินโดยอาศัยความรู้ ข้อมูล และสารสนเทศอย่างครบถ้วน จนสามารถจัดการการเงินได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพทง้ั การสรา้ งรายได้ การควบคมุ การใชจ้ า่ ย การเกบ็ ออม การแปลง เงินออมเป็นทรัพย์สิน การลงทุนเพื่อสร้างรายได้และการเพ่ิมมูลค่าของ ทรพั ย์สนิ ๗. ทักษะการคิดข้ันสูงและนวัตกรรม (Higher-Order Thinking Skills and Innovation) ทักษะการคิดเป็นความสามารถในการดำ�เนินการคิดเพ่ือให้ได้คำ�ตอบ หรือผลลัพธ์ที่ต้องการ เมื่อบุคคลได้รับส่ิงเร้าหรือข้อมูลต่าง ๆ เข้ามา สมอง จะมีกระบวนการในการจัดกระทำ�ต่อส่ิงเร้านั้นในลักษณะต่าง ๆ กัน เกิดเป็น กระบวนการคิดท่ีหลากหลายซึ่งจัดกระทำ�ต่อสิ่งเร้าในลักษณะต่าง ๆ กัน เกิดเป็นกระบวนการคิดท่หี ลากหลาย ซ่ึงจดั จ�ำ แนกไดเ้ ป็นกลมุ่ ส�ำ คญั ๓ กล่มุ

กรอบสมรรถนะหลักผู้เรยี นระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐาน และระดับประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑ - ๓) 41 ๑. ทักษะการคิดพนื้ ฐาน เช่น ทักษะการจำ� การเก็บความรู้ การดึงความรู้ มาใช้ การอธิบาย ๒. ทักษะการคิดท่ีเปน็ แกนส�ำ คัญ เชน่ ทกั ษะการสังเกต การเปรียบเทยี บ การจัดกลมุ่ จดั ประเภท การแปลความ ขยายความ การเชือ่ มโยง การสรุป ๓. ทักษะการคิดขนั้ สูง เช่น ทักษะการนิยาม การวเิ คราะห์ การสังเคราะห์ การหาแบบแผน การจดั ระบบ โครงสรา้ ง การสรา้ ง การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ ทกั ษะการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ เปน็ กระบวนการคดิ ทมี่ งุ่ ไปทก่ี ารตรวจสอบ ความถูกต้องของข้อมูล เหตุผล และหลักฐานของเร่ืองท่ีพิจารณาว่า มีความน่าเชื่อถือเพียงใด มีประเด็นอะไรท่ีเป็นจุดอ่อน สามารถโต้แย้งได้ โดยมีหลักฐานสนับสนุน ซ่ึงผลการวิพากษ์และประเมินข้อมูลน้ีจะเป็นข้อมูล สำ�คญั ที่นำ�ไปพิจารณารว่ มกับข้อมูลดา้ นอืน่  ๆ เช่น ความเหมาะสมตามหลกั กฎหมาย ศีลธรรม คณุ ธรรม ค่านยิ ม ความเชือ่ และบรรทดั ฐานทางสงั คมและ วฒั นธรรม อันจะนำ�ไปสกู่ ารตัดสินใจอย่างมวี ิจารณญาณ ทักษะการแก้ปัญหาเป็นกระบวนการคิดท่ีมุ่งไปที่ความเข้าใจเหตุและ ผลของปัญหา การแก้ปัญหาให้ได้ผลจะต้องหาต้นเหตุของปัญหาน้ัน และ ขจัดที่เหตุซ่ึงต้องอาศัยวิธีการท่ีเหมาะสม เมื่อได้วิธีการที่น่าจะดีท่ีสุดแล้ว กต็ อ้ งวางแผนด�ำ เนนิ การแกไ้ ขปญั หานน้ั อยา่ งเปน็ ล�ำ ดบั ขนั้ ตอน และลงมอื ท�ำ ตามแผนนั้น เก็บและวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผล ปรับปรุง จนบรรลุผลตาม เปา้ หมายทตี่ อ้ งการ ทักษะการคิดริเร่ิมสร้างสรรค์เป็นกระบวนการคิดท่ีต้องอาศัยจินตนาการ และทักษะพ้ืนฐานด้านการคิดคล่อง คิดยืดหยุ่น คิดหลากหลาย รวมท้ัง การคดิ วเิ คราะห์ และสงั เคราะห์ เพือ่ ใหไ้ ดส้ งิ่ ใหม่ที่แตกตา่ งไปจากเดิม ดีกว่า มีประโยชน์ มีคุณค่ามากกว่าเดิม การคิดริเร่ิมอาจเป็นการปรับหรือประยุกต์ ของเดิมให้อยู่ในรูปแบบใหม่ หรืออาจเป็นการต่อยอดจากของเดิม หรือเป็น การริเริ่มส่ิงใหม่ขึน้ มาเลยก็ได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook