Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือ แนวทางการจัดการเรียนรู้ ของครู

คู่มือ แนวทางการจัดการเรียนรู้ ของครู

Published by Natnicha, 2021-05-05 08:28:07

Description: คู่มือ แนวทางการจัดการเรียนรู้ ของครู

Search

Read the Text Version

ก คำนำ การจัดการเรียนรจู้ ะประสบความสำเร็จนั้น ข้ึนอยกู่ ับปจั จัยหลาย ๆ อย่าง การนำเสนอ ข้ันตอน วิธีการ เทคนิค ท่ีเหมาะสมกับนักศึกษาแต่ละคน นับเป็นปัจจัยสำคัญอีกประการหน่ึงท่ี ส่งผลใหน้ กั ศกึ ษาเกดิ การเรยี นรแู้ ละพัฒนาได้อย่างเต็มศกั ยภาพ ค่มู ือแนวทางการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ สำหรับครู กศน. เล่มน้ี เป็นแนวทางการเรียนรู้ ผ่านระบบออนไลน์ เพ่ือให้ครู กศน. จัดการเรียนรู้ที่สามารถตอบสนองความแตกต่างระหว่าง บุคคล ได้เป็นอย่างดี ในขณะท่ีใช้เวลาเรียนน้อยลง ครู กศน. สามารถจัดการเรียนรู้ผ่านช่องทาง อินเตอร์เน็ต คู่มือแนวทางเล่มน้ีประกอบด้วย การเข้าสู่ห้องเรียนออนไลน์ การสมัคร G-Mail การเข้าบทเรียนออนไลน์ การถ่ายทอดสดผ่าน Facebook Live การมอบหมายงาน และการ ตดิ ตอ่ นกั ศกึ ษาด้วยช่องทางต่าง ๆ ผ่านระบบอนิ เตอรเ์ นต็ ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างย่ิงว่าคู่มือแนวทางการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ สำหรับครู กศน. เล่มน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อครู กศน. ให้สามารถจัดการเรียนรู้ออนไลน์ ในสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั COVID – 19 ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ สำนกั งาน กศน.จังหวัดนครปฐม

สารบญั ข คำนำ หนา้ สารบัญ ก การสรา้ งหอ้ งเรยี นกลมุ่ ไลน์ ข การผลติ สอ่ื การเรยี นการสอนในรูปแบบวิดีโอ 1 คู่มือการใช้ Facebook Live ในการจดั การเรียนรูอ้ อนไลน์ 5 คู่มือการสรา้ ง Google Form ในการจดั การเรียนรู้ออนไลน์ 23 วธิ กี ารใช้ Google Form 30 คู่มือการสร้างเวบ็ ไซต์ ด้วย Google Site เบ้อื งต้น 2020 36 การแชร์ Google Site 41 ภาคผนวก 51 รายช่อื คณะผจู้ ดั ทำเอกสาร

1 การสร้างห้องเรียนกลมุ่ ไลน์ ครูผู้สอนจะต้องสร้างห้องเรียน 3 ระดับ คือ ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย โดยแบ่งเป็น กลุ่มนักศึกษาเข้าใหม่ กลุ่มนักศึกษาเดิม และกลุ่ม นักศึกษาตกคา้ ง ทุกระดับ รวมกนั ทั้งสน้ิ 9 ห้องเรียน ดังน้ี ห้องเรียนประถม นศ.แผนเก่า นศ.แผนใหม่ นศ.ตกค้าง นาศ.แผนใหม่ ห้องเรยี น ม.ตน้ านศ.แผนเก่า านศ.แผนใหม่ นศ.ตกคา้ ง า า หอ้ งเรยี น ม.ปลาย **นา*ศ*.*แ*ผ*น*เ*ก*่า*** นศ.ตกคา้ ง * 2 า ข้ันตอนการสร้างหอ้ งเรยี นในกาลุ่มไลน์ า 1 เลือกคำวา่ สร้างกลุ่ม เลือกสมาชกิ เขา้ กลุ่ม 3 ต้งั ช่ือ กล่มุ ห้องเรยี นไลน์

2 การนำ Facebook Live มาเผยแพร่ ในหอ้ งเรยี นกลุม่ ไลน์ ขั้นตอนการนำ Facebook Live จาก Notebook มาเผยแพร่ ในห้องเรยี นกลุม่ ไลน์ 1 ลิงคก์ าร LIVE 2 คัดลอกลิงค์ 3 วางลงิ ค์ในห้องเรยี น กล่มุ ไลน์ แลว้ กดสง่ 4

3 ขน้ั ตอนการนำ Facebook Live จากโทรศพั ท์ มาเผยแพร่ ในห้องเรยี นกล่มุ ไลน์ 1 จะสังเกตว่า ขณะท่ี LIVE ครูผู้สอนไม่สามารถ แชร์การ LIVE ไปยังกลุ่มห้องเรียนไลน์ได้ แต่สามารถทำการแชร์ลงกลุ่มห้องเรียนไลน์ โดยให้ผู้ท่ีรับชม การ LIVE ดำเนินการแชร์ดัง รูปภาพที่ 2 2 3 ผ้ทู ีร่ ับชม คัดลอกลงิ ค์

4 4 วางลงิ ค์ในหอ้ งเรยี นกลุ่มไลน์ แลว้ กดสง่ 5

5 การผลติ สือ่ การเรยี นการสอนในรปู แบบวิดโี อ ก า รอ บ รม ใน ค รั้ง น้ี ต้ อ ง ก าร ให้ ผู้ เข้ าอ บ รม ส าม ารถ ผ ลิ ต ส่ื อ ก าร เรีย น ก าร ส อ น ในลักษณะของการจับภาพจากหน้าจอคอมพิวเตอรแ์ ละประยุกตใ์ ช้โปรแกรมในการพัฒนา สื่อการเรียนรู้ในรูปแบบของส่ือมัลติมีเดีย ที่ประกอบไปด้วย ภาพ ข้อความ เสียง และ ภาพเคลอื่ นไหว เพ่ือนำไปใช้กับบทเรียนออนไลน์

6 แนะนำโปรแกรม โปรแกรม Camtasia Studio 8 เป็นโปรแกรมจับภาพหน้าจอ (Capture) หรือ บนั ทึกการทำงานของหน้าจอ บันทึกเสียงบรรยาย เพลงประกอบ หรือแม้แต่บนั ทึกคนถ่าย ดว้ ยกล้องท่ีติดบนหน้าจอโดยสามารถให้แสดงบางส่วนหรือท้ังหมดของหน้าจอก็ได้ เหมาะ สำหรับผสู้ อนที่ทำสือ่ การเรียนการสอนบนอินเตอร์เนต็ สามารถใช้งานไดง้ า่ ย เมนูและเครอื่ งมือตา่ งๆ ส่วนท่ี 1 แสดงเมนแู ละเคร่อื งมอื ตา่ งๆ สว่ นที่ 2 ส่วนของการแสดงวดิ ีโอ สว่ นท่ี 3 สว่ นของ Timeline

7 1. สว่ นแสดงเมนูและเครื่องมอื ตา่ งๆ - เมนู File ใช้สำหรับ สรา้ ง เปดิ นำเข้าไฟล์ บนั ทึก และออกจากโปรแกรม - เมนู Edit ใชส้ ำหรบั แก้ไขวดิ โี อ - เมนู View ใช้สำหรับ View งานในรูปแบบต่างๆ - เมนู Play ใช้สำหรบั ดูงานท่ีได้สรา้ งไว้ - เมนู Tools ประกอบดว้ ย เครือ่ งมือต่างๆที่ใชใ้ นการสร้างงาน - เมนู Help ช่วยเหลือการใชง้ านโปรแกรม 2. ส่วนของการแสดงวดิ ีโอ : แสดงวดิ ีโอทีเ่ ราทำหรือแกไ้ ข

8 3. ส่วนของ Timeline : แสดงช่วงเวลาของการเล่นวิดีโอและเสียง สถานะการใช้งาน Effect ต่าง ๆท่ีแสดงในช่วงเวลาน้ัน ๆ การบนั ทึกหน้าจอ (Capture) 1. การบนั ทึกแบบเตม็ หนา้ จอ เปน็ การบันทกึ กิจกรรมบนหน้าจอคอมพวิ เตอร์ ในกรณีทต่ี ้องการอัดเสียงบรรยาย เข้าไปดว้ ย สามารถทำได้โดยการเสียบไมโครโฟนลงไปในชอ่ งสำหรับเสียบไมโครโฟนของ เครอื่ งคอมพิวเตอร์กอ่ น จากน้นั ทำตามขั้นตอนดังตอ่ ไปน้ี 1.1 คลิกปุ่ม Record the screen 1.2 เลือกขนาดจอภาพทจี่ ะบันทกึ 1.3 คลกิ ปมุ่ rec เพ่อื เร่ิมการบันทึกหนา้ จอ หรือกดปุ่ม F9

9 1.4 จะปรากฏหนา้ ตา่ งนบั เวลาถอยหลังเขา้ สกู่ ารบนั ทึกหนา้ จอ 1.5 เร่มิ การบันทกึ หนา้ จอ ใหท้ ำการเปิดโปรแกรมหรอื กิจกรรมท่ีต้องการอดั พร้อม กับพูดบรรยายไปพร้อมกันได้ ในระหว่างการบันทึกหน้าจอ สามารถหยุดการบันทึก ชั่วคราวได้โดยกดปุ่ม Pause หรือ F9 หาก ต้องการหยุดการบันทึกหน้าจอให้กดปุ่ม Stop หรอื F10 1.6 เมื่อกดปมุ่ Stop หรอื F10 เพ่ือส้ินสดุ การบนั ทึก จะปรากฏหนา้ ตา่ ง Preview เพื่อดู

10 ตัวอยา่ งการบนั ทกึ หนา้ จอ 1.7 คลิกปมุ่ Save and Edit เพอ่ื ทำการแกไ้ ขวดิ โี อ (หากไมต่ อ้ งการวิดโี อน้ี สามารถลบวิดโี อได้โดยคลิกปมุ่ Delete) 1.8 จะปรากฏหน้าตา่ งสำหรบั บันทกึ ไฟล์ ของวดิ ีโอ เลอื กพนื้ ที่เก็บไฟล์และคลกิ ปมุ่ Save

11 1.9 เข้าส่หู นา้ ต่างของโปรแกรมเพอ่ื ทำการปรับแตง่ วดิ โี อ การแก้ไขไฟลว์ ิดโี อท่บี ันทึก 1. การแทรกรปู ภาพ / วดิ ีโอการใส่รูปภาพและวดิ โี อเพือ่ ทำการปรับแตง่ หรอื ตัดตอ่ วดิ โี อ สามารถทำไดต้ ามขนั้ ตอนดังนี้ 1.1 คลกิ ปุ่ม Import media 1.2 เลือกไฟลภ์ าพหรอื วดิ โี อจากเครื่องคอมพิวเตอร์ 1.3 คลิกปมุ่ Open เพื่อเพมิ่ ไฟล์

12 1.4 ไฟล์ทเี่ พ่ิมเขา้ มาจะปรากฏใน Clip Bin

13 1.5 ลากไฟลว์ ดิ โี อลง Timeline เพ่อื ทำการตดั ตอ่ หรือแกไ้ ข 1.6 หากต้องการตัดวิดีโอในส่วนที่ไม่ต้องการออก ให้ลากเส้น Timeline ไปยังจุดท่ีต้องการ แกไ้ ข แล้วใชเ้ คร่ืองมือ เพอื่ ตัดวิดีโอหรือเสียง แลว้ ลบในส่วนทไี่ ม่ต้องการออก เคร่อื งมือทส่ี ำคัญ

14 2. การใส่คำบรรยายภาพ (Callout) Callout หมายถึง คำบรรยายภาพ เราสามารถใส่ Callout เพอ่ื บรรยายภาพ เพมิ่ เตมิ ในวดิ โี อได้ โดยมีขนั้ ตอนดงั ต่อไปนี้ 2.1 ลากเสน้ keyframe ไปยงั จุดท่ตี อ้ งการใส่คำบรรยาย 2.2 เลอื กเมนู Callout 2.3 เลือกรูปแบบ Callout ท่ีตอ้ งการ

15 2.4 เมอ่ื คลิกเลอื ก Callout ก็จะลงใน Timeline อัตโนมัติ และจะแสดงผลใน หนา้ จอ Preview 2.5 Callout สามารถปรับแต่งไดโ้ ดยปรบั แต่ง Fill, Effects, Borde

16 2.6 การพิมพ์ข้อความใน Callout ใหพ้ ิมพ์ข้อความในช่อง และปรับแต่งแบบอักษร สตี ัวอักษรและอนื่ ๆ ได้ตามต้องการ 2.7 การทำ Fade in / Fade out สามารถปรับค่าได้ตามตอ้ งการ 3. การใส่ Transition Transition ใช้สำหรับการเปลีย่ นฉากหรือคลิปของช่วงตอ่ ของคลปิ สามารถ เลือกใช้ได้ตามต้องการโดยมีวิธีการใช้งานดงั ตอ่ ไปนี้ 3.1 เลือกเมนTู ransition จะปรากฏหน้าตา่ ง Transition หลายๆ แบบ ดงั ภาพ

17 3.2 เลือก Transition ที่ตอ้ งการ แลว้ ลากไปวางใน Timeline ระหวา่ งชว่ งต่อของคลปิ วดิ โี อ 3.3 เมือ่ ลาก Transition มาวาง สามารถดู Preview โดยการกดปุ่ม Spacebar

18 การปรบั แตง่ เสียง Audio เสียงเป็นส่วนประกอบสำคญั ของวิดีโอ บางครัง้ เสียงทบ่ี ันทึกจะมเี สยี งทีห่ นักและ เบาตา่ งกนั การปรบั แตง่ เสียงจงึ มสี ว่ นสำคญั มีวิธีการปรบั แตง่ ดังน้ี 1. เลอื กเมนู Audio จะปรากฏหน้าตา่ ง ดงั ภาพ 2. เมนูทใ่ี ช้ในการปรบั แต่งเสยี ง มีความหมายดังนี้ - ปุ่ม Volume down การลดเสียงลง - ปุ่ม Volume down การเพ่ิมเสียงขนึ้ - ปุ่ม Fade in ระดับเสยี งค่อยๆดงั ขน้ึ - ปุม่ Fade out ระดับเสียงค่อยๆเบาลง 3. การ Fade in / Fade out เป็นการทำให้เสียงคอ่ ยๆ ดังข้นึ หรือลดลง สามารถทำได้โดย การเลือกคลิปทีต่ ้องการใน Timeline > คลกิ ปุ่ม Fade in หรือ Fade out

19 4. การ Volume down / Volume up เปน็ การเพิ่มหรอื ลดระดับของเสียง สามารถทำได้ โดยการเลือกคลปิ ทต่ี ้องการใน Timeline > คลิกปมุ่ Volume down / Volume up การบนั ทึกไฟล์ (Save) การบันทกึ ไฟลจ์ ะใชใ้ นกรณที ตี่ อ้ งการบันทกึ งานท่ีทำอยู่ เพื่อเก็บไวห้ รือนำกลับมา แกไ้ ข ซึ่งมขี น้ั ตอนและวธิ กี ารบนั ทึกไฟลง์ าน ดังต่อไปนี้ 1. คลกิ เมนู File 2. เลอื ก Save project

20 3. เลือกพ้ืนที่เกบ็ ไฟลใ์ นคอมพิวเตอร์ตง้ั ชือ่ ไฟล์จากนนั้ คลิกปุ่ม Save การนำออกไฟล์วดิ ีโอ (Export) การนำออกไฟล์วิดโี อ เปน็ ข้ันตอนการนำไฟลว์ ดิ ีโอทไ่ี ดไ้ ปใช้งาน โดยผจู้ ดั ทำ สามารถเลอื กนามสกุลไฟล์ ใหเ้ หมาะสมกบั การใชง้ านตามต้องการได้ โดยมีวิธกี าร ดังต่อไปนี้ 1. คลิกเมนู Produce and Share 2. คลิกเลอื กนามสกลุ ไฟล์ทีต่ ้องการนำออก

21 3. คลกิ ปมุ่ Next 4. ตง้ั ชอื่ ไฟล์ในช่อง Production name (1) 5. เลอื กพื้นทีจ่ ดั เก็บไฟล์ ในชอ่ ง Folder (2) 6. คลกิ ปมุ่ Finish (3) 7. โปรแกรมกำลัง Rendering รอจนกว่าจะเสรจ็ 8. จะปรากฏไฟลว์ ดิ โี อท่เี ราสามารถนำไปใช้งานได้

22 โปรแกรม CAMTASIA STUDIO

23 ค่มู ือการใช้ Facebook Live ในการจัดการเรยี นร้อู อนไลน์ การใช้ Facebook Live ในการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ เพื่อให้ครูผู้สอนและผู้เรียน ได้ส่ือสารกัน ช้ีแจงข้อมูลรายละเอียด ให้ผู้เรียนได้ซักถามข้อสงสัย และนัดหมายกิจกรรม อน่ื ๆ ในครง้ั ต่อไป เป็นการสร้างความเขา้ ใจระหวา่ งครผู สู้ อนและผูเ้ รียนใหด้ ีย่ิงขึ้น ขั้นตอนการเพ่ิมผ้เู รยี นเป็นเพื่อนใน Facebook 1 ค้นหาผ้เู รียนใน Facebook Search หา Facebook ผู้เรียน เมื่อพบแลว้ ใหค้ ลกิ 1 ครง้ั 2 เพม่ิ เพ่อื นใน Facebook 1 เลือก “ เพ่ิมเป็นเพือ่ น” 2 เม่ือคลกิ แล้วจะขน้ึ คำวา่ “สง่ คำขอเปน็ เพอ่ื นแลว้ ” ระหว่างนร้ี อใหผ้ ู้เรยี นตอบรบั

24 3 เมอื่ ผ้เู รยี นตอบรบั แล้ว ครูผสู้ อนและผเู้ รียนจะเป็นเพื่อนกนั ใน Facebook ปรากฏดังภาพ เมอื่ ผูเ้ รียนตอบรับเปน็ เพื่อนแล้ว จะขึ้นแสดง Icon ดงั ภาพน้ี ขัน้ ตอนการสร้างกลมุ่ ผเู้ รียน 1 สร้างกลุม่ / เพ่ิมกลมุ่ 1 คลิกคำว่า “ กลมุ่ ” เมอื่ คลิกแลว้ เพอ่ื จะขึน้ หน้าตา่ งตามรปู ภาพน้ี เพื่ อ 2 คลิกคำว่า “สรา้ งกลุ่ม” เพื่อสรา้ งกลมุ่ ผูเ้ รียน

25 2 ตงั้ ชอ่ื กลุ่ม เพิม่ สมาชกิ เลือกสถานะความเป็นสว่ นตวั เลอื กเพือ่ ตงั้ ชื่อกลุ่ม เพอ่ื เลอื กเพ่อื กรอกข้อมลู เพ่ือ เพิม่ เพือ่ สมาชกิ เลอื กเพอ่ื ต้งั สถานะ คลิกคำวา่ “สร้าง” เมื่อคลกิ แล้ว การมองเหน็ จะขนึ้ หน้าต่างตามรูปภาพน้ี 3 เชญิ สมาชกิ เข้ากล่มุ เลือก เพ่อื คลิกคำวา่ “เชญิ สมาชิก” “เพ่มิ เตมิ ” จะปรากฏคำวา่ “เชญิ สมาชิก”

26 4 คน้ หารายชื่อสมาชกิ เพ่อื เพม่ิ ลงในกลุม่ 1 ป้อนชือ่ หรอื อีเมล์ ผูเ้ รียน 2 จะข้นึ Icon น้ี ใหค้ ลิกคำว่า “เชิญ” ระหวา่ งนร้ี อให้ ผเู้ รยี นตอบรบั วิธีการดูวา่ ผู้เรยี นตอบรับเข้ากลมุ่ ใหค้ ลกิ ที่ “สมาชกิ ” เพ่อื ดูว่าผู้เรยี นตอบรับ แลว้ ก่ีคน และมใี ครบ้าง 1 2 3

27 Facebook Live (การถ่ายทอดสด) การกำหนดวนั และเวลานัดหมายการถา่ ยทอดสด เพอ่ื แจง้ ข้อมูล เพื่อให้ผู้เรียน ได้ซกั ถามขอ้ สงสยั ผ่านชอ่ งทาง LIVE (การถา่ ยทอดสด) 1 LIVE (การถ่ายทอดสด) คลกิ ที่ “วดี โี อถ่ายทอดสด” 22 การกำหนดเวลาการ LIVE (ถา่ ยทอดสด) เพ่ือกำหนดวันและเวลาผเู้ รียน ในการถ่ายทอดสดการพดู คยุ กับผเู้ รียน 1 2 3 คลิกที่ กำหนดเวลาวีดีโอ ถ่ายทอดสด กำหนดวันที่ เวลาทจ่ี ะ ดำเนินการถ่ายทอดสด

28 เมอื่ ตัง้ วนั และเวลา การถา่ ยทอดสดแล้ว จะขึ้นแสดงหนา้ ตา่ ง ตามรปู ภาพนี้ 1 2 ให้ผเู้ รยี นลงชื่อรับทราบ ว่าครูผูส้ อนจะดำเนินการ ถ่ายทอดสด ในวนั และ เวลาท่ีครูผ้สู อนกำหนด เมอ่ื ผู้เรียนลงชอ่ื รับทราบแล้วจะ ปรากฏตามรปู ภาพนี้ 3 การ LIVE (ถา่ ยทอดสด) โดยไมต่ อ้ งกำหนดเวลา คลกิ ที่ เรม่ิ ถ่ายทอดสดตอนนี้ เลย

29 เรมิ่ การ LIVE (การถ่ายทอดสด) ) ครตู รวจสอบจำนวนผู้เรยี น ครูพดู คุยกับผู้เรียน ชี้แจงขอ้ มลู และใหผ้ ูเ้ รยี น ไดซ้ ักถามข้อสงสยั นัดหมายกจิ กรรมอื่นๆ คร้ังตอ่ ไป ดูจำนวนผเู้ รยี น เขา้ รับชมการ 1 LIVE 2 คลกิ เพ่ือเร่มิ ถา่ ยทอดสด ครผู สู้ อนพดู คยุ กับผเู้ รยี น เชน่ ผเู้ รยี นเขา้ การชแี้ จงใหผ้ เู้ รยี นทราบเกย่ี วกับ รายงานตัว กิจกรรมทจ่ี ะเกดิ ขึน้ ในสัปดาหน์ ี้ ว่ากำลงั ให้ผเู้ รยี นซักถามขอ้ สงสยั เปน็ ต้น รับชม

30 คู่มือการสรา้ ง Google Form ในการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ การใช้ Google Form ใน Google Drive เป็นการสร้างแบบฟอร์มที่ต้องการ คำตอบจากผู้ตอบ เพราะการทำงานของ Form น้ันเม่ือเราทำการส่งไปถึงผู้รับ โดยให้ผู้รับ ตอบและส่งคำตอบกลับมา เราจะสามารถรู้ว่าผู้ท่ีตอบแบบฟอร์มได้เลือกคำตอบ หรือตอบ อะไรบ้าง แต่ผู้ท่ีตอบแบบสอบถามจะไม่รู้ว่าคำตอบที่ตัวเองตอบนั้นผิดหรือถูก ซึ่ง ประโยชน์น้ีสามารถนำไปใช้ได้กับการทำแบบสอบถามออนไลน์ในองค์กร แบบสอบถาม ความพึงพอใจในองค์กร หรือการทำข้อสอบออนไลน์ก็สามารถทำได้เช่นกัน ซ่ึงการเก็บ ข้อมูลทั้งหมดไม่ว่าจะเป็นคำถามและคำตอบของผู้ตอบ ทั้งหมดจะถูกเก็บไว้ท่ี Drive ของ เราโดยอัตโนมัติและถูกจดั เกบ็ ไว้ในไฟล์ Spreadsheet ซึ่งการสร้างแบบสอบถามออนไลน์ สามารถทำได้ดังนี้ ขนั้ ตอนการสรา้ ง Google Form 1 เขา้ Google แลว้ คลิก

31 2 การสรา้ งแบบทดสอบใน Google Form 1. คลิกทเ่ี ครือ่ งหมาย + 2. จะปรากฏดงั รปู ไปทเ่ี พิม่ เติม เลอื ก Google Form แล้วเลอื กแบบฟอร์มเปล่า

32 3. จะปรากฏดงั รปู แล้วตงั้ ช่ือเป็นแบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre-test) 3 การสรา้ งแบบทดสอบและการกำหนดคะแนน 1. สร้างคำถามและคำตอบให้ครบตามจำนวนที่ต้องการ คลกิ ทกี่ ารตัง้ คา่

33 2. การกำหนดเป็นแบบทดสอบ 1. คลิกทีค่ ำวา่ “แบบทดสอบ” 2. คลกิ ทค่ี ำวา่ “ทำเปน็ แบบทดสอบ” 4 ขั้นตอนการแปรผลคะแนนจาก Google Form 1. คลิกคำว่า “การตอบกลับ”

จะปรากฏดงั รูป จากนั้นคลกิ 34 2. คลิกที่ การสรา้ งสเปรตชตี Spreadsheet 2. คลิกทค่ี ำว่า “สรา้ ง”

35 3. เม่ือคลิกท่ีคำว่า“สร้าง”แล้วจะปรากฏคะแนนท่ีผู้เรียนทำแบบทดสอบ ครสู ามารถ ท่ีจะตรวจสอบและสรปุ ผลคะแนนในแบบทดสอบน้นั ๆได้

36 วิธกี ารใช้ Google Form Form ใน Google Drive เป็นการสร้างแบบฟอร์มท่ีต้องการคำตอบจากผู้ตอบ เพราะการทำงานของ Form น้ันเม่ือเราทำการสง่ ไปถึงผู้รับ โดยให้ผู้รับตอบและส่งคำตอบ กลับมา เราจะสามารถรู้ว่าผู้ท่ีตอบแบบฟอร์มได้เลือกคำตอบ หรือตอบอะไรบ้าง แต่ผู้ที่ ตอบแบบสอบถามจะไม่รู้ว่าคำตอบท่ีตัวเองตอบน้ันผิดหรือถูก ซ่ึงประโยชน์น้ีสามารถ นำไปใช้ได้กับการทำแบบสอบถามออนไลน์ในองค์กร แบบสอบถามความพึงพอใจใน องค์กร หรอื การทำขอ้ สอบออนไลนก์ ็สามารถทำไดเ้ ช่นกัน ซึ่งการเก็บขอ้ มูลทง้ั หมดไมว่ า่ จะ เป็นคำถามและคำตอบของผตู้ อบ ท้ังหมดจะถูกเก็บไว้ที่ Drive ของเราโดยอัตโนมตั ิและถูก จดั เกบ็ ไวใ้ นไฟล์ Spreadsheet ซึง่ การสรา้ งแบบสอบถามออนไลน์ การสง่ Google Form จะมอี ยู่ 3 วิธี 1. สง่ ลิ้งค์ 2. การแชรผ์ ่าน Social 3. ส่งฟอร์มผ่าน E-mail โดยวิธีที่ง่ายท่ีสุดคงจะเป็นวิธีที่ 1 คือการ Copy ลิงค์ และนำ ล้ิงแบบฟอร์มส่งไปเผยแพร่ให้กับกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการเพียงไม่ก่ี ขั้นตอนในการสร้าง แบบฟอร์มออนไลน์ Google form เราก็สามารถสร้างแบบฟอร์มออนไลน์ได้ง่าย อีกทั้ง ข้อมูลยงั ถูกเก็บอยู่ในรูปแบบตาราง (spreadsheet) ซึ่งจะทำให้งา่ ยตอ่ การแยกข้อมลู และ ยังมเี ครือ่ งมือสำหรบั สรุปผล

37 นอกจากน้ีแล้วเรายังสามารถกำหนดได้อีกว่าเมื่อมีผู้ตอบกลับมาแล้ว จะให้คำตอบ อยู่ท่ีไหน โดยเลือกที่ \"การตอบกลับ\" > \"เปล่ียนแปลงทางการตอบกลับ\" จากนั้นกำหนด โดยเลือกว่าจะให้สร้าง สเปรดชตี ใหม่ หรอื สเปรดชีตเดิมทีม่ ีอยู่แล้ว ซ่ึงในที่น้ีก็ใหเ้ ลือกเป็น สเปรดชีตใหม่ จากนั้นก็ต้ังชื่อของ สเปรดชีต และเมื่อมาดูใน Drive ของเราก็จะเห็นไฟล์ที่ จัดเก็บขอ้ มลู ตอบกลับสรา้ งขึน้ มาให้เราอีก 1 ไฟล์

38

39

40 หมายเหตุ การนำ Google Form ของไฟลข์ ้อมลู อนื่ มาใช้ใหท้ ำการคัดสำเนาจงึ มาใช้ ของตนเอง

41 คู่มอื การสร้างเว็บไซต์ ดว้ ย Google Site เบ้ืองต้น 2020 Google Sites คือ โปรแกรมออนไลน์ที่ทำให้การสร้างเว็บไซต์ให้ง่ายขึ้นเหมือนกับ การแก้ไขเอกสารธรรมดาๆด้วย Google Sites สามารถรวบรวมความหลากหลายของ ข้อมูลในที่เดียว เช่น รวมวิดีโอ ปฏิทินการนำเสนอ เอกสารหรือสิ่งที่แนบ และข้อความ อำนวยความสะดวกให้คุณร่วมกันดู หรือแก้ไขหน้าเว็บ จะเป็นกลุ่มเล็กๆ หรือทั้งองค์กร ของคณุ หรอื จะทง้ั โลกเลยก็ได้รู้จกั กูเกิล้ ไซต์ (Google Sites) - Google Sites ใหบ้ รกิ ารครัง้ แรกเม่อื เดือนพฤษภาคม 2551 - สร้างเวบ็ ไซต์ได้สุดแสนจะง่ายดาย ใชเ้ วลากีน่ าทีกโ็ ชวผ์ ลงาน - ไมจ่ ำเปน็ ต้องรภู้ าษาเขยี นเวบ็ (HTML) ใหป้ วดหวั แคใ่ ช้เวริ ด์ พิมพง์ านเป็นก็เร่ิมได้ เลย แถมเมนเู ป็นภาษาไทยอกี ตา่ งหาก - มแี บบเทมเพลตสำเรจ็ รปู ใหเ้ ลอื กมากมาย คล้ายๆ กับแบบสำเร็จเพาเวอร์พอยต์ - สามารถแชร์เว็บให้เพ่ือนๆ ร่วมสร้างสรรค์ได้ - เปน็ ระบบทค่ี รอบคลมุ เอามาใช้ดว้ ยกันไดเ้ ลย เชน่ อเี มล์ (Gmail) ปฏทิ นิ (Calendar) เอกสาร (Documents) ยูทูป (YouTube) อัลบั้มภาพ (Picasa) แผนท่ี (Map) ฯลฯ

42 2. คู่มอื การใชง้ าน Google sites นคี่ ือสิ่งทค่ี ุณสามารถดำเนินการได้กบั Google Sites - กำหนดรปู ลกั ษณ์ของเว็บไซตข์ องคณุ - สร้างเพจยอ่ ยเพอื่ ใหเ้ น้ือหาของคณุ น่าสนใจ - เลือกประเภทเพจ, เว็บเพจประกาศ, ตเู้ ก็บเอกสาร - ใหเ้ นอื้ หาในเว็บของคณุ เช่น วิดีโอ, เอกสารออนไลน์, Picasa แสดงสไลด์ภาพถ่าย, gadgets iGoogle และไฟล์แบบออฟไลนใ์ นตำแหนง่ กลางหน่ึง - ให้เวบ็ ไซต์ของคุณเป็นส่วนตัวหรือสาธารณะตามที่คุณต้องการ - ค้นหาใน Google เน้อื หาของเว็บไซตท์ ี่มีเทคโนโลยีการค้นหา Google - เรียนรู้พืน้ ฐานของ Google เว็บไซต์และเริ่มต้นสร้างเว็บไซต์ของคุณเองการใช้งาน Google site - Google Sites เป็นแอปพลเิ คชนั ออนไลนท์ ท่ี ำใหก้ ารสร้างเวบ็ ไซตข์ องทมี กลายเปน็ เร่อื งงา่ ย - แก้ไขเอกสาร เมอื่ ใช้ Google Sites ผู้คนสามารถรวบรวมข้อมูลทห่ี ลากหลายไวใ้ น ท่ีเดียวไดอ้ ย่างรวดเร็ว ไดแ้ ก่ วิดีโอ ปฏทิ ิน งานนำเสนอ ไฟลแ์ นบ และข้อความ และ สามารถใชง้ านรว่ มกับกล่มุ เล็กๆ ทั้งองค์กรหรือท้ังโลก เพ่ือดูหรือแกไ้ ขได้อยา่ งงา่ ยดาย - จำนวนหน้าเวบ็ เพจไม่จำกัดการใชง้ าน Google site - บริการอืน่ ๆ ของกูเกิ้ลตวั อน่ื ๆ เชน่ ยทู ูป (YouTube), ไดรฟ์ (Drive), ปฏทิ นิ (Calendar), อลั บ้ัมภาพ (Picasa) คุณสมบัตหิ ลกั ของ Google Site 1. สามารถเพิม่ Logo ของเว็บไซตโ์ ดยใช้วิธกี าร Uploadหรอื เลอื กจาก Google Drive พรอ้ มกนั นัน้ ยังเลอื กได้วา่ จะทำรูปแบบใด 2. สามารถสร้าง Banner ในรปู แบบ Upload หรือเลือกจาก Google Drive ได้ 3. สามารถเพมิ่ เมนไู ดม้ ากกว่า 1 หน้า ทำให้ได้แบง่ การแสดงผลไดง้ ่ายยง่ิ ขน้ึ 4. สามารถแบ่ง Layout เพ่ือให้แสดงผลไดอ้ ย่างสวยงาม

43 5. สามารถแทรก Embed code ซึ่งจะใชส้ ำหรบั วีดโี อจาก Youtube หรอื แทรกแผนท่ี จาก Google Maps หรือ Application อน่ื ๆ ทีร่ องรบั Embed code 6. สามารถแทรกเว็บไซต์อนื่ ๆ มายงั Sites ของเราผ่าน URL Link ได้ 7. สามารถแทรกไฟล์ไดท้ กุ สว่ นท่ีเปน็ ไฟล์ของ Google Drive เช่น Google Doc , Google Sheet , Google Form ฯลฯ จุดดอ้ ยของ Google Site 1. ใชง้ านรว่ มกบั CSS ทีอ่ อกแบบเองไมไ่ ด้ 2. เว็บไซต์อยูภ่ ายใต้ Google ทำให้ Domain Name ยาว 3. ยงั มปี ัญหาเรื่องการใชง้ านร่วมกบั Script อน่ื ๆ 4. ใช้งานไดเ้ ฉพาะเม่อื ตอ่ อินเตอร์เนต็ เท่านัน้ เร่มิ ต้นสรา้ งเวบ็ ไซต์ด้วย Google Site 1. เข้าไปที่ Google Drive (เขา้ สู่ระบบดว้ ยบัญชี Google ใหเ้ รียบรอ้ ยก่อน

44 2. คลิกขวา(เลือกพ้นื ทว่ี ่างๆ)เลือก “More”แล้วเลอื ก “Google Site ” 3. เพียงเท่านีก้ ไ็ ด้เวบ็ ไซต์ทพี่ รอ้ มใหป้ รบั แต่งแลว้ ที่ดา้ นบนของเวบ็ ไซต์ เมอื่ สรา้ งเวบ็ ข้นึ มาแลว้ โปรแกรมจะสรา้ งมาในชือ่ Untitled Site เรา สามารถเปลยี่ นเป็นช่ืออ่ืนๆตามท่ีต้องการได้ การจัดการหัวเว็บ (Banner)

45 หัวของเวบ็ ไซต์ (Banner) เราสามารถจดั การได้ 2 ส่วน ส่วนแรกคอื การแทรกรปู ภาพ และ สว่ นท่สี องคอื จดั การรปู แบบของหวั เวบ็ ดงั นี้ ถา้ คลิกท่ี “Header Type”จะปรากฏตวั เลือกขนึ้ ตามภาพ 1. แสดงผลแบนเนอรข์ นาดใหญม่ าก 2. แสดงภาพแบนเนอร์ขนาดใหญ่ 3. แสดงภาพแบนเนอรข์ นาดเล็ก 4. แสดงแตข่ อ้ ความ การเพมิ่ หน้า

46 1. เลือกแทบ็ “Pages” 2. คลกิ ท่รี ูปเครอ่ื งหมายบวก (+) แลว้ เลือก “New page” 3. ตง้ั ชือ่ หน้าใหมต่ ามตอ้ งการ เสรจ็ แลว้ คลิกท่ปี ่มุ “Done” 4. เสร็จแล้วจะมีปุ่มลงิ ค์ขน้ึ ท่ีดา้ นขวาบน การเปล่ียนช่อื ปุ่มลิงค์

47 1. เลอื กแท็บ “Pages” คลกิ ทเ่ี คร่อื งหมายจดุ 3 จดุ ท้ายปมุ่ ลิงค์ทีต่ อ้ งการเปล่ียนช่อื 2. เลอื ก“Properties” 3. พมิ พช์ อ่ื ตามตอ้ งการ เสรจ็ แลว้ คลกิ ทป่ี มุ่ “Done” การแทรกเนอื้ หาสำเรจ็ รูป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook