Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประมงปัตตานี_คุ่มือนักเรียน(ปวช)_65_1

ประมงปัตตานี_คุ่มือนักเรียน(ปวช)_65_1

Published by madza_2008, 2022-05-13 04:15:47

Description: ประมงปัตตานี_คุ่มือนักเรียน(ปวช)_65_1

Search

Read the Text Version

คู่มือรกาะรดจัดับการเปรียวนกชาร.สอน ประจ�ำปีการศึกษา 2565 วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 3 ส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ



คำ� นำ� คู่มือ การจัดการเรียนการสอน ประจ�ำปีการศึกษา 2565 น้ี ประสงค์ท่ีจะให้ทุกฝ่ายยึดเป็น แนวทางในการจัดการเรียนการสอน เช่น คณะผู้บริหารสถานศึกษา คณะครู บุคลากรทางการศึกษา นักศึกษา และผู้ปกครอง เพื่อใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการการจัดการเรียนการสอน ให้เป็นไปตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ กฎหมาย ระเบียบที่เก่ียวข้อง และนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่ส�ำคัญนักศึกษา ได้ยึดเป็นแนวทางในการศึกษาเล่าเรียน ให้เป็นไปตามโครงสร้างของ หลักสูตรและมาตรฐานวิชาชีพของแต่ละระดับชั้นของสาขาวิชา และสาขางานนั้น ๆ ตลอดถึง การประพฤติปฏิบัติตนให้ถูกต้องตามระเบียบ กฎเกณฑ์ แนวปฏิบัติท่ีเกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน การประเมินผล ตลอดถึงใช้บริการสวัสดิการต่าง ๆ โดยเน้นตามหลักความเป็นเลิศด้านวิชาชีพ มุ่งสู่สากล ความเป็นประชาธิปไตย ความเป็นประชาคมอาเซียน รวมถึงคุณลักษณะอันพึงประสงค์ การอยู่ร่วมกันอย่างมีสันติสุขในสังคมพหุวัฒนธรรม ส�ำหรับผู้ปกครอง จะได้ร่วมในการติดตาม การเรียนของนักเรียน นักศึกษา ตลอดถึงการสอบถามผลการจัดการเรียนการสอนให้เป็นไปตาม วัตถุประสงค์ของหลักสูตร และมาตรฐานวิชาชีพต่อไป จึงถือว่าคู่มือการจัดการเรียนการสอนฉบับน้ี ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจะได้รับรู้สภาพอดีต ปัจจุบัน และทิศทางในอนาคตของวิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี และหวังเป็นอย่างย่ิงว่า คงจะเป็นประโยชน์แก่ทุกฝ่าย ที่ได้ร่วมกันจัดการเรียนการสอนให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ส่งผลดี ในการพัฒนาเด็ก เยาวชน ประชาชน ให้เป็นก�ำลังส�ำคัญในการพัฒนาประเทศชาติอย่างยั่งยืนต่อไป (นายทิว กาสิวุฒิ) ผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี 17 พฤษภาคม 2565



สารบัญ หน้า ขข้อมูลพ้ืนฐานวิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี 1 แผนการเรียนตลอดหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พ.ศ. 2562 15 • โครงสร้างแผนการเรียน หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 16 สาขางานอุตสาหกรรมเกษตร 16 สาขางานผลิตสัตว์น�้ำ 19 สาขางานการเกษตร 22 ภาคผนวก 25 • ข้อบังคับสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 3 ว่าด้วย เคร่ืองแบบ เครื่องหมาย 26 และเคร่ืองแต่งกายนักศึกษา พ.ศ. 2561 • ข้อบังคับสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 3 ว่าด้วย เครื่องแบบ เคร่ืองหมาย 30 และเครื่องแต่งกายนักศึกษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563 • ประกาศสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 3 เร่ือง เครื่องแต่งกายนักศึกษา 34 ท่ีนับถือศาสนาอิสลาม • ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วย การเคารพของนักเรียนและนักศึกษา พ.ศ. 2530 35 • ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วย การจัดการศึกษาและประเมินผลการเรียน 37 ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 • ระเบียบสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 3 ว่าด้วย การสอบของนักศึกษา พ.ศ. 2558 54 • ข้อบังคับสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 3 ว่าด้วย กิจกรรมนักศึกษา พ.ศ. 2558 58 • ข้อบังคับสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 3 ว่าด้วย วินัยนักศึกษา พ.ศ. 2557 67 • ระเบียบวิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี 72 ว่าด้วย หลักเกณฑ์ในการพิจารณาโทษนักเรียน นักศึกษา พ.ศ. 2564 • ระเบียบการส�ำหรับนักศึกษาประจ�ำหอพักหมู่บ้านมหาดไทย พ.ศ. 2564 77 • ประกาศกองทุนเงินให้กู้ยืมเพ่ือการศึกษา 82 เรื่องก�ำหนดการให้กู้ยืมเงินกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา ประจ�ำปีการศึกษา 2565 • คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 10 ประการ 86 • ค�ำปฏิญาณตน 86 • เพลงมาร์ชวิทยาลัย 87

สารบญั (ต่อ) 88 • ค�ำส่ังวิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี ท่ี 50/2565 92 เร่ือง แต่งตั้งคณะกรรมการและครูท่ีปรึกษาประจ�ำชั้น ปีการศึกษา 2565 93 • ปฏิทินการศึกษา ประจ�ำภาคเรียนที่ 1/2565 • คณะผู้จัดท�ำ

ข้อมูลพ้ืนฐาน วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี 1. ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ ภารกิจหลัก ▶ ปรัชญา อดทน แกร่งกล้า ฝ่าอุปสรรค รักคุณธรรม ▶ วิสัยทัศน์ “สร้างแหล่งเรียนรู้ มุ่งสู่สากล พัฒนาคนอย่างต่อเน่ือง ลือเล่ืองแหล่งท่องเท่ียวเชิงอนุรักษ์” ▶ พันธกิจ พันธกิจท่ี 1 จัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาและฝึกอบรมวิชาชีพ เพื่อผลิตและพัฒนาก�ำลัง คนในด้านวิชาชีพระดับกึ่งฝีมือ ระดับฝีมือระดับเทคนิคและเทคโนโลยี ให้มีสมรรถนะสอดคล้อง กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ตามหลักสูตรมาตรฐานการอาชีวศึกษาและมาตรฐาน วิชาชีพ รวมท้ังสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน พันธกิจที่ 2 ประสานความร่วมมือกับสถานศึกษา ชุมชน สังคม สถานประกอบการ สมาคม วิชาชีพและกลุ่มวิชาชีพในการจัดการอาชีวศึกษาและฝึกอบรมวิชาชีพให้ผู้ส�ำเร็จการศึกษามีความ รู้ความสามารถในทางปฏิบัติ และมีสมรรถนะจนสามารถน�ำไปประกอบอาชีพในลักษณะผู้ปฏิบัติ หรือประกอบอาชีพอิสระได้ พันธุกิจที่ 3 ด�ำเนินการพัฒนาบุคลากร และผู้เรียนให้มีการศึกษาวิจัย พัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์ เป็นศูนย์กลางเรียนรู้ด้วยตนเอง รวมท้ังการให้บริการทางวิชาการ วิชาชีพแก่ชุมชนและท้องถ่ิน พันธกิจที่ 4 ด�ำเนินระดมทรัพยากรจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ท้ังในและต่างประเทศ ในการจัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพ พันธกิจท่ี 5 ด�ำเนินการจัดการอาชีวศึกษาเชิงธุรกิจที่สอดคล้องกับการจัดการเรียนการสอน พันธกิจที่ 6 ทะนุบ�ำรุงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี การอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมและกิจกรรม เสริมหลักสูตร พันธกิจท่ี 7 ปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้ รับมอบหมาย คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

▶ เป้าประสงค์ 1. ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะด้านวิชาชีพตามมาตรฐานสากลโดยหลักสูตรสอดคล้องกับ ความต้องการของชุมชน 2. ผู้เรียนมีแหล่งเรียนรู้ด้านสิชาชีพเกษตรและประมง ที่เกิดจากความร่วมมือในการจัดการ ศึกษาร่วมกันระหว่างสถานศึกษา ชุมชน และประชาคมอาเซียน 3. ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ให้แก่องค์กรในการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล 4. พัฒนาบุคลากรในสถานศึกษาให้มีความรู้ความช�ำนาญทางด้านวิชาชีพเพ่ือรองรับการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน 5. ส่งเสริมบุคลากรและผู้เรียนในการศึกษาวิจัย นวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์ 6. พัฒนาระบบเทคโนโลยีการส่ือสารและสารสนเทศของสถานศึกษาให้เป็นมาตรฐานระดับ สากล ตามหลักธรรมาภิบาล 7. สถานศึกษาสร้างโอกาสทางการศึกษาและส่งเสริมเครือข่ายความร่วมมือระหว่าง สถานศึกษา ชุมชน และผู้ปกครองในการเพิ่มปริมาณผู้เรียนสายอาชีพ 8. สถานศึกษายกระดับความเป็นเลิศทางด้านการศึกษาตามอัตลักษณ์ของสถานศึกษา 9. ผู้เรียนมีคุณลักษณะ ความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ อยู่บนพื้นฐานสังคม พหุวัฒนธรรมในสังคมอย่างมีความสุข ▶ อัตลักษณ์ นักเรียน นักศึกษา มีความขยัน ประหยัด ซ้ือสัตย์ มีวินัย อยู่ในกฎระเบียบ รับผิดชอบ สะอาด มีน้�ำใจ สามัคคี กตัญญูรู้คุณ และสุภาพอ่อนโยน ▶ เอกลักษณ์ เป็นสถานศึกษาที่เปิดสอน และฝึกอาชีพ ให้มีความเป็นเลิศด้านการเกษตรและประมงใน จังหวัดชายแดนภาคใต้ ▶ ภารกิจหลัก 1. จัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาและฝึกอบรมวิชาชีพ เพ่ือผลิตและพัฒนาก�ำลังคนในด้าน วิชาชีพระดับฝีมือและระดับเทคนิค ให้มีสมรรถนะสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ตามหลักสูตรมาตรฐานการอาชีศึกษาและมาตรฐานวิชาชีพ รวมท้ังสอดคล้องกับความ ต้องการของตลาดแรงงาน 2. ประสานความร่วมมือกับสถานศึกษา ชุมชน สังคม สถานประกอบการ สมาคมวิชาชีพ และกลุ่มวิชาชีพในการจัดการอาชีวศึกษาแบะฝึกอบรมวิชาชีพให้ผู้ส�ำเร็จการศึกษามีความรู้ ความ สามารถในทางปฏิบัติ และมีสมรรถนะจนสามารถน�ำไปประกอบอาชีพในลักษณะผู้ปฏิบัติหรือ ประกอบอาชีพอิสระได้ 2 คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

3. ด�ำเนินการพัฒนาบุคลากร และผู้เรียนให้มีการศึกษาวิจัย พัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และสิ่งประดิษฐ์ เป็นศูนย์การเรียนรู้ด้วนตนเอง รวมทั้งการให้บริการทางวิชาการ วิชาชีพแก่ชุมชน และท้องถิ่น 4. ด�ำเนินการระดมทรัพยากรจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ท้ังในและต่างประเทศในการ จัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพ 5. ด�ำเนินการจัดการอาชีวศึกษาเชิงธุรกิจที่สอดคล้องกับการจัดการเรียนการสอน 6. ทะนุบ�ำรุงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและกิจกรรมเสริม หลักสูตร 7. ปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานอ่ืนท่ีเกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบ หมาย ▷ จุดเน้นในการพฒั นาสถานศึกษา และความโดดเด่น ▶ จุดเน้นในการพัฒนาของสถานศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี ได้รับโล่ เน่ืองจากจัดการศึกษาระดับ อาชีวศึกษา ได้อย่างมีความคุณภาพดีเยี่ยม จนได้รับรางวัลพระราชทาน 3 ครั้ง ภายใน 10 ปี ปีการ ศึกษา 2550, 2554 และ 2558 จากกระทรวงศึกษาธิการ วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี ได้รับเกียรติบัตรรางวัลพระราชทานใน โครงการคัดเลือกนักเรียน นักศึกษา และสถานศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทาน ระดับ อาชีวศึกษา ขนาด เล็ก ประจ�ำปีการศึกษา 2558 จากกระทรวงศึกษาธิการ วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี ได้รับประกาศ“สถานศึกษาพอเพียง” ให้ เป็น “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา” ประจ�ำปีการศึกษา 2561 จากกระทรวงศึกษาธิการ คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. 3 วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

▶ ความโดดเด่นของสถานศึกษา (ผลงาน/รางวัล/เกียรติยศ/ช่ือเสียง) รางวัลและผลงานของบุคลากรทางการศึกษาระหว่างปีการศึกษา 2564 ช่ือ – สกุล รายการ รางวัล นางสาวนุสราสินี ณ พัทลุง ครูดีศรีอาชีวศึกษา โดย ส�ำนักงานคณะกรรมการ ระดับชาติ การอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ นางสาวนุสราสินี ณ พัทลุง ได้รับเคร่ืองหมายเชิดชูเกียรติ “คุรุสดุดี” ระดับชาติ นางชุติมา ศิลามณีเวช โดย กระทรวงศึกษาธิการ ผู้ท�ำคุณประโยชน์ อกท.ระดับภาคใต้ โดย องค์การ ระดับภาค เกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ระดับภาคใต้ นางสาวสุนันทา แสงสุวรรณ์ ผู้ท�ำคุณประโยชน์ อกท.ระดับภาคใต้ โดย องค์การ ระดับภาค เกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ระดับภาคใต้ นางสาวซูฮัยลา รอยิง ผู้ท�ำคุณประโยชน์ อกท.ระดับภาคใต้ โดย องค์การ ระดับภาค เกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ระดับภาคใต้ 3. กลยทุ ธ์และมาตรการของสถานศึกษา กลยุทธ์ที่ 1 1. จัดการเรียนการสอนและฝึกอาชีพระยะส้ัน ปวช. ปวส. และระดับเทคโนโลยีหรือปฏิบัติ การให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน 2. จัดทดสอบรายวิชาให้บรรลุตามสมรรถนะของทุกรายวิชา 3. จัดทดสอบมาตรฐานวิชาชีพระดับชั้น ปวช.3 และ ปวส.2 กลยุทธ์ท่ี 2 1. เรียนร่วมและร่วมมือกับสถานประกอบการ 2. จัดหางานให้กับผู้ส�ำเร็จการศึกษา กลยุทธ์ท่ี 3 1. พัฒนาและเพิ่มศักยภาพของผู้บริหาร ครู บุคลากร นักศึกษา ทางด้านดิจิตอลเพื่อรองรับ Thailand 4.0 2. สนับสนุนให้ผู้บริหาร ครู บุคลากร นักศึกษา มีการวิจัย พัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรมและ สิ่งประดิษฐ์ในการพัฒนาการเรียนการสอน 3. พัฒนาและจัดการเรียนการสอนงานฟาร์มเกษตร ประมง ให้เป็น Smart Farmer 4. จัดให้ฟาร์มเกษตร ประมง เป็นศูนย์การเรียนรู้วิชาชีพแก่ชุมชนและท้องถ่ิน 4 คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

กลยุทธ์ที่ 4 1. จัดหาทุนการศึกษาให้กับนักศึกษา 2. จัดให้มีความร่วมมือและแลกเปลี่ยนบุคลากรทางด้านเกษตรและประมงกับหน่วยงานการ ศึกษาอาชีวศึกษาในประเทศมาเลเซีย กลยุทธ์ท่ี 5 1. เสริมสร้างความรู้และทักษะด้านเทคโนโลยีในการพัฒนางานฟาร์มให้มีคุณภาพ กลยุทธ์ท่ี 6 1. ส่งเสริมและสนับสนุนให้งานทะนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรมหรือวัฒนธรรมเกษตร มีการ บูรณาการกับกิจกรรมการเรียนการสอนและการวิจัย 2. พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม และความเป็นผู้น�ำด้วยกิจกรรม อกท. กลยุทธ์ท่ี 7 1. พัฒนาสถานศึกษาให้เป็นแหล่งเรียนรู้วิชาชีพของชุมชน 2. ส่งเสริมให้ครู บุคลากรทางการศึกษาและผู้เรียน ถ่ายทอดวิทยาการและเทคโนโลยีสู่ชุมชน 4. ประวัติ ความเปน็ มา และขอ้ มลู ดา้ นอาคารสถานที่ วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี 4.1 ประวัติ ความเป็นมา ของวิทยาลัยฯ วิทยาลัยประมงปัตตานี เป็นสถานศึกษา ที่ได้รับการจัดต้ังโดยความประสงค์ ความต้องการ ของประชาชน ใน 3 จังหวัดชายแดนใต้ (ปัตตานี นราธิวาส และยะลา) โดยนายพลากร สุวรรณรัฐ ผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี เป็นผู้ขอใช้ที่ดิน เพ่ือจัดตั้งวิทยาลัยประมงปัตตานีและมีประวัติความ เป็นมาดังน้ี ◆ วันท่ี 21 เมษายน พ.ศ.2536 กรมอาชีวศึกษาได้แต่งตั้ง นายวีระศักดิ์ วงษ์สมบัติ ผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยประมง สงขลาติณสูลานนท์ เป็นผู้ประสานงานจัดตั้ง วิทยาลัยประมงปัตตานี พร้อมศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ โดยมีวิทยาลัยการอาชีพปัตตานีเป็นส�ำนักงานชั่วคราว ของวิทยาลัยประมงปัตตานี โดยกองวิทยาลัยเกษตรกรรม ผู้อ�ำนวยการ บุญชุม เปียแดง ได้มอบ ให้วิทยาลัยประมงสงขลาติณสูลานนท์ร่วมกับศูนย์ฝึกอบรมวิศวกรรมเกษตรบางพูน เป็นผู้ส�ำรวจ พื้นที่วางแผนการใช้ที่ดินและจัดท�ำแผนหลัก งานฟาร์ม ◆ วันท่ี 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2537 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศจัดต้ังวิทยาลัย ประมงปัตตานี โดยอาศัยอ�ำนาจตามความ ในมาตรา 25 แห่ง พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวงกรม พ.ศ.2534 จึงให้จัดต้ังวิทยาลัยประมงปัตตานี ที่หมู่ท่ี 2 ต�ำบลบางตาวา และหมู่ที่ 7 ต�ำบลตุยง อ�ำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี เป็นสถานศึกษา สังกัดกองวิทยาลัยเกษตรกรรม คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. 5 วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

กรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ โดยนายสังข์ทอง ศรีธเนศ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง ศึกษาธิการ ปฏิบัติราชการแทนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ◆ วันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ.2539 กรมอาชีวศึกษาได้แต่งตั้ง นายชลิต เฟื่องเรื่อง ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยเกษตรกรรมราชบุรี ท�ำหน้าที่ผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยประมงปัตตานี และได้ขอสนับสนุนงบประมาณ งบกลาง ประจ�ำปี 2540 โดยจ่ายตามโครงการพัฒนาจังหวัด และกรุงเทพมหานคร คือ การสร้างอาคารเรียนชั่วคราว 1,500,000 บาท โดยมีว่าท่ีร้อยตรีนิพนธ์ ภู่พลับ อาจารย์ 2 ระดับ 5 และนายอุดม จันทรพาหา อาจารย์ 2 ระดับ 7 มาช่วยปฏิบัติราชการ ◆ วันท่ี 9 พฤศจิกายน พ.ศ.2541 กรมอาชีวศึกษาได้แต่งตั้งให้นายประภาค ขวัญชัยรัตน์ ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนราธิวาส ท�ำหน้าที่ผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยประมง ปัตตานี โดยมีว่าที่ร้อยตรีนิพนธ์ ภู่พลับ, นายสุรัตน์ชัย อมรจันทราภรณ์ , นางสาวสมสมัย พลอินตา และนายพิเสก ส่องสง เป็นคณะทีมงานช่วยเหลือ ◆ วันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ.2545 กรมอาชีวศึกษา ได้แต่งต้ัง ผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยเกษตร และเทคโนโลยีนราธิวาสท�ำหน้าท่ีเป็นผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยประมงปัตตานีอีกหน้าท่ีหน่ึงขณะนั้น นายไกรสีห์ ชัยพรหม ด�ำรงต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนราธิวาส ก็ท�ำหน้าที่เป็นผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยประมงปัตตานี อีกหน้าท่ีหนึ่ง และได้มอบหมายให้ นายปรีชา เวชศาสตร์ ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนราธิวาส ท�ำหน้าท่ีเป็น หัวหน้าวิทยาเขตวิทยาลัยประมงปัตตานี โดยมีนาย พิเสก ส่องสง เป็นอาจารย์ผู้สอนอยู่เพียงคน เดียว เพ่ือด�ำเนินการจัดการเรียนการสอน และดูแลความเป็นวิทยาลัยอยู่ ◆ วันท่ี 12 มกราคม พ.ศ. 2546 กรมอาชีวศึกษา ได้แต่งต้ังให้นายสุชาติ พรหมหิตาทร มาเป็น ผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนราธิวาส จึงต้องท�ำหน้าท่ีเป็นผู้อ�ำนวยการวิทยาลัย ประมงปัตตานี อีกหน้าท่ีหน่ึง ตามค�ำสั่งเดิมของกรมอาชีวศึกษา และนายสุชาติ พรหมหิตาทร ผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยเกษตรเทคโนโลยีนราธิวาส ก็ได้มอบหมายให้นายปรีชา เวชศาสตร์ ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนราธิวาส ท�ำหน้าท่ีเป็นหัวหน้าวิทยาเขต วิทยาลัย ประมงปัตตานี เช่นเดิม โดยวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนราธิวาส ได้มอบหมายให้นายพงษ์ศักดิ์ ราชสุวรรณ ต�ำแหน่งอาจารย์ 1ระดับ5 และนายอนุชาติ บุรีรัตน์ ครูพิเศษจ้างสอน มาช่วยบริหาร จัดการ ด�ำเนินการจัดการเรียนการสอนร่วมด้วย ◆ วันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2546 กรมอาชีวศึกษา ได้แต่งตั้งให้ นายปรีชา เวชศาสตร์ ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนราธิวาส ท�ำหน้าท่ีผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยประมง ปัตตานี โดยมีนายพงษ์ศักดิ์ ราชสุวรรณ และนายอนุชาติ บุรีรัตน์ ท�ำหน้าท่ีผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการ (ท�ำหน้าท่ีตามค�ำสั่งภายในของวิทยาลัย) ทั้ง 3 คน ก็ได้ยึดอาคารเรียนช่ัวคราว ท�ำเป็นส�ำนักงาน ท�ำเป็นห้องเรียน ห้องครัว ห้องละหมาด ห้องสมุด และพักกินนอนอยู่ภายในวิทยาลัยตลอดระยะ เวลา และได้ด�ำเนินการจัดการเรียนการสอน ในระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ (ปวช.) ตามโครงการ ปฏิรูปการศึกษาเกษตร เพื่อชีวิตได้เต็มรูปแบบและเร่ิมแก้ไขปัญหาเร่ืองที่ดินอย่างจริงจัง 6 คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

◆ วันท่ี 5 สิงหาคม 2546 นายปรีชา เวชศาสตร์ ได้ผลักดัน โครงการจัดตั้งวิทยาลัยประมง ปัตตานี เข้าสู่นโยบายเฉพาะกิจการแก้ไขปัญหาและการพัฒนาจังหวัดชายแดนใต้ เพื่อขอ งบประมาณ งบกลาง ปี 2546 (แต่ยังไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ) ◆ วันที่ 4 ธันวาคม 2546 วิทยาลัยประมงปัตตานี โดย นายปรีชา เวชศาสตร์ ท�ำหน้าที่ ผู้อ�ำนวยการสถานศึกษา ได้ผลักดันโครงการจัดต้ังวิทยาลัยประมงปัตตานี เข้าสู่ประเด็น ยุทธศาสตร์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และธ�ำรงเอกลักษณ์ของท้องถิ่น การส่งเสริมและพัฒนายก ระดับการศึกษาในทุกระดับให้ได้มาตามของยุทธศาสตร์จังหวัดปัตตานี ◆ วันท่ี 11 กุมภาพันธ์ 2547 คณะกรรมการท่ีปรึกษา วิทยาลัยประมงปัตตานี จ�ำนวน 17 คน ได้เข้าช่ือยื่นเสนอ ขอจัดต้ังวิทยาลัยประมงปัตตานี ต่อผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี นายวันมูหะ มัดนอร์ มะทา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ รองนายกรัฐมนตรี นายอดิศัย โพธารามิก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และนายนิกร จ�ำนง รัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม เพ่ือผลักดันเข้าสู่การพิจารณาของคณะรัฐมนตรี ◆ วันท่ี 22 เมษายน พ.ศ.2547 นายปรีชา เวชศาสตร์ ได้ผลักดัน โครงการจัดต้ังวิทยาลัย ประมงปัตตานี โดยผ่านการท�ำประชาคม ระดับหมู่บ้าน ระดับต�ำบลบางตาวา ต�ำบลตุยง ระดับอ�ำเภอของอ�ำเภอหนองจิกเข้าสู่ เข้าสู่แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาของจังหวัดปัตตานี และ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด 3 จังหวัด ชายแดนภาคใต้ (จังหวัดปัตตานี, จังหวัดนราธิวาส,จังหวัดยะลา) โดยได้เสนอโครงการจัดต้ังวิทยาลัยประมงปัตตานี และ วันที่ 22 มิถุนายน 2547 คณะรัฐมนตรี ได้อนุมัติโครงการจัดตั้งวิทยาลัยประมงปัตตานี และได้รับ งบประมาณ งบกลาง ปี 2547 (วันท่ี 27 กันยายน พ.ศ.2547) จ�ำนวน 22,545,200 บาท ซ่ึงได้จัดสรรผ่านหน่วยเบิกของวิทยาลัยการอาชีพปัตตานี ได้ช่วยเหลือสนับสนุนเป็นหน่วยเบิก จ่ายเงินให้ โดยได้สร้างอาคารศูนย์วิทยบริการ ระบบน้�ำบาดาล ขยายของเขตไฟฟ้า ปรับปรุงถนน ทางเข้า และครุภัณฑ์ ส�ำนักงาน ครุภัณฑ์การศึกษา ครุภัณฑ์ห้องสมุด ครุภัณฑ์เพาะเลี้ยงสัตว์น้�ำ ครุภัณฑ์แปรรูปผลิตภัณฑ์สัตว์น�้ำ และครุภัณฑ์ยานพาหนะ (รถยนต์ขับเคล่ือน 4 ล้อ จ�ำนวน 1 คัน) งบบุคลากร งบอุดหนุน โดยมีนายประวิทย์ อ๋องสุวรรณ ต�ำแหน่งอาจารย์ 1 ระดับ 5 ท�ำหน้าท่ี ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการ เป็นผู้ประสานด�ำเนินการ และมี นายพงษ์ศักดิ์ ราชสุวรรณ ต�ำแหน่งอาจารย์ 1 ระดับ 5ท�ำหน้าที่ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการ (ค�ำสั่งภายในวิทยาลัย) และว่าที่ร้อยตรีนิพนธ์ ภู่พลับ เป็นผู้ร่วมด�ำเนินการ ◆ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2548 นายปรีชา เวชศาสตร์ ผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยการอาชีพ บางแก้วท�ำหน้าท่ีผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยประมงปัตตานี ได้ท�ำโครงการจัดต้ังวิทยาลัยประมงปัตตานี ไปเสนอต่อกองอ�ำนวยการเสริมสร้างสันติสุขชายแดนภาคใต้ (กอ.สสส.จชต) เน่ืองจากรัฐบาลได้ มีการปรับเปล่ียน วิธีการทางงบประมาณ โครงการส่งเสริมสนับสนุนงบประมาณ ระยะที่ 2 ของ วิทยาลัยประมงปัตตานี ได้ถูกพับไป เม่ือนายปรีชา เวชศาสตร์ ชี้แจ้งถึงความจ�ำเป็น ความส�ำคัญ ของวิทยาลัยประมงปัตตานี ทางกองอ�ำนวยการเสริมสร้างสันติสุขชายแดนภาคใต้ (กอ.สสส.จชต.) คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. 7 วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

ก็ได้อนุมัติงบประมาณมาให้ 25,000,000 บาท โดยมีงบบุคลากร งบด�ำเนินงาน งบอุดหนุน และ งบลงทุน โดยได้สร้างอาคารเรียน 2 ชั้น 8 ห้องเรียน 2 หลัง อาคารฝึกอาชีพ 1 ชั้น มีใต้ถุนโล่ง 2 หลัง อาคารประกอบกิจศาสนา จ�ำนวน 2 หลัง หอพักนักศึกษาจ�ำนวน 1 หลัง โรงเพาะฟักสัตว์ น้�ำกร่อยอีก 1 หลัง ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ ครุภัณฑ์ส�ำนักงาน และครุภัณฑ์ยานพาหนะ (รถตู้ 1 คัน , รถกระบะ 1 คัน) โดยมีว่าท่ีร้อยตรีนิพนธ์ ภู่พลับ รองผู้อ�ำนวยการสถานศึกษา เป็นผู้ประสาน ด�ำเนินการ โดยมี นายประวิทย์ อ๋องสุวรรณ และนายวรยุทธ์ ชีวรัตน์ ท�ำหน้าที่รองผู้อ�ำนวยการ (ค�ำสั่งภายใน) นางกิตติวรรณ ชีวรัตน์ นายประพัฒน์ กองแก้ว และบุคลากรของอาชีวศึกษาจังหวัด ปัตตานีมาร่วมด�ำเนินการ ◆ วันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ.2547 นายปรีชา เวชศาสตร์ ท�ำหน้าท่ีผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยประมง ปัตตานี ขอเสนอหน่วยเบิกใหม่ ให้วิทยาลัยประมงปัตตานี โดยกรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง ได้อนุมัติ ให้มีรหัสหน่วยงาน รหัสหน่วยเบิกย่อย และรหัสบัญชีย่อย ในวันท่ี 21 ตุลาคม พ.ศ. 2547 ◆ วันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2548 นายปรีชา เวชศาสตร์ ผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยการอาชีพบางแก้ว ท�ำหน้าท่ีผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยประมงปัตตานี ได้เสนอโครงการเพิ่มศักยภาพในการจัดการเรียนการ สอน ของวิทยาลัยประมงปัตตานี เพื่อขอสนับสนุนงบประมาณ จากงบยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด แบบบูรณาการต่อจังหวัดปัตตานี ก็ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ มาเป็นเงิน 7,772,900 บาท โดยได้เป็นงบบุคลากร งบด�ำเนินงาน และงบลงทุน โดยสร้างโรงอาหารอเนกประสงค์ ป้ายวิทยาลัย ป้อมยาม เสาธงชาติ ปรับปรุงห้องเป็นห้องเรียนรวมและห้องประชุม ห้องน�้ำ 4 หลัง และครุภัณฑ์ ยานพาหนะ (รถบรรทุก 6 ล้อ 1 คัน) ◆ ปีงบประมาณ 2550 ส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ได้จัดสรรงบประมาณ สนับสนุน (งบลงทุน) สร้างโรงฝึกอาชีพแปรรูปผลิตภัณฑ์สัตว์น�้ำ 1 หลัง สร้างอาคารบ้านพักครู 6 หน่วย 2 ชั้น 1 หลัง สร้างบ้านพักผู้บริหาร จ�ำนวน 1 หลัง และครุภัณฑ์ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นเงิน 10,553,000 บาท และชุดกล้องวงจรปิด งบตามโครงการพัฒนาการศึกษาจังหวัดชายแดน ภาคใต้ จ�ำนวน 1 ชุด เป็นเงิน 900,000 บาท ◆นายปรีชาเวชศาสตร์ได้ของบกลางปี2550ได้งบสร้างฟาร์มตัวอย่าง,ขยายเขตไหห้าแรงต่�ำ, สร้างบ้านพักเกษตรกร, สร้างถนนภายใน, ซื้อรถแทรกเตอร์ 1 คัน และสร้างรั้วรอบวิทยาลัย รวมงบประมาณ เป็นเงิน 14,200,000 บาท ◆ ปีงบประมาณ 2551 ได้รับการจัดสรรงบภายใต้โครงการพัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนา พิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ตามกลยุทธการเพิ่มศักยภาพสถานศึกษาเฉพาะทางเช่ือม โยงการมีงานท�ำเพื่อความม่ันคง (วิทยาลัยประมงปัตตานี) เป็นเงิน 8,000,000 บาท และวิทยาลัยได้ เสนอโครงการพัฒนาวิทยาลัยประมงปัตตานี เพ่ือของบประมาณจากศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัด ชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ได้สร้างบ้านพักนักเรียน นักศึกษา จ�ำนวน 2 หลัง หลังละ 2,300,000 บาท เป็นเงิน 4,600,000 บาท และได้ขอความอนุเคราะห์สถาบันพัฒนาที่ดินจังหวัดปัตตานี ขุดสระเก็บน�้ำจืดไว้ใช้เพ่ือการเกษตร จ�ำนวน 16 ไร่ เป็นเงิน 2,617,000 บาท และได้รับ 8 คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

การจัดสรรทุนสร้างอาคารจ�ำหน่ายผลผลิตของนักเรียน นักศึกษา จากส�ำนักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา จ�ำนวน 1 หลัง เป็นเงิน 1,228,500 บาท² ปีงบประมาณ 2552 ได้รับจัดสรรงบ ลงทุนจากส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เป็นรายการปรับปรุงถนนภายในฟาร์มตัวอย่าง เป็นเงิน 5,000,000 บาท ครุภัณฑ์ชุดมัลติมีเดีย เป็นเงิน 1,850,000 บาท ◆ ปีงบประมาณ 2553 ได้รับงบเงินกู้ (SP:2) โครงการภายใต้แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะ 2 สร้างอาคารเรียนปฏิบัติการพื้นที่ 1,920 ตารางเซนติเมตร งบประมาณ 15,360,000 บาท และขอสนับสนุนระบบน�้ำเพ่ือใช้ในฟาร์มเกษตรผสมผสานจากโครงการชลประทานปัตตานี กรมชลประทาน งบประมาณ 10,000,000 บาท ◆ ปีงบประมาณ 2554 ส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จัดสรรงบประมาณ (งบลงทุน) ค่าที่ดิน สิ่งก่อสร้าง ในการปรับปรุงอาคารโรงเรือน งบประมาณ 5,880,000 บาท และ ค่าขยายขอบเขตไฟฟ้าแรงต่�ำภายในแปลงเกษตรผสมผสาน งบประมาณ 1,800,000 บาท ◆ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำเนินทรงเปิดวิทยาลัย ประมงปัตตานี วันพุธ ท่ี 12 มกราคม 2554 ณ วิทยาลัยประมงปัตตานี จังหวัดปัตตานี เวลา 11.00 น. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำเนินโดยรถยนต์พระที่นั่งจาก โรงพยาบาลปัตตานี อ�ำเภอเมืองปัตตานี ไปยังวิทยาลัยประมงปัตตานี อ�ำเภอหนองจิก จังหวัด ปัตตานี โดยมีรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ นางนริศรา ชวาลตันพิพัทธ์ ทูลเกล้าฯ ถวายพวงมาลัย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำเนิน เข้าพลับพลา รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ กราบบังคมทูลรายงานความเป็นมา ของวิทยาลัยประมงปัตตานี ◆ ปีงบประมาณ 2555 ได้รับการจัดสรรงบประมาณ (งบลงทุน) ครุภัณฑ์รถบริการส่งเสริม การเกษตรเคลื่อนท่ี พร้อมอุปกรณ์ จ�ำนวน 1 คัน งบประมาณ 850,000 บาท ค่าสร้างสนามฟุตซอล พร้อมติดตั้งอุปกรณ์ จ�ำนวน 1 รายการ งบประมาณ 1,993,000 บาท ◆ ปีงบประมาณ 2556 ได้รับการจัดสรรงบประมาณ (งบลงทุนสิ่งก่อสร้าง) เพื่อปรับปรุง อาคารเรียนศูนย์การเรียนรู้วิชาชีพ อ�ำเภอยะหร่ิง งบประมาณ 499,995.16 บาท ◆ ปีงบประมาณ 2557 ได้รับการจัดสรรงบประมาณ (งบครุภัณฑ์) เครื่องคอมพิวเตอร์เพ่ือ ด�ำเนินงานตามโครงการพัฒนาการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ งบประมาณ 500,000 บาท และงบที่ดินและสิ่งก่อสร้างเพื่อปรับปรุงถนนภายในฟาร์มเกษตร ตามโครงการขยายโอกาสและ พัฒนาคุณภาพการศึกษา งบประมาณ 3,000,000 บาท ◆ ปีงบประมาณ 2558 ได้รับการจัดสรรงบประมาณ (งบลงทุน) ปรับปรุงอาคาร งบประมาณ 1,196,400 บาท ปรับปรุงไฟฟ้า งบประมาณ 1,199,900 บาท ปรับปรุงประปา งบประมาณ 1,244,900 บาท ปรับปรุงโรงงานฟาร์ม งบประมาณ 1,497,600 บาท และปรับปรุงห้องน�้ำ- ห้องส้วม งบประมาณ 1,126,500 บาท คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. 9 วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

◆ ปีงบประมาณ 2559 ได้รับการจัดสรรงบประมาณมาตรการกระตุ้นการลงทุนขนาดเล็ก ของรัฐบาล ประจ�ำปีงบประมาณ 2559 คือ 1.ปรับปรุงห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ งบประมาณ 468,000 บาท 2.ปรับปรุงอาคารแปรรูปผลิตภัณฑ์สัตว์น�้ำ งบประมาณ 499,000 บาท 3.ปรับปรุง ป้ายช่ือวิทยาลัยฯ งบประมาณ 450,000 บาท 4.ปรับปรุงถนนทางเข้าหอพักนักศึกษา งบประมาณ 990,000 บาท 5.ปรับปรุงหอพักนักศึกษา งบประมาณ 999,000 บาท (งบลงทุน) ก่อสร้างสนาม กีฬา วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี งบประมาณ 4,915,000 บาท (งบครุภัณฑ์) 1.ชุดครุภัณฑ์ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ งบประมาณ 805,100 บาท 2.รถบรรทุก (ดีเซล) ขนาด 1 ตัน ปริมาตรกระบอกสูบไม่ต่�ำกว่า 2,400 ซีซี ขับเคลื่อน 2 ล้อ แบบดับเบ้ิลแค็บ งบประมาณ 787,000 บาท 3.เคร่ืองรับส่งวิทยุระบบ HF/SSB ชนิดประจ�ำที่ 100 วัตต์ งบประมาณ 70,000 บาท 4.เคร่ืองคอมพิวเตอร์โน้ตบุ้ค ส�ำหรับงานส�ำนักงาน งบประมาณ 17,000 บาท 5.โทรทัศน์ แอล อี ดี (LED TV) ระดับความละเอียดจอภาพ 1920x1080 พิกเซล ขนาด 40 นิ้ว งบประมาณ 17,000 บาท 6.เครื่องมัลติมีเดียโปรเจคเตอร์ XGA ขนาดไม่น้อยกว่า 3,500 ANSI Lumen งบประมาณ 39,000 บาท 7.จอภาพชนิดมอเตอร์ไฟฟ้าขนาดเส้นทแยงมุม 180 น้ิว งบประมาณ 32,000 บาท 8. กล้องวงจรปิด (CCTV ) พร้อมอุปปกรณ์และติดต้ัง 16 กล้อง งบประมาณ 298,000 บาท ◆ ปีงบประมาณ 2560 ได้รับการจัดสรรงบประมาณ ประจ�ำปีงบประมาณ 2560 คือ (งบลงทุน) อาหารหอพักนักเรียน นักศึกษา ขนาด 15 ห้อง 2 ชั้น งบประมาณ 6,500,000 บาท และ (งบครุภัณฑ์) เครื่องสูบน้�ำแบบท่อพญานาค (ท่อสูบน�้ำพญานาค) จ�ำนวน 8 เครื่อง งบประมาณ 680,000 บาท ◆ ปีงบประมาณ 2561 ได้รับการจัดสรรงบประมาณ ประจ�ำปีงบประมาณ 2561 คือ (งบลงทนุ )ค่าครภุ ณั ฑ์ไดแ้ ก่เคร่อื งคอมพิวเตอร์สำ� หรับงานสำ� นกั งาน(ศนู ยฯ์ ยะหร่งิ )จำ� นวน20เคร่ือง งบประมาณ 320,000 บาท เครื่องคอมพิวเตอร์ ส�ำหรับงานส�ำนักงาน (วิทยาลัยฯ) จ�ำนวน 20 เคร่ือง งบประมาณ 320,000 บาท เครื่องฉายภาพ 3 มิติ จ�ำนวน 2 เคร่ือง งบประมาณ 48,000 บาท เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วนชนิดตั้งพ้ืนหรือชนิดแขวน ขนาด 50,000 บีทียู จ�ำนวน 2 เคร่ือง งบประมาณ 114,000 บาท เคร่ืองพิมพ์ Multifunction แบบฉีดหมึก จ�ำนวน 2 เคร่ือง งบประมาณ 15,800 บาท สว่านเจาะไฟฟ้าชนิดแท่น จ�ำนวน 1 เคร่ือง งบประมาณ 8,000 บาท เครื่องกลึงโลหะ ขนาดเล็ก จ�ำนวน 2 เคร่ือง งบประมาณ 45,000 บาท เล่ือยไฟฟ้า จ�ำนวน 1 เครื่อง งบประมาณ 5,600 บาท เครื่องตัดหญ้า 4 จังหวะ จ�ำนวน 10 เคร่ือง งบประมาณ 80,000 บาท เคร่ืองตัด ไฟเบอร์ จ�ำนวน 2 เครื่อง งบประมาณ 16,000 บาท เครื่องฉลุไฟฟ้า จ�ำนวน 2 เครื่อง งบประมาณ 11,000 บาท ส่ิงก่อสร้าง ได้แก่ อาคารศูนย์วิทยบริการ (ศูนย์ยะหริ่ง) จ�ำนวน 1 หลัง งบประมาณ 12,697,700 บาท ◆ ปีงบประมาณ 2561 จัดตั้งวิทยาเขต วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 3 ส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ในพื้นที่บ้านกรงอิต�ำ หมู่ท่ี 4 ต�ำบลเกาะสะบ้า อ�ำเภอเทพา จังหวัดสงขลา เน้ือท่ีประมาณ 345 ไร่ 60 ตารางวา 10 คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

◆ ปีงบประมาณ 2562 ได้รับการจัดสรรงบประมาณรายจ่าย งบลงทุน ค่าครุภัณฑ์ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ได้แก่ เคร่ืองคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ้ค ส�ำหรับงานส�ำนักงาน (ศูนย์ฯ ยะหร่ิง) จ�ำนวน 1 เครื่อง งบประมาณ 16,000 บาท เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วนชนิดต้ังพ้ืน หรือชนิดแขวน ขนาด 13,000 บีทียู (ศูนย์ฯ ยะหร่ิง) จ�ำนวน 1 เครื่อง งบประมาณ 22,700 บาท เครื่องพิมพ์ชนิดเลเซอร์หรือชนิด LED ขาวด�ำ ฯ (ศูนย์ฯ ยะหริ่ง) จ�ำนวน 1 เคร่ือง งบประมาณ 7,900 บาท เครื่องถ่ายเอกสารระบบดิติตอล (ขาว-ด�ำ) ความเร็ว 10 แผ่นต่อนาที (ศูนย์ฯ ยะหร่ิง) จ�ำนวน 1 เคร่ือง งบประมาณ 50,000 บาท โต๊ะประชุมพร้อมเก้าอี้ (ศูนย์ฯ ยะหริ่ง) จ�ำนวน 1 ชุด งบประมาณ 50,000 บาท ถังน้�ำแบบสแตนเลส ขนาดความจุ 1,000 ลิตร (ศูนย์ฯ ยะหริ่ง) จ�ำนวน 1 ใบ งบประมาณ 8,700 บาท ตู้เอกสารบานเปิดคู่ (ศูนย์ฯ ยะหร่ิง) จ�ำนวน 2 ตู้ งบประมาณ 14,000 บาท เครื่องดูดฝุ่นขนาด 15 ลิตร (ศูนย์ฯ ยะหริ่ง) จ�ำนวน 1 เครื่อง งบประมาณ 13,000 บาท เคร่ืองคอมพิวเตอร์แม่ข่าย แบบที่ 2 (ศูนย์ฯ ยะหริ่ง) จ�ำนวน 1 เคร่ือง งบประมาณ 350,000 บาท เคร่ืองเจาะกระดาษและเข้าเล่ม แบบเจาะกระดาษและเข้าเล่มมือโยก (ศูนย์ฯ ยะหริ่ง) จ�ำนวน 1 เครื่อง งบประมาณ 12,000 บาท และงบลงทุน ค่าท่ีดินและสิ่งก่อสร้าง ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ได้แก่ อาคารเฉลิมพระเกียรติ วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี ต�ำบลบางตาวา อ�ำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จ�ำนวน 1 หลัง งบประมาณ 2,425,000 บาท ◆ วันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2563 กรมอาชีวศึกษา ได้แต่งตั้งให้ นายทิว กาสิวุฒิ ผู้อ�ำนวยการ วิทยาลัยการอาชีพรามัน ท�ำหน้าท่ีผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี และได้รับการจัดสรรงบประมาณรายจ่าย งบลงทุน ค่าครุภัณฑ์ ค่าท่ีดินและส่ิงก่อสร้าง ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้แก่ อาคารเรียนและปฏิบัติการแปรรูปอุตสาหกรรมเกษตร 1,500 ตารางเมตร จ�ำนวน 1 หลัง งบประมาณ 18,000,300 บาท และได้รับการจัดสรร งบประมาณรายจ่ายอื่น ได้แก่ กิจกรรมผลิตแรงงานและสร้างผู้ประกอบการด้านอุตสาหกรรม จ�ำนวน 1 กิจกรรม งบประมาณ 4,528,000 บาท ◆ ปีงบประมาณ 2564 วิทยาลัยฯ ได้เสนอโครงการย่อยภายใต้ข้อเสนอโครงการภายใต้แผน งานหรือโครงการบัญชีแนบตามบัญชีท้าย พ.ร.ก. ให้อ�ำนาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อแก้ไขปัญหา เยียวยา และฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ.2564 (งบโควิด) งบประมาณ 903,700 บาท และได้รับการจัดสรรงบ ประมาณรายจ่ายประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 งบลงทุน ค่าครุภัณฑ์ แผนงานพ้ืนฐานด้านการ พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิต ผู้ส�ำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ได้แก่ ถังอนุบาลสัตว์น้�ำขนาดเล็ก จ�ำนวน 8 ถัง งบประมาณ 32,000 บาท ◆ ปีงบประมาณ 2565 ได้รับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 งบลงทุน ค่าครุภัณฑ์ แผนงานพ้ืนฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิต ผู้ส�ำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ได้แก่ รถขุด ขนาด 5.2 ตัน จ�ำนวน 1 คัน งบประมาณ 1,555,000 บาท คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. 11 วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

4.2 ข้อมูลด้านอาคารสถานที่ ช่ือสถานศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี ช่ือภาษาอังกฤษ Pattani Fisheries and Agriculture Technological College. ท่ีต้ังสถานศึกษา เลขที่ - หมู่ที่ 2 ถนนเพชรเกษม ต�ำบลบางตาวา อ�ำเภอหนองจิก 94170 โทรศัพท์ โทร 0-7342-0477 โทรสาร โทร 0-7342-0477 เว็บไซต์ http://www.pfc.ac.th อีเมล [email protected] เน้ือที่ของสถานศึกษา 326 ไร่ 4 งาน 92.8 ตารางวา มีอาคาร รวมท้ังสิ้น 41 หลัง มีห้องทั้งส้ิน 63 ห้อง ได้แก่ 1 อาคารเรียน (2 ช้ัน) จ�ำนวน 2 หลัง 16 ห้อง 2. อาคารฝึกอาชีพ (2 ช้ัน) จ�ำนวน 1 หลัง 8 ห้อง 3. อาคารฝึกอบรม (2 ชั้น) จ�ำนวน 1 หลัง 8 ห้อง 4. อาคารเรียนและปฏิบัติการ (4 ชั้น) จ�ำนวน 1 หลัง 14 ห้อง 5. อาคารศูนย์วิทยบริการ (2 ช้ัน) จ�ำนวน 1 หลัง - ห้อง 6. อาคารโรงฝึกงาน (อาคารแปรรูปฯ 1.5 ช้ัน) จ�ำนวน 1 หลัง 2 ห้อง 7. อาคารโรงอาหารเอนกประสงค์ จ�ำนวน 1 หลัง - ห้อง 8. อาคารประกอบกิจศาสนา จ�ำนวน 2 หลัง - ห้อง 9. อาคารจ�ำหน่ายผลผลิตนักเรียนนักศึกษา จ�ำนวน 1 หลัง - ห้อง 10. อาคารบ้านพักผู้บริหาร จ�ำนวน 1 หลัง - ห้อง 11. บ้านพักครู 2 ช้ัน จ�ำนวน 2 หลัง - ห้อง 12. บ้านพักครู จ�ำนวน 9 หลัง - ห้อง 13. บ้านพักบุคลากร จ�ำนวน 3 หลัง - ห้อง 14. อาคารปฏิบัติการอเนกประสงค์(ทายาทธุรกิจประมง) จ�ำนวน 1 หลัง - ห้อง 15. อาคารอเนกประสงค์ (จิตรลดา) จ�ำนวน 1 หลัง - ห้อง 16. อาคารอเนกประสงค์ (เศรษฐกิจพอเพียง) จ�ำนวน 1 หลัง - ห้อง 17. อาคารหอพักนักเรียนนักศึกษา (2 ช้ัน) จ�ำนวน 1 หลัง 15 ห้อง 18. อาคารหอนอนนักศึกษาชาย 1 จ�ำนวน 1 หลัง - ห้อง 12 คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

19. อาคารหอนอนนักศึกษาชาย 2 จ�ำนวน 1 หลัง - ห้อง 20. อาคารหอนอนนักศึกษาชาย 3 จ�ำนวน 1 หลัง - ห้อง 21. อาคารหอนอนนักศึกษาหญิง 1 จ�ำนวน 1 หลัง - ห้อง 22. อาคารหอนอนนักศึกษาหญิง 2 จ�ำนวน 1 หลัง - ห้อง 23. อาคารหอนอนนักศึกษาหญิง 3 จ�ำนวน 1 หลัง - ห้อง 24. โรงเพาะฟักสัตว์น�้ำ จ�ำนวน 2 หลัง - ห้อง 25. ศาลาอเนกประสงค์ จ�ำนวน 4 หลัง - ห้อง 26. อาคารเรียนและปฏิบัติการแปรรูปอุตสาหกรรมเกษตร จ�ำนวน 1 หลัง - ห้อง คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. 13 วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี



แผนการเรยี นตลอดหลักสตู ร ประกาศนยี บตั รวิชาชพี (ปวช.) พ.ศ. 2562

แผนการเรยี นตลอดหลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพ พ.ศ. 2562 ประเภทวชิ าเกษตรกรรม สาขาวชิ าเกษตรศาสตร์ สาขางานอตุ สาหกรรมเกษตร เข้าศกึ ษาปี 2565 ภาคเรียนท่ี 1 งานจัดการวัตถุดิบเพื่อการแปรรูป ภาคเรียนท่ี 2 ผลิตผลิตภัณฑ์พืช รหัส รายวิชา ท ป น รหัส รายวิชา ทปน 1. หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง 6 1. หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง 6 20000-1101 ภาษาไทยพ้ืนฐาน 2 0 2 20000-1102 ภาษาไทยเพื่ออาชีพ 021 20000-1201 ภาษาอังกฤษในชีวิตจริง 0 2 1 20000-1202 ภาษาอังกฤษฟัง-พูด 021 20000-1301 วิทยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต 1 2 2 20000-1305 วทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ พฒั นาอาชพี เกษตรกรรม 1 2 2 20000-1502 ประวัติศาสตร์ชาติไทย 1 0 1 20000-1501 หน้าที่พลเมืองและศีลธรรม 202 2. หมวดวิชาสมรรถนะทักษะวิชาชีพ 6 2. หมวดวิชาสมรรถนะทักษะวิชาชีพ 4 2.1 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพ้ืนฐาน 6 2.1 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพื้นฐาน 4 20001-2001 คอมพวิ เตอรแ์ ละสารสนเทศเพอื่ งานอาชพี 1 2 2 20500-1003 หลักการเกษตร 122 20500-1001 ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพเกษตร 2 0 2 20500-1005 ปฏิบัติงานเกษตร 042 20500-1002 องค์การเกษตรกรในอนาคต 202 2.2 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ 6 2.2 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ 4 20501-2001 หลักพืชกรรม 1 2 2 20501-2003 ช่างเกษตรเบ้ืองต้น 132 20501-2002 หลักการเลี้ยงสัตว์ 1 2 2 20501-2005 หลักการเพาะเล้ียงสัตว์น�้ำ 132 20501-2004 อุตสาหกรรมเกษตรเบ้ืองต้น 202 2.3 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเลือก 2 2.3 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเลือก 3 20501-2601 การจัดการผลิตผลเกษตรเพ่ือการแปรรูป 1 2 2 20501-2603 ผลิตภัณฑ์พืช 163 3. หมวดวิชาเลือกเสรี 0 3. หมวดวิชาเลือกเสรี 0 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร 020 20000-2001 กิจกรรมลูกเสือวิสามัญ 1 0 2 0 20000-2002 กิจกรรมลูกเสือวิสามัญ 2 รวม (คาบ/สัปดาห์) 28 14 14 20 รวม (คาบ/สัปดาห์) 33 7 26 17 16 คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

แผนการเรียนตลอดหลักสตู รประกาศนียบัตรวชิ าชีพ พ.ศ. 2562 ประเภทวชิ าเกษตรกรรม สาขาวชิ าเกษตรศาสตร์ สาขางานอตุ สาหกรรมเกษตร เขา้ ศึกษาปี 2565 ภาคเรียนท่ี 3 ผลิตผลิตภัณฑ์เน้ือสัตว์ ภาคเรียนท่ี 4 ผลิตผลิตภัณฑ์สัตว์น�้ำ รหัส รายวิชา ท ป น รหัส รายวิชา ทปน 5 1. หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง 3 1. หมวดวชิ าสมรรถนะแกนกลาง 20000-1206 ภาษาอังกฤษอินเตอร์เน้ต 0 2 1 20000-1236 ภาษามาเลเซียเพ่ือการส่ือสารในชีวิต 021 ประจ�ำวัน 202 20000-1401 คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ 2 0 2 20000-1406 สถิติการทดลอง 20000-1602 เพศวิถีศึกษา 101 20000-1603 พลศึกษาเพ่ือพัฒนาสุขภาพ 021 2. หมวดวิชาสมรรถนะทักษะวิชาชีพ 13 2. หมวดวิชาสมรรถนะทักษะวิชาชีพ 2 2.1 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพ้ืนฐาน 4 2.1 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพื้นฐาน 2 20500-1004 ความรู้เก่ียวกับมาตรฐานการผลิต 2 0 2 20001-1001 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 202 และผลิตผลทางการเกษตร 20500-1006 ทักษะวิชาชีพเกษตร 042 2.2 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ 4 2.2 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ 4 20501-2008 การเกษตรผสมผสาน 1 2 2 20501-2007 หลักเศรษฐศาสตร์เกษตร 122 20501-2006 ดิน ปุ๋ยและน้�ำเพื่อการเกษตร 1 2 2 20501-2009 สารชีวภาพเพ่ือการเกษตร 122 2.3 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเลือก 5 2.3 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเลือก 5 20501-2604 ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ 1 6 3 20501-2606 ผลิตภัณฑ์สัตว์น้�ำ 163 20501-2602 การสุขาภิบาลอาหาร 2 0 2 20501-2674 โครงการผลิตผลิตภัณฑ์สัตว์น�้ำ 042 3. หมวดวิชาเลือกเสรี 2 3. หมวดวิชาเลือกเสรี 3 20404-2114 การบรรจุภัณฑ์อาหาร 1 2 2 20501-2608 ผลิตภัณฑ์เคร่ืองดื่ม 163 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร 020 20000-2003 กิจกรรมองค์การวิชาชีพ 1 0 2 0 20000-2004 กิจกรรมองค์การวิชาชีพ 2 รวม (คาบ/สัปดาห์) 33 11 22 20 รวม (คาบ/สัปดาห์) 32 8 24 17 คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. 17 วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

แผนการเรียนตลอดหลักสตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชพี พ.ศ. 2562 ประเภทวชิ าเกษตรกรรม สาขาวชิ าเกษตรศาสตร์ สาขางานอตุ สาหกรรมเกษตร เข้าศึกษาปี 2565 ภาคเรียนท่ี 5 ผลิตผลิตภัณฑ์ธัญพืช ภาคเรียนท่ี 6 การเป็นผู้ประกอบการ รหัส รายวิชา ท ป น รหัส รายวิชา ทปน 1. หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง 1 1. หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง 1 20000-1213 ภาษาอังกฤษส�ำหรับงานเกษตร 0 2 1 20000-1208 ภาษาอังกฤษเตรียมความพร้อม 021 เพื่อการท�ำงาน 2. หมวดวชิ าสมรรถนะทกั ษะวชิ าชพี 3 2. หมวดวชิ าสมรรถนะทกั ษะวชิ าชพี 2 2.1 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพื้นฐาน 3 2.1 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพื้นฐาน 2 20001-1002 พลังงาน ทรัพยากและสิ่งแวดล้อม 2 0 2 20001-1003 ธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ 122 20001-1004 กฎหมายแรงงาน 101 2.2 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ 2 2.2 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ 4 20501-2011 แทรกเตอร์และเคร่ืองจักรกลเกษตร 1 1 3 2 20501-2010 การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานอาชีพ 1 2 2 20501-2012 การขับรถยนต์ 132 2.3 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเลือก 3 2.3 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเลือก 2 20501-2605 ผลิตภัณฑ์ธัญพืช 1 6 3 20501-2672 โครงการผลิตผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ 042 2.4 ฝกึ ประสบการณส์ มรรถนะวชิ าชพี 4 20501-8001 ฝึกงาน **4 2.5 โครงงานพฒั นาสมรรถนะวชิ าชพี 2 2.5 โครงงารพฒั นาสมรรถนะวชิ าชพี 2 20501-8502 โครงงาน 1 * 2 2 20501-8503 โครงงาน 2 *22 3. หมวดวิชาเลือกเสรี 3 3. หมวดวิชาเลือกเสรี 3 20501-2607 ผลิตภัณฑ์นม 1 6 3 20501-2610 ผลติ ภณั ฑพ์ น้ื บา้ นและภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ 1 6 3 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร 020 20000-2005 กิจกรรมองค์การวิชาชีพ 3 0 2 0 20000-2006 กิจกรรมองค์การวิชาชีพ 4 รวม (คาบ/สัปดาห์) 27 6 21 18 รวม (คาบ/สัปดาห์) 27 4 23 14 18 คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

แผนการเรียนตลอดหลักสตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพ พ.ศ. 2562 ประเภทวิชาเกษตรกรรม สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ สาขางานผลติ สตั วน์ ำ้� เข้าศึกษาปี 2565 ภาคเรียนท่ี 1 ทักษะการเพาะเล้ียงสัตว์น้�ำ ภาคเรียนท่ี 2 ทักษะการเพาะเลี้ยงสัตว์น้�ำสวยงาม รหัส รายวิชา ท ป น รหัส รายวิชา ทปน 1. หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง 6 1. หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง 6 20000-1101 ภาษาไทยพ้ืนฐาน 2 0 2 20000-1102 ภาษาไทยเพ่ืออาชีพ 021 20000-1201 ภาษาอังกฤษในชีวิตจริง 0 2 1 20000-1202 ภาษาอังกฤษฟัง-พูด 021 20000-1301 วิทยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต 1 2 2 20000-1305 วทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ พฒั นาอาชพี เกษตรกรรม 1 2 2 20000-1502 ประวัติศาสตร์ชาติไทย 1 0 1 20000-1501 หน้าท่ีพลเมืองและศีลธรรม 202 2. หมวดวิชาสมรรถนะทักษะวิชาชีพ 8 2. หมวดวิชาสมรรถนะทักษะวิชาชีพ 2 2.1 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพ้ืนฐาน 8 2.1 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพ้ืนฐาน 2 20001-2001 คอมพวิ เตอรแ์ ละสารสนเทศเพอ่ื งานอาชพี 1 2 2 20500-1003 หลักการเกษตร 122 20500-1001 ความรู้เก่ียวกับงานอาชีพเกษตร 202 20500-1002 องค์การเกษตรกรในอนาคต 202 2.2 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ 6 2.2 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ 4 20501-2001 หลักพืชกรรม 1 2 2 20501-2003 ช่างเกษตรเบ้ืองต้น 132 20501-2002 หลักการเลี้ยงสัตว์ 1 2 2 20501-2004 อุตสาหกรรมเกษตรเบื้องต้น 202 20501-2005 หลักการเพาะเล้ียงสัตว์น�้ำ 132 2.3 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเลือก 2.3 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเลือก 3 20501-2804 การเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำสวยงาม 163 3. หมวดวิชาเลือกเสรี 3 3. หมวดวิชาเลือกเสรี 2 20501-2801 ชีววิทยาสัตว์น�้ำ 2 2 3 20501-2873 โครงการเพาะเลี้ยงสัตว์น้�ำสวยงาม 042 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร 020 20000-2001 กิจกรรมลูกเสือวิสามัญ 1 0 2 0 20000-2002 กิจกรรมลูกเสือวิสามัญ 2 รวม (คาบ/สัปดาห์) 31 14 17 21 รวม (คาบ/สัปดาห์) 31 8 23 17 คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. 19 วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

แผนการเรยี นตลอดหลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชีพ พ.ศ. 2562 ประเภทวิชาเกษตรกรรม สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ สาขางานผลติ สัตว์น้�ำ เขา้ ศกึ ษาปี 2565 ภาคเรียนท่ี 3 ทักษะการเล้ียงปลา ภาคเรียนท่ี 4 ทักษะเพาะเล้ียงสัตว์น�้ำเศรษฐกิจ รหัส รายวิชา ท ป น รหัส รายวิชา ทปน 5 1. หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง 1. หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง 3 20000-1206 ภาษาอังกฤษอินเตอร์เน็ต 0 2 1 20000-1236 ภาษามาเลเซียเพ่ือการส่ือสาร 021 20000-1401 คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ 202 ในชีวิตประจ�ำวัน 20000-1602 เพศวิถีศึกษา 1 0 1 20000-1406 สถิติการทดลอง 202 20000-1603 พลศึกษาเพ่ือพัฒนาสุขภาพ 021 2. หมวดวชิ าสมรรถนะทกั ษะวชิ าชพี 5 2. หมวดวชิ าสมรรถนะทกั ษะวชิ าชพี 2 2.1 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพื้นฐาน 5 2.1 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพ้ืนฐาน 2 20001-1004 กฏหมายแรงงาน 1 0 1 20500-1006 ทักษะวิชาชีพเกษตร 042 20500-1004 ความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานการผลิต 202 และผลิตผลทางการเกษตร 20500-1005 ปฏิบัติงานเกษตร 042 2.2 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ 2 2.2 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ 4 20501-2006 ดิน ปุ๋ย และน้�ำเพ่ือการเกษตร 1 2 2 20501-2007 หลักเศรษฐศาสตร์เกษตร 122 20501-2011 แทรกเตอร์และเคร่ืองจักรกลเกษตร 1 1 3 2 2.3 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเลือก 3 2.3 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเลือก 3 20501-2802 การเพาะเล้ียงปลา 1 6 3 20501-2806 การเพาะเล้ียงสัตว์น�้ำเศรษฐกิจ 163 3. หมวดวิชาเลือกเสรี 2 3. หมวดวิชาเลือกเสรี 4 20501-2871 โครงการเพาะเลี้ยงปลา 0 4 2 20501-2875 โครงการเพาะเล้ียงสัตว์น้�ำเศรษฐกิจ 0 4 2 20501-2876 โครงการเลี้ยงสัตว์น้�ำแบบผสมผสาน 0 4 2 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร 020 20000-2003 กิจกรรมองค์การวิชาชีพ 1 0 2 0 20000-2004 กิจกรรมองค์การวิชาชีพ 2 รวม (คาบ/สัปดาห์) 30 8 22 17 รวม (คาบ/สัปดาห์) 32 5 27 16 20 คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

ประเแภผทนวกชิ าารเกเรษียตนรตกลรอรดมหสลาักขสาตู วริชปารเะกกษาตศรนศียาบสตั ตรรว์ ชิสาาขชาีพงาพน.ศผ.ล2ติ 5ส6ตั 2วน์ ำ้ เขา้ ศึกษาปี 2565 ภาคเรียนท่ี 5 ทักษะการเพาะเลี้ยงกุ้ง ภาคเรียนท่ี 6 ทักษะการผลิตพรรณไม้เศรษฐกิจ รหัส รายวิชา ท ป น รหัส รายวิชา ทปน 1. หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง 1 1. หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง 1 20000-1213 ภาษาอังกฤษส�ำหรับงานเกษตร 0 2 1 20000-1208 ภาษาอังกฤษเตรียมความพร้อม 021 เพ่ือการท�ำงาน 2. หมวดวชิ าสมรรถนะทกั ษะวชิ าชพี 8 2. หมวดวชิ าสมรรถนะทกั ษะวชิ าชพี 2 2.1 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพ้ืนฐาน 4 2.1 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพื้นฐาน 2 20001-1001 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 2 0 2 20001-1002 พลังงาน ทรัพยากและส่ิงแวดล้อม 202 20001-1003 ธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ 122 2.2 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ 7 2.2 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ 4 122 20501-2010 การประยกุ ตใ์ ชค้ อมพวิ เตอรใ์ นงานอาชพี 1 2 2 20501-2008 การเกษตรผสมผสาน 122 20501-2012 การขับรถยนต์ 1 3 2 20501-2009 สารชีวภาพเพื่อการเกษตร 2.3 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเลือก 5 2.3 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเลือก 5 20501-2803 การเพาะเลี้ยงกุ้ง 1 6 3 20501-2805 การผลิตพรรณไม้น้�ำเศรษฐกิจ 163 20501-2872 โครงการเพาะเล้ียงกุ้ง 0 4 2 20501-2874 โครงการผลิตพรรณไม้น้�ำเศรษฐกิจ 042 2.4 ฝกึ ประสบการณส์ มรรถนะวชิ าชพี 4 20501-8001 ฝึกงาน **4 2.5 โครงงานพฒั นาสมรรถนะวชิ าชพี 2 2.5 โครงงารพฒั นาสมรรถนะวชิ าชพี 2 20501-8502 โครงงาน 1 * 2 2 20501-8503 โครงงาน 2 *22 3. หมวดวิชาเลือกเสรี 0 3. หมวดวิชาเลือกเสรี 0 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร 020 20000-2005 กิจกรรมองค์การวิชาชีพ 3 0 2 0 20000-2006 กิจกรรมองค์การวิชาชีพ 4 รวม (คาบ/สัปดาห์) 29 6 23 20 รวม (คาบ/สัปดาห์) 25 5 20 14 คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. 21 วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

แผนการเรียนตลอดหลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชพี พ.ศ. 2562 ประเภทวชิ าเกษตรกรรม สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ สาขางานการเกษตร เขา้ ศกึ ษาปี 2565 ภาคเรียนท่ี 1 การท�ำการเกษตรเบื้องต้น ภาคเรียนท่ี 2 การท�ำการประยุกต์ รหัส รายวิชา ท ป น รหัส รายวิชา ทปน 1. หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง 6 1. หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง 6 20000-1101 ภาษาไทยพื้นฐาน 2 0 2 20000-1102 ภาษาไทยเพ่ืออาชีพ 021 20000-1201 ภาษาอังกฤษในชีวิตจริง 0 2 1 20000-1202 ภาษาอังกฤษฟัง-พูด 021 20000-1301 วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต 1 2 2 20000-1305 วทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ พฒั นาอาชพี เกษตรกรรม 1 2 2 20000-1502 ประวัติศาสตร์ชาติไทย 1 0 1 20000-1501 หน้าที่พลเมืองและศีลธรรม 202 2. หมวดวชิ าสมรรถนะทกั ษะวชิ าชพี 6 2. หมวดวชิ าสมรรถนะทกั ษะวชิ าชพี 4 2.1 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพ้ืนฐาน 6 2.1 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพ้ืนฐาน 4 20500-1001 ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพเกษตร 2 0 2 20500-1003 หลักการเกษตร 122 20500-1005 ปฏิบัติงานเกษตร 0 4 2 20001-2001 คอมพวิ เตอรแ์ ละสารสนเทศเพอื่ งานอาชพี 1 2 2 20500-1002 องค์การเกษตรกรในอนาคต 202 2.2 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ 4 2.2 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ 4 20501-2001 หลักพืชกรรม 1 2 2 20501-2004 อุตสาหกรรมเกษตรเบื้องต้น 202 20501-2002 หลักการเล้ียงสัตว์ 1 2 2 20501-2005 หลักการเพาะเล้ียงสัตว์น้�ำ 132 2.3 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเลือก 2 2.3 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเลือก 3 20501-2101 การเกษตรแนวใหม่ 2 0 2 20501-2303 การเลี้ยงสัตว์ปีก 163 3. หมวดวิชาเลือกเสรี 2 3. หมวดวิชาเลือกเสรี 20501-2301 อาหารสัตว์เบื้องต้น 122 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร 020 20000-2001 กิจกรรมลูกเสือวิสามัญ 1 0 2 0 20000-2002 กิจกรรมลูกเสือวิสามัญ 2 รวม (คาบ/สัปดาห์) 29 13 16 20 รวม (คาบ/สัปดาห์) 30 9 21 17 22 คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

แผนการเรยี นตลอดหลกั สตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ พ.ศ. 2562 ประเภทวชิ าเกษตรกรรม สาขาวชิ าเกษตรศาสตร์ สาขางานการเกษตร เขา้ ศึกษาปี 2565 ภาคเรียนท่ี 3 การผลิตพืชผัก ภาคเรียนท่ี 4 การเลี้ยงโค รหัส รายวิชา ท ป น รหัส รายวิชา ทปน 5 1. หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง 1. หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง 3 20000-1206 ภาษาอังกฤษอินเตอร์เน็ต 0 2 1 20000-1236 ภาษามาเลเซียเพ่ือการส่ือสาร 021 20000-1401 คณิตศาสตร์พ้ืนฐานอาชีพ 202 ในชีวิตประจ�ำวัน 20000-1602 เพศวิถีศึกษา 1 0 1 20000-1406 สถิติการทดลอง 202 20000-1603 พลศึกษาเพ่ือพัฒนาสุขภาพ 021 2. หมวดวชิ าสมรรถนะทกั ษะวชิ าชพี 2 2. หมวดวชิ าสมรรถนะทกั ษะวชิ าชพี 5 2.1 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพ้ืนฐาน 2 2.1 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพ้ืนฐาน 5 20500-1006 ทักษะวิชาชีพเกษตร 0 4 2 20001-1004 กฎหมายแรงงาน 101 20500-1004 ความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานการผลิต 202 และผลิตผลทางการเกษตร 20001-1003 ธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ 122 2.2 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ 2 2.2 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ 4 20501-2006 ดิน ปุ๋ยและน้�ำเพ่ือการเกษตร 1 2 2 20501-2011 แทรกเตอร์และเคร่ืองจักรกลเกษตร 1 1 3 2 20501-2003 ช่างเกษตรเบื้องต้น 132 2.3 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเลือก 5 2.3 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเลือก 20501-2102 การสง่ เสรมิ และเผยแพรท่ างการเกษตร 1 4 3 20501-2171 โครงการสง่ เสรมิ และเผยแพรท่ างการเกษตร 0 4 2 3. หมวดวิชาเลือกเสรี 3 3. หมวดวิชาเลือกเสรี 3 20501-2201 การผลิตพืชผัก 1 6 3 20501-2305 การเล้ียงโค 163 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร 020 20000-2003 กิจกรรมองค์การวิชาชีพ 1 0 2 0 20000-2004 กิจกรรมองค์การวิชาชีพ 2 รวม (คาบ/สัปดาห์) 32 6 26 17 รวม (คาบ/สัปดาห์) 27 9 18 15 คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. 23 วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

แผนการเรียนตลอดหลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชพี พ.ศ. 2562 ประเภทวิชาเกษตรกรรม สาขาวชิ าเกษตรศาสตร์ สาขางานการเกษตร เข้าศึกษาปี 2565 ภาคเรียนท่ี 5 การเล้ียงไก่ไข่ ภาคเรียนท่ี 6 การท�ำเกษตรผสมผสาน รหัส รายวิชา ท ป น รหัส รายวิชา ทปน 1. หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง 1 1. หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง 1 20000-1213 ภาษาอังกฤษส�ำหรับงานเกษตร 0 2 1 20000-1208 ภาษาอังกฤษเตรียมความพร้อม 021 เพ่ือการท�ำงาน 2. หมวดวชิ าสมรรถนะทกั ษะวชิ าชพี 2 2. หมวดวชิ าสมรรถนะทกั ษะวชิ าชพี 2 2.1 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพ้ืนฐาน 2 2.1 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพ้ืนฐาน 2 20001-1001 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 2 0 2 20001-1002 พลังงาน ทรัพยากและสิ่งแวดล้อม 202 2.2 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ 6 2.2 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ 4 122 20501-2010 การประยกุ ตใ์ ชค้ อมพวิ เตอรใ์ นงานอาชพี 1 2 2 20501-2008 การเกษตรผสมผสาน 122 20501-2012 การขับรถยนต์ 1 3 2 20501-2009 สารชีวภาพเพื่อการเกษตร 20501-2007 หลักเศรษฐศาสตร์เกษตร 122 2.3 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเลือก 2.3 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเลือก 8 20501-2205 การผลิตเห็ด 163 2.4 ฝกึ ประสบการณส์ มรรถนะวชิ าชพี 4 20501-2103 การจัดการแสดงสินค้าและบริการฯ 1 4 3 20501-8001 ฝึกงาน * * 4 20501-2172 โครงการจดั การแสดงสนิ คา้ และบรกิ ารฯ 0 4 2 2.5 โครงงานพฒั นาสมรรถนะวชิ าชพี 2 2.5 โครงงารพฒั นาสมรรถนะวชิ าชพี 2 20501-8502 โครงงาน 1 * 2 2 20501-8503 โครงงาน 2 *22 3. หมวดวิชาเลือกเสรี 2 3. หมวดวิชาเลือกเสรี 20501-2311 การเลี้ยงไก่ไข่ 132 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร 020 20000-2005 กิจกรรมองค์การวิชาชีพ 3 0 2 0 20000-2006 กิจกรรมองค์การวิชาชีพ 4 รวม (คาบ/สัปดาห์) 22 6 16 17 รวม (คาบ/สัปดาห์) 30 6 24 17 24 คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

ภาคผนวก

หน้า ๒๘ เล่ม ๑๓๕ ตอนพเิ ศขษ ้อ๒บ๘ัง๖คบั งสถาบรนัาชกกาิจจราอนเุาบชกษวี าศกึ ษาภาคใ๑ต๓้ 3พฤศจิกายน ๒๕๖๑ ว่าดว้ ย เคขร้อ่อื บงงัแคบับบสถเคาบรอ่ืันงกหามรอายาชแวี ลศะึกเษคารภื่อางคแใตต่ง้ ก3ายนกั ศกึ ษา ว่าดว้ ยเครือ่ งแบบ เครือ่ งพหม.าศย. แ2ล5ะ6เค1รือ่ งแต่งกายของนกั ศกึ ษา พ.ศ. 2561 โดยท่ีเป็นการสมควรกาหนดให้มีเครื่องแบบ เครื่องหมาย และเคร่ืองแต่งกายของนักศึกษา เพ่ือแสดงถึงเอกลักษณ์ ความเหมาะสม และความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสถาบันการอาชีวศึกษา ภาคใต้ 3 อาศัยอานาจตามความในมาตรา 25 (2) และมาตรา 47 แห่งพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 สภาสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 3 ในการประชุมคร้ังท่ี 6/2561 เมื่อวันท่ี 15 กรกฎาคม 2561 จึงมีมติให้ออกข้อบังคับไว้ ดังต่อไปนี้ ขอ 1 ขอบังคับนี้เรียกวา “ขอบังคับสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต 3 วาดวยเคร่ืองแบบ เครอื่ งหมาย และเครือ่ งแตงกายของนักศกึ ษา พ.ศ. 2561” ขอ 2 ขอบงั คับน้ีใหใชบ งั คับตงั้ แตว นั ถัดจากวนั ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเปน็ ตน ไป ขอ 3 ในขอบงั คับน้ี “สถาบัน” หมายความวา สถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต 3 “ผูอำนวยการสถาบนั ” หมายความวา ผอู ํานวยการสถาบนั การอาชีวศึกษาภาคใต 3 “วิทยาลยั ” หมายความวา วิทยาลัย ในสงั กัดสถาบันการอาชีวศกึ ษาภาคใต 3 “สถานประกอบการ” หมายความวา สถานประกอบการท่รี วมมือกบั สถาบันการอาชีวศึกษา ภาคใต้ 3 เพือ่ จัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวชิ าชพี “นักศกึ ษา” หมายความว่า ผู้เข้ารบั การศกึ ษาในระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ระดับประกาศนยี บตั ร วิชาชพี ชนั้ สูง และระดบั ปริญญาตรี ของสถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคใต้ 3 “ตราสถาบัน” หมายความวา ตราของสถาบันการอาชวี ศึกษาภาคใต 3 ขอ 4 กาํ หนดประเภทเคร่อื งแบบ และเครอื่ งแตงกายของนักศกึ ษา เปน็ 5 ประเภท ดงั น้ี (1) เครือ่ งแบบปกติ ใชส ําหรับสวมใสในเวลาเรียนปกติ เวลาสอบ และไปตดิ ตอกบั หนวยงาน ท้งั ภายในและภายนอกสถาบนั (2) เคร่ืองแบบพิธีการ ใช้สาหรับสวมใส่ในงานพระราชพิธี รัฐพิธี หรืองานพิธีอ่ืน ๆ ตามท่ี สถาบันกาหนด (3) เครื่องแต่งกายภาคปฏิบัติ ใช้สาหรับสวมใส่ในการเรียนภาคปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ หรอื ในโรงฝกึ งาน การฝกึ ในสถานประกอบการ และการฝกึ งานภาคสนาม (4) เครอ่ื งแตง่ กายในพธิ ีรบั พระราชทานปริญญาบัตร (5) เคร่อื งแต่งกายในพิธรี บั มอบประกาศนยี บัตร 26 คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

หน้า ๒๙ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๒๘๖ ง ราชกิจจานเุ บกษา ขอ 5 เครอื่ งแบบปกติ มีรายละเอียด ดังนี้ (1) เคร่ืองแบบปกตสิ ําหรบั นักศึกษาชาย ประกอบดวย (ก) เสื้อเช้ิตสีขาว ไม่มีลวดลาย กระดุมสีขาว ปกเส้ือแบบปกเช้ิตปลายแหลม ไม่มีสาบหลัง มีกระเป๋าติดทางอกด้านซ้าย แขนสั้นสาหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ แขนยาวสาหรับ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง และระดับปริญญาตรี เวลาสวมให้สอดชายเสื้อ ไวใ้ นกางเกงตลอดเวลา (ข) กางเกงขายาวแบบสากล ทาด้วยผ้าสีกรมท่าหรือสีดา ไม่มีลวดลาย มีหูเข็มขัด ผ้าเดียวกับกางเกง ห้ามใช้ผ้ายนี ส์ ผ้าสักหลาด หรอื ผา้ ลกู ฟูก (ค) เน็คไท ให้ใช้สี ตามประเภทวิชาท่ีวิทยาลัยกาหนด ในแต่ละระดับการศึกษา ตดิ เขม็ ตราสถาบัน (ง) เข็มขัดทาด้วยหนังสีดา ขนาดกว้าง 3 เซนติเมตร หัวเข็มขัดทาด้วยโลหะสีเงิน เป็นรปู ส่ีเหลี่ยมผนื ผา้ ขนาด 3.5 x 5 เซนติเมตร ดุนนูนเป็นตราสถาบัน (จ) ถงุ เทา้ แบบสัน้ สดี าหรอื สนี า้ เงนิ ไม่มีลวดลาย (ฉ) รองเทา้ หนงั หมุ้ ส้นสีดา ไมเ่ ปิดหัวรองเท้า (2) เครอื่ งแบบปกตสิ าหรบั นกั ศึกษาหญงิ ประกอบด้วย (ก) เสื้อทาด้วยผ้าสีขาว ไม่มีลวดลาย เนื้อผ้ามีความหนาพอสมควร เส้ือสวมใสไม่รัดรูป ติดกระดุม 5 เม็ด รวมกระดุมที่ติดคอเส้ือ ทาด้วยโลหะสีเงิน ดุนนูนเป็นตราสถาบัน ขนาดเสน้ ผ่าศนู ยก์ ลาง 2 เซนตเิ มตร โดยกาหนดลกั ษณะแบบเสอ้ื ตามระดบั การศึกษา ดังน้ี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ลักษณะแบบเป็นเสื้อแขนสามส่วน ปกบัวมน ด้านหน้าผ่าอก ตรงโดยตลอด มีสาบตลบเข้าด้านในกว้างขนาด 3 เซนติเมตร เอวจ๊ัมมีจีบด้านหน้าและด้านหลัง ปลายแขนมีจีบและตดิ กระดุม ระดับประกาศนียบัตรวชิ าชพี ชั้นสูง ลักษณะแบบเป็นเสื้อแขนยาว ปกเสื้อแบบปกเช้ติ ปลายแหลม ยาวพอสมควร ด้านหน้าผ่าอกตรงโดยตลอด มีสาบตลบเข้าด้านในกว้างขนาด 3 เซนติเมตร ความยาว ของแขนเสื้อให้คลมุ ข้อมือ ปลายแขนมจี บี และติดกระดมุ ความยาวของเส้ือใหส้ อดในกระโปรงไดม้ ิดชดิ ระดับปริญญาตรี ลักษณะแบบเป็นเส้ือแขนส้ัน ปกเส้ือแบบปกเช้ิต ปลายแหลมยาว พอสมควร ด้านหนา้ ผา่ อกตรงโดยตลอด มสี าบหน้ากวา้ งขนาด 3 เซนตเิ มตร ปลายแขนเหนอื ขอ้ ศอก ไมเ่ กิน 6 เซนตเิ มตร ปลายแขนมว้ นเข้า ความยาวของเสื้อให้สอดในกระโปรงไดม้ ดิ ชดิ (ข) เข็มตราสถาบัน ทาดว้ ยโลหะสีเงิน สงู 3 เซนติเมตร ใช้ติดอกเสอ้ื เบ้ืองขวา (ค) กระโปรงทาด้วยผ้าสีกรมท่าหรือสีดา เว้นแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ให้ใช้ผ้า สีกรมท่าเทา่ น้ัน ไม่มันวาว ไม่มีลวดลาย ไม่รัดรูป ขอบกระโปรงอยรู่ ะดบั เอว ความยาวของกระโปรง เหนือเข่าไม่เกิน 4 เซนติเมตร ห้ามใช้ผ้ายีนส์ ผ้าสักหลาด ผ้าลูกฟูก ผ้ายืด ผ้าลูกไม้ หรือ ผ้ากามะหยี่ โดยกาหนดรปู ทรงกระโปรงตามระดับการศกึ ษา ดงั นี้ คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. 27 วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

เล่ม ๑๓๕ ตอนพเิ ศษ ๒๘๖ ง ราชกหจิ นจ้าานุเ๓บ๐กษา ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ กระโปรงมีจีบรอบ ความลึกจีบ 4 เซนติเมตร ระยะห่าง ระหว่างจีบ 4 เซนติเมตร เย็บตะเข็บจากขอบกระโปรงลงมา 4 เซนติเมตร ขอบกระโปรงกว้าง 2 - 5 เซนติเมตร ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง กระโปรงทรงตรง มีขอบเอว ปลายกระโปรงด้านหลังผ่าซ้อน ยาวไมเ่ กิน 15 เซนตเิ มตร ระดบั ปรญิ ญาตรี กระโปรงทรงเอป้ายซ้อน ปลายกระโปรงด้านหลงั ไม่ผ่าหรือแหวก (ง) เข็มขัดทาด้วยหนังสีดา ขนาดกว้าง 3 เซนติเมตร หัวเข็มขัดทาด้วยโลหะ สเี งินเป็นรูปส่ีเหลยี่ มผืนผา้ ขนาด 3.5 x 5 เซนติเมตร ดนุ นนู เป็นเครอื่ งหมายสถาบนั คาดทับรอยตอ่ ทีก่ ระโปรงทบั เสอื้ (จ) รองเท้าหนังหมุ้ ส้นหรอื รัดส้นสีดา แบบสุภาพ ไม่มลี วดลาย ขอ 6 เครื่องแบบพิธกี าร ใชเครอื่ งแบบปกติ เวน แตกางเกงหรอื กระโปรงใหใ ชสกี รมทาเทานั้น สวมทับดวยเสอ้ื สทู สกี รมทา ไมมลี วดลาย ปักตราสถาบันทอ่ี กเสอื้ เบ้อื งซาย ขอ 7 เคร่ืองแตงกายภาคปฏบิ ตั ิ ใหเป็นไปตามประกาศของสถาบนั ตามคาแนะนาของวิทยาลัย หรือหนวยงานที่เรียกช่ืออยางอื่นท่ีมีฐานะเทียบเทาวิทยาลัย โดยความเห็นชอบของสภาสถาบัน หรือ ตามทส่ี ถานประกอบการกาหนด ขอ 8 เคร่ืองแตงกายในพิธรี ับพระราชทานปริญญาบัตร ในพิธีรับพระราชทานปรญิ ญาบัตร ใหบ ัณฑิตสวมครยุ วิทยฐานะชน้ั ปริญญาตรี ของสถาบนั ตามพระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยปริญญาในสาขาวิชา อักษรย่อสาหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจาตาแหน่งของสถาบันการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2558 ลงวันท่ี 1 พฤษภาคม 2558 ทับเคร่ืองแตง่ กาย เป็นไปตามท่สี านักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษากาหนด ขอ 9 เคร่ืองแตง กายในพิธีรับมอบประกาศนยี บตั ร ในพธิ ีรบั มอบประกาศนียบัตรวชิ าชีพชน้ั สูง และประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ใหนกั ศกึ ษาสวมครยุ ผา โปรงสขี าวทบั เครอ่ื งแบบปกติ ลักษณะของครุยทาด้วยผ้าโปร่งสีขาว เย็บเป็นเส้ือคลุมผ่าหน้าคลุมเข่า แขนกว้าง มีสารดรอบขอบ สารดตน้ แขน และสารดปลายแขน สารดรอบขอบและสารดปลายแขน พ้ืนสารดทาด้วยผ้าสักหลาดหรือผ้ากามะหย่ีสีม่วง กว้าง 10 เซนติเมตร มีสารดสีเงินกว้าง 1 เซนติเมตร ท่ีริมท้ังสองข้าง ตอนกลางสารดมีสีเงิน กวา้ ง 2 เซนติเมตร และมสี ญั ลกั ษณส์ ถาบนั ทาดว้ ยโลหะนนู สีทอง เส้นผา่ ศนู ย์กลาง 4.5 เซนติเมตร ติดบนสารดขอบด้านหน้าอกท้งั สองขา้ ง สารดต้นแขน ของระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สารดต้นแขนทาด้วยผ้าสักหลาดหรือ ผ้ากามะหยี่สีม่วง กว้าง 4 เซนติเมตร มีสารดสีเงินกว้าง 1 เซนติเมตรที่ริมขอบท้ังสองข้าง ระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ไม่มีสารดตน้ แขน 28 คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๒๘๖ ง ราชกหิจนจ้าานุเ๓บ๑กษา ๑๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๑ ข้อ 10 การแต่งกายตามหลักศาสนาของนักศึกษา ให้เป็นไปตามท่ีกาหนดไว้ในประกาศ ของสถาบนั โดยความเห็นชอบของสภาสถาบัน ข้อ 11 นักศึกษาภาคสมทบ หรือภาคพิเศษ อนุโลมให้แต่งกายแบบสุภาพชน สีไม่ฉูดฉาด แทนเครอ่ื งแบบปกตกิ ไ็ ด้ ข้อ 12 ให้ผ้อู านวยการสถาบัน รกั ษาการให้เปน็ ไปตามข้อบงั คับน้ี ประกาศ ณ วนั ท่ี 26 กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ (ประเสรฐิ แกวเพ็ชร) นายกสภาสถาบนั การอาชวี ศึกษาภาคใต 3 คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. 29 วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

30 คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. 31 วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

32 คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. 33 วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

ประกาศสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 3 เร่ือง เคร่ืองแต่งกายนักศึกษาท่ีนับถือศาสนาอิสลาม โดยท่ีเห็นสมควรมีประกาศสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 3 เรื่อง เคร่ืองแต่งกายนักศึกษา ที่นับถือศาสนาอิสลาม ให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 3 ตามหลัก ศาสนาอิสลาม อาศัยอ�ำนาจตามความในข้อ9แห่งข้อบังคับสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้3ว่าด้วยเคร่ืองแบบ เคร่ืองหมาย และเคร่ืองแต่งกายนักศึกษา พ.ศ. 2557 และโดยความเห็นชอบของสภาสถาบัน การอาชีวศึกษาภาคใต้ 3 ในการประชุมครั้งท่ี 3/2557 เมื่อวันท่ี 13 มีนาคม พ.ศ. 2557 จึงได้ออก ประกาศไว้ดังต่อไปน้ี 1. เคร่ืองแต่งกายนักศึกษาท่ีนับถือศาสนาอิสลาม ท้ังระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง และระดับปริญญาตรี 1.1 นักศึกษาชายให้แต่งกายตามเครื่องแบบปกติ 1.2 นักศึกษาหญิงให้แต่งกายตามเครื่องแบบปกติ เว้นแต่ (1) เสื้อขาว แขนยาว ไม่มีลวดลาย ปกเสื้อแบบปกติปลายแหลม ยาวพอสมควร ด้านหน้าผ่าอกตรงโดยตลอด มีสาบตลบเข้าด้านในกว้าง 3 เซนติเมตร ติดกระดุม 5 เม็ด ท�ำด้วยโลหะ สีเงิน มีลายดุนนูนเป็นเครื่องหมายสถาบัน ความยาวของแขนเส้ือให้คลุมข้อมือ ปลายแขนจีบและ ติดกระดุม ไม่รัดรูป ตัวเสื้อยาวคลุมสะโพก ให้สอดในกระโปรง (2) กระโปรงตามเคร่ืองแบบปกติ ไม่มีลวดลาย ทรงปลายบาน เม่ือสวมแล้ว ชายกระโปรงคลุมข้อเท้า (3) ผ้าคลุมศีรษะ ผ้าสีขาวไม่มีลวดลาย ลักษณะเย็บเป็นถุง หรือตัดเย็บในลักษณะ อื่น ซ่ึงต้องคลุมศีรษะทั้งหมด เว้นใบหน้า ชายผ้าคลุมศีรษะ คลุมไหล่ 2. ประกาศนี้ให้ใช้บังคับแต่งแต่ปีการศึกษา 2557 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2557 นายสมพงค์ จตุทอง (นายสมพงค์ จตุทอง) ผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยเทคนิคหาดใหญ่ ท�ำหน้าที่ ผู้อ�ำนวยการสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 3 34 คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการเคารพของนักเรียนและนักศึกษา พ.ศ.2530 โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงระเบียบกระทรวงธรรมการว่าด้วยการเคารพของนักเรียน พุทธศักราช 2482 เสียใหม่ให้เหมาะสมย่ิงขึ้น อาศัยอ�ำนาจตามความในข้อ 23 แห่งประกาศของคณะปฏิวัติฉบับท่ี 216 ลงวันที่ 29 กันยายน 2516 กระทรวงศึกษาธิการจึงวางระเบียบไว้ดังต่อไปน้ี ข้อที่ 1 ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการเคารพรพของนักเรียน และนักศึกษา พ.ศ. 2530 “ ข้อ 2 ระเบียบน้ีให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิกระเบียบกระทรวงธรรมการเรื่องการเคารพของนักเรียนพุทธศักราช 2482 บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ และค�ำส่ังอื่นใดในส่วนในส่วนท่ีก�ำหนดไว้แล้วในระเบียบนี้หรือซึ่ง ขัดหรือแย้งกันกับระเบียบนี้ให้ใช้เระเบียบนี้แทน ข้อ 4 ในระเบียบน้ี “นักเรียนและนักศึกษา” หมายความว่า บุคคลซ่ึงก�ำลังศึกษาเล่าเรียนอยู่ในสถานศึกษา “สถานศึกษา” หมายความว่า โรงเรียน วิทยาลัย หรือสถานศึกษาท่ีเรียกชื่ออย่างอื่นที่อยู่ใน ความควบคุมดูและของกระทรวงศึกษาธิการ ข้อ 5 การท�ำความเคารพในห้องเรียน 5.1 เมื่อผู้ควรเคารพเข้ามาในห้องเรียนให้หัวหน้าห้องเรียนเป็นผู้บอกท�ำความเคารพโดย ให้ใช้ค�ำบอกว่า “นักเรียน” หรือ “นักศึกษา” ให้ทุกคนหยุดท�ำงานท่ีก�ำลังท�ำอยู่น้ันทันที นั่งตัวตรง แล้วบอกว่า “เคารพ” ให้นักเรียนหรือนักศึกษายืนตรงแล้วไหว้ เมื่อได้รับค�ำสั่งจากผู้รับความเคารพ ให้น่ังจงนั่งลง 5.2 เมื่อนักเรียนและนักศึกษาพูดกับครูให้ยืนตรง เมื่อไปพบครูหรือเม่ือจะกลับมาท่ีโต๊ะ เรียน ให้ใช้วิธีไหว้ 5.3 การเคารพผู้ควรเคารพในทางศาสนาให้กระท�ำความเคารพตามประเพณีนิยม ข้อ 6 การท�ำความเคารพของนักเรียนและนักศึกษานอกห้องเรียน 6.1 นักเรียนและนักศึกษาทั้งชายและหญิงเม่ืออยู่ในแถวให้ใช้ค�ำบอกว่า “แถวตรง” คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. 35 วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

6.2 การเคารพผู้ควรเคารพในทางศาสนา ให้กระท�ำความเคารพตามประเพณีนิยม ข้อ 7 การท�ำความเคารพของนักเรียนและนักศึกษาในโอกาสอ่ืน 7.1 เมื่ออยู่กับที่ มีผู้ควรเคารพผ่านมาให้ยืนตรงแล้วไหว้ 7.2 เมื่อเดินสวนกับผู้ควรเคารพ นักเรียนและนักศึกษาต้องหยุดหันหน้าไปทางผู้ควร เคารพ ยืนตรงแล้วไหว้ เม่ือผู้ควรเคารพผ่านไปแล้วจึงเดินต่อไป 7.3 เม่ือผู้ควรเคารพอยู่กับที่นักเรียนและนักศึกษาจะเดินผ่านไปให้หยุดยืนตรงแล้วไหว้ แล้วจึงเดินผ่านไปโดยก้มตัวเล็กน้อย 7.4 หากนักเรียนและนักศึกษาพบผู้ควรเคารพคนเดียวกันมากกว่าหน่ึงคร้ังในวันน้ัน 7.4.1 เมื่ออยู่กับที่ มีผู้ควรเคารพผ่านมาหรือเม่ือเดินสวนกับผู้ควรเคารพนักเรียนและ นักศึกษาต้องหยุด หันหน้าไปทางผู้ควรเคารพ แล้วยืนตรงเป็นการแสดงความเคารพ 7.4.2 เม่ือผู้ควรเคารพอยู่กับที่ นักเรียนและนักศึกษาจะเดินผ่านไปให้เดินโดยก้มตัว เล็กน้อย ข้อ 8 การท�ำความเคารพของนักเรียนและนักศึกษาขณะอยู่ในยานพาหนะเม่ือสวนกับ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว หรือผู้แทนพระองค์ สมเด็จพระบรมราชินีนาถ พระบรมราชวงศ์ ธง มหาราช ธงราชินี ธงบรมราชวงศ์ ธงเยาวชน ธงประจ�ำกองทหาร ธงประจ�ำกองลูกเสีอ 8.1 ถ้าอยู่ในยานพาหนะสาธารณะ เช่น รถโดยสารประจ�ำทางหรือยานพาหนะท่ีไม่ สะดวกแก่การออกมาท�ำความเคารพ เช่น รถยนต์ รถรับจ้าง รถบรรทุก ให้อยู่ในยานพาหนะนั้น ด้วยอาการส�ำรวม 8.2 ถ้าอยู่ในยานพาหนะส่วนตัวที่สามารถออกมาท�ำความเคารพได้สะดวก เช่น รถ จักรยานยนต์ รถจักรยาน ให้หยุดและออกมาจากยานพาหนะน้ัน แล้วแสดงความเคารพ ข้อ 9 นักเรียนและนักศึกษาไม่ต้องท�ำความเคารพในโอกาสต่อไปน้ี 9.1 เมื่อได้รับอนุญาต 9.2 เมื่อขับข่ียานพาหนะหรืออยู่ในที่คับขัน ข้อ 10 นักเรียนและนักศึกษาที่เป็นลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด สมาชิกผู้บ�ำเพ็ญประโยชน์ หรือนักศึกษาวิชาทหาร การแสดงความเคารพให้ปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการนั้น ข้อ 11 การแสดงความเคารพต้องให้เหมาะสมแก่เวลา สถานที่ และบุคคล ข้อ 12 ให้ปลัดกระทรวงศึกษาธิการรักษาการตามระเบียบนี้ ประกาศ ณ วันท่ี 24 เมษายน 2530 มารุต บุนนาค (นายมารุต บุนนาค) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ 36 คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

ข้อบงั คบั สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคใต้ 3 ว่าด้วย การจดั การศกึ ษาและการประเมนิ ผลการเรยี นตามหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี พทุ ธศักราช 2556 พ.ศ. 2556 ------------------------------------------------- โดยท่ีกระทรวงศึกษาธิการให้ใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 ลงวันท่ี 21 พฤษภาคม 2556 เพ่ือประโยชน์ในการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนให้สอดคล้องกับ มาตรฐานคณุ วฒุ ิอาชวี ศึกษาระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ พทุ ธศักราช 2556 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 25 (2) แห่งพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 สภาสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 3 ในการประชุม คร้ังที่ 10/2556 เมื่อวันท่ี 12 ธันวาคม พ.ศ. 2556 จงึ มีมตใิ หอ้ อกขอ้ บงั คบั ไว้ดงั ตอ่ ไปน้ี ข้อ 1 ข้อบังคับนี้เรียกว่า “ข้อบังคับสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 3 ว่าด้วย การจัด การศกึ ษาและการประเมินผลการเรยี นตามหลักสูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชพี พุทธศักราช 2556 พ.ศ. 2556” ข้อ 2 ข้อบงั คบั น้ีใหใ้ ชบ้ ังคับตงั้ แต่วันถัดจากวนั ประกาศเป็นต้นไป ขอ้ 3 ในขอ้ บงั คับนี้ “สถาบนั ” หมายความวา่ สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคใต้ 3 “ผอู้ ํานวยการสถาบัน” หมายความวา่ ผ้อู ํานวยการสถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคใต้ 3 “วิทยาลยั ” หมายความว่า วิทยาลยั ในสังกัดสถาบนั การอาชีวศึกษาภาคใต้ 3 “ผู้อํานวยการวิทยาลัย” หมายความว่า ผู้อํานวยการวิทยาลัยในสังกัดสถาบันการ อาชีวศกึ ษาภาคใต้ 3 “หลกั สตู ร” หมายความว่า หลักสูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชพี พทุ ธศักราช 2556 “ประกาศนียบัตรวิชาชีพ” หมายความว่า การศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ หลงั จากจบหลักสูตรมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 หรือเทยี บเท่า ใชอ้ กั ษรย่อว่า “ปวช.” “ผู้เข้าเรียน” หมายความว่า ผู้มาสมัครเข้าเรียนในสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 3 หรือ สมัครฝึกอาชพี กบั สถานประกอบการท่ยี งั ไมไ่ ดข้ นึ้ ทะเบยี นเป็นนักศกึ ษา “ภาคเรียน” หมายความว่า ช่วงเวลาที่สถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 3 เปิดทําการสอน การจดั ภาคเรียนให้ใชร้ ะบบทวิภาค โดยกําหนดให้ 1 ปกี ารศึกษา แบง่ ออกเป็น 2 ภาคเรียน “นักศึกษา” หมายความว่า ผู้ท่ีได้ขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตร วชิ าชพี พทุ ธศักราช 2556 คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. 37 วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

-2- “ภาคเรียนฤดูร้อน” หมายความว่า ช่วงเวลาท่ีจัดให้เรียน หรือฝึกปฏิบัติในระหว่างภาค ฤดูร้อน ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วย การเปิดภาคเรียนฤดูร้อนในสถานศึกษาของ กระทรวงศึกษาธิการ และในชว่ งปดิ ภาคเรียนกลางปโี ดยอนโุ ลม “ผู้ปกครอง” หมายความว่า บิดา มารดา และบุคคลอ่ืน ท่ีทําหน้าท่ีปกครองดูแลและให้ ความอุปการะแก่นักศึกษาและให้คํารับรองแก่สถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 3 หรือสถานประกอบการว่า จะ ปกครองดูแลความประพฤติของนักศึกษาในระหว่างที่เรียนอยู่ในสถาบัน และฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพใน สถานประกอบการ หรอื ฝกึ อาชีพในการศึกษาระบบทวิภาคี “การศึกษาในระบบ” หมายความว่า การจัดการศึกษาวิชาชีพท่เี นน้ การศกึ ษาในสถาบันการ อาชีวศึกษาภาคใต้ 3 เป็นหลัก โดยมีการกําหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาการวัดและการ ประเมินผลท่เี ป็นเง่อื นไขของการสาํ เรจ็ การศึกษาทีแ่ น่นอน “การศึกษานอกระบบ” หมายความว่า การจัดการศึกษาวิชาชีพท่ีมีความยืดหยุ่นในการ กําหนดจุดหมายรูปแบบวิธีการศึกษา ระยะเวลา การวัดและการประเมินผล ที่เป็นเงื่อนไขของการสําเร็จ การศึกษา โดยเน้ือหาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการ ของบคุ คลแต่ละกลุ่ม “การศึกษาระบบทวิภาคี” หมายความว่า การจัดการศึกษาวิชาชีพที่เกิดจากข้อตกลง ระหว่างสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 3 กับสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐ ในเรอื่ งการ จัดหลักสูตรการเรียนการสอน การวัดผลและการประเมินผล โดยผู้เรียนใช้เวลาส่วนหนึ่งในสถาบัน และเรียน ภาคปฏบิ ตั ใิ นสถานประกอบการ รัฐวิสาหกจิ หรอื หน่วยงานของรัฐ “สถานประกอบการ” หมายความว่า สถานประกอบการท่ีร่วมมือกับสถาบันการ อาชวี ศกึ ษาภาคใต้ 3 เพ่อื จัดการอาชีวศกึ ษาและการฝึกอบรมวิชาชีพ ทั้งน้ี ตามหลักเกณฑท์ ่ีคณะกรรมการการ อาชีวศึกษากําหนด “ผู้ควบคุมการฝึก” หมายความว่า ผู้ท่ีสถานประกอบการมอบหมายให้ทําหน้าที่ ประสานงานกับสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 3 ในการจัดการศึกษาระบบทวิภาคี และรับผิดชอบดูแลการฝึก อาชีพของนกั ศึกษาใน สถานประกอบการ “ครฝู กึ ” หมายความวา่ ผู้ทาํ หนา้ ทส่ี อนฝกึ อบรมในสถานประกอบการ “ครูนิเทศก์” หมายความว่า ครูท่ีสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 3 มอบหมายให้ทําหน้าท่ี นิเทศ ใหค้ ําปรึกษา แนะนําแก่นกั ศกึ ษาท่ฝี กึ อาชีพและฝึกประสบการณ์ทกั ษะวิชาชพี “ครูท่ีปรึกษา” หมายความว่า ครูที่สถาบันการอาชีวศกึ ษาภาคใต้ 3 มอบหมายให้ทําหน้าท่ี ให้คาํ แนะนําใหค้ ําปรกึ ษา ติดตามผลการเรยี นและตกั เตอื นดแู ลความประพฤตขิ องนักศึกษา “มาตรฐานวิชาชีพ” หมายความว่า ข้อกําหนดคุณลกั ษณะของบุคคลด้านวิชาชีพเพื่อใชเ้ ป็น เกณฑ์ในการกํากบั ดูแล ตรวจสอบ และประกันคณุ ภาพผ้สู ําเรจ็ การศึกษา “การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ” หมายความว่า การทดสอบความรู้ ความสามารถ สมรรถนะ ตลอดจนลักษณะนสิ ัยในการปฏบิ ัตงิ านตามมาตรฐานวิชาชพี โดยใช้เครื่องมอื ทีเ่ หมาะสม ซง่ึ กําหนด เกณฑก์ ารตดั สินไวช้ ัดเจน พร้อมทงั้ จดั ดําเนนิ การประเมนิ ภายใต้เงอ่ื นไขท่เี ปน็ มาตรฐาน “คณะกรรมการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ” หมายความว่า คณะกรรมการผู้ทําหน้าที่ รับผิดชอบในการอํานวยการ ติดตาม และกํากับดูแลการประเมินมาตรฐานวิชาชีพของนักศึกษาในสถาบันการ อาชีวศึกษาภาคใต้ 3 38 คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

-3- ข้อ 4 ให้ผู้อํานวยการสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้3 รักษาการให้เป็นไปตามข้อบังคับนี้ และใหม้ ีอาํ นาจตคี วามและวินจิ ฉัยปัญหาเกยี่ วกับการปฏิบัตติ ามขอ้ บังคับนี้ หมวด 1 สภาพนักศกึ ษา สว่ นท่ี 1 พน้ื ความรแู้ ละคณุ สมบตั ขิ องผู้เข้าเรียน ขอ้ 5 ผู้เขา้ เรียนตอ้ งสําเรจ็ การศึกษาไม่ตา่ํ ว่าระดบั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 หรือเทยี บเท่า ความในวรรคหน่ึง ไม่ใช้บังคับสําหรับผู้ท่ีเรียนเป็นบางเวลา หรือบางรายวิชา โดยไม่นับ จาํ นวนหนว่ ยกิตมารวมเพ่อื ตัดสนิ การสาํ เรจ็ การศึกษาตามหลักสตู รและรับประกาศนียบตั รวิชาชพี ข้อ 6 ผ้เู ข้าเรียนต้องมีคณุ สมบตั ิดงั ตอ่ ไปน้ี (1) มคี วามประพฤตเิ รียบรอ้ ย (2) มีสภาพร่างกายท่เี หมาะสมไม่เป็นอปุ สรรคตอ่ การเรยี น (3) มีภมู ลิ ําเนาเปน็ หลกั แหลง่ หรอื มีหลักฐานของทางราชการในลกั ษณะเดยี วกันมาแสดง บริสทุ ธิใ์ จ (4) มีความเคารพเล่ือมใส ศรัทธาต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ด้วยความ (5) มเี จตคติท่ีดตี ่อการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์เป็นประมขุ (6) สําหรับผู้เข้าเรียนการศึกษาระบบทวิภาคี ในวันทําสัญญาการฝึกอาชีพต้องมีอายุ ไม่ต่าํ กวา่ 15 ปีบริบูรณ์ และมคี วามตง้ั ใจท่จี ะรับการฝึกอาชีพในสาขาวชิ าทีส่ มัคร ผู้เข้าเรียนตามโครงการต่าง ๆ ของสถาบัน ให้สถาบันกําหนดคุณสมบัติเพ่ิมเติมได้ตาม ความเหมาะสมของโครงการนัน้ สว่ นที่ 2 การรบั ผู้เขา้ เรยี น ข้อ 7 การรับผู้เข้าเรียน ให้ทําการสอบคัดเลือกหรือคัดเลือกตามที่สถาบันกําหนด ในกรณี ที่มีการสอบคดั เลือกให้ปฏบิ ตั ดิ งั น้ี (1) ทําการทดสอบข้อเขียนในหมวดวิชาใด ๆ ตามความต้องการของสถาบัน หรือ สถานประกอบการ หากสถาบันหรือสถานประกอบการจะทําการทดสอบความถนัดทางการเรียนวิชาชีพ และ สอบสัมภาษณ์ด้วยก็ได้ (2) การประกาศรับสมัคร ดําเนินการสอบ และประกาศผลสอบตามวัน และเวลาท่ี สถาบนั หรือสํานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษากําหนด (3) ถ้าเหตุการณ์เกี่ยวกับการสอบเป็นไปโดยปกติ ให้สถาบันเก็บรักษาเอกสารเก่ียวกับ การสอบคัดเลือกไวเ้ ปน็ เวลาไมน่ อ้ ยกวา่ 1 ปี นบั แตว่ นั ประกาศผลการสอบ คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. 39 วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

-4- การรับผู้เข้าเรียนการศึกษาระบบทวิภาคี สถานประกอบการจะเป็นผู้สอบคัดเลือกหรือ คัดเลือกผู้เข้าเรียนเองตามคุณสมบัติท่ีกําหนดและตามจํานวนที่ได้ตกลงร่วมกับสถาบัน หรือจะมอบให้สถาบัน เปน็ ผู้ดําเนนิ การหรือดําเนนิ การร่วมกันก็ได้ การรับผู้เข้าเรียนตามโครงการต่าง ๆ ของสถาบันให้สถาบันคัดเลือกตามคุณสมบัติท่ี กําหนดตามความเหมาะสมของโครงการนั้น ข้อ 8 ให้มีการตรวจร่างกายเฉพาะผู้ท่ีผ่านการสอบคัดเลือก หรือได้รับการคัดเลือกโดย แพทย์ปรญิ ญา ส่วนท่ี 3 การเปน็ นกั ศกึ ษา ข้อ 9 ผู้เข้าเรียนการศึกษาในระบบ การศึกษาระบบทวิภาคี และการศึกษานอกระบบจะมี สภาพนักศึกษาเม่อื ไดข้ ึ้นทะเบียนเปน็ นักศึกษาของวทิ ยาลยั สําหรับการศึกษาระบบทวิภาคี ผู้เข้าเรียนต้องทําสัญญาการฝึกอาชีพกับสถานประกอบการ โดยผู้ปกครองมาให้คํารบั รองดว้ ย การขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษา และการทําสัญญาการฝกึ อาชีพต้องกระทําด้วยตนเอง พร้อมทั้ง แสดงหลักฐานการสําเร็จการศึกษาตามวัน เวลา ที่วิทยาลัยและสถานประกอบการกําหนด โดยชําระเงิน ค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ตามทสี่ ถาบันกาํ หนด ทั้งน้ใี ห้เสร็จส้นิ กอ่ นวนั เปดิ ภาคเรยี น โดยมผี ปู้ กครองมาให้คํารบั รอง และทาํ หนงั สือมอบตัว ในกรณีผู้เข้าเรียนท่ีบรรลุนิติภาวะสถาบันอาจให้ผู้ปกครองมาทําหนังสือมอบตัวหรือ ดําเนินการในสว่ นทีเ่ กีย่ วขอ้ งกับขอ้ บังคบั น้ีหรือไม่ก็ได้ ให้วิทยาลัยจัดการปฐมนิเทศให้กับนักศึกษาและผู้ปกครอง เพ่ือให้ทราบแนวทางและ กฎเกณฑต์ ่าง ๆ ในการเรียน ขอ้ 10 ให้สถาบันออกบตั รประจาํ ตวั ใหแ้ กน่ ักศกึ ษา บัตรประจําตัว ต้องระบุเลขท่ี ชื่อสถาบัน รหัส สถาบัน ช่ือวิทยาลัย รหัสวิทยาลัย ช่ือ ช่ือสกุล นักศึกษา รหัสประจําตัวนักศึกษา เลขประจําตัวประชาชน วันออกบัตร วันหมดอายุ ลายมือ ช่ือผู้อํานวยการ สถาบันหรือผู้ได้รับมอบหมายให้ทําการแทน และให้มีรูปถ่ายคร่ึงตัวของนักศึกษา หน้าตรง ไม่สวมหมวก ไม่ สวมแว่นตาสีดํา แต่งเครื่องแบบนักศึกษาถ่ายไว้ไม่เกิน 6 เดือน ติดลงในบัตรกับให้มีลายมือช่ือของ นกั ศกึ ษา ให้ประทับตราของสถาบนั ท่ีมุมใดมมุ หน่งึ ของรปู ถ่ายนกั ศึกษา โดยให้ติดทีร่ ูปถ่ายบางสว่ น บัตรประจําตัวน้ี ให้มีอายุเท่ากับระยะเวลาที่มีสภาพนักศึกษาในสถาบัน แต่ต้องไม่เกิน 3 ปี นับแตว่ นั ออกบัตร ถ้าบัตรประจําตัวหมดอายุในระหว่างทย่ี งั มสี ภาพนักศกึ ษา ก็ให้สถาบันตอ่ อายบุ ัตรเป็นปี ๆ ไป สถานประกอบการจะใช้บัตรประจําตัวท่ีสถาบันออกให้ หรือจะออกให้ใหม่ตามความต้องการ ของสถานประกอบการก็ได้ ข้อ 11 ให้วิทยาลัยแต่งต้ังครูท่ีปรึกษา เพ่ือทําหน้าท่ีให้คําแนะนําเก่ียวกับการเรียน ให้ คําปรกึ ษา ติดตามผลการเรียน และตักเตอื นดูแลความประพฤตขิ องนกั ศกึ ษา และให้สถานประกอบการจัดให้มี ผคู้ วบคุมการฝึกของนักศกึ ษาในสถานประกอบการ 40 คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

-5- ส่วนที่ 4 การพน้ สภาพและคนื สภาพนกั ศกึ ษา ข้อ 12 การพน้ สภาพนกั ศกึ ษาเป็นไปตามกรณใี ดกรณีหนึ่งตอ่ ไปน้ี (1) สําเร็จการศกึ ษาตามหลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี พทุ ธศักราช 2556 (2) พ้นสภาพนกั ศึกษาตามข้อ 56 หรอื ข้อ 57 (3) ลาออก (4) ตาย (5) วิทยาลัยส่ังใหพ้ น้ สภาพนกั ศกึ ษาในกรณีใดกรณหี นึ่ง ต่อไปนี้ (ก) ขาดเรียน ขาดการฝึกอาชีพหรือขาดการติดต่อกับวิทยาลัยและหรือ สถานประกอบการเกินกว่า 15 วัน ซึ่งวิทยาลัยหรือสถานประกอบการพิจารณาแล้วเห็นว่าไม่มีเหตุผล อันสมควร หรอื มีพฤติกรรมอยา่ งอ่นื ท่ีแสดงวา่ ไมม่ ีความตั้งใจทีจ่ ะศกึ ษาเลา่ เรยี นหรือรับการฝึกอาชีพ (ข) ไม่ย่ืนคําขอกลับเข้าเรียนภายใน 15 วัน นับแต่วันถัดจากวันครบกําหนดลาพัก การเรียนหรอื ลาพกั ฝึกอาชพี ตามขอ้ 18 (ค) ไม่มาตดิ ตอ่ เพอ่ื รกั ษาสภาพนกั ศกึ ษาตามขอ้ 26 (ง) ต้องโทษคดีอาญาโดยคําพิพากษาของศาลถึงท่ีสุดให้จําคุก เว้นแต่ความผิด ลหโุ ทษ หรอื ความผดิ ทไ่ี ด้กระทําโดยประมาท (จ) ขาดพืน้ ความรหู้ รอื คุณสมบัตขิ องผู้เข้าเรยี นตามท่กี ําหนดไวใ้ นข้อ 5 หรือข้อ 6 ข้อ 13 ผู้ท่ีพ้นสภาพนักศึกษาตามข้อ 12 (3), 12 (5) ก, 12 (5) ข, และ 12 (5) ค ถ้าประสงค์จะขอคืนสภาพเพ่ือกลับเข้าเรียนในวิทยาลัย หรือฝึกอาชีพในสถานประกอบการ จะต้องย่ืนคําร้อง ภายใน 1 ปี นบั แตว่ นั ถัดจากวนั พ้นสภาพนักศกึ ษา เมื่อวทิ ยาลัยได้พจิ ารณาเห็นสมควรกใ็ ห้รับเขา้ เรียนได้ ขอ้ 14 การขอคืนสภาพเพือ่ กลบั เข้าเรยี นตามขอ้ 13 ใหป้ ฏิบัตดิ งั นี้ (1) ต้องเข้าเรียนภายในสัปดาห์แรกของภาคเรียน เว้นแต่กลับเข้าเรียนในภาคเรียน เดียวกนั (2) ตอ้ งเรียนตามหลักสตู รท่ีใชอ้ ย่ใู นขณะนัน้ (3) ให้นําจํานวนหน่วยกิตของรายวิชาท่ีประเมินได้ไว้และเป็นรายวิชาที่ยังปรากฏอยู่ใน หลกั สูตรน้ี มานบั รวมเพื่อพจิ ารณาตัดสินการสําเรจ็ การศกึ ษาตามหลกั สตู ร สว่ นที่ 5 การพกั การเรยี น ข้อ 15 วิทยาลัยและสถานประกอบการ อาจพิจารณาอนุญาตให้นักศึกษาลาพักการเรียน หรือลาพักการฝึกอาชีพได้ตามทเ่ี หน็ สมควร เมอื่ มเี หตจุ ําเปน็ กรณใี ดกรณีหนึ่งตอ่ ไปน้ี (1) ได้รับทุนการศึกษาให้ไปศึกษาหรือดูงานหรือเป็นตัวแทนของวิทยาลัย หรือสถาบัน หรอื สถานประกอบการ ในการเขา้ รว่ มประชุมหรอื กรณอี ่ืน ๆ อันควรแก่การสง่ เสรมิ (2) เจบ็ ปว่ ยตอ้ งพักรกั ษาตัว (3) กรณีลาพักเพื่อรับราชการทหารกองประจําการ ให้ลาพักได้จนกว่าจะได้รับการ นาํ ปลด คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. 41 วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี

-6- (4) เหตุจําเป็นอย่างอ่ืนตามที่วิทยาลัย หรือวิทยาลัยและสถานประกอบการจะพิจารณา เห็นสมควร ในกรณีท่ีมีนักศึกษาลาพักการเรียนหรือลาพักการฝึกอาชีพต้ังแต่ต้นปีเป็นระยะเวลานาน เกินกว่า 1 ปี วิทยาลัยหรือสถานประกอบการ อาจพิจารณารับนักศึกษาอื่นเข้าเรียนหรือฝึกอาชีพแทนท่ีได้ ตามที่เห็นสมควร ข้อ 16 นักศึกษาท่ีขออนุญาตลาพักการเรียน หรือลาพักการฝึกอาชีพ ต้องย่ืนคําขอเป็น ลายลักษณ์อักษรต่อวิทยาลัยหรือสถานประกอบการ โดยมีผู้ปกครองเป็นผู้รับรอง สําหรับผู้ท่ีบรรลุนิติภาวะจะ มีผู้รับรองหรือไม่ก็ได้ เมื่อได้รับอนุญาตแล้วจึงพักการเรียนหรือการฝึกอาชีพได้ มิฉะนั้นจะถือว่าขาดเรียนเว้น แตเ่ หตสุ ุดวสิ ยั ข้อ 17 การอนุญาตให้นักศึกษาลาพักการเรียนหรือลาพักการฝึกอาชีพ ให้วิทยาลัยทํา หลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษรแจ้งให้ผู้ปกครองทราบ เว้นแต่ผู้ท่ีบรรลุนิติภาวะที่ไม่มีผู้ปกครองมอบตัวให้แจ้ง นกั ศึกษาโดยตรง ข้อ 18 นักศึกษาท่ีลาพักการเรียนหรือลาพักการฝึกอาชีพ เม่ือครบกําหนดเวลาท่ีลาพัก การเรียนหรือลาพักการฝึกอาชีพแล้ว ให้ย่ืนคําขอกลับเข้าเรียนพร้อมด้วยหลักฐานการอนุญาตให้ลาพัก การเรียนหรือลาพักการฝึกอาชีพต่อผู้อํานวยการวิทยาลัย ภายใน 15 วันนับแต่วันถัดจากวันครบกําหนด หาก พน้ กําหนดนใ้ี หถ้ อื ว่าพ้นสภาพนักศกึ ษา เว้นแตเ่ หตสุ ุดวิสัย สว่ นท่ี 6 การลาออก ข้อ 19 นักศึกษาท่ีประสงค์จะลาออกจากการเป็นนักศึกษา ต้องให้ผู้ปกครองเป็นผู้รับรอง การลาออก เว้นแตผ่ ู้ทบ่ี รรลนุ ิตภิ าวะ ข้อ 20 นักศึกษาท่ีลาออกแล้วได้รับอนุญาตให้กลับเข้าเรียนในภาคเรียนเดียวกัน ให้ถือว่า นกั ศกึ ษาผ้นู ั้นมีสภาพนกั ศึกษามาตัง้ แต่ต้นภาคเรียนน้นั หมวด 2 การจดั การเรียน ส่วนท่ี 1 การเปดิ และปดิ ภาคเรยี น ข้อ 21 การเปิดและปดิ ภาคเรียนใหเ้ ป็นไปตามที่กระทรวงศกึ ษาธิการ หรือสถาบันกาํ หนด ในกรณีท่ีเปิดภาคเรียนฤดูร้อน ให้ปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วย การเปิด ภาคเรียนฤดรู อ้ นในสถานศกึ ษา สว่ นท่ี 2 การลงทะเบยี นรายวชิ า ขอ้ 22 สถาบนั ตอ้ งจัดให้นกั ศึกษาลงทะเบียนรายวิชาตา่ ง ๆ ใหเ้ สร็จก่อนวนั เปดิ ภาคเรียน ข้อ 23 การลงทะเบียนรายวิชาต้องไดร้ ับความเห็นชอบจากครูที่ปรึกษา 42 คู่มือการจัดการเรียนการสอน ระดับ ปวช. วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook