Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 1

บทที่ 1

Published by pongyat1987, 2020-05-22 03:34:13

Description: บทที่ 1

Search

Read the Text Version

1 หนวยการเรียนรูท่ี 1 ลกู เสือกับการพัฒนา สาระสาํ คญั การลูกเสือ มีเปาหมายเพ่ืออบรมส่ังสอนและฝกฝนใหบุคคลเปนพลเมืองดี ซึ่ง วตั ถปุ ระสงคของคณะลูกเสือแหง ชาติ น้ัน เพื่อพัฒนาลูกเสือทั้งทางกาย สติปญญา จิตใจ และ ศีลธรรม ใหเปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ และชวยสรางสรรคสังคมใหมีเกิดความสามัคคี และมีความเจริญกาวหนา และหลักการของการลูกเสือ มุงสงเสริม สรางสรรคใหลูกเสือและ ผบู งั คับบัญชาลูกเสอื ยดึ ถือเปนแนวปฏบิ ตั ิในการดําเนินกิจกรรมลูกเสือและใชในการดําเนินชีวิต ของตนเองใหเกิดความสุขใหเปนคนดี คนเกง พ่ึงตนเอง เห็นอกเห็นใจและชวยเหลือผูอ่ืนได มีความจงรักภักดีตอชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย โดยยึดหลักการ คําปฏิญาณและกฎของ ลกู เสือเปนหลักปฏิบตั ิ และพรอ มทจี่ ะให “บริการ” ตามทศั นะของการลูกเสือ ท้ังน้ี ตองคํานึงถึง สภาวะแวดลอม สถานภาพ และขีดความสามารถของตนเอง โดยการสํารวจตนเอง ครอบครัว ชุมชนและสงั คมเพื่อการพัฒนา และมแี นวทางการพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน และสังคม ตวั ช้วี ัด 1. อธิบายสาระสําคญั ของการลูกเสอื 2. อธิบายความสําคญั ของการลกู เสอื กบั การพฒั นา 3. อภิปรายความเปนพลเมอื งดีในทัศนะของการลูกเสือ 4. นําเสนอผลการสํารวจตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน และสงั คม เพอ่ื การพัฒนา ขอบขา ยเน้อื หา เรอ่ื งท่ี 1 สาระสาํ คัญของการลูกเสอื 1.1 วตั ถุประสงคข องการพัฒนาลกู เสอื 1.2 หลกั การสาํ คญั ของการลูกเสอื เรอ่ื งที่ 2 ความสาํ คญั ของการลูกเสอื กับการพฒั นา 2.1 การพฒั นาตนเอง 2.2 การพฒั นาสัมพันธภาพระหวา งบุคคล 2.3 การพฒั นาสมั พนั ธภาพภายในชุมชนและสงั คม

2 เร่อื งท่ี 3 ลูกเสอื กบั การพัฒนาความเปนพลเมอื งดี 3.1 ความหมายของพลเมอื งดี 3.2 ความเปนพลเมอื งดใี นทศั นะของการลกู เสือ เรือ่ งท่ี 4 การสาํ รวจตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน และสังคม เพือ่ การพฒั นา 4.1 การสํารวจตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคม 4.2 แนวทางการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน และสังคม เวลาท่ใี ชในการศึกษา 2 ชั่วโมง สอื่ การเรยี นรู 1. ชุดวชิ าลกู เสือ กศน. รหัสรายวชิ า สค32035 2. สมดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรียนรปู ระกอบชุดวชิ า 3. สอ่ื เสริมการเรยี นรอู ื่น ๆ

3 เรื่องท่ี 1 สาระสําคญั ของการลกู เสือ พระราชบญั ญัตลิ กู เสอื พ.ศ. 2551 ไดใ หค วามหมายของคําวา “ลูกเสือ” หมายถึง เดก็ และเยาวชนท้งั ชายและหญิง ทส่ี มคั รเขาเปน ลกู เสือทงั้ ในสถานศึกษา และนอกสถานศึกษา สวนลูกเสอื ท่ีเปนหญิงใหเรียกวา “เนตรนาร”ี การลูกเสือ หมายถึง กิจการที่นําเอาวัตถุประสงค หลักการ และวิธีการของ ขบวนการลูกเสอื มาใชเพ่ือการพฒั นาเด็กและเยาวชน การลกู เสอื เปนกระบวนการสําคญั ยิ่งของการศึกษาท่ีไดรับการยอมรับจากทั่วโลก เพราะเปน กจิ กรรมพฒั นาเยาวชนใหมีคุณธรรมสูง สงเสริมบุคลิกภาพที่ดี และมีความเปนผูนํา ในการพฒั นาเยาวชนนน้ั พระราชบัญญตั ลิ กู เสือ พ.ศ. 2551 ไดใหความหมายของวัตถุประสงค คณะลูกเสือแหง ชาติ ไวใ นมาตรา 8 ความวา “คณะลูกเสือแหงชาติ มีวัตถุประสงคเพ่ือพัฒนา ลกู เสอื ทง้ั ทางกาย สตปิ ญญา จิตใจ และศีลธรรมใหเปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ และชวย สรางสรรคสงั คมใหเกิดความสามัคคี และมีความเจริญกาวหนา ทั้งนี้ เพื่อความสงบสุขและความ ม่ันคงของประเทศชาติ” โดยมีวัตถุประสงคของการพัฒนาลูกเสือ และหลักการสําคัญของ การลูกเสือ ดงั น้ี 1.1 วตั ถปุ ระสงคข องการพัฒนาลกู เสอื คณะลูกเสือแหง ชาติ ไดกาํ หนดวัตถุประสงคเพ่ือพัฒนาลูกเสือทั้งทางกาย สตปิ ญญา จิตใจ และศีลธรรม ใหเ ปน พลเมืองดี มีความรับผิดชอบ และชวยสรางสรรคสังคมใหมี ความสามัคคีและมคี วามเจริญกาวหนา ทั้งน้ี เพื่อความสงบสุขและความมั่นคงของประเทศชาติ ตามแนวทางดงั ตอไปน้ี 1) ใหมนี ิสัยในการสงั เกต จดจํา เชอ่ื ฟงและพงึ่ ตนเอง 2) ใหซือ่ สัตยส จุ รติ มีระเบียบวินัยและเหน็ อกเหน็ ใจผูอนื่ 3) ใหรจู กั บาํ เพญ็ ตนเพอ่ื สาธารณประโยชน 4) ใหรูจกั ทาํ การฝมอื และฝกฝนใหท าํ กิจการตาง ๆ ตามความเหมาะสม 5) ใหรจู กั รกั ษาและสง เสริมจารตี ประเพณี วฒั นธรรม และความม่ันคง ของประเทศชาติ ซึ่งสอดคลองกับธรรมนูญขององคการแหง โลก วาดวยขบวนการลูกเสอื ทีไ่ ดกําหนด วตั ถุประสงคข องขบวนการลูกเสอื ไวดังตอ ไปน้ี “จุดมุงประสงคของขบวนการลูกเสือ คือ การสนับสนุนการพัฒนาอยางเต็มท่ี ซงึ่ ศักยภาพทางกาย สตปิ ญญา สงั คม จติ ใจและศีลธรรม ใหแกเยาวชนเปน รายบุคคล เพ่ือให

4 เขาเปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ ในฐานะที่เปนสมาชิกของชุมชนในทองถิ่น ในชาติ และ ในชมุ ชนระหวางนานาชาติ” ขบวนการลกู เสือท่ัวโลก เปนขบวนการท่ีมุงพัฒนาศักยภาพของบุคคล ทุกเพศ ทกุ วัย และทุกฐานะ ใหไ ดร บั การพฒั นาในทกุ ดาน กลา วคอื การพัฒนาทางกาย เพ่ือใหมีรางกายเจริญเติบโต แข็งแรง เพียบพรอมดวย สขุ ภาพอนามยั ทส่ี มบรู ณ โดยการสง เสริมการใชชีวิตกลางแจง การพฒั นาทางสติปญ ญา เพอ่ื ใหม ีสติปญ ญาเฉลยี วฉลาด พึง่ ตนเองได โดยการ สงเสริมการเรยี นรูดวยการกระทาํ รวมกนั การพัฒนาทางจิตใจ เพื่อใหมีคุณธรรม จริยธรรมในการดํารงชีวิต โดยยึด คาํ ปฏญิ าณและกฎของลกู เสือเปนหลกั ประจําใจและนําไปใชใ นชีวิตประจําวัน การพฒั นาทางสังคม เพอ่ื ใหมจี ติ สาธารณะ คดิ ดี ทําดี และมีความเปนพลเมืองดี สามารถปรบั ตวั ใหอ ยูในสงั คมไดอยา งมคี วามสขุ โดยการบําเพ็ญประโยชนต อผูอ ่นื 1.2 หลกั การสําคญั ของการลกู เสือ เบเดน โพเอลล ไดกาํ หนดหลักการสําคญั ของการลูกเสอื ไว 8 ประการ ดงั น้ี 1) ลูกเสือเปน ผมู ีศาสนา 2) ลกู เสอื มีความจงรกั ภักดีตอ ชาติบานเมอื ง 3) ลูกเสอื มีความเช่ือมน่ั ในมิตรภาพและความเปนภราดรของโลก 4) ลกู เสือเปน ผูบ าํ เพ็ญประโยชนตอ ผอู ่นื 5) ลกู เสอื เปนผยู ึดมั่นและปฏบิ ัติตามคําปฏญิ าณและกฎของลูกเสือ 6) ลูกเสอื เปน ผูอ าสาสมคั ร 7) ลูกเสือยอ มไมเ กยี่ วขอ งกบั การเมอื ง 8) มีกาํ หนดการพิเศษสําหรับการฝกอบรมเด็กชาย และคนหนุมเพ่ือให เปน พลเมืองดี มีความรบั ผิดชอบ โดยอาศัยวิธีการระบบหมู ระบบกลุม มีการทดสอบเปนข้ันๆ ตามระดับของหลักสตู รและวิชาพิเศษลูกเสอื และใชกจิ กรรมกลางแจง เบเดน โพเอลล ไดเขียนสาสน ฉบบั สดุ ทายถึงลกู เสือ มีขอความสําคัญดังนี้ 1) จงทําตนเอง ใหม ีอนามยั และแข็งแรงในขณะท่ียังเปนเด็ก 2) จงพอใจในส่ิงท่ีเธอมีอยูและทําสิ่งนั้นใหดีที่สุด 3) จงมองเรอื่ งราวตา ง ๆ ในแงด ี แทนทีจ่ ะมองในแงราย 4) ทางอันแทจริงท่ีจะหาความสุข คือ โดยการใหความสุขแกผูอ่ืน 5) จงพยายามปลอยอะไรไวในโลกน้ีใหดีกวาท่ีเธอไดพบ และ 6) จงยดึ มั่นในคําปฏิญาณของลูกเสอื ของเธอไวเสมอ

5 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทรงมีพระราชดําริวา เด็กผูชายเปน ผูท่ีสมควรไดรับการฝกฝนท้ังรางกายและจิตใจ เปรียบเหมือนไมท่ียังออน จะดัดใหเปนรูป อยางไรกเ็ ปนไปไดโดยงายและงดงาม ถารอไวจนแกเสียแลวเมื่อจะดัดก็ตองเขาไฟ และมักจะ หักได เพ่ือจะไดรูจักหนาที่ ผูชายไทยทุกคนควรประพฤติใหเปนประโยชนแกชาติบานเมือง อนั เปน บานเกดิ เมืองนอนของตน ห ลั ก ก า ร ข อ ง ลู ก เ สื อ อ ยู ท่ี ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม คํ า ป ฏิ ญ า ณ แ ล ะ ก ฎ ข อ ง ลู ก เ สื อ โดยคาํ ปฏญิ าณและกฎของลูกเสอื สํารอง มีดังนี้ คําปฏิญาณกลาววา ขา สัญญาวา ขอ 1 ขาจะจงรกั ภักดตี อชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ  ขอ 2 ขา จะยดึ ม่นั ในกฎของลูกเสอื สํารองและบําเพญ็ ประโยชนต อผอู ่ืนทุกวัน กฎของลกู เสือสํารอง ขอ 1 ลูกเสือสํารองทําตามลกู เสือรุน พ่ี ขอ 2 ลูกเสือสํารองไมท าํ ตามใจตนเอง สว นคําปฏิญาณและกฎของลูกเสือ ลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญรุนใหญ ลูกเสือ วิสามญั และผบู งั คับบัญชาลูกเสอื มีดังน้ี คําปฏิญาณกลาววา ดว ยเกียรติของขา ขาสญั ญาวา ขอ 1 ขาจะจงรักภกั ดตี อชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ  ขอ 2 ขาจะชวยเหลือผูอ่นื ทกุ เม่อื ขอ 3 ขา จะปฏิบัตติ ามกฎของลกู เสือ กฎของลกู เสือ มี 10 ขอ ดงั น้ี ขอ 1 ลูกเสือมเี กียรติเช่ือถือได ขอ 2 ลูกเสือมีความจงรักภักดีตอชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และซื่อตรง ตอ ผูมีพระคณุ ขอ 3 ลูกเสือมีหนา ทก่ี ระทาํ ตนใหเปน ประโยชนแ ละชวยเหลอื ผอู ่นื ขอ 4 ลกู เสอื เปน มติ รของคนทุกคนและเปนพ่ีนองกับลูกเสอื อน่ื ทว่ั โลก ขอ 5 ลกู เสอื เปน ผสู ภุ าพเรียบรอ ย ขอ 6 ลูกเสอื มคี วามเมตตากรณุ าตอสตั ว ขอ 7 ลูกเสอื เช่ือฟง คาํ สงั่ ของบิดามารดา และผูบงั คับบญั ชาดวยความเคารพ ขอ 8 ลกู เสือมใี จราเรงิ และไมยอ ทอ ตอความลาํ บาก ขอ 9 ลูกเสอื เปน ผมู ัธยัสถ ขอ 10 ลูกเสอื ประพฤตชิ อบดวยกาย วาจา ใจ

6 สรุปไดวา หลักการของลูกเสือดังกลาวมุงสงเสริมสรางสรรคใหลูกเสือและ ผูบังคบั บัญชาลูกเสือยึดถือเปนแนวปฏิบัติในการดําเนินกิจกรรมลูกเสือและใชในการดําเนินชีวิต ของตนเองใหเกิดความสุข ใหเปนคนดี คนเกง พึ่งตนเอง เห็นอกเห็นใจและชวยเหลือผูอ่ืนได มคี วามจงรักภกั ดีตอ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย โดยยึดหลักการ คาํ ปฏิญาณและกฎของลูกเสือ เปนหลักปฏิบตั ิ กิจกรรมทา ยเร่อื งท่ี 1 สาระสาํ คญั ของการลูกเสือ (ใหผ ูเ รียนไปทาํ กิจกรรมทา ยเรอื่ งที่ 1 ท่ีสมดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วิชา) เรื่องที่ 2 ความสาํ คญั ของการลูกเสือกบั การพัฒนา การลูกเสือท่ัวโลกมีจุดประสงค หลักการ วิธีการ และอุดมการณเดียวกัน คือ การพัฒนาศักยภาพบุคคลใหเปนพลเมืองดี มีจิตสาธารณะ มีความรับผิดชอบในการพัฒนา ตนเอง การพัฒนาสัมพันธภาพระหวางบุคคล และการพัฒนาสัมพันธภาพภายในชุมชนและ สงั คม โดยมีรายละเอยี ด ดังน้ี 2.1 การพัฒนาตนเอง การพัฒนาตนเอง หมายถึง ความตองการของบุคคลในการพัฒนาความรู ความสามารถของตนจากที่เปนอยูใหมีความรู ความสามารถและพัฒนาศักยภาพของตนเอง ใหเ พม่ิ ขนึ้ และดีข้ึนในการพัฒนาทางกาย จิตใจ อารมณ สติปญญา สังคม ความรู อาชีพ และ สง่ิ แวดลอม โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1) การพฒั นาทางกาย หมายถึง การพฒั นาสุขภาพ อนามยั ใหร างกาย สมบูรณ แขง็ แรง รวมถงึ การพัฒนาบุคลิกภาพ กริยาทาทาง การแสดงออก การใชนํ้าเสียง วาจา การใชค ําพูดในการสอ่ื ความหมาย และการแตง กายทสี่ ะอาด เหมาะสมกับกาลเทศะ เหมาะกับ รปู รางและผิวพรรณ 2) การพฒั นาทางจติ ใจ หมายถงึ การพัฒนาเจตคติท่ีดี หรือความรูสึก ท่ีดี หรอื การมองโลกในแงด ี รวมถึงการพัฒนาสุขภาพจิตของตนเองใหอยูในสถานการณที่เปน ปกติ และ เปนสขุ โดยมคี ุณธรรมเปน หลักในการพัฒนาจติ ใจ 3) การพัฒนาทางอารมณ หมายถึง การพัฒนาความสามารถในการ ควบคุมความรูสึก นึกคิด การควบคุมอารมณที่เปนโทษตอตนเองและผูอื่น โดยมีธรรมะ เปน หลักพฒั นาทางอารมณ 4) การพัฒนาทางสติปญญา หมายถึง การพัฒนาทักษะการเรียนรู ดวยการช้ีนําตนเอง การพัฒนาความสามารถในการแสวงหาความรูดวยตนเอง การพัฒนา กระบวนการทางความคิดเชิงวิเคราะห การตัดสินใจดวยความเฉลียวฉลาดและมีไหวพริบ ปฏญิ าณภมู ิคมุ กนั ทีด่ ีในตน และมีวิถกี ารดาํ เนนิ ชีวิตอยา งพอประมาณ และมเี หตผุ ลทดี่ ี

7 5) การพฒั นาทางสงั คม หมายถึง การพัฒนาความเปนพลเมืองดี คิดดี ทาํ ดี มจี ติ สาธารณะ สามารถปรับตัวใหอยใู นสงั คมไดอ ยางมคี วามสขุ 6) การพฒั นาทางความรู หมายถึง การพัฒนาความรอบรูทางวิชาการ และเทคโนโลยีที่กาวหนา สามารถนําเทคโนโลยีท่ีมีอยูมาใชในชีวิตประจําวันไดอยางมี ประสทิ ธิภาพ 7) การพัฒนาทางอาชีพ หมายถึง การพัฒนาทักษะฝมือ ความรู ความสามารถ ความชํานาญการทางอาชีพใหสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน โดยการฝก ทักษะฝมือ 8) การพัฒนาส่ิงแวดลอม หมายถึง การกระตุน และรักษา ตลอดจน แสวงหาแนวทางทจี่ ะทําใหสิ่งแวดลอม มีความย่ังยืน ดวยการสรางความรู ความเขาใจ ในคุณคา และการดูแลการรักษา 2.2 การพฒั นาสัมพนั ธภาพระหวางบคุ คล การพัฒนาสมั พนั ธภาพระหวางบคุ คล หมายถึง ความผูกพนั ความเกีย่ วของ เปนกระบวนการติดตอเกี่ยวของระหวางบุคคลตั้งแตสองคนขึ้นไปเพื่อทําความรูจักกัน โดยวัตถุประสงครวมกันดวยความเต็มใจ มีความรูสึกท่ีดีตอกัน อาศัยการแสดงออกทางกาย วาจา และใจ ในชวงระยะเวลาหน่ึง ซ่ึงอาจไมจํากัดแนนอน สามารถอยูรวมกันและทํางาน รวมกับผูอ่ืนได โดยมีสัมพันธภาพที่ดีตอกันและสรางสรรคผลงานที่เปนประโยชนใหเกิดขึ้น โดยอาศัยความอดทนในการอยรู ว มกัน การพัฒนาสัมพันธภาพระหวางบคุ คล จาํ เปน อยางยิง่ ทจี่ ะตองเร่ิมท่ตี นเอง ดงั นี้ 1) รูจักปรบั ตนเองใหมีอารมณห นักแนน ไมหวาดระแวง ไมออนแอหรือ แขง็ กระดาง ไมเปลีย่ นแปลงหรือผนั แปรงาย 2) รูจ ักปรับตนเองใหเขากบั บคุ คล และสถานการณ รวมทั้งยอมรับและ ปฏิบัตติ ามกฎ กติกา ระเบียบตาง ๆ รูจ ักบทบาทของตนเอง 3) รูจ กั สงั เกต รจู ด และรูจํา การสังเกตจะชว ยใหเ ราสามารถเขากับทุกคน ทกุ ชนั้ ทุกเพศ และทกุ วัยไดด ี 4) รูจักตนเองและประมาณตน ชวยใหคนลดทิฐิ และเห็นความสําคัญ ของผอู ืน่ ซึ่งชวยสรางความพึงพอใจใหแ กกนั 5) รจู กั สาเหตแุ ละใชเหตุผลตอผูอื่น ชวยลดความววู าม ทําใหการคบหา กนั ไปดว ยดี 6) มคี วามมั่นใจในตนเอง และเปนตัวของตวั เอง

8 2.3 การพฒั นาสัมพันธภาพภายในชุมชนและสงั คม การพัฒนาสัมพันธภาพภายในชุมชนและสังคม หมายถึง กระบวนการ เปลี่ยนแปลงภายในสังคมท้ังดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง และวัฒนธรรม เพื่อประชาชนมีชีวิตความเปนอยูท่ดี ขี ึน้ ทง้ั ดา นท่อี ยูอ าศยั อาหาร เครื่องนุงหม สุขภาพอนามยั การศึกษา การมีงานทํา มีรายไดเพียงพอในการครองชีพ ประชาชนไดรับความเสมอภาค ความยุติธรรม มีคุณภาพชีวิต ทั้งนี้ ประชาชนตองมีสวนรวมในกระบวนการเปลี่ยนแปลง ทกุ ข้นั ตอนอยางมรี ะบบ การพัฒนาสัมพนั ธภาพภายในชมุ ชนและสงั คม จําเปนตอ งเร่มิ ตนที่ตนเอง ดังน้ี 1) พัฒนาบุคลกิ ภาพใหผูพ บเหน็ เกดิ ความช่ืนชมและประทับใจดวยการ พดู และกริ ิยาทา ทาง 2) พัฒนาพฤตกิ รรมการแสดงออกดว ยความจริงใจ ใจกวา ง ใจดี 3) ใหความชวยเหลือเอาใจใสในกิจกรรมและงานสวนรวมดวยความ มนี ้าํ ใจและเสียสละ 4) ใหค ําแนะนําหรอื เสนอแนะส่งิ ที่เปน ประโยชนตอสวนรวม 5) รวมแกไ ขปญหาขอขัดแยง ในสังคมใหดขี ึ้น 6) พูดคยุ กบั ทกุ คนดวยความยมิ้ แยม แจมใส และเปนมติ รกับทุกคน 7) ยดึ หลกั ปฏิบัตติ ามคา นยิ มพื้นฐาน คือ การพึ่งตนเอง ขยันหมั่นเพียร มีความรับผิดชอบ ประหยัดและออม มีระเบียบวินัยและเคารพกฎหมาย ปฏิบัติตามคุณธรรม ของศาสนา มีความจงรักภกั ดีตอ ชาติ ศาสนา และพระมหากษตั รยิ  นอกจากน้ี ยังจําเปนตองพัฒนาสัมพันธภาพตอส่ิงแวดลอม โดยการสํารวจ สภาพทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอม ใหความสนใจและรวมมือในการจัดกิจกรรม ตลอดจน การบํารุงรักษาใหเกดิ ประโยชนต อ ชนรุนหลัง สํานักงานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแหงชาติ ไดกําหนดแนวทางการพัฒนา ลูกเสือ 8 ประการ คอื 1) การพัฒนาทางกาย คือ การจัดกิจกรรมที่เปดโอกาสใหลูกเสือได ออกกําลังกายอยางเต็มที่ และทําใหรางกายแข็งแรง เชน การเลนเกม การเดินทางไกลอยู คายพักแรม การฝกวายน้ํา เลนฟุตบอล เปนตน ใหเหมาะสมกับสภาพอนามัยและอายุ ของเดก็ ไมใชกิจกรรมทีต่ อ งออกแรงมากเกนิ ไป หรือเปน กิจกรรมสาํ หรบั เด็กเล็ก ๆ 2) การพัฒนาทางสติปญญา คือ การจัดกิจกรรมที่เราใจใหลูกเสือได ปฏิบัติอันเปนการกระตุนใหเด็กเกิดความคิดริเริ่มสรางสรรค วิธีการบางอยางท่ีไดนํามาใช ในการพัฒนาทางสติปญญา ไดแ ก งานประเภทงานผีมือตาง ๆ เชน การประดิษฐส่ิงของจากวัสดุ เหลอื ใช การทาํ งานดวยเคร่อื งมือ การชมุ นุมรอบกองไฟ การแสดงหนุ กระบอก เปนตน

9 3) การพัฒนาทางจติ ใจและศีลธรรม ผูกํากับลูกเสือจะชวยพัฒนาจิตใจ และศีลธรรมใหแกล กู เสอื ไดโ ดยสงเสริมใหมีความซาบซึ้งในศาสนา ดวยการฟงเทศน ไหวพระ สวดมนต การปฏิบัติศาสนกิจและการไปทําบุญทําทานที่วัด พัฒนาแนวความคิดทางศาสนา เชน การเชื่อคําสอนในพระพุทธองค การเช่ือในอํานาจลึกลับบางอยางที่ดลบันดาลความหวัง ใหแ กชวี ติ กระตนุ ใหเ ด็กปฏิบัติตามและเชอื่ ถือตามพอแม กิจการลูกเสือสามารถที่จะเช่ือมโยง กบั ศาสนาตาง ๆ ได 4) การพัฒนาในเรื่องการสรางคานิยมและเจตคติ ผูกํากับลูกเสือตอง พยายามสรา งคา นยิ มและเจตคติที่ดีในส่ิงแวดลอมท่ัวไปใหเด็กเห็น และปลูกฝงลงไปในตัวเด็ก โดยการแสดงภาพที่ดีที่มีคานิยม อภิปรายปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นกับลูกเสือแตละคนหรือกับ กลุมลกู เสอื ทกุ โอกาส เพ่ือวา ลูกเสอื จะไดพบดว ยตัวเองวาคานยิ ม เจตคติและมาตรฐานอะไรที่มี คุณคา อยา งยงิ่ ยวด 5) การพัฒนาสัมพันธภาพระหวางบุคคล ผูกํากับจะตองชวยเหลือให ลูกเสือสรางสัมพันธภาพอยางฉันทมิตรกับผูอื่นอยางสม่ําเสมอ นอกจากน้ันก็ใหลูกเสือ ไดทดสอบความสามารถหรือทักษะของเขาในการสรางสรรคความสัมพันธกับผูกํากับลูกเสือ และทดสอบความสามารถในการผูกมิตรกบั เดก็ ชายหญงิ ในวยั เดยี วกันกับเขา 6) การพัฒนาสัมพันธภาพทางสังคม ผูกํากับลูกเสือควรตระหนักถึง การพัฒนาสัมพันธภาพทางสังคมวา เปนเสมือนสวนหน่ึงท่ีสอดแทรกอยูในกิจการของลูกเสือ กลมุ ลกู เสือควรจะมีความสามารถทจ่ี ะทาํ งานรวมกันอยางกลมเกลียวราบรื่น ลูกเสือควรจะได เรยี นรถู ึงการใหค วามรวมมอื การใหและการรบั แสดงบทบาทผูกํากับ และเรียนรูถึงการยอมรับ ในคุณคาและบคุ ลิกภาพของบุคคลอ่ืน ๆ เพราะไมมีใครจะอยูไดอยางเดียวดาย ระบบหมูของ ลกู เสือจะชว ยใหลูกเสือแตล ะคนเขารว มกนั เปนกลุมที่ประกอบดวยบุคคลในรุนเดียวกัน และมี ความสนใจคลายคลงึ กนั ในสภาพเชนนี้ ลูกเสอื สามารถทดลองทกั ษะในการทาํ งานในกลมุ เล็ก ๆ ซึง่ จะมีสว นชวยเขาในอนาคตทั้งที่ทาํ งานและท่บี าน 7) การพฒั นาสัมพันธภาพตอชุมชน คือ ความพรอมและความสามารถ ใหบ รกิ ารแกผูอืน่ ผูบ งั คบั บัญชาควรกระตุนใหลูกเสือไดเขาไปมีสวนรวมในชุมชนอยางเขมแข็ง ไมวาจะเปนการบําเพ็ญประโยชนประจําเฉพาะตัว หรือปฏิบัติการรวมกันทั้งหมูในโครงการ บําเพ็ญประโยชน เจตคตแิ ละทกั ษะดงั กลา วจะเปนทักษะท่มี ีคา และสําคัญ ถาในวันหนึ่งลูกเสือ ไดร ับการกระตุนใหเ ปนผทู ม่ี สี วนชวยสรางสรรคสังคม ชุมชนในสังคมน้ันก็จะมีความประทับใจ ในผลงานของลกู เสอื 8) การพัฒนาทางดานความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอม คือ การสงเสริม ใหลูกเสอื ไดมคี วามเพลิดเพลินกับชวี ิตกลางแจง สง เสรมิ ใหร ูจักรักธรรมชาตแิ ละรกั ษาธรรมชาติ การเรียนรูเรื่องธรรมชาติเปนกิจกรรมที่นําไปสูความสําเร็จในการลูกเสือ เพราะธรรมชาติให บทเรียนวา คนเราสามารถเล้ียงชีพไดอยางไร รวมทั้งสอนใหรูจักการดํารงชีวิตตลอดไปจนถึง

10 การแสวงหาความสขุ จากชวี ติ อีกดวย ความรูพเิ ศษในเร่อื งของธรรมชาติเปนวิธีท่ีดีท่ีสุดที่จะเปด ดวงจิตและความคิดของเด็กใหรูคุณคาความงามของธรรมชาติ เม่ือนิยมไพรไดฝงอยูในดวงจิต ของเด็กแลว การสงั เกต การจดจํา การอนุมานจะไดร ับการพัฒนาข้ึนโดยอัตโนมัติจนกลายเปน นสิ ยั อีกประการหน่งึ ในปจจุบันประชากรท่ัวโลกไดตระหนักถึงความตองการที่จะปองกันและ อนุรักษธรรมชาติท้ังหลาย ท้ังรัฐบาลและองคการอนุรักษธรรมชาติตาง ๆ กําลังดําเนินการ อยางเขมแข็งที่จะใหการศึกษาแกประชาชนใหคิดและดําเนินการรักษาสิ่งแวดลอมรอบตัว มีวิถีทางอยางมากมายท่ีลูกเสือสามารถปฏิบัติและชวยเหลือในการอนุรักษธรรมชาติได เชน การรณรงคตอตานการทิ้งเศษส่ิงของลงในที่สาธารณะ การทําความสะอาดทางระบายนํ้า การปลูกตน ไม การจัดภาพแสดงการอนรุ กั ษป ดไวตามที่สาธารณะ เปนตน กจิ กรรมทายเรือ่ งท่ี 2 ความสําคญั ของการลูกเสอื กบั การพฒั นา (ใหผเู รียนไปทาํ กจิ กรรมทา ยเรอ่ื งที่ 2 ท่ีสมดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรียนรูป ระกอบชดุ วชิ า) เรื่องที่ 3 ลูกเสอื กับการพฒั นาความเปน พลเมอื งดี การลกู เสือเปนขบวนการทางการศึกษาสําหรบั เดก็ และเยาวชนท่ีมีวัตถุประสงค เพือ่ สรา งบุคลิกภาพ และพัฒนาการทางสังคมใหกับเด็กและเยาวชนเพื่อใหเปนพลเมืองดีของ ประเทศ โดยใชวิธีการของลูกเสือท่ียึดม่ันในกฎและคําปฏิญาณ ซ่ึงลูกเสือกับการพัฒนา ความเปนพลเมืองดีเก่ียวกับความหมายของพลเมืองดี ความเปนพลเมืองดีในทัศนะของ การลกู เสอื และแนวทางการพฒั นาการลูกเสือไทยเพอ่ื สงเสริมความเปน พลเมอื งดี ดังนี้ 3.1 ความหมายของพลเมอื งดี พลเมอื งดี หมายถึง ผูปฏิบัติหนาท่ีตามกฎหมาย ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมของชาติ คําส่ังสอนของพอแม ครู อาจารย มีความสามัคคี เอ้ือเฟอเผ่ือแผซึ่งกัน และกัน รูจักรับผดิ ชอบชั่วดตี ามหลกั จรยิ ธรรม และหลักธรรมของศาสนา มีความรอบรู มีสติปญญา ขยนั ขันแข็ง สรางความเจริญกาวหนาใหแ กตนเอง ครอบครัว สังคม และประเทศชาติไดครบถวน ท้งั ภารกิจท่ีตอ งทําและภารกิจทคี่ วรทาํ ภารกิจที่ตองทํา หมายถึง ส่ิงท่ีคนสวนใหญเห็นวาเปนหนาท่ีท่ีตองกระทํา หรอื หามกระทํา ถาทําก็จะกอใหเกิดผลดี เกิดประโยชนตอตนเอง ครอบครัว หรือสังคม สว นรวม แลวแตกรณี ถาไมท าํ หรือไมล ะเวนการกระทําตามท่ีกําหนดจะไดรับผลเสียโดยตรง คือ ไดรับโทษ หรือถูกบังคับ เชน ปรับ จําคุก หรือประหารชีวิต เปนตน โดยท่ัวไปส่ิงที่ระบุภารกิจ ทต่ี อ งทํา ไดแก กฎหมาย ขอบงั คับ ระเบียบตาง ๆ เปน ตน

11 ภารกจิ ทค่ี วรทาํ หมายถึง ส่ิงที่คนสวนใหญเห็นวาเปนหนาที่ที่ควรทํา หรือ ควรละเวนการกระทาํ ถา ไมทาํ หรอื ละเวน การกระทํา จะไดรับผลเสียโดยทางออม เชน ไดรับการ ดหู มนิ่ เหยยี ดหยาม หรอื ไมค บคา สมาคมดว ย ถาทําจะไดรับการยกยอง สรรเสริญจากคนในสังคม โดยท่ัวไปส่ิงที่ระบุกิจ ที่ควรทํา ไดแ ก วฒั นธรรม ประเพณี เปน ตน 3.2 ความเปน พลเมอื งดใี นทัศนะของการลูกเสอื กิจกรรมลูกเสือ เปนการจัดมวลประสบการณท่ีมีประโยชน และทาทาย ความสามารถ เพื่อเปดโอกาสใหบุคคลพัฒนาศักยภาพของตนเอง และสรางลักษณะนิสัยไมเห็นแกตัว และพรอ มท่ีจะเสียสละประโยชนสว นตัว เพื่อใหมีอาชีพและให “บริการ” แกบุคคลและสังคม สามารถดําเนินชีวิตของตนเอง เปนผูมีความรับผิดชอบตามหนาท่ีของตน และดํารงชีวิตใน สังคมไดอ ยางมคี วามสขุ กิจกรรมลูกเสือ เปนกิจกรรมท่ีมุงพัฒนาบุคคลท้ังทางกาย สติปญญา ศีลธรรม จิตใจ เพ่ือใหเปนพลเมืองดี รูจักหนาที่รับผิดชอบ และบําเพ็ญประโยชนตอชุมชน สังคม และประเทศชาติ ในทศั นะของการลูกเสือ คาํ วา “พลเมืองดี” คอื บุคคลที่มีเกียรติ เช่ือถือได มีระเบียบวินัย สามารถบังคับใจตนเอง สามารถพ่ึงตนเองและสามารถที่จะชวยเหลือชุมชน และบําเพ็ญประโยชนตอผูอ่ืน ทั้งนี้ ตองคํานึงถึงสภาวะแวดลอม สถานภาพของตนเองและ ขีดความสามารถของตนเอง เพื่อปองกันหรือไมกอใหเกิดความเดือดรอนแกตนเองและ ครอบครวั การพัฒนาตนเองใหเ ปนพลเมอื งดีในทศั นะของการลูกเสือ มีดงั น้ี 1) มีความจงรักภักดีตอ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย 2) มเี กยี รติเช่ือถอื ได 3) มรี ะเบียบวนิ ยั สามารถบงั คับใจตนเองได 4) สามารถพงึ่ ตนเองได 5) เต็มใจและสามารถชวยเหลือชุมชน และบําเพ็ญประโยชนตอผูอื่น ไดท กุ เมือ่ 3.3 แนวทางการพฒั นาการลูกเสอื ไทยเพือ่ สงเสริมความเปน พลเมืองดี สภาพการจดั การการลูกเสือไทยในอดีตและปจจุบันในดานการปฏิบัติและ การสงเสริมความเปนพลเมืองดีท่ีเกิดจากกระบวนการลูกเสือไทยของกลุมบุคคลทั่วไป ผูอํานวยการลูกเสอื ผูกํากับลูกเสอื และลกู เสือ สะทอนใหเห็นภาพรวมของการลูกเสือท่ีผานมา ไดวา กระบวนการลูกเสอื ไทยในอดีตและปจ จบุ นั มคี วามสอดคลองกันในดา นการสอนใหลูกเสือ มีความจงรักภักดีตอชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย รูจักการคิดวิเคราะหอยางเปนระบบ

12 แกปญหาเฉพาะหนาไดเปนอยางดี และมีการฝกวินัยใหลูกเสือเปนผูมีความซ่ือสัตย ถึงกระนั้น การลูกเสือไทยยังตองเรงพัฒนาใหลูกเสือมีจิตอาสาท่ีจะชวยเหลือผูอื่นและสวนรวม เพราะ สังคมปจจุบนั ตองการผูม จี ติ อาสาในการรว มกันชวยเหลือสังคมและพัฒนาประเทศ นอกจากนี้ การจัดการลูกเสือไทยในอดีตและปจจุบันยังมีขอแตกตางกันในเรื่องของการนําทักษะทาง การลูกเสอื ไปใชในชวี ติ ประจาํ วนั ซึง่ อาจมาจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมทางสังคม ที่มีบริบทแตกตางกันท้ังความเจริญดานวัตถุและเทคโนโลยี สําหรับการจัดกิจกรรมลูกเสือ สามารถสงเสรมิ ความเปนพลเมืองดีไดในทกุ ดา น เพราะผูกํากบั ลูกเสอื ไดจ ดั กิจกรรมลูกเสือตาม แนวทางการจดั กจิ กรรมลูกเสือที่สํานักงานลูกเสือแหงชาติกําหนด สวนการจัดการลูกเสือไทย ในดานการพัฒนาครูและบุคลากรทางการลูกเสือทั้งในอดีตและปจจุบันมีความสอดคลองกัน ที่ตองการใหครแู ละบุคลากรทางการลกู เสอื ไดรับการพัฒนาทกั ษะการสอนดานการลูกเสือมากข้ึน ดังน้ัน แนวทางการพัฒนาการลูกเสือไทยเพ่ือสงเสริมความเปนพลเมืองดี ทําไดโดยการ กําหนดวสิ ยั ทศั นแ ละพนั ธกิจของการลกู เสอื ไทย เพอื่ สง เสริมความเปน พลเมืองดีเพื่อเปนแมบท และแนวทางเดียวกันในการดําเนินงาน โดยมุงเนนที่ตัวเด็กและเยาวชนใหมีคุณลักษณะ ท่ีพึงประสงคเปนพลเมืองดีของชาติและพลโลกตามวัตถุประสงคของคณะลูกเสือแหงชาติ ซ่ึงกําหนดไวในพระราชบัญญัติการลูกเสือ พ.ศ. 2551 และมีพันธกิจท่ีสงเสริมใหเด็กและ เยาวชนไดพ ัฒนาตนเองใหเ ปนผมู รี ะเบียบวินัย มีจติ สาธารณะใหค วามชวยเหลือผูอื่นและสังคม มีคุณธรรม รูจักหนาที่ของตนและไมทําความเดือดรอนใหแกผูอ่ืน โดยรัฐบาลเปนผูกําหนด วิสัยทัศนและพันธกิจ ควรจัดทําเปนนโยบายแหงชาติและมีหนวยงานหลักรับผิดชอบ อยางชดั เจน ท้งั นี้ ควรแยกบทบาทหนาทข่ี องหนว ยงานท่ีใหการศึกษาแกลูกเสือในสถานศึกษา ออกจากหนว ยงานทม่ี ีหนาท่ีใหความรูผูกํากบั ลกู เสือ เพ่อื ใหการทาํ งานไมเกิดความซ้ําซอนและ ลดขั้นตอนการทํางาน ในสวนของคณะกรรมการตามโครงสรางของพระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ. 2551 ควรมีความเชื่อมโยงบทบาทหนาที่การดูแลงานลูกเสือในทุกระดับ และลดชองวางของการ ทาํ งานในกระบวนการลกู เสือ โดยมกี ารควบคมุ ใหม กี ารดําเนนิ งานตามแผนงาน ระยะเวลาและ เกณฑม าตรฐานทกี่ ําหนดไว มีการจดั สรรและใชง บประมาณตามทไ่ี ดร บั อนุมัติดานอัตรากาํ ลังควรมี หนวยงานกลางท่ีรับผิดชอบประสานงานดานน้ีโดยตรงเพ่ือลดทอนภาระหนาท่ีของบุคลากรจาก หนวยงานท่ีเกยี่ วขอ งใหสามารถปฏบิ ัติงานดา นการลกู เสือไดอยา งมปี ระสิทธภิ าพ ดา นแนวทางการจัดกจิ กรรมลกู เสือ กจิ กรรมลูกเสอื ที่จัดตอ งเหมาะสมกบั วัยของลูกเสือในแตล ะประเภทและมีความ หลากหลายสามารถปฏิบัติไดจริง เหมาะสมกับยุคสมัยและตรงตามความตองการของลูกเสือ ท้ังนี้ ตองอยภู ายใตห ลักเกณฑแ ละวธิ ีการของลูกเสือ และควรมุงเนนใหลูกเสือเปนผูมีจิตอาสา มวี ินัยและรูจ กั หนา ที่ของตนดวยการปฏิบัติจริง (Learning by Doing) ท่ีเกิดจากกระบวนการ กลุม โดยยึดกฎและคาํ ปฏิญาณของลกู เสอื เปนแนวทางในการจดั กิจกรรม ภายใตส ภาพแวดลอม ที่เปนธรรมชาติ เพ่ือใหลูกเสือไดประยุกตทฤษฎีสูการปฏิบัติและซึมซับกับธรรมชาติท่ีแทจริง

13 รวมทงั้ ตอ งพฒั นาใหผูกํากบั ลกู เสือปฏบิ ัตติ นเปน แบบอยางทดี่ ีใหกับลกู เสือและเปน ตนแบบของ การเรยี นรู อาทิ การแตงเครื่องแบบลูกเสอื ทถี่ ูกตอ งทกุ คร้ังทมี่ กี ารเรยี นการสอนกจิ กรรมลูกเสือ นอกจากน้ี ตอ งเปน ผมู คี วามรูและทกั ษะทางการลกู เสือเพ่ือสามารถถายทอดวามรูและประสบการณ ใหลูกเสือนําไปใชในชีวิตประจําวันได การจัดกิจกรรมลูกเสือจะดําเนินการตามขอบังคับ คณะลูกเสือแหงชาติวาดวยการปกครองหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ พ.ศ. 2509 ซ่ึงเปน กฎหมายลกู ทงั้ นี้ขอ บงั คับฯ ดงั กลาวยงั มิไดรับการปรบั ปรุงแกไขใหสอดคลองกับพระราชบัญญัติ ลูกเสือ พ.ศ. 2551 ซงึ่ เปนกฎหมายแม จึงควรมกี ารทบทวนปรับปรุงขอบังคับฯ ใหเปนปจจุบัน และสอดรบั กบั พระราชบัญญตั ลิ กู เสอื กอปรกับเพอื่ เปนแนวทางเดียวกนั ในการจัดกิจกรรมลูกเสือ ใหกับผูป ฏบิ ัติงานดา นการลกู เสอื ตอ ไป ดา นการพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการลกู เสือไทย ครูและบุคลากรทางการลูกเสือเปนกลุมบุคคลท่ีนํานโยบายไปสูการปฏิบัติ เพื่อใหบรรลุผลตามเปาหมายท่ีกําหนดไว ดังนั้น ในการคัดเลือกหรือกําหนดตัวบุคคลที่จะทํา หนาทเ่ี ปนครแู ละบคุ ลากรทางการลกู เสือ จึงตองมีเกณฑคุณลักษณะท่ีเหมาะสมโดยเฉพาะครู ท่จี ะมาเปนผกู าํ กบั ลกู เสือตองเปน ผูมีความรกั ศรัทธาและเหน็ คณุ คา ในการลูกเสือ มีความเสียสละ อดทน และมีภาวะผูนํา มีความรูและทักษะการลูกเสือ ประพฤติตนเปนแบบอยางท่ีดีเสมอ รวมท้ัง สามารถปรับตัวใหเขากับวัยและสังคมของเด็กในแตละยุคสมัยได ครูและบุคลากร ทางการลูกเสอื จึงควรไดรับการพัฒนาใหมีความรอบรูอยูเสมอ ผูบริหารจึงตองสนับสนุนใหได เขาอบรมและเขา รวมกิจกรรมทางการลูกเสืออยา งตอเนอ่ื ง ครแู ละบุคลากรทางการลกู เสือไมได เรียนมาทางการลูกเสือโดยตรง จึงขาดทักษะในการจัดกิจกรรมลูกเสือ ดังน้ัน จึงควรจัดทํา หลักสูตรดานการลูกเสือโดยตรงสําหรับการศึกษาระดับปริญญา เพื่อผลิตบุคลากรที่มีความรู ความชํานาญดานการลูกเสือใหส ามารถพฒั นาการลกู เสือใหร กุ หนา ตอไป นอกจากนี้ ควรมีการ สง เสรมิ และสรา งขวัญและกาํ ลังใจใหก ับครูและบุคลากรทางการลูกเสอื เพอ่ื เปนแรงกระตนุ และ ผลักดันใหบ ุคคลปฏบิ ัตงิ านดวยความเต็มใจพรอมท่จี ะทํางานใหหนวยงานดวยการสงเสริมใหนํา ผลงานทางการลูกเสอื ขอเลื่อนวิทยฐานะ การสรางขวัญและกาํ ลงั ใจ โดยมีคาตอบแทนใหกับครู หรอื บุคลากรทางการลกู เสอื ท่ปี ฏิบัติงานนอกเวลาทาํ การ การนําชว่ั โมงการสอนกจิ กรรมลูกเสือ มาคิดภาระงานได การประกาศเกียรติคุณสําหรับผูปฏิบัติงานดานการลูกเสือดีเดน และการ สรา งคุณคา ใหกบั ผปู ฏบิ ตั งิ านดานการลกู เสอื ดา นการสรา งเครือขา ยการลูกเสือไทย การลกู เสือไทยเปน การทาํ งานในลักษณะมหภาคครอบคลุมลกู เสอื ครูและบุคลากร ทางการลูกเสือทั่วประเทศ จึงควรสรางเครือขายการลูกเสือใหเกิดข้ึนเพ่ือเปนการเช่ือมโยง กลุมบุคคลหรอื หนวยงานทร่ี ว มทาํ งานเพือ่ การลกู เสอื และมีเปาหมายเดียวกันในการพัฒนาเด็ก และเยาวชนใหเปนพลเมืองดี โดยเครือขายการลูกเสือควรประกอบดวย สํานักงานลูกเสือแหงชาติ เปนแกนหลกั สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน สถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการ

14 ลกู เสือ หนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนเพ่ือประสานความรวมมือ ใหการสนับสนุนในกิจการ ลกู เสอื และรว มจัดกจิ กรรมลูกเสือ การสรางเครือขายการลูกเสือในระดับนโยบายควรเปนการ กาํ หนดและแบง ภารกิจ อํานาจหนาท่ี วธิ ปี ฏิบตั ิ การจัดการรว มกันของภาคเี ครือขา ยตามขอตกลง ท่ีไดท ําไวรว มกนั สาํ หรับระดบั ปฏบิ ตั ิควรใชว ิธกี ารรว มกันเปนผูรับผิดชอบการจัดกิจกรรมลูกเสือ ในแตล ะโครงการ การรวมเปน คณะกรรมการในกจิ กรรมตาง ๆ ทางการลูกเสือ ทั้งนี้ตองอยูบน พ้ืนฐานความสมัครใจของสมาชิกในเครือขาย และในการทํากิจกรรมตองมีลักษณะเทาเทียม หรือแลกเปลย่ี นซงึ่ กันและกัน รวมทั้งตองไมกระทบกับตัวบุคคลหรือองคกรของสมาชิกเครือขาย ดวยการสรางเครือขายท่ีดีนั้น สมาชิกเครือขายตองมีความรูสึกผูกพันกัน มีการรับรูภารกิจ ในมุมมองเดียวกัน มีวิสัยทัศนหรือเปาหมายรวมกัน มีผลประโยชนที่ไดจากการรวมกิจกรรม เทาเทียมกนั (win - win) การมสี ว นรวมของสมาชิก มีการเสริมสรางความเขมแข็งและลดจุดออน ของกนั และกนั มกี ารเกือ้ หนุนพ่ึงพาและปฏิสัมพันธที่ดีตอกัน หากสรางเครือขายการลูกเสือไทย ข้ึนไดแลว จะทาํ ใหก ารพัฒนาการลูกเสือไทยกระทาํ ไดงายยิ่งขน้ึ ดวยการแลกเปล่ียนความรูหรือ ประสบการณจากกลมุ สมาชิก ลดความซา้ํ ซอ นในการทํางาน สรางความรวมมือและระบบการ ทํางานทเ่ี ออ้ื ประโยชนตอ กันในกลมุ สมาชกิ เครอื ขา ย ดา นปจ จัยเกอื้ หนุนตอการพัฒนาการลูกเสือไทย นับจากท่ีการลูกเสือกอกําเนิดมาเปนเวลากวาหนึ่งรอยปนั้นบุคคลในวงการ ลูกเสือตางรูถึงคุณคาของการลูกเสือที่สงเสริมความเปนพลเมืองดีทั้งเด็ก เยาวชน และผูใหญ แตมีคนอีกจํานวนมากท่ียังไมเห็นคุณคาของการลูกเสือ น่ันเพราะการลูกเสือยังขาดการ ประชาสัมพันธและการปฏิบัติอยางจริงจังท่ีแสดงใหเห็นถึงคุณความดีของบุคคลที่เกิดจาก กระบวนการการลูกเสอื จงึ เปน สิ่งจําเปนอยางยิ่งท่ีสํานักงานลูกเสือแหงชาติตองเขามามีบทบาท ในการสรา งคุณคาของการลกู เสือใหเ ปนท่ีประจักษกับสาธารณชน การท่ีประเทศไทยมีจํานวน ลกู เสือมากในลาํ ดบั ตน ๆ ของโลก ดังน้ัน จึงเปนเร่ืองทาทายสําหรับการจัดการขอมูลของการ ลูกเสือ ซ่ึงฐานขอมลู ถอื เปนสิง่ สาํ คัญในการบริหารจดั การ เพราะเปน สวนสนบั สนุนในการตดั สินใจ ของผบู รหิ ารและชวยการทํางานของผูปฏิบัติใหมีความรวดเร็ว ถูกตองและแมนยํา นอกจากนี้ บุคลากรถือเปนปจจัยหลักของการจัดการ โดยเฉพาะผูบริหารของสํานักงานลูกเสือแหงชาติ ซึ่งมีหนาที่ความรับผิดชอบโดยตรงตอการลูกเสือไทย ซ่ึงหลายคนมิไดมีหนาที่เฉพาะในการ ลูกเสอื เพยี งอยา งเดียว แตเ ปนผทู ี่มาโดยตําแหนงตามโครงสรางท่ีถูกกําหนดไวในพระราชบัญญัติ ลกู เสือ พ.ศ. 2551 ดงั น้ัน จึงเปนเร่ืองสําคัญท่ีผูบริหารกลุมนี้ตองศึกษาหาความรูเก่ียวกับการ ลูกเสือใหมาก ๆ โดยเฉพาะผูที่ดํารงตําแหนงเลขาธิการคณะกรรมการบริหารลูกเสือแหงชาติ ควรเปนผูมีหนาที่รับผิดชอบเฉพาะการลูกเสือและปฏิบัติงานเต็มเวลา เปนผูมีอุดมการณ ทางการลูกเสือและมีสมรรถนะทางการจดั การ กจิ กรรมทายเรื่องที่ 3 ลกู เสือกบั การพัฒนาความเปน พลเมืองดี (ใหผ เู รียนไปทาํ กิจกรรมทา ยเรอ่ื งที่ 3 ทสี่ มดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรยี นรูป ระกอบชุดวิชา)

15 เรอ่ื งท่ี 4 การสาํ รวจตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน และสังคม เพือ่ การพัฒนา การสาํ รวจตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคม เพื่อการพฒั นาของลูกเสือ กศน. ลูกเสือจะตองเรียนรูเก่ียวกับการรูจักตนเอง การรูจักครอบครัว ชุมชน และสังคม และการมี ความรบั ผดิ ชอบและชว ยสรา งสรรคสงั คมใหเกดิ ความสามัคคี ดงั น้ี 4.1 การรูจ กั ตนเอง การรูจ กั และเขา ใจตนเอง สามารถดาํ เนินการไดโดยการสํารวจตนเอง รับรู สภาพการดํารงชีวติ ที่เปน อยูในปจ จบุ นั วา อยใู นสภาวะใดหรอื กาํ ลงั เผชิญปญหาใดอยูบ าง 4.2 การรจู กั ครอบครัว ชุมชน และสงั คม เม่ือเรารูจักตนเองแลว หากเรารักใครเราก็ตองมีความรูเก่ียวกับผูนั้นดวย เชนกัน คนในครอบครัวก็ทํานองเดียวกัน ภรรยาและสามีตองรูจัก และเขาใจกันใหดี รูวาใคร ชอบไมชอบอะไร เหมอื นหรือตา งกนั ตรงไหน ชอบรับประทานอะไร รูจักนิสัยใจคอ ยิ่งครองรัก กนั นานเทา ใด ยงิ่ ตอ งรจู กั กนั มากขน้ึ ไมใ ชรจู กั กนั นอยลง และตองเขา ใจกันใหมากขึ้น ถาเรารัก ลกู กต็ องรูจ ักและมีความรูเกยี่ วกับลูกวาชอบไมช อบวิชาใด ถนัดอะไร ชอบอาชีพอะไร อุปนิสัย เปนอยางไร มีจุดเดน จุดดอยอะไรบาง โดยเราจะตอง “ปรับ” พ้ืนฐานเหลาน้ีใหเขากันใหได เพื่อชวยใหเราสามารถอยูดวยกันอยางมีความสุข การที่เรารูจักนิสัย รูจุดเดน จุดดอย ของ ครอบครัวมากเทา ใดก็จะยิง่ ชว ยใหเราสามารถดแู ลเขาไดด ีขึ้น นอกจากน้ีเรายังตองรูจักชุมชนของเราใหถองแทยิ่งข้ึน ตองศึกษาความเช่ือ ของชมุ ชนเพราะพน้ื ฐานการศึกษาประสบการณ ศาสนามีความแตกตางกัน ตองศึกษาผูนําชุมชน หรือผมู ชี ื่อเสียง ศึกษาบริบทพื้นฐานของชุมชน ไดแ ก ขนาดของชุมชน สถานท่ีต้ังทางภูมิศาสตร ประวัติศาสตร จํานวนประชากร ปญหาของชุมชนท้ังในอดีตและปจจุบัน การประกอบอาชีพ ของคนในชมุ ชน รวู า บทบาทภารกจิ ท่ีตอ งรับผิดชอบคืออะไร มีทักษะและประสบการณในการ ดําเนนิ งานดานใด มคี วามรูส กึ ชอบ และยอมรับความคิดเห็นของผอู นื่ ทั้งผูเห็นตางและผูเห็นดวย สามารถรบั รถู งึ ความรูสึกของผอู ่ืน ตลอดจนมีความรู และทักษะในการสื่อความหมายไดด ี คณุ สมบัตทิ ง้ั หมดนี้ ลว นมีความสาํ คัญมากในการอยูรวมกันของชุมชน เพราะ ความสมั พนั ธท ่ดี ใี นชุมชน จะชวยใหก ารทํางานของชมุ ชนเปน ไปอยา งมปี ระสิทธภิ าพ 4.3 การมีความรบั ผดิ ชอบและชวยสรา งสรรคสงั คมใหเ กิดความสามคั คี สมาชกิ ทกุ คนในสงั คมยอมตองมีบทบาทหนา ท่ตี ามสถานภาพของตน ซึ่งบทบาท และหนาที่ของสมาชิกแตละคนจะมีความแตกตางกันไป แตในหลักใหญและรายละเอียด จะเหมอื นกัน ถา สมาชิกทุกคนในสังคมไดปฏิบัติตามบทบาทหนาท่ีของตนอยางถูกตองก็จะได ชื่อวาเปน \"พลเมืองที่ดีของสังคมและประเทศชาติ\" และยังสงผลใหประเทศชาติพัฒนา อยา งยงั่ ยนื ดังนนั้ สมาชิกในสังคมทุกคน โดยเฉพาะเยาวชนท่ีถอื วา เปนอนาคตของชาติ จึงจําเปน อยางยงิ่ ทจ่ี ะตอ งเรยี นรแู ละปฏบิ ตั ติ ามบทบาทหนาที่ของตน เพ่ือชวยนําพาประเทศชาติใหพัฒนา สืบไป

16 การเปนสมาชิกท่ีดีของสังคมและประเทศชาตินั้นประชาชนทุกคนนับเปนพลัง อันสําคัญท่ีจะชวยกันเสริมสรางกิจกรรม ควรเปนผูท่ีมีคุณธรรม จริยธรรม กลาวคือจะตองมี ธรรมะในการดําเนินชีวติ และรว มแรงรว มใจ สามัคคแี ละเสยี สละเพื่อสว นรวม ไดแก 1) การเสียสละตอสวนรวม เปนคุณธรรมท่ีชวยในการพัฒนาประเทศชาติใหมี ความเจริญกาวหนา เพราะหากสมาชิกในสังคมเห็นแกประโยชนสวนรวม และยอมเสียสละ ประโยชนส ว นตน จะทําใหส ังคมพฒั นาไปอยางรวดเรว็ และมั่นคง 2) การมีระเบียบวินัยและความรับผิดชอบตอหนาที่ เปนคุณธรรมท่ีชวยใหคน ในสงั คมอยรู วมกันไดอยา งสงบสุข เพราะถาสมาชิกในสังคมยึดมั่นในระเบียบวินัย รูและเขาใจ สทิ ธิของตนเอง ไมละเมิดสิทธิผูอ่ืน และตั้งใจปฏิบัติหนาท่ีของตนใหดีท่ีสุด สังคมน้ันก็จะมีแต ความสุข เชน ขาราชการทําหนาที่บริการประชาชนอยางดีที่สุด ก็ยอมทําใหเปนที่ประทับใจ รกั ใครข องประชาชนผมู ารับบริการ 3) ความซื่อสตั ยสุจริต เปน คุณธรรมทมี่ คี วามสําคัญ เพราะหากสมาชิกในสังคม ยึดมั่นในความซื่อสัตยสุจริต เชน ไมลักทรัพย ไมเบียดเบียนทรัพยสินของผูอ่ืนหรือของ ประเทศชาติมาเปนของตน รวมทั้งผูนําประเทศมีความซื่อสัตยสุจริตก็จะทําใหสังคมมีแต ความเจรญิ ประชาชนมีแตค วามสุข 4) ความสามัคคี ความรักใครกลมเกลียวปรองดองและรวมมือกันทํางาน เพื่อ ประโยชนสวนรวมจะทําใหสังคมเปนสังคมท่ีเขมแข็ง แตหากคนในสังคมเกิดความแตกแยก ทง้ั ทางความคดิ และการปฏบิ ัติตนในการอยูรวมกนั จะทาํ ใหส งั คมออนแอและลมสลายในท่สี ดุ 5) ความละอายและเกรงกลัวในการทําช่ัว ถาสมาชิกในสังคมมีหิริโอตัปปะ มคี วามเกรงกลวั และละอายในการทาํ ชวั่ สังคมกจ็ ะอยกู ันอยางสงบสุข เชน นักการเมืองจะตอง มีความซ่ือสัตยสุจริตไมโกงกิน ไมเห็นแกประโยชนพวกพอง โดยตองเห็นแกประโยชนของ ประชาชนเปนสาํ คญั ประเทศชาตกิ จ็ ะสามารถพฒั นาไปไดอ ยา งมน่ั คง ดงั น้ัน การสํารวจตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคม เพ่ือการพัฒนา จําเปนตอง มองใหครอบคลุมประเด็นของการพัฒนา และตรงตามความจําเปนท่ีควรไดรับการพัฒนา เพ่ือใหเกิดทักษะการดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีความสุข ไมวาจะเปนการพัฒนาตนเอง การพฒั นาสัมพันธภาพระหวางบุคคล หรอื การพฒั นาสมั พนั ธภาพภายในชุมชนและสังคม ซึ่งการ สํารวจเพอ่ื การพฒั นา จึงสามารถทําไดทั้งการสํารวจดวยวิธีมองตนเอง และใหบุคคลอื่นชวยมอง ตัวเรา จากน้ันจึงนาํ ขอ มูลท่ีไดม าคดิ วิเคราะห จัดลาํ ดบั ความเปนไปไดวามีเร่ืองใดที่จะสามารถ พฒั นาไดด ว ยปจ จยั ใด

17 ตัวอยางแบบสาํ รวจ เพอ่ื การพัฒนา ลูกเสอื กศน. หัวขอการสํารวจ ขอ ดี ขอ ควรพฒั นา วิธกี ารพฒั นา ปจ จัย สนับสนุน 1. การพัฒนาตนเอง 1.1 การพัฒนาทางกาย 1.2 การพฒั นาทาง สติปญญา 1.3 การพฒั นาทาง จิตใจ 1.4 การพฒั นาทาง สังคม 2. การพัฒนา สัมพนั ธภาพ ระหวางบคุ คล 3. การพฒั นา สมั พนั ธภาพภายใน ชุมชนและสังคม กจิ กรรมทา ยเรอื่ งที่ 4 การสาํ รวจตนเอง ครอบครวั ชมุ ชนและสงั คม เพอื่ การพฒั นา (ใหผูเรียนไปทาํ กิจกรรมทายเรือ่ งที่ 4 ท่สี มดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วชิ า)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook