Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-book Car

E-book Car

Published by Anon Yakam, 2019-06-10 02:23:08

Description: E-book การบำรุงรักษารถยนต์

Search

Read the Text Version

คูม่ ือ การบารุงรกั ษารถยนต์ ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือการศึกษาสระแกว้ สานักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบ และ การศึกษาตามอธั ยาศยั

คำนำ เพ่ือยดื อายุการใชง้ านของรถยนต์จาเป็นอยา่ งยิง่ ทีผ่ ใู้ ช้รถจะต้องใหก้ ารดแู ลและบารุงรักษา รถยนตเ์ พ่ือให้รถยนต์มอี ายกุ ารใช้งานท่ยี าวนานทสี่ ุด ไม่เสือ่ มสภาพการใช้งานเร็วเกนิ ไป ดังนน้ั ผ้ใู ชร้ ถควร ตรวจสอบหม่ันดแู ลรถอยู่เป็นระยะๆ เพอ่ื ไมใ่ ห้รถยนต์เกิดปญั หาท่ยี าก จะแก้ไขได้ นายอนนท์ ยาคา พนักงานขบั รถยนต์

สารบัญ 1 1 สาระการเรยี นรู้ 1 สมรรถนะย่อย 1 จดุ ประสงค์การปฏิบัติ 2 - 13 ความหมายของการบารงุ รักษารถยนต์ 14 – 18 การบารงุ รักษาดว้ ยตนเอง การบารงุ รกั ษาตามกาหนดเวลาหรอื ระยะทาง

การบารุงรักษารถยนต์ สาระการเรยี นรู้ 1. ความหมายของการบารุงรักษารถยนต์ 2. การบารงุ รกั ษาด้วยตนเอง 3. การบารุงรกั ษาตามกาหนดเวลาหรือระยะทาง สมรรถนะย่อย 1. แสดงความรู้เกีย่ วกบั หลักการบารงุ รกั ษารถยนต์ 2. ตรวจสอบส่วนต่าง ๆ ของรถยนต์เพ่ือการบารงุ รักษาตามขนั้ ตอน จุดประสงค์การปฏิบตั ิ 1. อธบิ ายความหมายของการบารุงรกั ษารถยนต์ 2. อธบิ ายวธิ กี ารตรวจสอบส่วนตา่ ง ๆ ของรถยนต์ 3. อธบิ ายการใชต้ ารางบารุงรักษาตามกาหนดเวลาหรือระยะทาง 4. ตรวจสอบสว่ นต่าง ๆ ของรถยนต์เพื่อการบารงุ รักษาตามขั้นตอน 5. มีกิจนิสัยที่ดใี นการทางาน มคี วามรบั ผิดชอบ ประณีต รอบคอบ สะอาด ตรงตอ่ เวลา และรกั ษาสภาพแวดลอ้ ม ความหมายของการบารุงรกั ษารถยนต์ การบารุงรกั ษารถยนต์ หมายถึง การตรวจสอบ ดูแล การปรบั แตง่ และเปลี่ยนชนิ้ สว่ น หรือวัสดุท่เี สอ่ื มสภาพ เช่น น้ามนั เครอ่ื ง น้ามันเบรก น้ามนั คลตั ช์ นา้ ยาหมอ้ น้า เป็นตน้ ตาม ระยะเวลาหรือระยะทางท่กี าหนด ทงั้ นี้เพ่ือให้รถยนตม์ ีอายุการใช้งานท่ียาวนานที่สุด การบารงุ รักษาดว้ ยตนเอง การบารุงรักษาด้วยตนเองเป็นการบารงุ รักษารถยนตก์ ่อนการใช้งานท้ังน้กี ็เพื่อปอ้ งกนั ไม่ให้เกดิ ความเสียหายข้ึนในระหวา่ งการเดินทาง ซง่ึ ผ้ใู ช้รถยนต์สามารถที่จะปฏิบตั ไิ ด้ด้วยตนเอง โดยอาจจะตรวจบารงุ รักษาทุกวันหรือสปั ดาหล์ ะหนึง่ ครง้ั เป็นอย่างนอ้ ยโดยมีการตรวจสอบในส่ิง ต่าง ๆ ดงั น้ี คอื 1 ศูนยว์ ิทยาศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษาสระแก้ว

ยางรถยนต์ การตรวจสอบยางรถยนตจ์ ะตรวจสอบ 2 ประการ ๆ ที่หน่งึ คอื การตรวจสอบ สภาพของยางโดยใช้สายตาตรวจสอบการบวมและการสึกหรอท่ีผดิ ปกตขิ องดอกยาง ตรวจสอบ รอยแตก ปริ หรอื รอยฉีกขาดทบ่ี ริเวณแกม้ ยาง ถ้ามีลกั ษณะดงั กล่าวให้เปล่ยี นยางใหมท่ ันท่ี การตรวจสอบสภาพของยาง ประการทส่ี องคือการตรวจสอบความดันของลมยางทกุ เส้นรวมทั้งยางอะไหล่ ในขณะท่ีรถยังไมไ่ ด้ใช้งาน (ยางยงั เย็นอยู่) ซ่ึงการตรวจสอบกระทาไดโ้ ดยการใชเ้ กจวัดความดัน ลมยางตอ่ เขา้ กบั หวั เตมิ ลมแล้วอ่านค่าความดนั หากต่ากว่าค่ามาตรฐานก็จะต้องเติมให้อยูใ่ นระดับ ความดนั ทีถ่ กู ต้องในทุก ๆ เส้น เพราะถา้ ความดันของลมยางแตล่ ะล้อไม่เท่ากนั กจ็ ะมีผลตอ่ การทรง ตัวของรถ ซ่ึงอาจจะเกิดอบุ ัตเิ หตุขึ้นไดใ้ นขณะขับขี่ คา่ ความดนั ของลมยางของรถเกง๋ เฉล่ยี จะอยู่ท่ี ประมาณ 28 – 30 PSI (ปอนดต์ ่อตารางนว้ิ ) ส่วนรถกระบะจะอยู่ทป่ี ระมาณ 30 – 35 PSI (ปอนด์ต่อตารางนิ้ว) ทงั้ น้คี วรดูทค่ี ่มู ือของรถยนต์แตล่ ะรุ่นหรือยีห้อเป็นสาคัญ การตรวจสอบความดันลมยาง 2 ศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพอื่ การศกึ ษาสระแกว้

นามนั เครื่อง การตรวจสอบนา้ มนั เครื่องกระทาได้โดยจอดรถบนพืน้ ราบทไี่ ดร้ ะดับ หลงั จาก นนั้ ติดเครอ่ื งยนตใ์ หถ้ งึ อณุ หภมู ทิ างานแลว้ ดับเคร่ืองและรอประมาณ 3 นาทกี อ่ นทจ่ี ะตรวจวัดระดับ ของนา้ มนั เครื่อง ตามข้ันตอนดงั นี้ - ใช้ผ้าหรือกระดาษชาระท่ีสะอาดเชด็ บริเวณรอบ ๆ กา้ นวดั ระดบั น้ามันเคร่ือง - ใช้มอื ดงึ ปลายก้านวัดนา้ มันเครื่องออก - ใช้ผ้าหรือกระดาษชาระที่สะอาดเช็ดกา้ นวดั ระดบั น้ามันเครอื่ งบรเิ วณดา้ น ปลายท่มี ีรอยคราบของน้ามนั เครื่องเกาะอยู่ - เสียบก้านวัดระดับน้ามันเคร่อื งกลบั ไปท่เี ดิมโดยดันให้สดุ - ดงึ ปลายกา้ นวัดระดับน้ามันเครื่องออกมาอกี ครงั้ เพื่อตรวจสอบระดับ นา้ มันเคร่ืองซ่งึ ระดับน้ามนั เคร่ืองจะต้องอยรู่ ะหว่างจุดสงู สุดหรอื จุดตา่ สดุ แต่ในรถยนต์บางยีรนุ่ หรือยหี ้อ จะต้องอย่รู ะหว่างกลางขีดท่มี ีอกั ษร L (Low) และ F (Full) ถ้าระดบั ของน้ามนั เคร่อื งอยู่ใกลก้ ับจดุ ตา่ สุดหรอื ตา่ กวา่ จุด ต่าสดุ ให้เตมิ น้ามนั เครื่องให้ถงึ ระดับจุดสูงสดุ หรือถึงระดับตัว F ไมค่ วรเติม เกินจุดสูงสุดหรอื ตัว F เพราะจะมผี ลเสยี ต่อเครื่องยนต์ได้ การตรวจสอบระดบั ของน้ามันเครื่อง 3 ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพื่อการศกึ ษาสระแก้ว

นามนั เบรก การตรวจสอบน้ามนั เบรกน้นั กระทาได้โดยการใชส้ ายตาดูระดับของน้ามนั เบรก ในกระปกุ น้ามนั เบรกทีบ่ ริเวณแมป่ ๊ัมเบรก ระดบั ของนา้ มันเบรกควรอยรู่ ะหว่างเคร่ืองหมายขดี ตา่ สุดและขีดสูงสดุ บนดา้ นข้างของกระปุกนา้ มนั หรือรถยนตบ์ างรนุ่ หรือบางยหี อ้ จะต้องอยู่ ระหว่าง คาว่า MAX และ MIN ถา้ ระดบั น้ามนั อย่ใู กลข้ ดี ต่าสุดหรือตา่ กวา่ ขีดต่าสดุ ก็ใหเ้ ติมให้ได้ ระดับขีดสูงสุด ซึง่ ระดบั ของน้ามันเบรกจะลดลงเลก็ น้อยเน่อื งจากการสึกหรอของผา้ เบรก แตถ่ ้า ระดับของน้ามันเบรกลดลงมาก ๆ ทุกวันจะตอ้ งมีการตรวจสอบการรวั่ ของระบบเบรกแลว้ ทาการ แก้ไข เพ่อื ความปลอดภยั ในการใชร้ ถ การตรวจสอบระดับของน้ามันเบรก โดยก่อนเติมให้เช็ดทาความสะอาดบริเวณฝาเปิดและรอบ ๆ ใหส้ ะอาดก่อนเพ่ือ ป้องกันฝนุ่ ละลอง หรือเศษขยะหล่นลงในกระปกุ น้ามนั และต้องระมดั ระวงั อยา่ ให้น้ามนั เบรกถกู สี รถเปน็ อันขาดเพราะจะทาให้สีรถเกดิ ความเสยี หายได้ และหากถกู สหี รอื สว่ นใดสว่ นหนง่ึ ของรถให้ ลา้ งออกด้วยน้าสะอาดทันทีหา้ มเชด็ ถูเด็ดขาด 4 ศนู ย์วิทยาศาสตรเ์ พ่อื การศึกษาสระแก้ว

นามันคลตั ช์ การตรวจสอบนา้ มันคลัตช์น้ันจะใช้วิธีการตรวจสอบเหมือนกับน้ามนั เบรกโดย การใช้สายตาดูระดับของนา้ มนั คลัตชใ์ นกระปุกนา้ มนั คลัตชท์ ี่บรเิ วณแม่ป๊ัมคลัตช์ใกล้ ๆ กบั แมป่ ๊ัม เบรก ระดับของนา้ มันคลัตช์จะตอ้ งอยรู่ ะหวา่ งเคร่ืองหมายขดี ต่าสดุ และขดี สูงสุดบนด้านขา้ งของ กระปกุ น้ามนั หรือรถยนตบ์ างรุน่ หรอื บางยีห้อจะต้องอยู่ระหวา่ ง คาว่า MAX และ MIN ถ้าระดับ น้ามันอยใู่ กลข้ ดี ตา่ สุดหรือตา่ กวา่ ขีดตา่ สดุ ก็ให้เติมใหไ้ ด้ระดบั ขีดสงู สดุ ซ่ึงน้ามันคลตั ช์กจ็ ะเป็น ชนดิ เดียวกบั กับน้ามันเบรก การตรวจสอบระดับของน้ามันคลตั ช์ แบตเตอรี่ แบตเตอรี่รถยนต์จะมีการตรวจสอบอยู่ 2 ส่วนดว้ ยกนั คือ 1.2.5.1 การตรวจสภาพภายนอก โดยการตรวจสอบบริเวณข้วั แบตเตอรี่จะตอ้ ง ไมม่ ีการผกุ ร่อน หลวม หรอื ความสกปรก และแคล้มปย์ ึดจะต้องแนน่ ไม่หลดุ หลวม หากพบตอ้ ง ดาเนนิ การแกไ้ ขให้เรยี บร้อย การตรวจสอบสภาพภายนอกของแบตเตอร่ี 5 ศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือการศกึ ษาสระแก้ว

การตรวจเชค็ ระดบั นา้ ยา โดยใชส้ ายตาในการตรวจสอบระดบั ของน้ายาใน แบตเตอรี่ต้องอยู่ระหว่างเสน้ UPPER LEVEL กับ เส้น LOWER LEVEL ที่เขยี นติดอยู่บรเิ วณ ด้านข้างของหม้อแบตเตอร่ี การตรวจสอบระดบั ของน้ายา ในแบตเตอรโ่ี ดยดบู ริเวณด้านขา้ ง ถา้ ในกรณที ่ีไม่สามารถมองเหน็ ระดบั น้ายาดา้ นขา้ งได้ให้เปดิ ฝาจุกเซลล์ออก แล้วดรู ะดับของน้ายาในช่องซง่ึ ระดบั ของน้ายาจะตอ้ งทว่ มแผน่ ธาตุเสมอกบั ขอบดา้ นล่างของช่อง เตมิ พอดี การเปิดฝาจุกเซล์ลออก 6 ศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษาสระแกว้

ถ้าระดบั ของนา้ ยาอยู่ตา่ กว่าระดบั จะต้องเติมน้ากลนั่ ให้อยู่ในระดับและไม่ควร เติมเกนิ ท้ังนเี้ พราะน้ายาจะเป็นกรดซลั ฟุริคเจือจางทาใหป้ ระสิทธิภาพการทางานของแบตเตอร่ี ลดลง อกี ทัง้ น้ายามโี อกาสท่ีกระเดน็ ออกทางรรู ะบายไปกัดกร่อนชน้ิ ส่วนต่าง ๆ ของเครอ่ื งยนต์ได้ ระดบั ต่า ระดบั ปกติ ระดบั น่ายาตา่ กวา่ ระดับนา่ ยาทีพอดี ปกติ ระดบั ของน้ายาในแบตเตอร่ีโดยดูผ่านทางชอ่ งเตมิ ระบบนาฉีดกระจก การตรวจสอบระบบนา้ ฉดี กระจกจะมีการตรวจสอบ 4 ส่วนด้วยกนั ดังน้ี คือ - ระดับน้าในถังเกบ็ น้าฉดี กระจก ตรวจสอบโดยใชส้ ายตาดูวา่ ระดับนา้ ยังเตม็ ถงั อย่หู รือไม่ ถา้ ลดน้อยลงก็เติมใหเ้ ต็ม การตรวจสอบระดับน้าของถังเก็บนา้ ฉีดกระจก 7 ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพือ่ การศกึ ษาสระแก้ว

- สายยางฉดี นา้ โดยการตรวจสอบการฉีกขาด และการหลดุ หลวม หากตรวจพบ ให้ทาการแกไ้ ข โดยการเปล่ียนหรือสวมอัดใหแ้ น่น - หัวฉีดนา้ โดยตรวจสอบการอุดตนั ของรูฉดี นา้ โดยเปิดสวิตชฉ์ ีดน้าลา้ งกระจก ดหู ากพบปรมิ าณและความแรงของนา้ ทพี่ ่งุ ออกลดลงแสดงว่ารูฉดี นา้ ของหัวฉีดเกิดการอดุ ตัน ทา การแกไ้ ขโดยการใช้ลวดเลก็ ๆ สอดเขา้ ไปในรกู จ็ ะสามารถเอาเศษตะกอนทปี่ ดิ รอู ยอู่ อกได้ - มอเตอรป์ ๊มั นา้ โดยเปิดสวิตช์ฉีดน้าล้างกระจกดหู ากพบว่าไม่มีนา้ ฉดี ออกที่ หัวฉดี น้าอาจจะเปน็ ไปไดท้ ่ีมอเตอรป์ ๊ัมนา้ ฉีดกระจกเกดิ การชารุดได้ ซ่งึ การชารุดของมอเตอร์ป๊ัม น้าอาจจะมาจากสว่ นประกอบหมดอายกุ ารใชง้ าน หรือการใชง้ านทีผ่ ดิ กล่าวคือ ใหม้ อเตอรท์ างาน ในขณะที่น้าในถงั เกบ็ ไมม่ ี แตผ่ ู้ใช้ยงั ใช้ จงึ ทาให้มอเตอร์รอ้ นจดั และเสียในที่สดุ ดังนั้นหากน้าใน ถังเกบ็ นา้ แห้งอยา่ เปิดสวติ ช์ฉีดน้าเด็ดขาด นาในถงั พักนาสารอง ถงั พกั น้าสารองจะหนา้ ทใ่ี นการเก็บนา้ ทไ่ี หลออกจากหม้อน้าใหญ่ในขณะที่นา้ เกิดการขยายตัวดันออกมาเม่ือไดร้ ับความร้อนจากการทางานของเคร่ืองยนต์ โดยจะมีทอ่ ต่อไปยัง หม้อน้า เมือ่ ดับเคร่อื งยนตห์ รือเครื่องยนตม์ ีอุณหภมู ติ ่าลง น้าในระบบระบายความรอ้ นจะหดตวั ทาให้เกิดสญุ ญากาศ ขนึ้ ในหม้อน้า ทาใหด้ ดู น้าจากถงั น้าสารอง ไหลกลับเข้ามาในหม้อนา้ ใหญ่ สง่ ผลนา้ ในหมอ้ น้าเต็มอยู่ตลอดเวลา ดงั นนั้ จะต้องตรวจดูระดบั ของน้าในถังพักน้าสารองใหอ้ ยใู่ น จะตอ้ งอยูร่ ะหวา่ งขีดตา่ สดุ และขดี สงู สุด หรอื รถยนตบ์ างรุ่นหรือบางยหี ้อจะต้องอยูร่ ะหว่าง คาวา่ MAX และ MIN ถ้าระดับนา้ อยูใ่ กล้ขีดตา่ สดุ หรือตา่ กว่าขีดตา่ สดุ ก็ให้เติมใหไ้ ดร้ ะดบั ขีดสูงสุด การตรวจสอบระดับน้าของถังน้าสา้ รอง 8 ศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พือ่ การศกึ ษาสระแก้ว

นาในหมอ้ นา ระดบั นา้ หล่อเยน็ ในหม้อนา้ ของรถยนต์จะต้องมีอยเู่ ตม็ เสมอ ซงึ่ การตรวจสอบ ทาได้โดยการเปิดฝาหม้อนา้ ออกแลว้ ใชส้ ายตามองดรู ะดับนา้ แต่ในขณะท่ปี ฏบิ ตั ินัน้ ต้องทาใน ขณะที่ดับเครื่องยนต์และเคร่ืองยนตย์ งั เย็นอยู่ หา้ มเปิดฝาหม้อน้าในขณะท่เี คร่ืองยนต์รอ้ นจัดเพราะ จะเกดิ อนั ตรายจากน้าที่ร้อนจดั ได้หากตรวจสอบพบว่าระดบั นา้ ไมเ่ ต็มจะต้องเติมให้เต็มแล้วจงึ ปิด ฝาหม้อน้า การตรวจสอบระดบั น้าในหมอ้ นา้ สายพาน การตรวจสอบสายพานของรถยนตน์ ั้นจะตรวจสอบ 2 อยา่ ง คอื การตรวจสอบ การชารดุ ของสายพาน โดยการสงั เกตรอยแตกร้าว หรือรอยฉีกขาดของสายพาน หากมกี ารตรวจพบ การแตกร้าว หรอื ฉีกขาดใหเ้ ปลีย่ นสายพานใหม่ทันที การตรวจสอบสายพาน สายพาน ฉกี ขาด ศูนย์วิทยาศาสตร์เพอ่ื การศกึ ษาสระแก้ว 9

และอีกอยา่ งหนงึ่ คือการตรวจสอบความตงึ ของสายพานโดยการใชน้ ว้ิ หัวแมม่ ือ กดลงบนบริเวณตรงกลางของสายพานระหว่างมู่เล่ท้งั สองข้างเพ่อื ดคู วามตงึ (ระยะหย่อน) ซึ่งจะ หยอ่ นลงไปได้เลก็ นอ้ ยไมเ่ กิน 10 มม. หรือประมาณ 1/2 น้วิ หากมีระยะหย่อนมากกว่าน้จี ะตอ้ งมี การปรบั ตงั้ ความตงึ ของสายพานใหมใ่ ห้ไดร้ ะยะที่กาหนด การตรวจสอบความตึงของสายพาน ระบบไฟแสงสว่าง สาหรบั การตรวจสอบระบบไฟแสงสว่างนนั้ จะประกอบไปด้วยไฟหนา้ ไฟหร่ี ไฟทา้ ย ไฟตดั หมอก (กรณที ี่มี) การตรวจสอบทาได้โดยการเปิดสวิตชไ์ ฟในแตล่ ะตาแหน่งแล้วใช้ สายตามองดูว่าหลอดไฟตดิ ทุกดวงหรือไม่ หากมีหลอดหน่งึ หลอดใดไม่ตดิ ใหท้ าการตรวจสอบว่า เกดิ จากสาเหตุใด เช่น หลอดขาด หรือขัว้ สายไฟหลวม แลว้ ทาการแกไ้ ขให้เรยี บร้อยพร้อมทจ่ี ะใช้ งานตอ่ ไป การตรวจสอบระบบไฟแสงสวา่ ง 10 ศนู ย์วิทยาศาสตรเ์ พ่ือการศึกษาสระแก้ว

ระบบสัญญาณ การตรวจสอบระบบสัญญาณกม็ ีวธิ ีการท่เี หมอื นกับการตรวจสอบระบบไฟ แสงสวา่ ง กลา่ วคือ เปดิ สวติ ชข์ องระบบสัญญาณต่าง ๆ แลว้ สังเกตว่ามีการทางานหรือมีแสงสว่าง เกิดข้ึนหรือไม่ เช่น เมื่อเปิดสวติ ชไ์ ฟเลย้ี วซ้ายหลอดไฟเลี้ยวด้านซา้ ยทกุ ๆ จดุ จะต้องติดและมกี าร กระพรบิ เมื่อกดสวติ ชแ์ ตรก็ต้องมีเสียงแตรดัง เป็นตน้ ซึง่ ระบบสญั ญาณจะประกอบด้วย ไฟเลยี้ ว และไฟฉกุ เฉนิ ไฟเบรก แตร เป็นต้น ดงั น้ันการตรวจสอบจะตอ้ งครอบคลุมในทุก ๆ เรื่องของ ระบบสัญญาณรถยนต์ หากพบข้อขัดข้องต้องดาเนนิ การแกไ้ ขใหเ้ รยี บร้อย การตรวจสอบระบบสญั ญาณ นามนั พวงมาลยั เพาเวอร์ การตรวจสอบระดบั ของนา้ มันพวงมาลยั เพาเวอร์ใหด้ ทู ก่ี ระปุกนา้ มันเพาเวอร์ ซึ่งเปน็ กระปกุ พลาสติกใสทก่ี ระปกุ จะเขียนคาว่า HOT MAX /HOT MIN และ COLD MAX /COLD MIN อย่คู นละด้าน ระดับของน้ามนั พวงมาลัยเพาเวอรค์ วรท่ีจะอยใู่ นระดับ MAX เสมอ ถา้ ตรวจสอบในขณะทเ่ี คร่ืองยนตเ์ ย็นใหด้ ูดา้ น COLD และถ้าตรวจในขณะท่ีเครื่องยนต์รอ้ นให้ดูด้าน HOT ถา้ ระดบั ของนา้ มันอยู่ต่าใหเ้ ติมนา้ มนั ใหไ้ ด้ระดับพอดี การตรวจสอบระบบน้ามันพวงมาลัยเพาเวอร 11 ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์เพ่ือการศกึ ษาสระแก้ว

นามนั เกยี ร์อัตโนมตั ิ การตรวจสอบระดบั ของนา้ มันเกยี รอ์ ัตโนมตั กิ ระทาได้โดยจอดรถบนพนื้ ราบที่ ได้ระดับ หลังจากน้ันติดเคร่ืองยนตใ์ หถ้ งึ อุณหภมู ิทางาน (อณุ หภมู อิ ยทู่ ี่ 70 – 80 องศาเซลเซียส) แลว้ ดับเคร่อื งยนต์ท้ิงไว้ประมาณ 1 นาที หลังจากนัน้ ตรวจวัดระดับของน้ามนั ตามขั้นตอนดังน้ี - ใชผ้ ้าหรือกระดาษชาระที่สะอาดเชด็ บรเิ วณรอบ ๆ กา้ นวัดระดบั น้ามัน - ใช้มือดงึ ปลายก้านวดั น้ามันออก - ใชผ้ ้าหรือกระดาษชาระทสี่ ะอาดเช็ดกา้ นวดั ระดับน้ามันบรเิ วณด้านปลายที่มี รอยคราบของน้ามนั เกาะอยู่ - เสยี บกา้ นวดั ระดบั นา้ มนั กลบั ไปทเี่ ดมิ โดยดันใหส้ ดุ - ดงึ ปลายก้านวดั ระดบั น้ามันออกมาอีกครง้ั เพือ่ ตรวจสอบระดับนา้ มนั ซึ่งระดับ น้ามนั จะต้องอยู่ระหว่างขีดสูงสดุ หรอื ขีดต่าสดุ ถ้าระดับของนา้ มันอยู่ใกล้กบั ขีดตา่ สดุ หรือตา่ กว่า ขีดตา่ สดุ ใหเ้ ติมน้ามันใหถ้ งึ ระดับขีดสูงสุด การตรวจสอบระบบน้ามนั เกยี ร์อตั โนมัติ การตรวจสอบรอยหยดรว่ั ของ ๆ เหลวบรเิ วณใต้ท้องรถ คาวา่ ของเหลวทก่ี ล่าวถงึ น้ี กค็ อื นา้ มนั เบรก นา้ มันคลัตช์ นา้ มนั เคร่อื ง หรือนา้ ในระบบระบายความร้อน เป็นต้น ซ่งึ การตรวจสอบรอยหยดรวั่ ของ ๆ เหลวบริเวณใต้ทอ้ งรถยนต์ สามารถทาได้โดยใชส้ ายตา แลว้ ก้มมองดบู ริเวณใตท้ อ้ งรถ ถ้าพบว่ามีรอยหยดของ ๆ เหลวบนพ้นื ก็ จะตอ้ งมีการตรวจสอบวา่ มาจากส่วนใด เช่น บริเวณล้อ ก็อาจจะคาดเดาได้วา่ นา่ จะมกี ารรวั่ ของ นา้ มนั เบรก และตอ้ งรีบดาเนินการแกไ้ ขทันที 12 ศูนยว์ ิทยาศาสตรเ์ พือ่ การศกึ ษาสระแก้ว

การตรวจสอบบริเวณใตท้ อ้ งรถ การตรวจสภาพภายในห้องเครื่อง ใชส้ ายตาตรวจดบู ริเวณรอบ ๆ ภายในหอ้ งของเคร่ืองยนต์ โดยสังเกตดคู วาม เรยี บร้อยของสภาพชิ้นสว่ น และอปุ กรณ์ตา่ ง ๆ วา่ มีอะไรผิดปกตหิ รอื ไม่ เช่น ตรวจดูสายพาน ท่อ น้า คราบการร่วั ซึมของนา้ มันเครื่อง สายไฟตา่ ง ๆ เปน็ ต้น การตรวจสภาพภายในห้องเคร่ืองยนต์ 13 ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาสระแก้ว

การบารุงรักษาตามกาหนดเวลาหรอื ระยะทาง ในการบารุงรกั ษารถยนต์นัน้ เม่ือถึงตามกาหนดเวลาหรือระยะทาง โดยท่อี ย่างใดอย่าง หน่ึงอาจจะถึงกอ่ นจะต้องมกี ารตรวจสอบหรือเปลี่ยนในส่ิงตา่ ง ๆ ไมว่ า่ จะเปน็ ชิน้ ส่วน หรอื วสั ดุ เช่น น้ามนั เครื่อง น้ามันเบรก เป็นต้น ทง้ั น้ีเพ่ือยดื อายุการใชง้ านของรถยนต์ โดยจะต้องพจิ ารณา จากตารางการบารงุ รักษาท่มี กี ารแนะนาตามคมู่ ือของรถยนต์ดังตัวอยา่ งดงั นี้ ตารางท่ี 1.1 ตารางการบารุงรกั ษารถยนต์ กาหนดการ มาตรวัดระยะทาง ตรวจเช็ค คา่ จากมาตรวัด ระยะทางหรอื เดอื น แลว้ แต่ ×1000 กม. 10 20 30 40 50 60 70 80 เดือน อย่างใด - 48 อย่างหนงึ่ 24 จะมาถึงก่อน 12 12 ชนิ ส่วนพืนฐานเครอื่ งยนต์ - 12 1 สายพานไทม์มิ่ง เปลี่ยนทกุ ๆ 150,000 กม. 2 ระยะห่างวาล์ว II สายพานเครอื่ งยนต์ 3 เครื่องยนต์เบนซิน IIII เครื่องยนตด์ ีเซล ตรวจสอบท่ี 100,000 กม. แรก หรอื 72 เดือน, หลังจาก 100,000 กม. ให้ตรวจสอบทุก ๆ 20,000 กม. หรือ 12 เดอื น 4 น้ามนั เคร่อื ง RRRRRRRR 5 กรองนา้ มันเครอื่ ง R R R R R R R R 6 น้าหลอ่ เยน็ เคร่ืองยนต์ (ดูหมายเหตุ 2) II 7 ทอ่ ไอเสยี และขายดึ IIII 14 ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์เพอื่ การศกึ ษาสระแก้ว

กาหนดการ มาตรวัดระยะทาง ตรวจเช็ค ค่าจากมาตรวัด ระยะทางหรอื เดอื น แลว้ แต่ ×1000 กม. 10 20 30 40 50 60 70 80 เดอื น อะไรจะมาถึง 48 12 กอ่ น 96 ระบบจุดระเบิด 12 8 หัวเทยี น RR I : 24 R : 48 (เครื่องยนต์เบนซิน) I :6 R : 36 9 แบตเตอรี่ IIIIIIII 72 ระบบควบคุมมลภาวะและระบบนามันเชือเพลงิ 48 10 กรองน้ามันเชื้อเพลงิ (เคร่ืองยนต์เบนซนิ ) R (ดหู มายเหตุ 3) 11 หมอ้ ดักนา้ IIIIIIII (เครื่องยนต์ดเี ซล) ไส้กรองอากาศ 12 เคร่ืองยนต์เบนซนิ IRIR เคร่ืองยนต์ดีเซล ตรวจสอบทกุ ๆ 5,000 กม. เปลยี่ นทุก ๆ 30,000 กม. 13 มาตรวัดปริมาณ อากาศ (เครอื่ งยนต์ ใชล้ มเป่าท่เี ซ็นเซอร์เป็นระยะ ๆ เป็นเวลาประมาณ 30 ดเี ซลทีผ่ า่ นมาตรฐาน วินาที ทุก ๆ 60,000 กม. EURO IV) (ดูหมายเหตุ 4) 14 ควันไอเสีย II (เคร่ืองยนต์ดีเซล) 15 ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพอ่ื การศึกษาสระแก้ว

กาหนดการ มาตรวัดระยะทาง ตรวจเชค็ ค่าจากมาตรวัด ระยะทางหรือ เดอื น แล้วแต่ ×1000 กม. 10 20 30 40 50 60 70 80 เดือน อะไรจะมาถึง กอ่ น ระบบควบคุมมลภาวะและระบบนามันเชือเพลงิ (ต่อ) 15 ฝาปิดถงั นา้ มัน เชอ้ื เพลงิ , ทอ่ ทางเดิน น้ามนั เช้ือเพลิง, ข้อตอ่ ตา่ ง ๆ และวาล์ว I I 24 ควบคุมไอระเหย นา้ มนั เชื้อเพลงิ (กรณที ี่ม)ี (ดูหมายเหตุ 1) 16 หม้อดักไอน้ามนั I I 24 (เคร่ืองยนต์เบนซิน) ชว่ งลา่ งและตัวถงั 17 แป้นเบรกและเบรกมือ I I I I I I I I 6 18 ดรัมเบรกและผ้าเบรก I I I I 12 19 ผ้าเบรกและ IIIIIIII 6 จานดิสก์เบรก 20 น้ามันเบรก I I I R I I I R I :6 R : 24 21 น้ามันคลัตช์ IIIIIIII 6 22 ท่อทางและทอ่ ยาง I I I I 12 น้ามันเบรก 16 ศูนย์วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษาสระแก้ว

กาหนดการ มาตรวัดระยะทาง ตรวจเช็ค ค่าจากมาตรวัด ระยะทางหรอื เดือน แลว้ แต่ ×1000 กม. 10 20 30 40 50 60 70 80 เดือน อะไรจะมาถึง กอ่ น ช่วงล่างและตัวถงั (ตอ่ ) ป๊มั สญุ ญากาศของ 23 หมอ้ ลมเบรก ตรวจสอบทกุ ๆ 200,000 กม. - (เคร่ืองยนต์ดีเซล) (ดหู มายเหตุ 5) 24 นา้ มนั พวงมาลัย IIIIIIII 6 เพาเวอร์ 25 พวงมาลัย กา้ นตอ่ I I I I 12 บังคับเลยี้ วและกระปุก เฟืองพวงมาลัย 26 จาระบีเพลากลาง และ ความแนน่ หนาของนตั L L L L L L L L 6 และโบลท)์ (ดหู มายเหตุ 6) 27 ยางหมุ้ เพลาขับ I I I I 24 (รนุ่ ขับเคลอื่ น 4 ล้อ) 28 ลกู หมากและ IIIIIIII 6 ยางกนั ฝ่นุ 29 นา้ มันเกียร์อตั โนมัติ I I 24 30 นา้ มันเกียรธ์ รรมดา I I 48 17 ศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พ่อื การศึกษาสระแกว้

กาหนดการ มาตรวัดระยะทาง ตรวจเช็ค คา่ จากมาตรวัด ระยะทางหรอื เดอื น แล้วแต่ ×1000 กม. 10 20 30 40 50 60 70 80 เดอื น อะไรจะมาถึง ก่อน ชว่ งลา่ งและตัวถงั (ต่อ) 31 น้ามันเกียร์ ทรานสเฟอร์ I I 48 (รนุ่ ขบั เคลื่อน 4 ล้อ) 32 น้ามันเฟืองท้าย I R I R I : 12 R : 48 33 ระบบรองรบั ด้านหน้า I I I I 12 และดา้ นหลงั 34 ยางและแรงดันลมยาง I I I I I I I I 6 ไฟทกุ ดวง, แตร, ที่ปัด 35 น้าฝนและท่ีฉดี นา้ ล้าง I I I I I I I I 6 กระจก ระบบปรบั อากาศ 36 แผน่ กรองอากาศ RR - เคร่ืองปรับอากาศ 37 ปรมิ าณของ I I I I 12 สารความเย็น ความหมายของตัวอักษร การตรวจสอบ I หมายถึง การหลอ่ ลนื่ L หมายถึง การเปล่ียนถ่ายหรือหล่อล่นื R หมายถึง 18 ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษาสระแก้ว

หมายเหตุ : 1. หลังจาก 80,000 กม. หรือ 48 เดอื น ให้ตรวจสอบทุก ๆ 20,000 กม. หรือ 12 เดือน 2. เปลย่ี นคร้ังแรกท่ี 160,000 กม. จากนน้ั ใหเ้ ปล่ยี นทุก ๆ 80,000 กม. 3. รวมทง้ั กรองทอ่ี ยู่ในถังนา้ มันเชื้อเพลิงดว้ ย 4. EURO IV เป็นมาตรฐานมลภาวะ หากท่านไม่แนใ่ จวา่ ค่ามาตรฐานของรถทา่ นตรง กบั ค่ามาตรฐานหรอื ไม่ ใหต้ ิดต่อศูนย์บรกิ ารตามยีหอ้ รถตา่ ง ๆ 5. เปล่ียนใบปั๊มสญุ ญากาศอันใหม่และห้ามนากลับมาใชใ้ หม่ 6. หลงั จากแช่อยู่ในนา้ ต้องแนใ่ จว่าได้อัดจาระบใี หมภ่ ายใน 24 ชวั่ โมง โดยไมต่ ้อง คานึงถึงกาหนดการตรวจเชค็ จากตารางท่ี 1.1 เป็นตารางบารงุ รักษารถยนต์เพียงหน่งึ ตัวอยา่ งท่หี ยบิ ยกมาเทา่ นน้ั รถยนต์แต่ละยีหอ้ แต่ละรุ่นจะมีตารางบารุงรักษาทีแ่ ตกต่างกนั ออกไป ดังนั้นผ้ใู ช้รถจะต้องให้ ความสาคัญกบั ตารางการบารงุ รักษา หมน่ั ตรวจเช็คมาตรวัดระยะทางหรือระยะเวลาที่จะต้องมีการ ตรวจสอบหรอื เปลย่ี นอปุ กรณ์ เชน่ ตรวจสอบนา้ มนั เบรกเมื่อรถว่งิ ไดร้ ะยะทาง 10,000 กม. หรอื 6 เดือน และเปล่ียนน้ามันเคร่ือง เมอ่ื รถวงิ่ ได้ระยะทาง 10,000 กม. หรอื 12 เดือน แลว้ แตอ่ ยา่ งใด อย่างหนึ่งถึงก่อน เปน็ ต้น 19 ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพอ่ื การศึกษาสระแก้ว


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook