Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore data 03

data 03

Published by hiyeeding, 2018-07-02 00:38:13

Description: data 03

Search

Read the Text Version

1 การเลีย้ งปลาดุกบ๊ิกอุยในบอ่ ซเี มนตก์ ลม ปลาดุกบิ๊กอุยเป็นปลาท่ีเกิดจากการผสมข้ามพันธ์ุระหว่างปลาดุกอุย (Clarias macrocephalus) ซึ่งเป็นปลาพ้ืนเมืองของไทย เน้ือมีสีเหลือง รสชาติอร่อยนุ่มนวล และปลาดุกเทศ (Clarias gariepinusAfrican sharptooth catfiah ) ซึ่งมีถ่ินกําเนิดในทวีปแอฟริกา เป็นปลาที่มีการเจริญเติบโตเร็ว มีความต้านทานโรคสูง แต่ปลาดุกเทศน้ีมีเนื้อเหลวและสีขาวซีดไม่น่ารบั ประทาน ผลการผสมข้ามพนั ธุ์ระหวา่ งปลาดุกอุยเพศเมียกับปลาดุกเทศเพศผู้ พบว่า ลูกผสมท่ีได้มีอัตราการเจริญเติบโตที่ดี ทนทานต่อโรคสูง เหมือนปลาดุกเทศ และมรี สชาตใิ กล้เคยี งกบั ปลาดุกอยุลกั ษณะที่แตกตา่ งของปลาดกุ อุยและปลาดกุ เทศลกั ษณะ ปลาดกุ อยุ ปลาดกุ เทศ (ปลาดุกรสั เซีย)1. หัว เลก็ คอ่ นขา้ งรไี มแ่ บน ใหญแ่ ละแบน กระโหลกจะ2. ใต้คาง กะโหลกจะลน่ื มีรอยบุ๋มตรง เปน็ ตุ่มๆไมเ่ รยี บมรี อยบ๋มุ ตรง3. หนวด4. กะโหลกท้ายทอย กลางเลก็ น้อย กลางเล็กน้อย5. ปาก6. ครบี หู มสี ีคล้ําไม่ขาว สขี าว7. ครบี หลงั มี 4 คู่ โคนหนวดเล็ก มี 4 คู่ โคนหนวดใหญ่8. ครบี หาง โคง้ มน หยักแหลม มี 3 หยัก9. สขี องลาํ ตัว ไมป่ า้ นคอ่ นขา้ งมน ป้านแบบหนา10. ผนงั ท้อง มเี งี่ยงเลก็ สน้ั รแหลมคมมาก มเี งยี่ งใหญ่ สน้ั น่ิมไม่แหลมคม ครบี แข็งยน่ื ยาวเกนิ หรอื และส่วนของครบี ออ่ นห้มุ ถึง เท่ากับครบี อ่อน ปลายครบี แขง็ ปลายครบี สเี ทาปนดาํ ปลายครบี สแี ดง กลมไม่ใหญม่ ากนักสเี ทาปนดาํ กลมใหญ่ สเี ทา ปลายครบี มสี ี แดง และมีแถบสีขาวลาด บริเวณคอดหาง ดํา น้ําตาลปนดําท่ีบรเิ วณ เทา เทาอมเหลอื ง ดา้ นบนของลาํ ตวั มสี ีขาวถึงเหลอื งเฉพาะบริเวณ ผนงั ทอ้ งมีสีขาวตลอดจนถงึ อกถงึ ครีบท◌้อง โคนหาง

2คุณสมบัตขิ องนํ้าทน่ี าํ มาใชเ้ ล้ียงปลา คุณสมบัติของน้ําทเี่ หมาะสมสาํ หรบั การเลย้ี งปลา คณุ สมบตั ขิ องน้ํา คา่ ทเ่ี หมาะสมความเป็นกรดเป็นดา่ ง (pH) 6.5 – 8.5ปริมาณออกซิเจนทล่ี ะลายในน้าํ (DO) ไมต่ ํา่ กว่า 5.0 มลิ ลิกรมั ต่อลิตรอณุ หภมู ิน้าํ (Tw) 19 - 28 องศาเซลเซยี สความขนุ่ ใส (Turbidity) 30 – 60 เซนตเิ มตรกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซดอ์ ิสระ (Free Co2) ไมส่ งู เกนิ 8 มลิ ลกิ รมั ต่อลิตรความเป็นดา่ ง (Alkalinity) 100 - 120 มลิ ลกิ รมั ตอ่ ลิตรความกระดา้ ง (Hardness) 75 - 150 มลิ ลกิ รมั ต่อลิตรการเพาะพันธปุ์ ลาดุกบ๊ิกอุยการคดั เลอื กพอ่ แมพ่ นั ธ์ุ พ่อแม่พันธุ์ท่ีสมบูรณ์ ควรมีอายุตั้งแต่ 1 ปี ข้ึนไป ฤดูกาลเพาะพันธ์ุอยู่ในช่วงเดือนมีนาคม-ตุลาคม เพศเมียสว่ นทอ้ งจะอมู เปง่ ไม่นม่ิ หรอื แข็งจนเกินไป ตงิ่ เพศมลี ักษณะกลมแดง หรือชมพูอมแดง ถ้าเอามือบีบเบาๆ ที่ท้องจะมีไข่ลักษณะเป็นเม็ดกลมสีนํ้าตาลอ่อนไหลออกมา ส่วนปลาเพศผู้มีติ่งเพศเรียวยาว มีสีชมพเู รื่อๆ เพศผู้ เพศเมีย ฉีดฮอร์โมนการเพาะพนั ธ์ุ นิยมเพาะพันธ์ุโดยใช้ฮอร์โมนสังเคราะห์โดยฉีดคร้ังเดียวแม่ปลาดุกอุยใช้ Buserelin ท่ีความเข้มข้น 20 – 30 ไมโครกรัม/นํ้าหนักแม่ปลา 1 กิโลกรัม ร่วมกับ Domperidone 10 มิลลิกรัม/นํ้าหนักแม่ปลา 1 กิโลกรัม หลังฉีดฮอร์โมน 16 ชั่วโมง สามารถรีดไข่ผสมกับน้ําเช้ือได้ ในปลาเพศผู้กระตุ้นให้มีนํ้าเชื้อมากขึ้นโดยฉีดฮอร์โมนที่ระดับความเข้มข้น 5 ไมโครกรัม/น้ําหนักพ่อปลา 1 กิโลกรัม ร่วมกับDomperidone 5 มิลลิกรัม/น้ําหนักพ่อปลา 1 กิโลกรัม ก่อนผ่าถุงนาํ้ เชือ้ 10 ช่ัวโมง

3การรดี ไขผ่ สมกับนา้ํ เชอื้ การรีดไข่ผสมกับน้ําเช้ือ ใช้วิธีกึ่งเปียก นําแม่พันธุ์ที่มีไข่แก่เต็มท่ีมา ผ่าถุงนํา้ เชื้อ รีดใส่ภาชนะผิวเรียบ เช่น กะละมังเคลือบ พร้อมกันนี้ผ่าเอาถุงน้ําเช้ือจาก ปลาเพศผู้ มาวางบนผ้ามุ้งเขียวแล้วขยี้ให้ละเอียดพร้อมเทนํ้าเกลือเข้มข้น 0.7 % ลงบนผ้ามุ้งเขียวเพื่อให้น้ําเช้ือไหลผ่านลงไปผสมกับไข่ ใช้ขนไก่คน เบาๆ ประมาณ 2 - 3 นาที นาํ ไขท่ ไ่ี ดร้ บั การผสมแล้วไปล้างน้ําสะอาด 1 คร้ัง แลว้ นําไปฟักการฟักไข่ โรยไข่ปลาบนตะแกรงฟักไข่ไข่ปลาดุกอุยเป็นไข่ติด ไข่ที่ดีควรมีสีน้ําตาลเข้ม นําไข่ท่ีผสมกับนํ้าเชื้อแล้วไปฟัก โดยโรยไข่บนผ้ามุ้งเขียวเบอร์ 20 ท่ีขึงตึงที่ระดับต่ํากว่าผวิ นา้ํ ประมาณ 5 - 10 เซนตเิ มตร เปิดนํ้าไหลผา่ นตลอด ไขท่ ่ีไดร้ ับการผสมจะพัฒนาเป็นตัวภายใน 21 - 26 ช่ัวโมง ที่อุณหภูมินํ้า 28 - 30 องศาเซลเซียส หลังจากลูกปลาฟัก 6 - 8 ชั่วโมง ย้ายตะแกรงมุ้งเขียวออกจากบ่อฟัก เม่ือลูกปลามีอายุประมาณ 2 วัน จึงเร่ิมกินอาหาร บ่อเพาะฟักลูกปลาควรมีหลังคากันแดดและนํ้าฝน แม่ปลาขนาด 1 กิโลกรัม จะได้ลูกประมาณ 5,000 - 20,000 ตวั ทง้ั นข้ี ึน้ กบั ฤดกู าลและขนาดแม่ปลาการอนุบาล การอนุบาล ลูกปลาท่ีฟักออกเป็นตัวใหม่ๆ จะใช้อาหารจากถุงไข่แดง จนอายุประมาณ 48 ชั่วโมงถุงไข่แดงเริ่มยุบ ให้ไรแดงเป็นอาหาร และสามารถขนย้ายได้ การอนุบาลสามารถอนุบาลได้ท้ังในบ่อดินและบอ่ ซีเมนต์ การอนุบาลในบ่อซีเมนต์ ดูแลรักษาได้ง่าย ขนาดบ่อประมาณ 2 - 5 ตรม. ระดับน้ําลึกประมาณ15 - 30 เซนติเมตร ใช้เวลาอนุบาล 10 - 14 วัน ได้ลูกปลาขนาด 2 - 3 เซนติเมตร อัตราปล่อย3,000 - 5,000 ตัว/ตารางเมตร อาหารท่ใี ชค้ ือไรแดง และอาหารผงสําเร็จรปู การอนุบาลในบ่อดิน ขนาดบ่อประมาณ 200 - 300 ตารางเมตร ระดับน้ําลึกประมาณ 40 - 50เซนติเมตร ใช้เวลาอนุบาล 10 - 14 วัน ได้ลูกปลาขนาด 3 - 5 เซนติเมตร อัตราปล่อย 300 - 500 ตัว/ตารางเมตร อาหารทใ่ี ชค้ อื ไรแดง และอาหารผงสาํ เร็จรปูการเตรียมพนั ธุ์ปลาการเลอื กซอ้ื ลกู ปลาควรพจิ ารณาปจั จยั ตา่ ง ๆ ดังนี้ 1. แหลง่ พันธ์ุหรอื บ่อเพาะฟกั ควรดูจาก - ความนา่ เชื่อถือและไวว้ างใจไดใ้ นเรอื่ งคุณภาพ - มีการคดั เลอื กพ่อแมพ่ ันธุ์ เพ่อื ให้ไดพ้ ันธทุ์ มี่ คี ุณภาพ - มคี วามชํานาญในการขนสง่ ลกู ปลา

42. ลกั ษณะภายนอกของลูกปลาต้องปกตสิ มบูรณ์ ซึ่งสงั เกตจาก - การว่ายน้ําตอ้ งปราดเปรยี ว ไมว่ ่ายควงสวา่ น หรอื ลอยตวั ต้ังฉากพื้นบอ่ - ลาํ ตัวสมบูรณ์ หนวด หาง ครีบ ไม่กรอ่ น ไมม่ ีบาดแผล ไมม่ ีจุดหรอื ปุยขาวเกาะ - ขนาดลกู ปลาตอ้ งเสมอกันการเตรยี มบ่อเลยี้ งปลาดุกบก๊ิ อยุบอ่ ซีเมนต์ บอ่ ซีเมนตใ์ หม่ ต้องปรับสภาพบ่อก่อน โดยใสน่ ้ําใหเ้ ต็มบอ่ และใสห่ ยวกกล้วยสับลงไปด้วย แชท่ ้งิ ไว้ประมาณ 2 สปั ดาห์ จงึ ล้างบอ่ ให้สะอาด แล้วตากบ่อให้แหง้ บอ่ ซีเมนตเ์ กา่ ลา้ งทําความสะอาดด้วยนํา้ ดา่ งทับทมิ สาดให้ทั่วบอ่ ตากบอ่ ใหแ้ ห้งการเลี้ยงปลาดุกบ๊กิ อุย1. การเล้ียงในบ่อซีเมนต์ ควรปรับสภาพนํ้าในบ่อให้เป็นกลางหรือด่างเล็กน้อย แต่ต้องแน่ใจว่าบ่อซีเมนต์ต้องหมดฤทธ์ิของปูน ระดับนํ้าเมื่อเริ่มปล่อยลูกปลาขนาด 2 - 3เซนติเมตร ควรลึกประมาณ 20 – 30 เซนติเมตร เม่ือลูกปลาโตข้ึนค่อยๆ เพ่ิมระดับนํ้า โดยเพ่ิมระดับนํ้าประมาณ5 เซนติเมตร/สัปดาห์ ให้อาหารเม็ดประมาณ 3 – 7 %ของน้ําหนักตัว โดยปล่อยปลาในอัตรา 50 – 70 ตัว/ตารางเมตร ปลาจะเติบโตได้ขนาดประมาณ 100 – 200 กรัม/ตัวในระยะเวลาเล้ียงประมาณ 90 วัน อัตรารอดประมาณ80 % ซึ่งอาหารที่ใช้เล้ียงสามารถใช้อาหารธรรมชาติชนิดตา่ งๆ แทนอาหารเมด็ ได้ ไดแ้ ก่ ปลวก ไสเ้ ดือน หรือปลาเป็ดตน้ ทนุ การเลย้ี งปลาดกุ บ๊ิกอยุ ในบ่อซเี มนตก์ ลมตน้ ทนุ และรายไดใ้ นการเลี้ยงปลาดุกบกิ๊ อยุ ในบ่อซเี มนตก์ ลมระยะเวลาในการ ต้นทนุ การเลี้ยง นํา้ หนกั ปลาโดย ราคาทข่ี ายได้ กาํ ไร เลีย้ ง ตอ่ กิโลกรัม เฉลีย่ ตอ่ กโิ ลกรมั ตอ่ กโิ ลกรมั ตอ่ กิโลกรมั 3 เดอื น 27 - 38 บาท 5 - 7 ตัว 40 - 45 บาท 12 - 13 บาท

52. การเล้ียงในบอ่ ดิน การเลีย้ งในบอ่ ดนิ ต้องมกี ารเตรยี มบ่อตามหลกั การเตรียมบอ่ เล้ยี งปลาท่ัวๆ ไปดังนี้ข้นั ตอนการเตรยี มบ่อดนิ1. บ่อใหม่ ใหห้ ว่านปูนขาวใหท้ ัว่ บ่อ ปริมาณ 80 – 120 กิโลกรัม/ไร่ ตากบอ่ ไว้ 2 – 3 วนั2. บอ่ เก่า ทาํ ความสะอาดบ่อโดย ลอกเลน กาํ จดั วัชพืชในบ่อ และบริเวณโดยรอบ และกําจัดศัตรปู ลาในบ่อ โดยใช้ - โล่ต๊ิน (หางไหล) ปริมาณ 1 กิโลกรัม ทุบแล้วแช่นํ้าไว้ 1 คืน นํานาํ้ ทีไ่ ดส้ าดให้ท่ัวบ่อ แล้วท้ิงไว้ 5 – 7 วัน หรือ ใช้กากชา ปรมิ าณ 3 กโิ ลกรัม/ไร่ ผสมนา้ํ สาดให้ทว่ั บ่อ ทิ้งไว้ 3 – 5 วัน - หว่านปูนขาวให้ท่ัวบ่อ ปริมาณ 80 –120 กิโลกรัม/ไร่ ตากบ่อไว้ 2 – 3 วัน3. ใส่ปยุ๋ เพอื่ สร้างอาหารธรรมชาติ - ปุย๋ คอก 150 – 200 กโิ ลกรัม/ไร่ - ป๋ยุ วทิ ยาศาสตร์ เช่น ปยุ๋ นา (16–20–0) 4.5 กโิ ลกรัม/ไร่ - ปยุ๋ ยเู รีย (46 – 0 – 0) 2.5 กิโลกรัม/ไร่4. ปล่อยนา้ํ เข้าบอ่ 30 – 50 เซนตเิ มตร ทงิ้ ไว้ 5 – 7 วัน น้ําจะเร่ิม เขียว เมื่อนํ้าเร่ิมเขียวเพิ่มระดับน้ําให้ลึกประมาณ 1.0 - 1.5 เมตร หลังจากน้ัน 3 – 5 วัน ก็นําปลามาปล่อยเล้ียงตามอัตราท่ี เหมาะสมการดูแลรักษาบ่อเลีย้ งปลา 1. ถ้าสนี าํ้ จาง ใหใ้ สป่ ุ๋ย - ใสป่ ยุ๋ คอก 80 – 120 กโิ ลกรมั /ไร่ รว่ มกับ ป๋ยุ นา (16 – 20 – 0) 2 กโิ ลกรัม/ไร่ หรอื - ใส่ปุ๋ยคอก 80 – 120 กโิ ลกรมั /ไร่ รว่ มกบั ปยุ๋ ยูเรยี (46 – 0 – 0) 2.5 กิโลกรัม/ไร่ หรอื ถา้ น้าํ ในบ่อมีกลิ่นเหม็น (น้ําเสยี ) ใหเ้ ปลี่ยนถา่ ยน้าํ ในปริมาณ 1 ใน 2 สว่ นของนา้ํ ในบ่อ ถ้านํา้ มีสเี ขยี วเขม้ ให้เปลย่ี นถา่ ยนาํ้ ในปรมิ าณ 1 ใน 3 สว่ นของน้าํ ในบ่อ 2. ทํากองปุย๋ หมักบริเวณขอบบ่อเลย้ี งปลา 3. หม่นั สังเกตสขุ ภาพของปลา 4. ใหอ้ าหารเพียงพอและเหมาะสมกับความตอ้ งการของปลา 5. บ่อดนิ บริเวณขอบบอ่ ต้องทาํ ท่กี ้นั ปลาหนี ใช้มุ้งฟา้ หรอื แสลน หรือลอนกระเบ้อื ง ปักลงดนิ ให้มคี วาม สงู ประมาณ 20 เซนติเมตร โดยทาํ รอบท้ังบ่อการปล่อยลกู ปลาลงเลยี้ ง เมื่อขนสง่ ลกู ปลามาถงึ บ่อที่เตรียมไวค้ วรแช่ถงุ ปลาไว้ในบ่อประมาณ 10 - 15 นาที เพอื่ ปรับอุณหภมู ิระหวา่ งนาํ้ ในถงุ กบั นา้ํ ในบอ่ ให้ใกล้เคยี งกันเพ่อื ป้องกันลกู ปลาชอ็ ค กอ่ นปลอ่ ยลูกปลาควรมีการทํารม่ เงาไว้ในบ่อใหล้ กู ปลาไดใ้ ช้เปน็ ทีอ่ ยู่อาศยั

6ขน้ั ตอนการเล้ยี ง 1. อัตราการปล่อย ลูกปลาขนาด 2 – 3 เซนติเมตร ควรปล่อยในอัตรา 50 – 100 ตัว/ตารางเมตรข้ึนอยู่กับกรรมวิธีในการเลี้ยง คือ ชนิดอาหาร ขนาดของบ่อและระบบการเปล่ียนถ่ายน้ําซ่ึงปกติท่ัวๆ ไปอตั ราปล่อยเลี้ยงประมาณ 50 ตวั /ตารางเมตร 2. การเลี้ยงและการให้อาหาร เมื่อปล่อยลูกปลาวันแรกไม่ต้องให้อาหาร จะเริ่มให้อาหารวันถัดไป อาหารที่ให้เป็นอาหารลูกปลาวัยอ่อน พรมน้ํา แล้วนวดจนเหนียวป้ันเป็นก้อนแล้วเสียบกับไม้ปักไว้รอบบ่อ ปริมาณที่ให้ต้องให้ปลากินหมดภายในเวลา 30 นาที โดยให้ประมาณ 1 สัปดาห์ เม่ือลูกปลาโตพอกนิ อาหารเม็ดไดก้ ็เรม่ิ ใหอ้ าหารปลาดุกเล็กพิเศษ ให้กินจนลูกปลาอายุ 1 เดือน ให้อาหารปลาดุกเล็ก ควรฝึกให้ปลากนิ อาหารเปน็ ท่ี โดยใหอ้ าหารจดุ เดิมประจําและเคาะหลกั ไม้ทุกครั้งเมื่อมกี ารใหอ้ าหาร การให้อาหารปลาจะให้ 2 มื้อ/วัน ให้อาหารปลาดุกเล็กจนลูกปลามีอายุ 2 เดือน จึงให้อาหารปลาดุกใหญ่ โดยให้อาหาร 2 ม้ือ ในกรณีปลาป่วย หรือกินอาหารลดลงให้ลดปริมาณอาหารลงครึ่งหน่ึงของปริมาณท่ีให้ปกติ ในกรณเี กิดจากสภาพนา้ํ หรือการเปลย่ี นแปลงของอากาศให้ปรับสภาพนํา้ โดยทาํ การเปลย่ี นถ่ายนํ้า 3. การถา่ ยเทน้ํา เมื่อเริ่มเลี้ยงใหม่ๆ ควรมีระดับนํ้าประมาณ 30 – 40 เซนติเมตร เมื่อลูกปลาเจริญเติบโตข้ึนในเดือนแรกเพ่ิมระดับน้ําให้สูงประมาณ 50 – 60 เซนติเมตร หลังจากเข้าเดือนที่ 2 ควรเพิ่มระดับนํ้าให้สูงขึ้น 10 เซนติเมตร/สัปดาห์ จนระดับนํ้าในบ่อลึก1.20 – 1.50 เมตร การถ่ายเทนํ้าควรเริ่มตั้งแต่ประมาณ 1 เดือน โดยถ่ายประมาณ 20 % ของน้ําในบ่อ 3 วัน/คร้ัง หรือ ถ้าน้ําในบ่อเริ่มเสียจะตอ้ งถ่ายนํา้ มากกวา่ ปกติ 4. การเก็บเกี่ยวผลผลิต เลี้ยงปลาดุกบ๊ิกอุย 90 วัน จะได้ปลาขนาด 100 – 200 กรัม อัตราการรอดตายสูงถึง 80 % สามารถจับปลาเพือ่ ใชใ้ นการบริโภคหรือจําหนา่ ยได้โรคปลาและการปอ้ งกันรกั ษาปัจจัยที่ทาํ ให้เกดิ โรค 1. มีอินทรียวัตถุในบ่อมากเกินไป จากการใส่ปุ๋ยหรือมีเศษอาหารทําให้สภาพของบ่อเหมาะแก่การเจรญิ แพรพ่ นั ธ์ุของเชอื้ โรค 2. บ่อไม่มกี ารถ่ายเทนํา้ ทาํ ให้เกิดการสะสมของเชื้อโรค 3. เล้ียงปลาในบอ่ อย่างหนาแนน่ ทาํ ใหป้ ลาเครยี ดและติดเช้ือง่ายการปอ้ งกันการเกดิ โรคปลา 1. ระวังอย่าให้ปลาเกิดความเครียด ดูสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม ไม่ปล่อยปลาหนาแน่นเกินไปมีการถ่ายนํ้า ให้อาหารทีค่ ุณภาพดี ในปริมาณทเี่ หมาะสม 2. เม่ือนําปลาใหม่เข้ามาในฟาร์มหรือบ่อเล้ียง ควรแช่ฟอร์มาลิน ในอัตราความเข้มข้น 25 – 30มิลลกิ รัม /ลิตร (ppm.) ปอ้ งกันปรสติ ทีต่ ดิ มากับตัวปลา 3. การขนส่งปลา ควรใช้เกลือในอตั รา 0.1 – 0.5 % เพื่อลดความเครียด 4. ซือ้ พนั ธ์ุปลาจากแหลง่ ทเ่ี ช่ือถือได้ 5. ถ้าจะใสผ่ ักตบชวา ผักบงุ้ หรอื พชื นํา้ อน่ื ๆ ควรทาํ ความสะอาดรากและใบกอ่ น โดยการแช่ในน้ํายาด่างทบั ทมิ เขม้ ข้น 5 มลิ ลกิ รมั /ลติ ร (ppm.) นาน 10 นาที แลว้ ล้างน้ําสะอาดอีกคร้งั ก่อนนําไปใสใ่ นบ่อเลี้ยงปลา

7โรคทเี่ กดิ จากเชอื้ แบคทเี รียโรคตัวดา่ ง ปลาทีเ่ ปน็ โรคนจ้ี ะมีแผลด่างขาวตามลาํ ตวั โรคนม้ี ักเกิดกับปลาหลงั จากการยา้ ยบอ่ การลําเลยี งหรือขนส่งเพ่อื นาํ ไปเล้ยี ง หรือในช่วงท่ีอณุ หภูมิของอากาศมีการเปล่ียนแปลงในรอบวันแรก ปลาที่ตดิ โรคนี้จะตายเปน็ จาํ นวนมากอย่างรวดเร็วภายใน 24 - 28 ชั่วโมงการปอ้ งกนั และรักษา วธิ ที ี่ดีท่สี ดุ ที่ควรทาํ คือ การปรบั ปรงุ สภาพภายในบอ่ ให้เหมาะสม เช่น การเพ่มิ ออกชเิ จน และการลดอินทรียสารในนํ้าใหน้ ้อยลง 1. ใช้ดา่ งทับทิม จํานวน 1 - 3 กรัม/น้าํ 1,000 ลิตร แชน่ าน 24 ช่วั โมง เพื่อการรกั ษา 2. ใชฟ้ อรม์ าลนิ จํานวน 40 - 50 ชีชี./นาํ้ 1,000 ลติ ร แชน่ าน 24 ชว่ั โมงโรคแผลตามลาํ ตัว โรคแผลตามลําตัวน้ีเกิดจาการติดเช้ือแบคทีเรียชนิดท่ีทําลายเม็ดเลือดแดง อาการในระยะเร่ิมแรกของโรคน้ี บริเวณติดเช้ือจะบวมและมีสีแดง ต่อมาผิวหลังจะเริ่มเป่ือยเป็นแผลลึกลงไปจนเห็นกล้ามเนื้อโดยแผลทเ่ี กดิ จะกระจายท่ัวตัว และเปน็ สาเหตใุ หป้ ลาติดโรคเชอื้ ราต่อไปได้การป้องกันและรกั ษา 1. ใชย้ าตา้ นจลุ ชีพ ชนิดซลั ฟาไตรเมทโทรพรมิ ในอตั ราสว่ น 1 - 2 มลิ ลิกรัม/นํ้า 1 ลติ ร แชป่ ลานานประมาณ 2 - 3 วนั 2. ใชย้ าต้านจลุ ชพี ชนิดออกซ่ีเตตรา้ ซัยคลิน ในอตั ราส่วน 10 - 30 มลิ ลิกรมั /นํา้ 1 ลิตร แชน่ าน1 - 2 วัน ทําติดต่อกนั 3 - 4 ครง้ั 3. ถ้าเป็นปลาท่ีเล้ียงในบ่อและเร่ิมมีอาการของโรค อาจผสมยาต้านจุลชีพชนิดดังกล่าวข้างต้นกับอาหาร ในอัตราส่วน 60 – 70 มิลลิกรัม/นํ้าหนักปลา 1 กิโลกรัม หรือ 2 – 3 กรัม/อาหาร 1 กิโลกรัม ให้กินตดิ ตอ่ กันนาน 3 – 5 วัน 4. การฆ่าเช้ือในบ่อเล้ียง อาจทําได้โดยใช้ปูนขาวในอัตรา 50 – 60 กิโลกรัม/ไร่โรคครบี – หางกร่อน เป็นโรคทีพ่ บอยู่เสมอ โดยเฉพาะอย่างย่ิงกับปลาขนาดเลก็ เกิดจากการตดิ เชอ้ื โรคหลายชนิดทงั้ ปรสิตและแบคทีเรยี ปลาป่วยระยะแรกจะเกดิ การกร่อนบริเวณปลายครบี และครบี ก่อนและค่อยๆ ลามเข้าไปจนทําให้ดเู หมือนวา่ ครีบมขี นาดเลก็ ลง ในบางครงั้ ครีบจะกร่อนไปจนหมดการป้องกนั และรกั ษา 1. ใช้ยาต้านจุลชพี ชนิดซลั ฟาไตรเมทโทรพริม ในอตั ราส่วน 1 - 2 มิลลิกรมั /น้ํา 1,000 ลติ ร แช่ปลานานประมาณ 2 - 3 วัน 2. การฆา่ เช้อื ในบอ่ เล้ยี ง อาจทําไดโ้ ดยใชป้ ูนขาวในอตั รา 50 – 60 กโิ ลกรมั /ไร่โรคทอ้ งบวม สาเหตุของโรคท้องบวมเกดิ จาการติดเชื้อแบคทีเรีย อาการบวมของปลาท่เี ป็นโรคนม้ี ี 2 ลักษณะ คอืลกั ษณะที่มสี าเหตจุ ากกระเพาะหรอื ลําไสม้ กี ๊าชมาก สว่ นอกี ลกั ษณะคือ มีเลือดปนน้ําเหลอื งในชอ่ งท้อง

8การป้องกนั และรักษา 1. แช่ปลาในยาต้านจุลชพี ชนดิ ออกซี่เตตรา้ ซยั คลิน หรือเตตร้าซัยคลิน ในอัตราส่วน 10 - 30มลิ ลกิ รมั /นํา้ 1 ลติ ร แช่นาน 1 - 2 วัน ทําตดิ ต่อกัน 3 - 4 ครั้ง 2. การฆ่าเชอื้ ในบ่อเลี้ยงปลา ควรใช้ปนู ขาวโรยใหท้ ่วั บอ่ หลงั จากสบู นํ้าออกแลว้ 3. ไมค่ วรเลีย้ งปลาในปรมิ าณท่ีแนน่ จนเกนิ ไป และควรให้อาหารอยา่ งเหมาะสมโรคท่ีเกิดจากพยาธภิ ายนอกโรคจุดขาวหรอื โรคอ๊กิ เกิดจากเช้ือโปรโตซัวจําพวกพยาธิเซลล์เดียวชนิดหนึ่ง มีรูปร่างกลมรีขนาด 50 – 100 ไมครอน มีขนรอบตัว มีนิวเคียสรูปเกือกม้า เกาะตามตัวปลาและฝังเข้าไปใต้ผิวหนังเป็นจุดขาวๆ เมื่อปรสิตเจริญเต็มท่ีจะหลุดออกจากตัวปลาไปเกาะตามพื้น สร้างเกราะหุ้มตัว แบ่งเซลล์เป็นตัวอ่อน เม่ือเซลล์แตกออก ตัวอ่อนจะว่ายนํ้าไปเกาะทําลายผิวลําตัวและซ่ีเหงื่อกของปลา ทําให้ปลาอ่อนแอและตายอย่างรวดเร็ว โรคอิ๊กนี้แพรก่ ระจายไปยงั บ่อขา้ งเคยี งได้เร็วมาก ส่วนใหญ่จะพบในปลาวยั ออ่ น พบจดุ ขาวกลมขนาดเล็กเท่าปลายเข็มหรอื เล็กกว่าหัวเข็มหมดุ กระจายอยตู ามลาํ ตัว ชอ่ งปาก จมูกหรือเหงือก ปลาจะขบั เมือกออกมามาก มีสีผิวซีดครบี เปอื่ ย วา่ ยนํ้าเช่ืองช้า และมีอตั ราการตายสูงมากภายในเวลา 2 - 3 วันการปอ้ งกันและรกั ษา 1. ใช้ฟอร์มาลีน ที่มีความเข้มข้น 25 มิลลิลิตร/นํ้า 1,000 ลิตร สาดให้ท่ัวบ่อ รวมทั้งบ่อท่ีอยู่ใกล้กันหรือติดกนั ทกุ 3 วัน ติดตอ่ กนั 3 ครัง้ หรือ 2. แช่ปลาในฟอร์มาลนี เข้มข้น 200 มิลลิลิตร/น้าํ 1,000 ลติ ร นาน 1 ชั่วโมง จะไดผ้ ลหลังให้ยาแล้ว6 ชว่ั โมงโรคทเี่ กิดจากเห็บระฆงั เกิดจากโปรโตซัวเกาะอยู่ตามผิวตัวและเหงือกของปลา ซึ่งสร้างความระคายเคืองให้กับตัวปลา และทาํ ใหเ้ ปน็ แผลตกเลือดขนาดเล็ก กระจายอยู่ตามผิวตัวปลา ในปลาที่เป็นมากจะมีครีบและผิวตัวเป่ือย ปลาจะมีอาการลอยหัว เหงือกซีด ผิวตัว ครีบ และรอบปากเปื่อย มีแผลตกเลือดกระจายอยู่ตามลําตัว มีคราบขาวๆ เกาะตามผิวตวั ปลา มักเกิดกับปลาวยั ออ่ นหรือปลาทเ่ี ครยี ด ซง่ึ ทาํ ให้เกดิ การตายทรี่ ุนแรงการปอ้ งกันและรกั ษา 1. ใช้ฟอร์มาลีน ที่มีความเข้มข้น 25 มิลลิลิตร/น้ํา 1,000 ลิตร สาดให้ทั่วบ่อ รวมท้ังบ่อท่ีอยู่ใกล้กันหรือติดกันทุก 3 วนั ตดิ ตอ่ กัน 3 คร้งั หรอื 2. แช่ปลาในฟอรม์ าลีน เข้มข้น 200 มลิ ลลิ ิตร/น้าํ 1,000 ลิตร นาน 1 ช่วั โมง จะได้ผลหลังให้ยาแล้ว6 ชวั่ โมงโรคท่เี กิดจากเชือ้ รา เชอื้ ราไมเ่ ป็นสาเหตโุ ดยตรงของโรค แต่เป็นอาการแทรกซ้อนกรณีปลาอ่อนแอ หรือมีบาดแผลบริเวณลําตัว มักเกิดร่วมกับโรคอื่นๆ หลังจากที่ปลาเกิดเป็นแผลแบบเร้ือรังแล้ว โดยบริเวณแผลท่ีติดเช้ือราจะมีลักษณะเปน็ ปุยขาวๆ ปนเทา คล้ายสาํ ลปี กคลุมอยู่การปอ้ งกันและรักษา ปลาท่ีเล้ียงในบ่อดินที่ป่วยเป็นโรคเชื้อรา มักจะพบว่ามีสาเหตุมาจากคุณภาพน้ําในบ่อไม่ดี ให้ปรับคณุ ภาพน้าํ ด้วยปนู ขาว ในอัตรา 60 กโิ ลกรัม/ไร่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook