Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore THAI_Teacher_Guide_Intensive_Thai_for_Grade_1

THAI_Teacher_Guide_Intensive_Thai_for_Grade_1

Published by hiyeeding, 2020-05-25 09:32:28

Description: THAI_Teacher_Guide_Intensive_Thai_for_Grade_1

Search

Read the Text Version

การอา่ นเพือ่ จำพยญั ชนะ - อ่านจากข้างบนลงมาขา้ งล่าง กำ ขำ คำ - อา่ นจากขา้ งลา่ งข้นึ ไปขา้ งบน คำ ขำ กำ ตวั อยา่ งการอ่านสะกดคำ กำ อ่านสะกดคำว่า กอ - อำ - กำ ขำ อา่ นสะกดคำว่า ขอ - อำ - ขำ คำ อา่ นสะกดคำวา่ คอ - อำ - คำ ๒.๒ การสอนผันวรรณยุกต์อักษรสามหมู่กับสระอำ ใอ ไอ เอา ให้นักเรียน หัดผนั ไลเ่ สยี งวรรณยกุ ตท์ เ่ี ปน็ อกั ษรกลาง อกั ษรสงู อกั ษรตำ่ ตามลำดบั เพราะเสยี งผนั จะมรี ะดบั เสยี งเดยี วกนั ผันง่าย ไม่สับสน หากต้องเปลี่ยนเสียงอ่านคำจากอักษรกลาง เป็นอักษรสูง และอักษรต่ำ ซึ่งมีระดับเสียงไม่เท่ากัน ทำให้เสียงอ่านไม่ล่ืนไหลและอ่านติดขัดได้ ส่งผลให้ อา่ นผดิ ได ้ ตัวอยา่ งกิจกรรมที่ ๑ คำชีแ้ จง ให้นักเรียนฝึกผันวรรณยกุ ต์อักษรสามหม่กู ับสระอำ ไอ ใอ เอา ดงั นี ้ ๑) เสยี งวรรณยกุ ต์คำที่เปน็ อักษรกลาง ก ทง้ั ๔ แถว ๒) เสียงวรรณยุกตค์ ำท่เี ป็นอกั ษรสูง ข ทั้ง ๔ แถว ๓) เสียงวรรณยกุ ตค์ ำอกั ษรตำ่ ค ทั้ง ๔ แถว อักษรกลาง อกั ษรสูง อกั ษรต่ำ ่ ้ ๊ ๋ ่ ้ ่ ้ กำ ก่ำ กำ้ กำ๊ กำ๋ ขำ ขำ่ ขำ้ คำ คำ่ คำ้ ใก ใก ่ ใก้ ใก๊ ใก ๋ ใข ใข่ ใข ้ ใค ใค่ ใค้ ไก ไก ่ ไก ้ ไก ๊ ไก ๋ ไข ไข่ ไข ้ ไค ไค ่ ไค ้ เกา เก่า เกา้ เก๊า เกา๋ เขา เข่า เขา้ เคา เค่า เค้า หนงั สอื คู่มือแนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนต้น 95

ตวั อยา่ งการอ่าน ๑. การอ่านแบบสะกดคำ กำ อา่ นผนั วรรณยุกต์ว่า กอ - อำ - กำ กำ่ อ่านผันวรรณยกุ ตว์ ่า กอ - อำ - กำ - กำ - ไมเ้ อก - ก่ำ ก้ำ อ่านผนั วรรณยุกต์ว่า กอ - อำ - กำ - กำ - ไมโ้ ท - กำ้ ก๊ำ อา่ นผนั วรรณยุกต์ว่า กอ - อำ - กำ - กำ - ไม้ตรี - กำ๊ กำ๋ อ่านผันวรรณยกุ ตว์ า่ กอ - อำ - กำ - กำ - ไม้จตั วา - กำ๋ ๒. การผนั วรรณยุกตแ์ บบไลเ่ สยี ง กำ กำ่ กำ้ ก๊ำ ก๋ำ ๒.๓ การสอนอ่านคำท่มี ไี มย้ มก (ๆ) ใหอ้ า่ นออกเสียงซ้ำเหมอื นคำนำหนา้ เชน่ ดีๆ อ่านวา่ ดีดี ตวั อยา่ งกิจกรรมที่ ๒ คำช้ีแจง ให้นกั เรียนฝกึ อ่านคำท่ใี ชไ้ ม้ยมก ๑. ทุกๆ วนั ๒. ทกุ วนั ๆ ๓. เกา่ ๆ ๔. ใหมๆ่ ๕. อนื่ ๆ เฉลย ๑. ทกุ ทกุ วนั ๒. ทุกวันทกุ วนั ๓. เก่าเก่า ๔. ใหม่ใหม่ ๕. อน่ื อื่น ตัวอย่างกจิ กรรมท่ี ๓ คำชีแ้ จง ให้นกั เรียนอา่ นคำต่อไปน้ี ๑. อา่ นพร้อมกันท้งั ช้ันเรียน ๒. อา่ นตามแถวที่น่ัง แถวละคำ ๓. อ่านทลี ะคน 96 หนงั สอื คู่มือแนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนต้น

การฝกึ อ่านคำ ๑ พยางค์ เต่า จำ ดำ ต่ำ ถ้ำ คำ คำ่ คำ้ ทำ นำ้ รำ ล่ำ ใจ ใบ ใส ให้ ใช ่ ใช ้ ใน ไก ่ ได้ ไป ไข่ ไข ้ ไถ ไฝ ไส ไส ้ ไห ไซ ไฟ ไม่ ไม ้ ไร ่ ไว ไว้ เกา้ เตา เต่า เบา เปา่ เอา เขา เข่า เขา้ เผา เฝ้า เสา เหา่ เงา เชา้ เทา้ เรา เลา่ เล้า การฝกึ อ่านคำ ๒ พยางค์ เราไป ในถ้ำ ย่ำค่ำ ไม้คำ้ ไอนำ้ จำได ้ ใบไม ้ ลำไย ในไห ทำไม กำไร เทา่ ไร เขา้ ใจ ทำไร ่ ไวไว ไมเ้ ทา้ ค่ำเชา้ เบาเบา ไขเ่ ต่า เตาไฟ น้ำใส ใชไ้ ด ้ ไม่ ใช้ ไขไ่ ก ่ ไมไ้ ผ ่ ใตถ้ ุน ไต่ถาม เทยี นไข ไกแ่ จ ้ จุดไต้ ไก่ขนั หวั เขา่ ไข่ห่าน หายไข ้ ลูกไก่ กอไผ ่ ไสกบ ไก่อู อะไร ไสเ้ ดอื น ใจดี บนั ได ก่อไฟ ต้นไม้ วอ่ งไว เลย้ี งไก ่ ไถนา นกเขา หามเสา เฝา้ สวน สง่ ให ้ น้ำฝน เฝ้าบา้ น ให้ทาน ทำงาน ใบลาน เสาเรือน พวกเรา กำลัง เลอ่ื ยไม้ ว่ายน้ำ แนะนำ กำนัน อาบน้ำ ข้างใน ใยบัว เขาวัว เก็บไว้ ดอกไม ้ มะไฟ ตั้งใจ จดจำ ทำนา แมน่ ำ้ ทำสวน ใสป่ ยุ๋ กระเป๋า ยิงเป้า ข้ีเถา้ เกา้ อี ้ เปา่ ปี ่ สีเทา รองเท้า เต้าห้ ู งูเหา่ ค่าเชา่ เต้าเจี้ยว จำปา จำปี สำล ี สำรบั คำนบั นำ้ ค้าง ทองคำ ตำลึง ลำต้น สงู ตำ่ ดำนำ้ ไฟฟ้า ทา่ นำ้ กำแพง หนังสอื คู่มอื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนต้น 97

ตัวอยา่ งกจิ กรรมท่ี ๔ คำช้แี จง ให้นกั เรียนอา่ นเร่อื ง “คนแต่กอ่ น” คนแตก่ อ่ น แต่ก่อนๆ นานมาแล้ว คนเรายังโง่ บา้ นเมืองก็ยงั ไม่มี ดังท่ีเราเหน็ กันเดี๋ยวน ี้ คอื ยงั เปน็ ปา่ เปน็ ดงทง้ั นน้ั ยงั ไมร่ ูจ้ กั ทำบา้ นเรอื นอาศยั คนเราต้องอาศัยในถ้ำบา้ ง อาศัยตามสมุ ทุมพมุ่ ไม้บา้ ง อาศัยตามตน้ ไม้ เช่น ลงิ คา่ งบ้าง ยงั ไม่รจู้ ักทำผ้านุ่งห่ม ต้องเอาใบไมแ้ ละสิง่ อนื่ ๆ มาปกปิดร่างกาย ของกินกไ็ ม่มอี ะไรมาก มแี ตเ่ น้ือตา่ งๆ เผือก มนั และลูกไมอ้ ืน่ ๆ อีกบ้าง และยังไมร่ จู้ ักทำนา ทำสวน ทำไร่ ไดแ้ ต่ไปเท่ยี วหาของกนิ ตา่ งๆ มาจากปา่ แลว้ กเ็ อามาเล้ียงกนั และกินแต่ของดิบๆ ยงั ไมร่ ู้จักหาไฟมาใชห้ งุ ต้ม ดังทเ่ี ราใชก้ ันในทุกวันน้ี ตอ่ ๆ มาคนเรากร็ ู้จกั หากนิ และทำของใช้ และท่อี าศัยดีขน้ึ ๆ เด๋ยี วนีเ้ รามีบ้าน มีเมือง ซ่งึ ทำขน้ึ ไว้แข็งแรง และสวยงาม มีผา้ นุ่ง ผ้าห่มตา่ งๆ รจู้ กั ทำนา ทำสวน ทำไร่ เล้ยี งแพะ แกะ วัว ควาย ชา้ ง มา้ หมู เป็ด ไก่ และรู้จักทำของใช้อะไรต่างๆ อกี มากมาย ถา้ เดก็ คนใด สงสัยวา่ ทำไมคนแต่กอ่ นกบั คนเด๋ียวน้ี จงึ ผิดกันมาก กจ็ ะตอบไดว้ า่ แตก่ ่อนคนเรายังโง่ แลว้ ค่อยๆ คดิ คอ่ ยๆ รู้ คอ่ ยๆ ทำ จนร้จู กั คดิ รูจ้ กั ทำอะไรๆ ได้ สบื ๆ กันมา จนทุกวันน้ี แตค่ นเด๋ยี วนี้ทไ่ี ม่เรยี น ไม่คิด ไมท่ ำอะไร กต็ อ้ งจดั ว่าเป็นคนโง ่ ดังคนป่าคนดง ถ้าเราไม่ชอบให้ตัวเราโง่ เราต้องเรียน ต้องคดิ ตอ้ งทำอะไรๆ ให้ดีต่อไป สมกับที่เราได้เกิดมา เป็นคนกบั เขาคน ๑ ในโลก 98 หนงั สอื คมู่ อื แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนตน้

ตวั อยา่ งกจิ กรรมที่ ๕ คำชี้แจง ให้นักเรียนฝกึ เขยี นคำตอ่ ไปน้ี ขอ้ คำ ตวั อยา่ ง เตา .......เ.ต...า.. ...... .......เ.ต...า.. ...... .......เ.ต...า. ....... ๑. เตา่ ............................... ............................... ............................... ๒. เต้า ............................... ............................... ............................... ๓. คำ ............................... ............................... ............................... ๔. ค่ำ ............................... ............................... ............................... ๕. คำ้ ............................... ............................... ............................... ๖. ไข ............................... ............................... ............................... ๗. ไข ่ ............................... ............................... ............................... ๘. ไข้ ............................... ............................... ............................... ๙. รำ่ ............................... ............................... ............................... ๑๐. ใช้ ............................... ............................... ............................... ตัวอย่างกจิ กรรมที่ ๖ คำช้ีแจง ใหน้ ักเรยี นฝึกเขยี นคำต่อไปน้ ี ข้อ คำ ตวั อย่าง ๑. กำไร ......ก...ำ..ไ.ร.. ..... ......ก..ำ..ไ..ร.. ..... ......ก...ำ.ไ..ร. ...... ๒. ลำไย ๓. ไวไว ............................... ............................... ............................... ๔. ใจด ี ............................... ............................... ............................... ๕. ทำนา ............................... ............................... ............................... ๖. ตำลึง ............................... ............................... ............................... ๗. สเี ทา ............................... ............................... ............................... ๘. นกเขา ............................... ............................... ............................... ๙. กำลัง ............................... ............................... ............................... ๑๐. ภเู ขา ............................... ............................... ............................... เตาไฟ ............................... ............................... ............................... ............................... ............................... ............................... หนงั สอื คู่มอื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนต้น 99

ตัวอยา่ งกิจกรรมที่ ๗ คำชแี้ จง ให้นกั เรียนฝึกเขียนคำตอ่ ไปน ี้ ข้อ คำ ตัวอย่าง นำ้ ใส ......น..้ำ..ใ..ส... .... .....น...้ำ..ใ..ส.. ..... ......น..ำ้..ใ..ส.. ..... ๑. ลกู ไก่ ............................... ............................... ............................... ๒. ในถำ้ ............................... ............................... ............................... ๓. ยำ่ คำ่ ............................... ............................... ............................... ๔. ไข่ไก ่ ............................... ............................... ............................... ๕. แม่น้ำ ............................... ............................... ............................... ๖. เฝา้ บา้ น ............................... ............................... ............................... ๗. รองเทา้ ............................... ............................... ............................... ๘. เตา้ เจี้ยว ............................... ............................... ............................... ๙. ดอกไม ้ ............................... ............................... ............................... ๑๐. กอไผ ่ ............................... ............................... ............................... ๓. คำศพั ท ์ ๓.๑ ความหมายของคำศพั ท์ คำศพั ท์ ความหมาย ไสกบ กดกบลงบนไมแ้ ลว้ ดันกบเพือ่ ทำใหห้ นา้ ไม้เรียบ ให้เปน็ ราง หรอื ลอกบวั ลอกลวด เป็นตน้ , ไสไม้ กเ็ รียก สำรับ - ของหรือคนทีร่ วมกันเข้าไดไ้ ม่ผิดหมู่ผดิ พวกเปน็ ชุด เปน็ วงเป็นต้น เช่น ไพ่ ๒ สำรบั - ภาชนะ เชน่ ถาด เปน็ ต้นใสถ่ ้วยชามพรอ้ มบรรจอุ าหารคาว หรือหวานเปน็ ชุด 100 หนังสือคมู่ ือแนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนตน้

๓.๒ คำท่ีเขยี นแตกต่างจากปัจจบุ นั คำที่ใชใ้ นปัจจบุ ัน คำที่ใชใ้ นหนงั สอื แบบเรียนเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนตน้ กระเปา๋ ขีเ้ ถา้ กะเปา๋ ข้เี ท่า ๔. ขอ้ สังเกตและขอ้ เสนอแนะ เมื่อนักเรียนฝึกผันวรรณยุกต์จนคล่องแล้ว ให้นักเรียนอ่านเรื่อง “คนแต่ก่อน” และครูควรตั้งคำถามจากเรื่องทีอ่ ่าน หนังสือคมู่ ือแนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนตน้ 101

บทที่ ๑๕ ๑. เน้อื หา การลำดับสระและการเปรียบเทียบการผันอักษรสามหมู่ มาตราไม่มีตัวสะกด ทงั้ สระยาวและสระสน้ั ๒. แนวทางการจัดกิจกรรม ๒.๑ การลำดบั สระและการเปรยี บเทยี บการผนั อกั ษรสามหมู่ มาตราไมม่ ตี วั สะกด ทงั้ สระยาว และสระสน้ั ครจู ำเปน็ ตอ้ งใหน้ กั เรยี นทบทวนเกย่ี วกบั เรอ่ื งตอ่ ไปน ้ี ๑) การทบทวนสระ ๒) การผนั อกั ษรกลาง อกั ษรสงู และอกั ษรตำ่ ผสมสระยาว ไดแ้ ก่ สระอา อี อื อู เอ แอ โอ อวั เอยี เออื เออ และสระเกนิ ไดแ้ ก่ สระอำ ใอ ไอ เอา ๓) การผนั อกั ษรกลาง อกั ษรสงู และอกั ษรตำ่ ผสมสระสนั้ ไดแ้ ก่ สระอะ อิ อึ เอะ แอะ โอะ เอาะ อวั ะ เอยี ะ เออื ะ เออะ ตวั อยา่ งกิจกรรมที่ ๑ คำช้แี จง ใหน้ กั เรยี นฝกึ อา่ นออกเสยี งลำดบั สระใหถ้ กู ตอ้ งชดั เจน ดงั น ้ี ๑. นกั เรยี นอา่ นออกเสยี งตามครจู นครบทกุ ตวั ๒. นกั เรยี นอา่ นออกเสยี งพรอ้ มกนั ทง้ั ชน้ั ๓. แบง่ กลมุ่ นกั เรยี นออกเปน็ กลมุ่ ยอ่ ยกลมุ่ ละประมาณ ๓ - ๕ คน แลว้ ให้ แตล่ ะกลมุ่ อา่ นออกเสยี งพรอ้ มกนั เปน็ กลมุ่ ทงั้ ชนั้ และใหอ้ า่ นทลี ะกลมุ่ จนครบทกุ กลมุ่ ๔. เลอื กตวั แทนแตล่ ะกลมุ่ ๆ ละ ๑ คน ใหเ้ ปน็ ผนู้ ำในการอา่ นออกเสยี ง แลว้ ใหส้ มาชกิ ทกุ คนในกลมุ่ อา่ นออกเสยี งตามใหถ้ กู ตอ้ งชดั เจน ๕. นกั เรยี นอา่ นออกเสยี งเปน็ รายบคุ คลจนครบทกุ คน 102 หนังสือคมู่ ือแนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนตน้

-ะ สระ -ี - ึ -ู เ-ะ -า -ิ แ- โ-ะ - ื -ุ -อ ัวะ เ- แ-ะ เ ีย เ อื ะ โ- เ-าะ เ-อ -ำ วั เ ียะ เ-า เ ือ เ-อะ ใ- ไ- * หมายเหต ุ ครูควรสอนใหน้ กั เรยี นรู้จกั สระยาว สระสนั้ สระเกนิ ที่ใชใ้ นการผันอักษร ไดแ้ ก ่ สระยาว ได้แก่ สระอา อี อื อู เอ แอ โอ อัว เอีย เออื เออ สระสั้น ไดแ้ ก ่ สระอะ อิ อึ เอะ แอะ โอะ เอาะ อัวะ เอยี ะ ออื ะ เออะ สระเกนิ ได้แก ่ สระอำ ใอ ไอ เอา ตวั อย่างกิจกรรมท่ี ๒ คำช้แี จง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงอักษรสามหมู่ ได้เแก่ อักษรกลาง อักษรสูง และอกั ษรตำ่ ให้ถกู ตอ้ งชัดเจน ดังนี้ ๑. นกั เรียนอา่ นออกเสยี งตามครจู นครบทุกตัว ๒. นกั เรียนอา่ นออกเสียงพรอ้ มกนั ท้ังช้นั ๓. แบง่ กลมุ่ นกั เรยี นออกเปน็ กลมุ่ ยอ่ ยกลมุ่ ละประมาณ ๓ - ๕ คน แลว้ ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ อา่ นออกเสยี งพร้อมกันเป็นกลุม่ ทั้งชั้น และให้อา่ นทลี ะกลุ่มจนครบทกุ กล่มุ ๔. เลอื กตวั แทนแตล่ ะกลมุ่ ๆ ละ ๑ คน ใหเ้ ปน็ ผนู้ ำในการอา่ นออกเสยี ง แล้วให้สมาชิกทุกคนในกลุ่มอ่านออกเสียงตามให้ถูกต้องชัดเจน แล้วเปล่ียนกันเป็นตัวแทน กลุ่มจนครบทุกคนภายในกลุ่ม ๕. นกั เรยี นอ่านออกเสยี งเปน็ รายบุคคลจนครบทกุ คน อักษรสามหมู ่ อักษรกลาง อักษรสูง อักษรตำ่ ก จ ด ต บ ป อ ข ฉ ถ ผ ฝ ส ห ค ง ช ซ ท น พ ฟ ม ย ร ล ว ฮ * หมายเหต ุ อักษรกลางมี ๙ ตวั อกั ษรสงู มี ๑๑ ตัว อกั ษรต่ำมี ๒๔ ตัว ในบทนีน้ ำมาใช้ ดังน้ี อกั ษรกลาง ๗ ตัว อักษรสูง ๗ ตวั อักษรต่ำ ๑๔ ตัว หนงั สอื คูม่ ือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนตน้ 103

ตัวอยา่ งกจิ กรรมท่ี ๓ คำชแ้ี จง ใหน้ กั เรียนนำอกั ษรท่ีกำหนดให้ มาเขยี นลงในประเภทของอกั ษรสามหมใู่ ห้ถกู ตอ้ ง อกั ษรกลาง อักษรสามหม ู่ อักษรต่ำ อกั ษรสูง ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... อกั ษรท่กี ำหนดให้ ก จ ด ต บ ป อ ข ฉ ถ ผ ฝ ส ห ค ง ช ซ ท น พ ฟ ม ย ร ล ว ฮ เฉลย อกั ษรกลาง ได้แก ่ ก จ ด ต บ ป อ อกั ษรสงู ได้แก ่ ข ฉ ถ ผ ฝ ส ห อกั ษรตำ่ ไดแ้ ก ่ ค ง ช ซ ท น พ ฟ ม ย ร ล ว ฮ ตัวอยา่ งกจิ กรรมที่ ๔ คำชแ้ี จง ให้นกั เรยี นฝึกอ่านอกั ษรกลาง อกั ษรสงู และอักษรต่ำ ที่กำหนด ประสม กับสระยาวและสระเกนิ ให้ถูกต้องชัดเจน อกั ษรกลาง ก จ ด ต บ ป อ สระเกนิ สระยาว -า - ี - ื - ู เ- แ- โ- -ั ว เ-ีย เ-ือ เ-อ -ำ ใ- ไ- เ-า ก กา กี กือ ก ู เก แก โก กวั เกยี เกอื เกอ กำ ใก ไก เกา จ จา จ ี จอื จ ู เจ แจ โจ จัว เจยี เจอื เจอ จำ ใจ ไจ เจา ด ดา ดี ดอื ดู เด แด โด ดัว เดีย เดือ เดอ ดำ ใด ได เดา ต ตา ต ี ตือ ตู เต แต โต ตวั เตีย เตือ เตอ ตำ ใต ไต เตา บ บา บี บอื บ ู เบ แบ โบ บัว เบยี เบือ เบอ บำ ใบ ไบ เบา ป ปา ปี ปอื ปู เป แป โป ปัว เปยี เปอื เปอ ปํา ใป ไป เปา อ อา อ ี อือ อ ู เอ แอ โอ อวั เอีย เออื เออ อำ ใอ ไอ เอา 104 หนงั สอื คมู่ อื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนตน้

อกั ษรสูง ข ฉ ถ ผ ฝ ส ห สระเกนิ สระยาว -า - ี - ื -ู เ- แ- โ- ั-ว เ -ีย เ-ือ เ-อ -ำ ใ- ไ- เ-า ข ขา ขี ขื ขู เข แข โข ขวั เขยี เขอื เขอ ขำ ใข ไข เขา ฉ ฉา ฉี ฉือ ฉู เฉ แฉ โฉ ฉัว เฉีย เฉอื เฉอ ฉำ ใฉ ไฉ เฉา ถ ถา ถี ถือ ถู เถ แถ โถ ถวั เถยี เถือ เถอ ถำ ใถ ไถ เถา ผ ผา ผี ผือ ผู เผ แผ โผ ผวั เผีย เผอื เผอ ผำ ใผ ไผ เผา ฝ ฝา ฝี ฝอื ฝู เฝ แฝ โฝ ฝัว เฝีย เฝอื เฝอ ฝํา ใฝ ไฝ เฝา ส สา สี สอื สู เส แส โส สัว เสยี เสอื เสอ สำ ใส ไส เสา ห หา หี หอื หู เห แห โห หวั เหีย เหือ เหอ หำ ให ไห เหา อักษรตำ่ ค ง ช ซ ท น พ ฟ ม ย ร ล ว ฮ สระยาว สระเกนิ -า -ี - ื - ู เ- แ- โ- ั-ว เ-ยี เ-ือ เ-อ -ำ ใ- ไ- เ-า ค คา คี คือ คู เค แค โค ควั เคยี เคอื เคอ คำ ใค ไค เคา ง งา งี งอื งู เง แง โง งัว เงยี เงอื เงอ งำ ใง ไง เงา ช ชา ชี ชอื ชู เช แช โช ชัว เชีย เชือ เชอ ชำ ใช ไช เชา ซ ซา ซี ซือ ซู เซ แซ โซ ซัว เซยี เซือ เซอ ซำ ใซ ไซ เซา ท ทา ที ทือ ทู เท แท โท ทวั เทยี เทือ เทอ ทำ ใท ไท เทา น นา นี นอื นู เน แน โน นัว เนยี เนือ เนอ นำ ใน ไน เนา พ พา พี พอื พู เพ แพ โพ พัว เพยี เพือ เพอ พำ ใพ ไพ เพา ฟ ฟา ฟี ฟือ ฟู เฟ แฟ โฟ ฟัว เฟีย เฟอื เฟอ ฟาํ ใฟ ไฟ เฟา ม มา มี มอื มู เม แม โม มวั เมยี เมือ เมอ มำ ใม ไม เมา ย ยา ยี ยอื ยู เย แย โย ยวั เยีย เยอื เยอ ยำ ใย ไย เยา ร รา รี รือ รู เร แร โร รัว เรยี เรอื เรอ รำ ใร ไร เรา ล ลา ลี ลือ ลู เล แล โล ลวั เลีย เลือ เลอ ลำ ใล ไล เลา ว วา วี วอื วู เว แว โว ววั เวยี เวอื เวอ วำ ใว ไว เวา ฮ ฮา ฮี ฮือ ฮู เฮ แฮ โฮ ฮวั เฮยี เฮือ เฮอ ฮำ ใฮ ไฮ เฮา หนังสอื ค่มู ือแนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนตน้ 105

ตัวอยา่ งกิจกรรมที่ ๕ คำชแี้ จง ใหน้ กั เรยี นฝกึ ผนั อกั ษรสามหมู่ ไดแ้ ก่ อกั ษรกลาง อกั ษรสงู และอกั ษรตำ่ ใหถ้ กู ตอ้ งชัดเจน ดงั น้ี ๑. อ่านออกเสียงตามครูจนครบทกุ ตวั ๒. อา่ นออกเสียงพรอ้ มกันท้งั ชน้ั ๓. แบง่ นกั เรยี นออกเปน็ กลมุ่ ยอ่ ยประมาณ ๓ - ๕ คน แลว้ ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ อา่ นออกเสียงพร้อมกนั และให้อ่านทีละกลุม่ จนครบทุกกลุ่ม ๔. เลอื กตวั แทนแตล่ ะกล่มุ ๆ ละ ๑ คน ใหเ้ ป็นผูน้ ำในการอา่ นออกเสียง แล้วให้สมาชิกทุกคนในกลุ่มอ่านออกเสียงตามให้ถูกต้องชัดเจน แล้วเปลี่ยนกันเป็นตัวแทน กลุ่มจนครบทุกคนภายในกลุ่ม ๕. นกั เรยี นอา่ นออกเสียงเปน็ รายบุคคลจนครบทุกคน อกั ษรกลาง ก จ ด ต บ ป อ สระยาว -า -ี -ื -ู เ- แ- โ- -ั ว เ -ีย เ-อื เ-อ สระเกนิ -ำ ใ- ไ- เ-า สระ สามญั เอก โท ตรี จัตวา -า กา กา่ กา้ กา๊ ก๋า - ี ก ี กี่ ก ้ี ก๊ ี กี๋ - ื กื กื่ ก ้ื กื ๊ ก ๋ื -ู กู ก ู่ ก ู้ ก๊ ู ก ู๋ เ- เก เก ่ เก้ เก ๊ เก๋ แ- แก แก ่ แก้ แก๊ แก๋ โ- โก โก่ โก้ โก ๊ โก ๋ ั-ว กัว กัว่ กว้ั กั๊ว ก๋วั เ-ีย เกีย เกีย่ เกยี้ เก๊ยี เกีย๋ เ-อื เกอื เกอื่ เก้อื เกอื๊ เก๋อื เ-อ เกอ เกอ่ เกอ้ เก๊อ เกอ๋ -ำ กำ ก่ำ กำ้ กำ๊ กำ๋ ใ- ใก ใก่ ใก ้ ใก๊ ใก ๋ ไ- ไก ไก ่ ไก้ ไก๊ ไก ๋ เ-า เกา เกา่ เก้า เกา๊ เก๋า 106 หนังสอื ค่มู อื แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนต้น

อกั ษรสงู ข ฉ ถ ผ ฝ ส ห สระยาว -า -ี -ื -ู เ- แ- โ- ั-ว เ -ยี เ-ือ เ-อ สระเกิน -ำ ใ- ไ- เ-า เอก โท สระ สามัญ ข้า -า ขา ข่า ข้ ี - ี ข ี ขี่ ข้ื - ื ข ื ขื่ ข ู้ - ู ขู ขู่ เข ้ เ- เข เข่ แข้ แ- แข แข่ โข้ โ- โข โข่ ขัว้ -วั ขวั ขวั่ เขีย้ เ-ีย เขีย เขยี่ เขื้อ เ-ือ เขอื เขื่อ เขอ้ เ-อ เขอ เขอ่ ข้ำ -ำ ขำ ข่ำ ใข ้ ใ- ใข ใข่ ไข้ ไ- ไข ไข ่ เขา้ เ-า เขา เข่า หนังสอื คู่มือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนตน้ 107

อกั ษรต่ำ ค ง ช ซ ท น พ ฟ ม ย ร ล ว ฮ สระยาว -า -ี -ื -ู เ- แ- โ- ั-ว เ -ีย เ-ือ เ-อ สระเกิน -ำ ใ- ไ- เ-า เอก โท สระ สามัญ ค้า -า คา คา่ ค ี้ - ี คี คี ่ ค ้ื - ื คื ค ื่ คู้ - ู คู ค ู่ เค้ เ- เค เค ่ แค ้ แ- แค แค่ โค้ โ- โค โค ่ ค้วั -วั คัว ค่ัว เคี้ย เ-ยี เคีย เคีย่ เคื้อ เ-ือ เคอื เคือ่ เค้อ เ-อ เคอ เค่อ คำ้ -ำ คำ ค่ำ ใค ้ ใ- ใค ใค่ ไค ้ ไ- ไค ไค ่ เคา้ เ-า เคา เค่า ๒.๒ การเปรียบเทียบการผันอักษรสามหมู่ มาตราไม่มีตัวสะกด ท้ังสระยาว และสระสั้น ครูจำเป็นต้องให้นักเรียนรู้เก่ียวกับการผันวรรณยุกต์อักษรกลาง อักษรสูง และ อกั ษรต่ำ ตวั อย่างกิจกรรมท่ี ๑ คำชแ้ี จง ใหน้ กั เรยี นฝึกผนั อกั ษรสามหมู่ ผสมสระยาว ไดแ้ ก่ สระอา อี อื อู เอ แอ โอ อวั เอีย เอือ เออ และสระเกิน ได้แก่ สระอำ ใอ ไอ เอา 108 หนงั สอื คูม่ ือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนตน้

อกั ษรกลาง ก จ ด ต บ ป อ ฎ ฏ อกั ษรสงู ผ ฝ ถ ฐ ข ฃ ศ ษ ส ห ฉ อักษรต่ำ ง ญ น ย ณ ร ว ม ฬ ล พ ภ ฟ ฑ ฒ ท ธ ค ฅ ฆ ซ ฮ ช ฌ สระยาว -า -ี -ื -ู เ- แ- โ- -ัว เ-ยี เ-ือ เ-อ สระเกนิ -ำ ใ- ไ- เ-า อกั ษรกลาง อกั ษรสงู อกั ษรตำ่ อกั ษรกลางผสมสระยาว อกั ษรสงู ผสมสระยาว อักษรต่ำผสมสระยาว ผันได้ ๕ เสียง ผนั ได้ ๓ เสยี ง ผนั ได้ ๓ เสยี ง ่ ้ ๊ ๋ ่ ้ ่ ้ อา อา่ อ้า อา๊ จ ี จี ่ จี ้ จี ๊ อา๋ ขา ข่า ขา้ ฟา ฟา่ ฟ้า อื อื่ อื้ อ๊ ื จ๋ี สี สี่ สี ้ ช ี ช่ี ช ี้ ด ู ด่ ู ด้ ู ด ู๊ อ ๋ื ข ื ขื่ ข ้ื ซื ซ ื่ ซื ้ เบ เบ ่ เบ้ เบ ๊ ดู๋ ผ ู ผู ่ ผ้ ู ร ู ร ู่ รู้ แก แก ่ แก้ แก๊ เบ๋ เห เห่ เห ้ เย เย่ เย้ โป โป่ โป้ โป๊ แก ๋ แฉ แฉ ่ แฉ ้ แม แม่ แม้ ออ ออ่ ออ้ อ๊อ โป ๋ โห โห่ โห ้ โล โล่ โล ้ จวั จว่ั จัว้ จ๊ัว อ๋อ ฝอ ฝ่อ ฝ้อ พอ พ่อ พ้อ เตยี เตย่ี เตี้ย เตยี๊ จว๋ั ถัว ถ่วั ถ้ัว ทวั ทั่ว ทว้ั เบือ เบือ่ เบอ้ื เบื๊อ เต๋ยี เขีย เข่ยี เขี้ย เรยี เรยี่ เร้ยี เออ เออ่ เอ้อ เออ๊ เบื๋อ เสอื เส่อื เส้อื เนอื เนอื่ เน้ือ ตำ ต่ำ ต้ำ ต๊ำ เออ๋ เหอ เห่อ เห้อ เฮอ เฮ่อ เฮอ้ ใต ใต ่ ใต้ ใต๊ ต๋ำ ถำ ถ่ำ ถำ้ คำ คำ่ คำ้ ไก ไก ่ ไก ้ ไก ๊ ใต๋ ให ให่ ให ้ ใช ใช ่ ใช ้ เปา เป่า เปา้ เป๊า ไก๋ ไข ไข ่ ไข ้ ไว ไว ่ ไว ้ เปา๋ เฝา เฝา่ เฝา้ เงา เงา่ เงา้ หนังสอื คู่มอื แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนตน้ 109

ตัวอยา่ งกจิ กรรมที่ ๒ คำชี้แจง ให้นกั เรยี นฝกึ ผันอักษรสามหมู่ ผสมสระสน้ั ไดแ้ ก่ สระอะ อิ อึ เอะ แอะ โอะ เอาะ อัวะ เอียะ เออื ะ เออะ อกั ษรกลาง ก จ ด ต บ ป อ อกั ษรสูง ข ฉ ผ ฝ ส ห อักษรตำ่ ค ง ช ซ ท น พ ฟ ม ย ร ล ว ฮ สระส้นั -ะ -ิ -ึ เ-ะ แ-ะ โ-ะ เ-าะ -วั ะ เ-ียะ เ-อื ะ เ-อะ อักษรกลาง อักษรสูง อกั ษรต่ำ อกั ษรกลางผสมสระยาว อกั ษรสูงผสมสระยาว อกั ษรตำ่ ผสมสระยาว ผนั ได้ ๔ เสียง ผนั ได้ ๒ เสียง ผันได้ ๓ เสียง ้ ๊ ๋ ่ ้ ่ ้ จะ จ้ะ จะ๊ จะ๋ ขะ ข้ะ คะ คะ่ ค้ะ เอะ เอ้ะ เอะ๊ เอะ๋ เหะ เห้ะ เฮะ เฮ่ะ เฮ๋ะ แปะ แปะ้ แปะ๊ แป๋ะ แหะ แหะ้ แนะ แน่ะ แน๋ะ โตะ โต้ะ โต๊ะ โตะ๋ โฉะ โฉ้ะ โซะ โซะ่ โซะ๋ ตัวอยา่ งกิจกรรมท่ี ๓ คำชแ้ี จง ใหน้ กั เรยี นอา่ นคำตอ่ ไปนี้ ๑. อา่ นพร้อมกนั ท้ังช้นั เรยี น ๒. อา่ นตามแถวท่ีนงั่ แถวละคำ ๓. อา่ นทีละคน จ้ะ จ๊ะ จ๋ะ แป๊ะ ต ุ๊ โตะ๊ โป๊ะ เอ๊ะ แน่ะ นี่แนะ่ ตาแป๊ะ ทำโปะ๊ ตอ่ โต๊ะ ตุ๊ต๊ะ พ่จี ๊ะ ดีจ้ะ ได้คะ่ จะ๊ เอ ๋ 110 หนงั สือคมู่ อื แนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนตน้

ตัวอยา่ งกิจกรรมท่ี ๔ คำช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นอ่านเรือ่ ง “ฉันรกั พ่อแมพ่ ่นี ้อง” แลว้ ทำกจิ กรรมต่อไปน้ ี ข้อความเปน็ ความจรงิ เขยี นเครอ่ื งหมาย ✓ ลงในช่อง ใช่ ขอ้ ความไมเ่ ปน็ ความจรงิ เขยี นเคร่ืองหมาย ✓ ลงในช่อง ไมใ่ ช่ ฉนั รกั พ่อแม่พี่นอ้ ง ในบ้านของฉันมีคนมาก นอกจากตัวฉันแล้ว ฉันยังมีพ่อแม่ พี่สาว พ่ีชาย และน้องสาว น้องชายอีก แต่บิดาของพ่อที่ฉันเรียกท่านว่าปู่ แม่ของพ่อที่ฉันเรียก ท่านว่าย่า พ่ีชายของพ่อท่ีฉันเรียกท่านว่าลุง พี่สาวของพ่อท่ีฉันเรียกท่านว่าป้า น้องชายและน้องสาวของพ่อที่ฉันเรียกท่านว่าอานั้น ท่านมีบ้านห่างจากฉัน แต่ว่าฉัน ไปหาท่านบอ่ ยๆ บางทที า่ นก็มาเยย่ี มฉันทบ่ี า้ น ส่วนทางฝ่ายแมข่ องฉันนนั้ ฉนั ยงั มตี า ซ่ึงเป็นพ่อของแม่ มียายซึ่งเป็นแม่ของแม่ มีลุงซ่ึงเป็นพี่ชายของแม่ มีป้าซ่ึงเป็น พี่สาวของแม่ มีน้าซึ่งเป็นน้องสาวและน้องชายของแม่อีกมาก ฉันรักพ่อแม่ ปู่ยา ตายาย ลุงป้า น้าอา พ่ีสาว พ่ีชาย น้องสาว น้องชายของฉันมาก ถ้าเราไม่ได้พบกัน นานๆ ก็คิดถึงกัน และหาเวลาไปเย่ียมกันบ่อยๆ ทุกๆ คนต่างก็รักฉัน เขามักพูดชม ฉันว่า ฉันเป็นคนทร่ี ักพน่ี อ้ งดี และเรยี บร้อย ไม่ซุกซน ไม่ทำอะไรใหเ้ ดอื ดรอ้ นแก่ผู้อนื่ เวลาฉันออกจากโรงเรียนมาถึงบ้าน ฉันยังช่วยคนในบ้านรดน้ำต้นไม้ ช่วยแม่ของฉัน หากบั ข้าว ลา้ งถว้ ย ล้างชาม ถเู รอื น เชด็ ตู้ โต๊ะ เก้าอ้ี และเช็ดโปะ๊ ตะเกยี งใหส้ ะอาด บางทีฉันก็ดูแลเลี้ยงน้องเล็กๆ เล่นจ๊ะเอ๋กันบ้าง หาของเล่นให้น้องบ้าง น้องฉันชอบ เล่นกับฉัน ไม่ไปรบกวนพ่อแม่ ซ่ึงท่านกำลังทำงานอื่นๆ น้องฉันหัดพูดคำดีๆ ได ้ เช่น พูดกับฉันว่า พจ่ี ๊ะ ดีจ้ะ ไดค้ ะ่ เปน็ ต้น หนงั สอื คู่มอื แนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนตน้ 111

ที ่ ขอ้ ความ ใช่ ไมใ่ ช ่ ๑. ในบ้านของฉนั มคี นไม่มาก ๒. พอ่ ของพ่อฉนั เรยี กทา่ นวา่ ปู่ หรือบางทฉี นั เรยี กทา่ นวา่ ตา ๓. แมข่ องพอ่ ฉนั เรยี กทา่ นว่าย่า ๔. น้องสาวของพ่อฉันเรียกว่าอา ๕. ทกุ ๆ คนต่างก็รกั ฉนั เพราะฉันเปน็ คนเรยี บรอ้ ย ไม่ซุกซน เฉลย ๕. ใช ่ ๑. ไม่ใช ่ ๒. ไม่ใช ่ ๓. ใช ่ ๔. ใช ่ ๔. ข้อสงั เกตและขอ้ เสนอแนะ ๔.๑ อกั ษรกลางม ี ๙ ตัว ไดแ้ ก ่ ก จ ด ต บ ป อ ฎ ฏ ในบทที ่ ๑๕ นำมาใชฝ้ กึ ๗ ตัว ไดแ้ ก ่ ก จ ด ต บ ป อ อกั ษรสงู มี ๑๑ ตวั ไดแ้ ก ่ ผ ฝ ถ ฐ ข ฃ ศ ษ ส ห ฉ ในบทที ่ ๑๕ นำมาใช้ฝึก ๗ ตวั ได้แก ่ ข ฉ ถ ผ ฝ ส ห อกั ษรตำ่ ม ี ๒๔ ตวั ไดแ้ ก่ ง ญ น ย ณ ร ว ม ฬ ล พ ภ ฟ ฑ ฒ ท ธ ค ฅ ฆ ซ ฮ ช ฌ ในบทที ่ ๑๕ นำมาใชฝ้ กึ ๑๔ ตวั ไดแ้ ก่ ค ง ช ซ ท น พ ฟ ม ย ร ล ว ฮ ๔.๒ สระท่ีนำมาใช้ในบทที่ ๑๕ ไดแ้ ก่ สระยาว ไดแ้ ก ่ สระอา อี อื อ ู เอ แอ โอ อัว เอยี เออื เออ สระสัน้ ไดแ้ ก ่ สระอะ อิ อ ึ เอะ แอะ โอะ เอาะ อวั ะ เอยี ะ เออื ะ เออะ สระเกิน ไดแ้ ก่ สระอำ ใอ ไอ เอา 112 หนังสอื คู่มือแนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนต้น

บทที่ ๑๖ ๑. เนอ้ื หา การเปรยี บเทยี บการผนั อกั ษรสามหมู่ มาตรามตี วั สะกด ทงั้ คำเปน็ และคำตาย ๒. แนวทางการจัดกิจกรรม ๒.๑ การเปรียบเทียบการผันอักษรสามหมู่ มาตรามีตัวสะกด ท้ังคำเป็นและ คำตาย ครจู ำเปน็ ตอ้ งใหน้ กั เรยี นทบทวนเกยี่ วกบั เรอ่ื งตอ่ ไปน ้ี ๑) คำอกั ษรกลาง อกั ษรสงู และอกั ษรตำ่ ทมี่ ี น ม ย ว ก ด บ สะกด ๒) การผนั อกั ษรกลาง อกั ษรสงู และอกั ษรตำ่ ทม่ี ี น ม ย ว ก ด บ สะกด ๓) การผนั อกั ษรกลาง อกั ษรสงู และอกั ษรตำ่ คำทมี่ ี น ม ย ว ก ด บ สะกด ตวั อย่างกิจกรรมที่ ๑ ให้นกั เรยี นอ่านคำต่อไปนี้ (ครอู าจให้อ่านเฉพาะคำทใ่ี ชใ้ นปัจจบุ ันเท่านัน้ ) ๑. อา่ นพรอ้ มกนั ทง้ั ชน้ั เรยี น ๒. อา่ นตามแถวทนี่ ง่ั แถวละคำ ๓. อา่ นทลี ะคน การฝกึ อา่ นคำ ๑ พยางค์ กืง กุง กูง เกง้ เกง กงั กาง กิง กงึ ก็อง กอง ก็วง กวง เกยี ็ ง แก็ง แกง กง โกง เกงิ ขงั ขาง ขงิ ขงึ เกยี ง เกอื ง เกอื ็ ง เกิง็ ขงื ขงุ ขูง เขง็ เขง แข็ง แขง ขง โขง ข็อง ของ ขว็ ง ขวง เขียง เขีย ็ ง เขอื็ ง เขอื ง เขิง ็ เขงิ คงั คาง คงิ คึง คงื คงุ คงู เคง็ เคง แค็ง แคง คง โคง คอ็ ง คอง ค็วง ควง เคยี็ ง เคยี ง เคอื ็ ง เคอื ง เค ็งิ เคิง หนงั สือคู่มือแนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนตน้ 113

ตวั อยา่ งกิจกรรมท่ี ๒ คำชีแ้ จง ให้นกั เรียนฝกึ อ่านออกเสียงผันอักษรกลาง อกั ษรสูง และอกั ษรต่ำ คำที่มี ตวั ง น ม ย ว สะกด อกั ษรกลาง ก จ ด ต บ ป อ มาตราสะกด ง น ม ย ว อักษร อักษรกลาง ผสมสระที่มีตัว ง น ม ย ว สะกด ผันได้ ๕ เสยี ง ก ่ ้ ๊ ๋ จ กาง ก่าง กา้ ง กา๊ ง ก๋าง ด จุน จุน่ จนุ้ จุ๊น จุน๋ ต ดอม ด่อม ดอ้ ม ดอ๊ ม ดอ๋ ม บ เตย เตย่ เต้ย เตย๊ เตย๋ ป บัว บว่ั บ้วั บ๊วั บวั๋ อ โปง โปง่ โปง้ โปง๊ โปง๋ เอียว เอี่ยว เอ้ยี ว เอย๊ี ว เอ๋ยี ว อักษรสูง ผ ฝ ถ ฐ ข ซ ศ ษ ส ห ฉ มาตราสะกด ง น ม ย ว อักษร อกั ษรกลาง ผสมสระทมี่ ตี ัว ง น ม ย ว สะกด ผันได้ ๓ เสียง ่ ้ ผ เผง เผง่ เผง้ ฝ ฝอย ฝอ่ ย ฝอ้ ย ถ โถง โถง่ โถง้ ฐ ฐาน ฐ่าน ฐ้าน ข ขนื ข่นื ขนื้ ส เสีย เส่ยี เสยี้ ห หวั หว่ั ห้วั ฉ ฉาง ฉา่ ง ฉ้าง 114 หนังสอื คู่มือแนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนต้น

อกั ษรตำ่ ง ญ น ย ณ ร ว ม ฬ ล พ ภ ฟ ฑ ฒ ท ธ ค ฅ ฆ ซ ฮ มาตราสะกด ง น ม ย ว อักษร อกั ษรกลาง ผสมสระท่ีมตี วั ง น ม ย ว สะกด ผนั ได้ ๓ เสียง ่ ้ ง งาน ง่าน งา้ น น โนม โนม่ โน้ม ย ยงั ยง่ั ย้ัง ร รัว รั่ว รั้ว ว โวย โว่ย โวย้ ม มนั มน่ั มน้ั ล ลิน ลน่ิ ลน้ิ พ พาย พา่ ย พา้ ย ฟ ฟอง ฟอ่ ง ฟ้อง ท ทัว ทั่ว ท้ัว ค คมิ ค่ิม คิ้ม ช ชวย ชว่ ย ชว้ ย หนงั สอื ค่มู อื แนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนตน้ 115

๒.๒ การเปรียบเทียบการผันอักษรสามหมู่ มาตรามีตัวสะกด ทั้งสระยาวและ สระสน้ั ครจู ำเปน็ ตอ้ งใหน้ กั เรยี นรเู้ กย่ี วกบั การผนั วรรณยกุ ตอ์ กั ษรกลาง อกั ษรสงู และอกั ษรตำ่ ตัวอย่างกิจกรรมท่ี ๑ คำชแ้ี จง ใหน้ กั เรยี นฝึกผันอักษรสามหมู่ คำทม่ี ตี วั ง น ม ย ว สะกด อกั ษรกลาง ก จ ด ต บ ป อ ฎ ฏ อักษรสงู ผ ฝ ถ ฐ ข ฃ ศ ษ ส ห ฉ อักษรตำ่ ง ญ น ย ณ ร ว ม ฬ ล พ ภ ฟ ฑ ฒ ท ธ ค ฅ ฆ ซ ฮ ช มาตราตัวสะกด ง น ม ย ว อกั ษรกลาง อักษรสูง อักษรต่ำ ผสมสระมีตวั ผสมสระมตี วั ผสมสระมีตวั ง น ม ย ว สะกด ง น ม ย ว สะกด ง น ม ย ว สะกด ผันได้ ๕ เสียง ผนั ได้ ๓ เสยี ง ผนั ได้ ๓ เสียง ่ ้ ๊ ๋ ่ ้ ่ ้ ตงั ตงั่ ตัง่ ตั๊ง ตั๋ง ฝัง ฝั่ง ฝ้ัง นัง นั่ง นง้ั ปาย ป่าย ปา้ ย ป๊าย ปา๋ ย ฝาย ฝา่ ย ฝ้าย วาย วา่ ย วา้ ย อาว อา่ ว อา้ ว อ๊าว อา๋ ว ขาว ขา่ ว ขา้ ว ทาว ท่าว ท้าว บนิ บิ่น บ้นิ บน๊ิ บนิ๋ สิน สิน่ สิ้น รนิ ร่นิ ริน้ อึง องึ่ อ้งึ อึ๊ง อง๋ึ ผึง ผ่ึง ผง้ึ ซงึ ซงึ่ ซึ้ง ตืน ต่นื ตน้ื ตืน๊ ต๋นื ขืน ขื่น ขืน้ ชนื ชนื่ ชื้น ปุม ปมุ่ ปุม้ ปุ๊ม ปุ๋ม สมุ สมุ่ สมุ้ งมุ งุ่ม ง้มุ เกง เกง่ เกง้ เก๊ง เกง๋ เขง เข่ง เขง้ เพง เพง่ เพง้ แจง แจง่ แจง้ แจ๊ง แจง๋ แหง แหง่ แห้ง แลง แลง่ แล้ง ตม ตม่ ตม้ ต๊ม ตม๋ ถม ถม่ ถม้ ลม ล่ม ลม้ โปง โปง่ โป้ง โป๊ง โปง๋ โขง โข่ง โข้ง โคง โคง่ โค้ง ปอม ป่อม ปอ้ ม ป๊อม ป๋อม ถอม ถอ่ ม ถ้อม ยอม ยอ่ ม ย้อม บวน บว่ น บ้วน บว๊ น บ๋วน ถวน ถว่ น ถว้ น มวน ม่วน มว้ น เกียว เกย่ี ว เกี้ยว เกย๊ี ว เก๋ยี ว เขยี ว เขี่ยว เขี้ยว เคยี ว เค่ียว เคี้ยว เออื ง เอ่ือง เอือ้ ง เอือ๊ ง เอ๋อื ง เขอื ง เขื่อง เขอื้ ง เฟือง เฟือ่ ง เฟ้ือง เบมิ เบิ่ม เบ้ิม เบมิ๊ เบ๋ิม เหิม เห่มิ เห้มิ เรมิ เริ่ม เรมิ้ 116 หนังสอื คู่มอื แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนตน้

ตวั อย่างกิจกรรมท่ี ๒ คำชี้แจง ใหน้ กั เรียนฝกึ ผนั อักษรสามหมู่ คำท่ีมตี ัว ก ด บ สะกด อกั ษรกลาง ก จ ด ต บ ป อ ฎ ฏ อกั ษรสงู ผ ฝ ถ ฐ ข ฃ ศ ษ ส ห ฉ อกั ษรต่ำ ง ญ น ย ณ ร ว ม ฬ ล พ ภ ฟ ฑ ฒ ท ธ ค ฅ ฆ ซ ฮ ช ฌ มาตราสะกด ก ด บ อกั ษรสูง อกั ษรตำ่ ผสมสระมีตวั ผสมสระมตี ัว อักษรกลาง ก ด บ สะกด ก ด บ สะกด ผสมสระมตี วั ผนั ได้ ๒ เสียง ผันได้ ๓ เสยี ง ก ด บ สะกด ผันได้ ๔ เสียง ้ ๊ ๋ ้ สระส้ัน ่ ๋ สระยาว ้ ๋ กัก กั้ก ก๊ัก กัก๋ หัก ห้ัก คกั คกั่ คัก๋ กาก ก้าก กา๊ ก กา๋ ก สาก ส้าก มาก ม้าก มา๋ ก จอก จอ้ ก จอ๊ ก จอ๋ ก ขอก ข้อก รอก ร้อก ร๋อก อดู อ้ดู อ๊ดู อู๋ด สูด ส้ดู ชดู ชู้ด ชดู๋ แจด แจ้ด แจด๊ แจ๋ด แฉด แฉด้ แซด แซ้ด แซ๋ด เอยี ด เอ้ียด เอยี๊ ด เอ๋ยี ด เขียด เขี้ยด เฟยี ด เฟย้ี ด เฟี๋ยด กาบ ก้าบ กา๊ บ ก๋าบ หาบ ห้าบ วาบ วา้ บ วา๋ บ เจยี บ เจ้ยี บ เจย๊ี บ เจ๋ียบ เสียบ เสีย้ บ เทยี บ เท้ยี บ เทย๋ี บ ตวั อยา่ งกจิ กรรมท่ี ๓ คำชี้แจง ใหน้ ักเรียนอ่านคำต่อไปน้ี ๑. อา่ นพร้อมกนั ทั้งช้นั เรียน ๒. อ่านตามแถวทีน่ ง่ั แถวละคำ ๓. อา่ นทีละคน หนงั สอื ค่มู ือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนตน้ 117

ก๊ก กัก๋ คั่ก ก๊าก กา๊ บ อี๊ด จ๊ีด ว๊ดี คกึ่ ปดู๊ อดู๊ เจก๊ แจ๊ก แอ๊ด แป๊บ จ๊อก อ๊อก ตอ๊ ก ออ๊ ด ออ๊ บ เอ๊ียด เจย๊ี บ ตดุ๊ ต ู่ กะโต๊ก กะต๊าก กงเต๊ก ตกุ๊ แก ก๊อกแก๊ก กา๊ กๆ เสื้อกั๊ก สามก๊ก กา๊ บๆ ไกต่ ๊อก จอ้ กแจก้ แจด๊ ๆ จ๊ดี ๆ จุบ๊ แจง ร้านเจ๊ก เจ๊ียบๆ จอ๊ กๆ อ๊อกๆ แอด๊ ๆ ออ๊ ดแอด๊ อ๊อบๆ อา้ ยแอ้ด ลั่นเอยี๊ ด อีด้ ๆ อู๊ดๆ ปดู๊ ๆ ปอ๊ กแปก๊ คก่ึ คั่ก ค่กึ ๆ มกั่ ขัก พบ่ึ ผบั้ เอ้กอี๋เอ๊กเอก๊ ตัวอยา่ งกจิ กรรมท่ี ๔ คำช้แี จง ใหน้ กั เรยี นอา่ นเรอื่ ง “ฉนั ไปเทย่ี วในเมอื งกบั บดิ า”แลว้ ทำกจิ กรรมตอ่ ไปน ้ี ขอ้ ความเป็นความจริง เขียนเคร่ืองหมาย ✓ ลงในช่อง ใช ่ ขอ้ ความไมเ่ ป็นความจรงิ เขียนเคร่ืองหมาย ✓ ลงในช่อง ไมใ่ ช่ ฉนั ไปเท่ียวในเมืองกับบดิ า ถ้าบิดาของฉันมีเวลาว่าง ท่านก็พาฉันไปเที่ยวในเมือง ให้ฉันได้รู้ได้เห็นอะไร ตา่ ง ๆ สิ่งใดท่ีฉนั ไมร่ ู้ ฉันกถ็ ามท่าน ทา่ นก็ช้ีแจงใหฉ้ ันเข้าใจ ฉนั ก็จดจำเอาไว้ ในเมอื ง มีผู้คนมาก มีตึกและห้องแถว สวยงามน่าชม ตามห้างร้านขายของต่าง ๆ มีผู้คนเดิน ไปมา ซอื้ ของกนั เสยี งจอ้ กแจก้ จอแจ และตามทางทฉ่ี นั เดนิ ไปมา มรี ถตา่ ง ๆ มาก เสยี งแลน่ ค่ึกคั่กๆ บีบแตรดังปู๊ดๆ เวลาฉันเดินไป ฉันต้องระวังตัว ฉันไม่เดินเกะกะตามทาง มฉิ ะนัน้ รถจะทบั ฉัน ตามนอกๆ เมืองออกไปบ้างเล็กน้อย มีโรงงานต่างๆ เช่น โรงเล่ือย โรงส ี โรงไฟฟ้า เป็นต้น และมีคนเขาเลี้ยงเป็ด เลี้ยงไก่ เล้ียงหมูกันคนละมากๆ ฉันได้ยิน เสียงเป็ดมันร้องก๊าบๆ เสยี งไกต่ วั เมยี มนั รอ้ งกะตา๊ กๆ ไกต่ วั ผมู้ นั รอ้ งกะโตก๊ ๆ และมนั ขนั เสยี งโอก้ อโี๋ อก๊ โอก๊ ลกู ไกเ่ ลก็ ๆ มนั ร้องเจ้ยี บๆ หมรู อ้ งอดู๊ ๆ อีด๊ ๆ ฉนั เห็นเขาเลี้ยงมัน ฉนั ก็นึกชอบ ฉันถามบิดาของฉันว่า ทำไมเราไม่เลย้ี งมัน ไวบ้ า้ ง บดิ าของฉนั ตอบว่า เราก็นา่ จะเลี้ยงมนั ไวเ้ ช่นเดยี วกบั เขา เปด็ ไก่ พวกนม้ี ันเป็น สนิ คา้ ท่ีขายไดเ้ งินทองปีละมากๆ เราทำนา ทำสวนเทา่ นน้ั ยังมเี วลาวา่ งเลยี้ งมันไดอ้ กี พอ่ คิดว่าต่อไปเราจะต้องเล้ียงเป็ด ไก่ แล้วนำเขา้ มาขายในเมอื งกับเขาบ้าง 118 หนังสือคมู่ ือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนต้น

ท ่ี ข้อความ ใช ่ ไม่ใช ่ ๑. สิง่ ใดที่ฉนั ไมร่ ฉู้ นั กถ็ ามบิดา ท่านก็ชีแ้ จงให้ฉนั เขา้ ใจ ฉนั ก็บันทึกเอาไว้ ๒. ตามนอกเมอื งออกไปมโี รงงานตา่ งๆ เชน่ โรงเลอื่ ย โรงสี โรงไฟฟา้ ๓. ในเมืองมผี คู้ นมาก รถยนตต์ ่างๆ มาก เสยี งแล่นป๊ดู ๆ ๔. เปด็ ไก่ เป็นสนิ ค้าท่ขี ายได้เงินทองปลี ะมากๆ ๕. ไกต่ วั เมยี มันขันเสยี งโอ้กอีโ๋ อ๊กโอ๊ เฉลย ๑. ไม่ใช ่ ๒. ใช ่ ๓. ไม่ใช ่ ๔. ใช ่ ๕. ไม่ใช่ ๓. ข้อสังเกตและขอ้ เสนอแนะ ๓.๑ การผันอกั ษรสามหมู่ คำทม่ี ตี วั ง น ม ย ว สะกด อักษรกลางผันได้ ๕ เสียง เช่น กาง กา่ ง กา้ ง กา๊ ง ก๋าง อักษรสงู ผันได้ ๓ เสียง เชน่ ขาง ข่าง ขา้ ง อกั ษรตำ่ ผนั ได้ ๓ เสยี ง เชน่ ลาง ลา่ ง ลา้ ง ๓.๒ การผนั อกั ษรสามหมู่ คำทมี่ ตี ัว ก ด บ สะกด อกั ษรกลางผนั ได้ ๔ เสยี ง เช่น อูด อู้ด อู๊ด อดู๋ อักษรสงู ผนั ได้ ๒ เสยี ง เชน่ สดู ส้ดู อกั ษรตำ่ ผันได้ ๓ เสยี ง เช่น อกั ษรต่ำประสมสระสัน้ คกั ค่กั คกั๋ อักษรตำ่ ประสมสระยาว มาก ม้าก มา๋ ก หนังสือค่มู ือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนตน้ 119

คณะผจู้ ัดทำ ทป่ี รกึ ษา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน นายกมล รอดคลา้ ย รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน นายอนสุ รณ์ ฟเู จรญิ ผอู้ ำนวยการสำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา นางสกุ ญั ญา งามบรรจง คณะทำงานจัดทำต้นฉบบั ผอู้ ำนวยการสถาบนั ภาษาไทย นางสาวนจิ สดุ า อภนิ นั ทาภรณ ์ สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต ๔ นายบญุ เสรมิ แกว้ พรหม สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาชมุ พร เขต ๑ นายธเนศร์ ชาญเชาว ์ สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานนทบรุ ี เขต ๒ นางเพญ็ จา เสมอเหมอื น สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษากาฬสนิ ธุ์ เขต ๓ นางนวลอนงค์ สวุ รรณเรอื ง สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลพบรุ ี เขต ๑ นายวบิ ลู ย์ ศรโี สภณ สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษารอ้ ยเอด็ เขต ๒ นายเทดิ ศกั ด์ิ โพธสิ าขา สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๒ นางวธั นพี ร นยิ มพานชิ สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต ๑ พ.ต.กรณฐั รตั นยรรยง สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษายโสธร เขต ๑ นายสามารถ ผอ่ งศร ี สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษา นายเกรยี งศกั ด์ิ ศรรี งุ่ เรอื ง นครศรีธรรมราช เขต ๒ สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเพชรบรู ณ์ เขต ๒ นางสาวรนิ รดา ธนวงั ศร ี สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต ๒ นางสาวลกั ขณา โตงาม สถาบนั ภาษาไทย นางสาวดวงใจ บญุ ยะภาส คณะทำงานเรยี บเรียงต้นฉบับ ตอนต้น นายบญุ เสรมิ แกว้ พรหม สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต ๔ นางเพญ็ จา เสมอเหมอื น สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานนทบรุ ี เขต ๒ นายวบิ ลู ย์ ศรโี สภณ สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลพบรุ ี เขต ๑ นางวธั นพี ร นยิ มพานชิ สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๒ นายเทดิ ศกั ดิ์ โพธสิ าขา สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษารอ้ ยเอด็ เขต ๒ 120 หนังสือคู่มือแนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนต้น

บรรณาธกิ าร ผอู้ ำนวยการสถาบนั ภาษาไทย นางสาวนจิ สดุ า อภนิ นั ทาภรณ ์ สถาบนั ภาษาไทย นางสาวดวงใจ บญุ ยะภาส สถาบนั ภาษาไทย นางธนาภรณ์ กอวฒั นา สถาบนั ภาษาไทย นางลตั ตยิ า อมรสมานกลุ สถาบนั ภาษาไทย นางสาววภิ ารตั น์ อศั วนิ พนั เลศิ สถาบนั ภาษาไทย นายณฐั วฒุ ิ พมุ่ ขจร กลมุ่ พฒั นาสอ่ื การเรยี นร ู้ ออกแบบ นายพนิ จิ สขุ ะสนั ต ์ิ หนงั สือคมู่ ือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนต้น 121


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook